|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
01,0011,001,เจริญวิทยาของตน.
|
|
01,0011,002,พยัญชนะแบ่งเป็น ๒ ตามที่มีเสียงก้องและไม่ก้อง. พยัญชนะที่มี
|
|
01,0011,003,เสียงก้อง เรียกว่าโฆสะ ที่มีเสียงไม่ก้อง เรียกว่าอโฆสะ พยัญชนะที่ ๑
|
|
01,0011,004,"ที่ ๒ ในวรรคทั้ง ๕ คือ ก ข, จ ฉ, ฏ , ต ถ, ป ผ, และ ส ๑๑ ตัวนี้"
|
|
01,0011,005,"เป็นอโฆสะ, พยัญชนะที่ ๓ ที่ ๔ ๕ ในวรรคทั้งที่ ๕ คือ ค ฑ ง,"
|
|
01,0011,006,"ช ฌ , ฑ ฒ ฌ, ท ธ น, พ ภ ม, และ ย ร ล ว ห ฬ, ๒๑ ตัวนี้ เป็น"
|
|
01,0011,007,"โฆสะ, นิคคหิต นักปราชญ์ผู้รู้ศัพทศาสตร์ ประสงค์เป็นโฆสะ, ส่วน"
|
|
01,0011,008,นักปราชญ์ฝ่ายศาสนา ประสงค์เป็นโฆสาโฆสวิมุตติ พ้นจากโฆสะและ
|
|
01,0011,009,"อโฆสะ, และเสียงของนิคคหิตนี้อ่านตามวิธีบาลีภาษา มีสำเนียงเหมือน"
|
|
01,0011,010,ตัว ง สะกด อ่านตามวิธีสันสกฤต มีสำเนียงเหมือนตัว ม สะกด.
|
|
01,0011,011,[ ๑๑ ] พยัญชนะวรรคที่เป็นโฆสะและอโฆสะ ก็แบ่งเป็น ๒ ตาม
|
|
01,0011,012,"เสียงหย่อนและหนัก, พยัญชนะที่ถูกฐานของตนหย่อน ๆ ชื่อสิถิล,"
|
|
01,0011,013,"พยัญชนะที่ถูกฐานของตนหนัก บันลือเสียงดัง ชื่อธนิต, พยัญชนะที่ ๑"
|
|
01,0011,014,"ที่ ๓ ในวรรคทั้ง ๕ เป็นสิถิล, พยัญชนะที่ ๒ ที่ ๔ ในวรรคทั้ง ๕"
|
|
01,0011,015,"เป็นธนิต, ในคัมภีร์กัจจายนเภทแสดงไว้ว่า พยัญชนะที่สุดวรรค ๕ ตัว"
|
|
01,0011,016,ก็เป็นสิถิล แต่ในคัมภีร์ทั้งหลายอื่น ท่านมิได้กล่าว.
|
|
01,0011,017,[ ๑๒ ] เมื่อผู้ศึกษากำหนดจำโฆสะ อโฆสะ สิถิล ธนิต ได้แล้ว
|
|
01,0011,018,"พึงรู้เสียงดังนี้ พยัญชนะที่เป็นสิถิลอโฆสะ มีเสียงเบากว่าทุกพยัญชนะ,"
|
|
01,0011,019,ธนิตอโฆสะ มีเสียงหนักกว่าสิถิลอโฆสะ. สิถิลโฆสะ มีเสียงดังกว่า
|
|
01,0011,020,"ธนิตอโฆสะ, ธนิตโฆสะ มีเสียงดังก้องกว่าสิถิลโฆสะ, เป็นชั้น ๆ"
|
|
01,0011,021,ดังนี้.
|
|
|