buddhist-theology / 04 /040197.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
04,0197,001,"<B>ทาตพฺพนฺ-ติ เทยฺยํ.</B> [สิ่งใด] อันเขาพึงให้, เหตุนั้น [สิ่งนั้น]"
04,0197,002,ชื่อว่าอันเขาพึงให้. <B>ทา</B> ธาตุ ในความ ให้ ธาตุมี <B>อา</B> เป็นที่สุดอยู่
04,0197,003,หน้า <B>เอา ณฺย</B> เป็น <B>เอยฺย</B> แล้วลบ <B>อา</B> ด้วยสระสนธิ (๑๙).
04,0197,004,ศัพท์ที่ประกอบด้วยปัจจัยนี้ บางศัพท์ก็ใช้เป็นกิริยากิตก์บ้าง
04,0197,005,อุ. <B>เต จ ภิกฺขู คารยฺหา</B> อนึ่ง ภิกษุ ท. เหล่านั้น อันท่านพึงติเตียน.
04,0197,006,(๑๓๗) วิเคราะห์ในกิตกิจจปัจจัย
04,0197,007,<B>อ.</B>
04,0197,008,<B>ปฏิ สํ ภิชฺชตี-ติ ปฏิสมฺภิทา.</B> ปัญญาใด ย่อมแตกฉาน
04,0197,009,"ดี โดยต่าง, เหตุนั้น ปัญญานั้น ชื่อว่าแตกฉานดีโดยต่าง. <B>ปฏิ"
04,0197,010,"สํ</B> เป็นบทหน้า <B>ภิทฺ</B> ธาตุ ในความ แตก, อิตถีลิงค์ ปฐมาวิภัตติ"
04,0197,011,เป็น <B>อา</B> (๕๒). เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ.
04,0197,012,"<B>หิตํ กโรตี - ติ หิตกฺกโร.</B> ผู้ใด ย่อมทำ ซึ่งประโยชน์เกื้อกูล,"
04,0197,013,เหตุนั้น [ผู้นั้น] ชื่อว่าผู้ทำซึ่งประโยชน์เกื้อกูล. <B>หิต</B> เป็นบทหน้า
04,0197,014,<B>กรฺ</B> ธาตุ ในความ ทำ ซ้อน <B>กฺ.</B>
04,0197,015,<B>นิสฺสาย นํ วสติ - ติ นิสฺสโย.</B> [ศิษย์] อาศัยซึ่งอาจารย์
04,0197,016,"นั้นอยู่, เหตุนั้น [อาจารย์นั้น] ชื่อว่าเป็นที่อาศัยอยู่ [ของศิษย์]"
04,0197,017,<B>นิ</B> เป็นบทหน้า <B>สี</B> ธาตุ ในความ อาศัย. พฤทธิ์ <B>อี</B> เป็น <B>เอ</B> แล้ว
04,0197,018,เอาเป็น <B>อย</B> แล้วซ้อน <B>สฺ</B> เป็นกัตตุรูป กัมมสาธนะ.
04,0197,019,"<B>สิกฺขิยตี - ติ สิกฺขา, สิกฺขนํ วา สิกฺขา.</B> ธรรมชาติใด"