|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
44,0001,001,มังคลัตถทีปนี แปล
|
|
44,0001,002,เล่ม ๓
|
|
44,0001,003,พรรณาความแห่งคาถาที่* ๕
|
|
44,0001,004,[๑] พึงทราบวินิจฉัยในคาถาที่ ๕. เจตนาเป็นเหตุให้ ชื่อว่า
|
|
44,0001,005,ทาน. ความประพฤติ คือการทำซึ่งธรรม ชื่อว่าธรรมจริยา.
|
|
44,0001,006,บทว่า <B>าตกานํ</B> ความว่า การสงเคราะห์ซึ่งญาติทั้งหลาย
|
|
44,0001,007,ของตน.
|
|
44,0001,008,บทว่า <B>อนวชฺชานิ</B> ได้แก่ กรรมทั้งหลายมีอุโบสถกรรมเป็นต้น
|
|
44,0001,009,ไม่มีโทษ คือบัณฑิตไม่นินทา ไม่ติเตียน.
|
|
44,0001,010,"บทว่า <B>เอตํ</B> ความว่า เทพดา ท่านจงถือว่า ""ทาน ๑ การ-"
|
|
44,0001,011,ประพฤติธรรม ๑ การสงเคราะห์ญาติ ๑ กรรมอันไม่มีโทษ ๑ กรรม
|
|
44,0001,012,"๔ อย่างมีทานเป็นต้นนี้ เป็นมงคลอย่างสูงสุด."""
|
|
44,0001,013,ความสังเขปในคาถาที่ ๔ นี้ เท่านี้.
|
|
44,0001,014,ส่วนความพิสดารในคาถาที่ ๕ นี้ ดังต่อไปนี้ :-
|
|
44,0001,015,
|
|
44,0001,016,* พระมหาเจริญ สุวฑฺฒโน ป. ธ. ๗ วัดบวรนิเวศวิหาร แปล. (บัดนี้เป็นสมเด็จพระญาณสังวร
|
|
44,0001,017,ป. ธ. ๙)
|
|
|