|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
09,0016,001,หลังนามนาม และมีสังขยานั้นเป็นประธาน การต่อสังขยานามนี้ ต่อ
|
|
09,0016,002,ด้วยวิธี ตัปปุริสสมาส ดังจะอธิบายต่อไป.
|
|
09,0016,003,๓. ตัปปุริสสมาส
|
|
09,0016,004,สมาสนี้ ท่านย่อนาศัพท์ที่มีทุติยาวิภัตติเป็นต้น จนถึงสัตตมี-
|
|
09,0016,005,วิภัตติเป็นที่สุด เข้ากับเบื้องปลาย ซึ่งเป็นนามนามบ้าง คุณนามบ้า
|
|
09,0016,006,ให้เนื่องเป็นอันเดียวกัน ชื่อตัปปุริสสมาส มี ๖ อย่าง คือ ทุติยา-
|
|
09,0016,007,ตัปปุริสะ ๑ ตติยาตัปปุริสะ ๑ จตุตถีตัปปุริสะ ๑ ปัญจมีตัปปุริสะ ๑
|
|
09,0016,008,ฉัฏฐีตัปปุริสะ ๑ สัตตมีตัปปุริสะ ๑. การที่ไม่มีปฐมาตัปปุริสะ ก็
|
|
09,0016,009,เพราะ ถ้าทั้ง ๒ บทเป็นปบมาวิภัตติด้วยกัน ไม่มีอายนิบาตให้เนื่อง
|
|
09,0016,010,ถึงกัน ก็ต้องเป็นอย่างสมาสอื่น เช่น กัมมธารยะ หรือ ทวันทวะ
|
|
09,0016,011,เป็นต้น ฉะนั้นปฐมาตัปปุริสะจึงไม่มี. ก็ตัปปุริสะนี้ จะสังเกตให้เข้า
|
|
09,0016,012,ใจว่าเป็นตัปปุริสะอะไร ในเมื่อเราเห็นศัพท์สมาสกันอยู่ ซึ่งบอก
|
|
09,0016,013,ลักษณะว่าเป็นตัปปุริสะ ไม่ใช่ลักษณะแห่งสมาสอื่นแล้ว พึงแปลบท
|
|
09,0016,014,"หลังให้เนื่องกับอายตนิบาตของบทหน้า ตั้งแต่ ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น,"
|
|
09,0016,015,"จนถึง ใน, ใกล้, ที่, ครั้นเมื่อ, ในเพราะ, เมื่อเห็นเชื่อมกันได้ด้วย"
|
|
09,0016,016,อายตนิบาตตัวไหน ในวิภัตติอะไรแล้ว พึงทราบเถิดว่าเป็นตัปปุริสะนั้น.
|
|
09,0016,017,อนึ่ง เมื่อ ๒ บทบอกลักษณะตัปปุริสะอยู่ แต่แปลอายตนิบาต
|
|
09,0016,018,ความไม่กินกัน เช่น อุ. อสฺสรโถ จะแปลเป็น สมาหารทวันทวะ ก็
|
|
09,0016,019,ผิดลักษณะ เพราะไม่เป็นเอกวจนะนปุํสกลังค์ จะเป็น อสมาหาร-
|
|
09,0016,020,ทวันทวะก็ไม่ได้ เพราะเป็นเอกวจนะ ฉะนั้น ควรให้เป็นตัปปุริสะ
|
|
09,0016,021,แล้วไล่เลียงอายตนิบาตของศัพท์หน้า อสฺส ให้ต่อกับศัพท์หลัง รโถ
|
|
|