|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
01,0015,001,กระนั้น พยัญชนะที่เป็นโฆสะเสียงหนักกว่า พยัญชนะที่เป็นอโฆสะ
|
|
01,0015,002,เสียงเบา จำจะต้องเรียงพยัญชนะที่ที่มีเสียงเบาก่อน เรียงพยัญชนะที่
|
|
01,0015,003,มีเสียงหนักไว้ภายหลัง ท่านจึงได้เรียงอโฆสะไว้ก่อน โฆสะไว้ภาย
|
|
01,0015,004,"หลัง, ในพยัญชนะที่มิใช่วรรคก็เป็น ๒ คือ โฆสะและอโฆสะ ย ร ล "
|
|
01,0015,005,ว ห ฬ ๖ ตัวนี้เป็นโฆสะ ส เป็นอโฆสะ ในที่นี้โฆสะมากกว่า อโฆสะ
|
|
01,0015,006,มีแต่ตัวเดียวเท่านั้น ท่านจึงเรียงโฆสะไปตามลำดับฐานที่เกิดเสียก่อน
|
|
01,0015,007,ไม่เรียงเหมือนพยัญชนะในวรรค ต่อนั้นจึงอโฆสะ แต่ ห เพราะเป็น
|
|
01,0015,008,โฆสะและกัณฐชะ ควรจะเรียงไว้ก่อนก็จริง ถึงกระนั้น พึงเห็นว่า
|
|
01,0015,009,ท่านเรียงไว้ผิดลำดับ เพื่อจะให้รู้ว่า แม้เรียงไปตามลำดับก็คงผิดลำดับ
|
|
01,0015,010,[ เหตุผลที่เรียงตัว ห ต่อตัว ส นี้ ท่านแสดงไว้ไม่วิเศษอย่างนี้ นัก
|
|
01,0015,011,ปราชญ์ควรพิจารณาดู ] นักปราชญ์ซึ่งรู้คัมภีร์ศัพทศาสตร์ทั้งหลาย
|
|
01,0015,012,กล่าวตัว ฬ ทำวิการให้เป็นตัว ฑ ในที่นี้ท่านกล่าวไว้ต่างหาก ส่วน
|
|
01,0015,013,อาจารย์ผู้ทำสูตรเล่าเรียน [ มิใช่พระสูตรในพระไตรปิฏก ประสงค์
|
|
01,0015,014,เอาสูตรเช่นในมูล ] กล่าวตัว ล ในที่ตัว ฬ พยัญชนะ คือ ฬ นี้
|
|
01,0015,015,แม้ถึงท่านไม่ได้พิจารณาว่าเป็นโฆสะหรืออโฆสะ ก็อาจรู้ได้ตาม
|
|
01,0015,016,วิจารณ์ ล เพราะตั้งอยู่ในฐานเป็นตัว ล แต่ในคัมภีร์ศัพทศาสตร์
|
|
01,0015,017,ท่านหมายเอาเป็นตัว ฑ ไม่กล่าวไว้ต่าง เพื่อจะให้รู้ว่า ชนทั้งปวง
|
|
01,0015,018,ไม่กล่าวเหมือนกัน บางพวกก็กล่าวตัว ล ในที่ตัว ฬ นั้น บางพวก
|
|
01,0015,019,กล่าวตัว ฑ ในที่ตัว ฬ นั้น เพราะเป็นมุทธชะและโฆสะ ดังนี้ ควรจะ
|
|
01,0015,020,เรียงไว้ในลำดับแห่ง ร แต่ท่านมาเรียงไว้หลัง [ ข้อนี้ก็ควรวิจารณ์
|
|
01,0015,021,หรือเพราะเป็นพยัญชนะที่นิยมเอาเป็นแน่ไม่ได้เหมือนพยัญชนะอื่น จึง
|
|
|