|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
10,0043,001,ช่วยสนับสนุนเพิ่มเนื้อความให้กระจ่าง ถ้าขาดตัวกรรมเสียย่อมทำให้
|
|
10,0043,002,เสียความ และทำให้ผู้ฟังไม่เข้าใจความหมายของผู้พูด ธาตุเช่นนี้
|
|
10,0043,003,เป็น สกัมมธาตุ เช่น ปจฺ ธาตุ ในความหุง-ต้ม ถ้ากล่าวเพียงว่า
|
|
10,0043,004,หุง-ต้ม เท่านั้น ยังหาทำให้ผู้ฟังเข้าในความหมายได้พอเพียงไม่
|
|
10,0043,005,ไม่ทราบว่า หุงต้มอะไร ยังเป็นเหตุให้ถามอยู่ร่ำไป ถ้าขืนไม่เพิ่ม
|
|
10,0043,006,กรรมเข้ามา ย่อมผิดต่อภาษานิยม เพราะทำให้ขาดความไป ต่อ
|
|
10,0043,007,เมื่อเลือกตัวกรรมเพิ่มเข้าสักตัวหนึ่ง ว่า โอทนํ (ซึ่งข้าว) ย่อม
|
|
10,0043,008,ทำให้เนื้อความสนิท ฟังไพเราะหู ถูกต้องตามภาษานิยม ฉะนั้น
|
|
10,0043,009,ในธาตุเช่นนี้พึงลงสันนิษฐานว่าเป็น สกัมมธาตุ ต้องเรียงหาตัวกรรม
|
|
10,0043,010,เสมอ จะขาดมิได้เลย.
|
|
10,0043,011,ธาตุกลับความหมาย
|
|
10,0043,012,ได้กล่าวแล้วว่า อุปสัค เมื่อใช้นำหน้าธาตุแล้ว ย่อมทำ
|
|
10,0043,013,ความหมายของธาตุเดิมให้เปลี่ยนผิดปกติไปได้ เมื่อจะกล่าวถึง
|
|
10,0043,014,หน้าที่ของอุปสัคที่ใช้นำหน้าธาตุโดยส่วนสำคัญแล้ว ก็อาจจำแนกได้
|
|
10,0043,015,เป็น ๓ คือ อุปสัคเบียนธาตุ ๑ อุปสัคสังหารธาตุ ๑ อุปสัคคล้อย
|
|
10,0043,016,ตามความหมายของธาตุ ๑. การแปลกิริยาศัพท์ต่าง ๆ เป็นภาษาไทย
|
|
10,0043,017,ตามธรรมดาย่อมแปลตามความของธาตุ ธาตุตัวใดมีนิยมให้แปล
|
|
10,0043,018,เป็นภาษาไทยว่ากระไร ก็ต้องแปลไปตามความนิยมที่บัญญัติไว้นั้น
|
|
10,0043,019,"เช่น กรฺ ธาตุ บัญญัติให้แปลว่า ""ทำ"" คมฺ ธาตุ ให้แปลว่า"
|
|
10,0043,020,"""ไป, ถึง."" เมื่อประกอบให้เป็นกิริยาว่า กโรติ ก็แปลว่า ""ย่อม"
|
|
10,0043,021,"ทำ, ทำอยู่, จะทำ."" คจฺฉติ ""ย่อมไป, ไปอยู่, จะไป."" เช่นนี้"
|
|
|