buddhist-theology / 45 /450028.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
raw
history blame
4 kB
Book,Page,LineNumber,Text
45,0028,001,"[ ๒๘๓ ] ฎีกามหาอัสสปุรสูตรนั้นว่า "" ในคำว่า <B>เอวรูเปน สีเลน</B> "
45,0028,002,เป็นต้น พึงทราบวินิจฉัยดังนี้ : พระอรรถกถาจารย์กล่าววาริตตสีล<SUP>๑</SUP>
45,0028,003,ด้วย <B>สีล</B> ศัพท์. แสดงสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ
45,0028,004,ด้วย <B>สีล</B> ศัพท์นั้น. แสดงจาริตตสีล<SUP>๒</SUP> ด้วย <B>อาจาร</B> ศัพท์. แสดง
45,0028,005,กายสมาจารและวจีสมาจารอันบริสุทธิ์ดี ด้วย <B>อาจาร</B> ศัพท์นั้น. แสดง
45,0028,006,สัมมาปฏิบัติอันสงเคราะห์ด้วยสมถะ วิปัสสนา และมรรคผล ด้วย
45,0028,007,<B>ปฏิปตฺติ</B> ศัพท์. ด้วยศัพท์ว่า <B>ลชฺชิโน</B> นี้ พระอรรถกถาจารย์ แสดง
45,0028,008,เหตุอันเป็นมูลแห่งศีลและอาจาระตามที่กล่าวแล้ว. ด้วยบทว่า <B>เปสลา</B>
45,0028,009,นี้ พระอรรถกถาจารย์แสดงความบริสุทธิ์. ด้วยบทว่า <B>อุฬารคุณา</B>
45,0028,010,นี้ พระอรรถกถาจารย์ แสดงความบริบูรณ์แห่งข้อปฏิบัติ. พระ
45,0028,011,อรรถกถาจารย์กล่าวคำนี้ว่า <B>ภิกฺขุสงฺฆสฺเสว วณฺณํ กเถนฺติ</B> เพราะ
45,0028,012,ความที่อุบาสกอุบาสิกาเหล่านั้น เป็นผู้ขวนขวายในเกียรติคุณของภิกษุ
45,0028,013,ทั้งหลายโดยมาก. ก็ชนเหล่านั้น เป็นผู้เลื่อมใสยิ่งจริง ๆ ทั้งในพระ
45,0028,014,สัทธรรม ทั้งในพระสัมมาสัมพุทธะ. เหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์ จึง
45,0028,015,"กล่าวว่า <B>"" พุทฺธมามกา ธมฺมมามกา สงฺฆมามกา.""</B> จริงอยู่ ในวัตถุ"
45,0028,016,ทั้ง ๓ ชนทั้งหลายเลื่อมใสยิ่งในวัตถุ ๑ ก็ชื่อว่า เลื่อมใสยิ่ง แม้ในวัตถุ
45,0028,017,"๒ นอกนี้ เพราะความที่วัตถุทั้ง ๓ นั้นไม่มีการแยกจากกันได้."""
45,0028,018,[๒๘๔] ส่วนบรรพชิต ก็พึงเป็นผู้มีความเคารพกันและกัน
45,0028,019,ประดุจสัตว์ ๓ สหายฉะนั้น.
45,0028,020,
45,0028,021,๑. วาริตตสีล ได้แก่ ศีลที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม เป็นส่วนพุทธอาณา.
45,0028,022,๒. จาริตตสีล ได้แก่ ศีลส่วนจรรยาอันจะพึงประพฤติ.