buddhist-theology / 10 /100044.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
raw
history blame
3.77 kB
Book,Page,LineNumber,Text
10,0044,001,เป็นต้น แต่ถ้าธาตุเหล่านี้ถูกนำไปประกอบกับอุปสัค คืออุปสัค
10,0044,002,นำหน้าแล้ว ความของกิริยาหาคงอยู่ตามรูปเดิมไม่ ย่อมเปลี่ยนแปลง
10,0044,003,ไปได้ แล้วแต่ความหมายของอุปสัคจะทำหน้าที่เช่นไร.
10,0044,004,<B>อุปสัคสังหารธาตุ</B> ได้แก่อุปสัตที่เมื่อใช้นำหน้าธาตุที่ประกอบ
10,0044,005,เป็นกิริยาศัพท์แล้ว ทำให้คำแปลของธาตุเดิมเปลี่ยนไปผิดรูป จนถึง
10,0044,006,ตรงกันข้าม คือจะใช้คำแปลของธาตุเดิมไม่ได้ เช่น อุ. นิกฺขมติ
10,0044,007,"ออกไป เป็น นิ อุปสัค ขมฺ ธาตุ ในความอดทน, อาคจฺฉนฺติ มา"
10,0044,008,"เป็น อา อุปสัค คมฺ ธาตุ ในความไป, เช่นนี้ เราจะเห็นได้แล้วว่า"
10,0044,009,ผิดจากคำแปลของธาตุเดิมอย่างตรงกันข้ามทีเดียว จะแปลตามความ
10,0044,010,หมายของธาตุเดิมไม่ได้เลย.
10,0044,011,<B>อุปสัคเบียนธาตุ</B> ได้แก่อุปสัคที่เมื่อใช้นำหน้าธาตุที่ประกอบ
10,0044,012,เป็นกิริยาศัพท์แล้ว ทำให้คำแปลของธาตุเดิมเปลี่ยนไปบ้างเล็กน้อย
10,0044,013,แต่ไม่ถึงกับกลับความจนผิดรูปเดิม. ยังพอสังเกตต้นเค้าของธาตุเดิม
10,0044,014,ได้ เช่น อุ. ปฏิกฺกมติ ถอยกลับ เป็น ปฏิ อุปสัค กมฺ ธาตุ
10,0044,015,"ในความก้าวไป, อธฺคจฺฉติ บรรลุ เป็น อธิ อุปสัต คมฺ ธาตุ ใน"
10,0044,016,ความถึง เช่นนี้ เราจะเห็นได้แล้วว่า คำแปลของธาตุเปลี่ยนไปบ้าง
10,0044,017,แต่ยังใช้ความหมายของธาตุเล็งเนื้อความ.
10,0044,018,<B>อุปสัคคล้อยตามธาตุ</B> ได้แก่อุปสัคที่เมื่อใช้นำหน้าธาตุที่
10,0044,019,ประกอบเป็นกิริยาศัพท์แล้ว ไม่ทำให้คำแปลของธาตุเดิมเปลี่ยนไป
10,0044,020,เป็นเพียงส่งเสริมทำให้ธาตุมีความหมายแรงขึ้นกว่าเดิม เช่น อุ.
10,0044,021,"อปคจฺฉติ หลีกไป เป็น อป อุปสัค คมฺ ธาตุ ในความไป, อติกฺกมติ"