buddhist-theology / 01 /010007.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
01,0007,001,"เหมือนคำว่า เสยฺโย โสตฺถิ เป็นต้น, สระที่เป็นทีฆะล้วน และสระ"
01,0007,002,ที่เป็นรัสสะมีพยัญชนะสังโยค และนิคคหิตอยู่เบื้องหลัง ชื่อครุ มี
01,0007,003,เสียงหนัก เหมือนคำว่า ภูปาโล เอสี มนุสฺสินฺโท โกเสยฺยํ
01,0007,004,"เป็นต้น, สระที่เป็นรัสสะล้วน ไม่มีพยัญชนะสังโยค และนิคคหิตอยู่"
01,0007,005,เบื้องหลัง ชื่อลหุ มีเสียงเบา เหมือนคำว่า ปติ มุนิ เป็นต้น. สระนั้น
01,0007,006,"จัดเป็นคู่ได้ ๓ คู่ อ อา เรียกว่า อวณฺโณ, อิ อี เรียกว่า อิวณฺโณ,"
01,0007,007,"อุ อู เรียกว่า อุวณฺโณ, เอ โอ ๒ ตัวนี้ เป็นสังยุตตสระ"
01,0007,008,ประกอบเสียงสระ ๒ ตัวเป็นเสียงเดียวกัน ตรงกับคำอังกฤษเรียกว่า
01,0007,009,"DIPHTHONG อ กับ อิ ผสมกันเป็น เอ, อ กับ อุ ผสมกัน"
01,0007,010,"เป็น โอ, เพราะฉะนั้น สระ ๒ ตัวนี้ จึงเกิดใน ๒ ฐานตามที่แสดงไว้"
01,0007,011,ข้างหน้า [ ๖ ].
01,0007,012,พยัญชนะ
01,0007,013,[ ๖ ] อักขระที่เหลือจากสระนั้น ๓๓ ตัว มี ก เป็นต้น มีนิคคหิต
01,0007,014,เป็นที่สุด ชื่อพยัญชนะ คำว่าพยัญชนะนั้น แปลว่า ทำเนื้อความให้
01,0007,015,ปรากฏ อักขระเหล่านี้เป็นนิสสิต ต้องอาศัยสระจึงออกเสียง
01,0007,016,ได้ก็จริงอยู่ ถึงกระนั้นก็ทำเนื้อความให้ปรากฏชัด จนถึงเข้าใจ
01,0007,017,ความได้ แต่ลำพังสระเอง แม้ถึงออกเสียงได้ ถ้าพยัญชนะไม่
01,0007,018,อาศัยแล้ว ก็จะมีเสียงเหมือนกันไป แสดงเนื้อความไม่ชัด ยากที่
01,0007,019,"จะสังเกตได้ เหมือนหนึ่ง จะถามว่า "" ไปไหนมา "" ถ้าพยัญชนะ"
01,0007,020,ไม่อาศัยแล้ว สำเนียงก็จะเป็นตัว อ เป็นอย่างเดียวกันไปหมดว่า