|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
10,0049,001,ลบทีสุดธาตุบ้าง มีอำนาจให้แปลงวิภัตติ แปลงตัวเอาพร้อมทั้ง
|
|
10,0049,002,วิภัตติบ้าง ทีฆะต้นธาตุบ้าง พึงเห็นดังต่อไปนี้ :-
|
|
10,0049,003,คงวิภัตติไว้ ลบต้นธาตุ อุ. สนฺติ.
|
|
10,0049,004,""" ลบที่สุดธาตุ อุ. อสิ."
|
|
10,0049,005,""" ทีฆะต้นธาตุ อุ. อาส, อาสุํ, อาสิตฺถ, อาสิ,"
|
|
10,0049,006,อาสิมฺหา.
|
|
10,0049,007,"แปลงวิภัตติ ลบต้นธาตุ อุ. สิยา, สิยุํ."
|
|
10,0049,008,""" ลบที่สุดธาตุ อุ. อตฺถิ, อตฺถ, อมฺหิ,"
|
|
10,0049,009,อมฺห.
|
|
10,0049,010,""" กับทั้งธาตุ อุ. อสฺส, อสฺสุํ, อสฺสถ,"
|
|
10,0049,011,"อสฺสํ, อสฺสาม."
|
|
10,0049,012,๗. วาจก
|
|
10,0049,013,วาจก หมายความว่า กิริยาศัพท์ซึ่งกล่าวบทซึ่งเป็นประธาน
|
|
10,0049,014,ได้แก่บ่งให้ทราบบทที่เป็นประธานในประโยค กิริยาศัพท์ที่จะเป็น
|
|
10,0049,015,วาจกได้ ต้องประกอบด้วยวิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ (ดัง
|
|
10,0049,016,กล่าวแล้ว) และปัจจัย (ซึ่งจะกล่าวข้างหน้า) กิริยาศัพท์ซึ่งประกอบ
|
|
10,0049,017,ด้วยเครื่องปรุงดังกล่าวมานี้ มีอยู่ในประโยคแห่งคำพูดใด ย่อม
|
|
10,0049,018,แสดงให้ทราบถึงตัวประธานในประโยคนั้นว่ามีอยู่ แม้จะไม่ปรากฏ
|
|
10,0049,019,ตัวในประโยคก็ตาม โดยอาศัยกิริยานั่นเองเป็นเครื่องชี้ กิริยาศัพท์
|
|
10,0049,020,อันบ่งประธาน ซึ่งเรียกว่า วาจก นี้ เมื่อจะกล่าวโดยประเภทมีอยู่ ๕
|
|
10,0049,021,คือ :-
|
|
|