|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
05,0226,001,วิตถารโชตกนิบาต
|
|
05,0226,002,"๑. ในความข้อเดียวกัน แต่กล่าวเป็น ๒ ท่อน, ท่อนต้นกล่าว"
|
|
05,0226,003,"แต่โดยย่อ, ท่อนหลังกล่าวโดยพิสดาร เพื่อจะอธิบายความท่อนต้น"
|
|
05,0226,004,ให้กว้างขวางต่อไปอีก; นิบาตในท่อนหลัง ที่สำหรับลงต่อความ
|
|
05,0226,005,ในท่อนหลังกับท่อนก่อนให้เกี่ยวกัน เรียกชื่อว่า วิตฺถารโชตโก
|
|
05,0226,006,"หรือเรียกให้สั้นว่า วิตฺถาโร, ในอรรถนี้ใช้นิบาต คือ หิ ศัพท์เดียว"
|
|
05,0226,007,ตรงความไทย คือ ความพิสดารว่า หรือ ก็ มีอุทาหรณ์ ดังนี้ :-
|
|
05,0226,008,ปเร จ น วิชานนฺตีติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต
|
|
05,0226,009,โกสมฺพิเก ภิกฺขู อารพฺภ กเถสิ. โกสมฺพิยํ <B>หิ</B> โฆสิตาราเม
|
|
05,0226,010,ปญฺจสตปริวารา เทฺว ภิกฺขู วิหรึสุ: วินยธโร จ
|
|
05,0226,011,ธมฺมกถิโก จ. ฯ เป ฯ (ธมฺมปทฏฺกถา ภาคที่ ๑ เรื่องที่ ๕) ตั้งแต่
|
|
05,0226,012,"ปเร จ ถึง กเถสิ เป็นท่อนต้น กล่าวเรื่องนั้นโดยย่อ, ตั้งแต่"
|
|
05,0226,013,โกสมฺพิยํ หิ ไปจนจบเรื่อง เป็นท่อนหลัง อธิบายความที่กล่าวใน
|
|
05,0226,014,ท่อนต้นนั้น ให้กว้างขวางออกไป หิ ในท่อนหลังนั้น เรียก วิตฺถาร-
|
|
05,0226,015,โชตโก หรือ วิตฺถาโร เพราะส่องความพิสดาร อุทาหรณ์ผูกไว้เป็น
|
|
05,0226,016,ตัวอย่าง ดังนี้: สมาโส กิจฺจวเสน ทุวิโธ โหติ: ลุตฺโต จ อลุตฺโต จ.
|
|
05,0226,017,ตตฺถ <B>หิ</B> รญฺโ ธนํ ราชธนํ อิจฺจาทิ ลุตฺโต นาม. ทูเรนิทานํ
|
|
05,0226,018,อิจฺจาทิ อลุตฺโต นาม.
|
|
|