|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
09,0033,001,ภินนาธิการณพหุพพิหิ
|
|
09,0033,002,พหุพพิหิ ในรูปวิเคราะห์ บททั้งหลายมีวิภัตติต่างกัน เช่น
|
|
09,0033,003,"บทหน้าใช้ ทุติยา, บทหลังใช้ ปฐมา, เป็นต้น และจะตั้งวิเคราะห์"
|
|
09,0033,004,อย่าง น บุพพบท พหุพพิหิ ซึ่งใช้ ต ศัพท์ และ อิติ ก็ได้ ใช้ตั้งอย่าง
|
|
09,0033,005,ตุลยาธิกรณพหุพพิหิ มี ย ต รับกันก็ได้ จะแสดง อุ. ไว้ทั้ง ๒ อย่าง
|
|
09,0033,006,แต่ที่ควรกำหนดไว้ก็คือ รูปวิเคราะห์ท่านใช้นามทั้ง ๑ ๒ บท อันแปลก
|
|
09,0033,007,จากตุลยาธิกรณ ที่มีบทหนึ่งเป็นประธาน บทหนึ่งเป็นวิเสสนะ อนึ่ง
|
|
09,0033,008,รูปวิเคราะห์ในสมาสนี้ บางคราวทั้ง ๒ บท มีเนื้อความเชื่อมกันไม่
|
|
09,0033,009,สนิท จะใช้กิริยาอาขยาตเป็นมัชเฌโลปเข้าประกอบในเวลาแปลบ้างก็
|
|
09,0033,010,ได้ ดัง อุ. ต่อไปนี้ อุรสิ โลมานิ ยสฺส โส=อุรสิโลโม (อลุตฺต)
|
|
09,0033,011,พฺราหฺมโณ ขน ท.ที่อก ของพราหมณ์ใด (อตฺถิ มีอยู่) พราหมณ์
|
|
09,0033,012,นั้น ชื่อว่ามีขนที่อก. เอกรตฺตึ วาโส อสฺสาติ เอกรตฺติวาโส ความอยู่
|
|
09,0033,013,ของชนนั้น สิ้นคืนเดียว เหตุนั้น ชนนั้น ชื่อว่า มีความอยู่สิ้นคืน
|
|
09,0033,014,เดียว. วิเคราะห์หลังนี้ใช้ ต ศัพท์มี อิติ ต่อท้าย. พึงสังเกตได้อีก
|
|
09,0033,015,อย่างหนึ่ง ในวิเคราะห์ ที่ท่านยกเป็น อุ. ในที่นี้ คือ ถ้าใช้ ย ต
|
|
09,0033,016,รับกัน ไม่ต้องมี อิติ ศัพท์ ตั้งวิเคราะห์อย่างพหุพพิหิ ธรรมดา ดัง
|
|
09,0033,017,"อุ. ว่า อสิ หตฺเถ ยสฺส โส=อสิหตฺโถ โยโธ, มณิ กณิเ ยสฺส"
|
|
09,0033,018,โส=มณิกณฺโ นาคราชา (ดูแปลในแบบเรียน).
|
|
09,0033,019,วิธีตั้งวิเคราะห์อย่างหพุวจนะ
|
|
09,0033,020,ในพหุพพิหิสมาส จะตั้งเป็นพหุวจนะ เพื่อให้เป็นคุณบทของตัว
|
|
09,0033,021,ประธานที่เป็นพหุวจนะบ้างก็ได้ ต้องประกอบ ย ศัพท์และ ต ศัพท์
|
|
|