|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
08,0045,001,มน ศัพท์ที่เป็น นปุํสกลิงค์ แจกอย่างนี้ :-
|
|
08,0045,002,เอก. ป. <B>มนํ</B>
|
|
08,0045,003,ทุ. <B>มนํ</B> เหมือน อ การันต์ในนปุํสกลิงค์
|
|
08,0045,004,ต. <B>มนสา</B>
|
|
08,0045,005,จ. <B>มนโส</B>
|
|
08,0045,006,ปญฺ. <B>มนสา</B> ๕ วิภัตติ แปลกจาก อ การันต์ ใน
|
|
08,0045,007,ฉ. <B>มนโส</B> นปุํสกลิงค์
|
|
08,0045,008,ส. <SUB>มนสิ</SUB>
|
|
08,0045,009,มนศัพท์บางคราวไม่ได้แจกวิภัตติตามแบบมโนคณะก็มี ดังเช่น
|
|
08,0045,010,ใน อาทิตตปริยายสูตรว่า <B>มนสฺมึปิ นิพฺพินฺทตฺ</B> นี้แสดงให้เห็นว่า
|
|
08,0045,011,ลง สฺมึ วิภัตติที่มนศัพท์เฉย ๆ โดยไม่ต้องลง ส อาคม และเปลี่ยน
|
|
08,0045,012,สฺมึ เป็น อิ ตามแบบมโนคณะ.
|
|
08,0045,013,ส่วนศัพท์อื่น ในพวกมโนคณะนี้ มี อย (เหล็ก) เป็นต้นนั้น
|
|
08,0045,014,เป็นปุํลิงค์ทั้งสิ้น และมีวิธีแจกวิภัตติเหมือน มน ศัพท์ในปุํลิงค์
|
|
08,0045,015,นอกจากจากจะเปลี่ยนแปลงในตติยาวิภัตติ จนถึงสัตตมีวิภัตติดัง
|
|
08,0045,016,กล่าวแล้ว บางคราวก็เอา อํ ทุติยาวิภัตติเป็น โอ ได้บ่าง เช่นคำว่า
|
|
08,0045,017,<B>อทาเน กุรุเต มโน</B> (แปลว่า) <B>ชโน</B> อันว่าชน กุรุเต
|
|
08,0045,018,ย่อมทำ มโน ซึ่งใจ <B>อทาเน</B> ในความไม่ให้.
|
|
08,0045,019,<B><B>ยโส</B> ลทฺธา น มชฺเชยฺย</B> (แปลว่า) <B>ชโน</B> อันว่าชน
|
|
08,0045,020,<B>ลทฺธา</B> ได้แล้ว <B>ยโส </B>ซึ่งยศ <B>น มชฺเชยฺย</B> ไม่พึงเมา.<SUP>๑</SUP>
|
|
08,0045,021,โดยอุทาหรณ์ทั้งสองนี้แสดงให้เห็นว่า ศัพท์มโนคณะ เมื่อลง
|
|
08,0045,022,
|
|
08,0045,023,๑. แปลตามนัยอรรถชาดก เล่ม ๔ หน้า ๓๓๖
|
|
|