|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
07,0020,001,"คือ อิ เป็น เอ เช่น มุนิ=อาลโย เป็น มุเนลโย, เอา อุ เป็น โอ เช่น"
|
|
07,0020,002,สุ=อตฺถิ เป็น โสตฺถี. วิการในเบื้องปลาย ก็มีวิธีเหมือนวิการในเบื้องต้น
|
|
07,0020,003,เป็นแต่ละลบสระหน้า วิการสระหลังเท่านั้น เช่น มาตุล=อิริตํ เป็น
|
|
07,0020,004,"มาลุเตริตํ นี้ลบ อ ที่มาลุต เสีย แล้วเอา อิ ที่ ศัพท์หลังเป็น เอ, น=อุเปติ "
|
|
07,0020,005,"เป็น โนเปติ นี้ลบ อ ที่ น แล้วเอา อุ เป็น โอ, อุทกํ=อุมิกชาตํ เป็น"
|
|
07,0020,006,อุทโกมิกชาตํ นี้ลบนิคคหิตที่ศัพท์หน้า แล้วเอาอุ ที่ศัพท์หลังเป็น โอ.
|
|
07,0020,007,หากจะมีคำถามว่า ในสระสนธินี้ อาเทศ กับวิการ ต่างกันอย่าง
|
|
07,0020,008,ไร? ควรแก้ว่า อาเทศนั้น คือแปลง สระ เป็นพยัญชนะ คือแปลง อิ
|
|
07,0020,009,"เป็น ย เช่น อคฺคิ=อคารํ เป็น อคฺนาคารํ, แปลง เอ เป็น ย เช่น เต = อสฺส"
|
|
07,0020,010,"เป็น ตฺยสฺส, แปลง อุ เป็น ว เช่น พหุ=อาพาโธ เป็น พหฺวาพาโธ แปลง"
|
|
07,0020,011,โอ เป็น ว เช้น อถโข=อสฺส เป็น อถขฺวสฺส ส่วนวิการนั้น ทำสระให้
|
|
07,0020,012,เป็นสระ แต่ให้ผิดจากรูปเดิม คือ เอา อิ เป็น เอ เอา อุ เป็น โอ เช่น
|
|
07,0020,013,มุนิ=อาลโย เป็น มุเนลโย. สุ=อตฺถิ เป็น โสตฺถี เป็นต้น.
|
|
07,0020,014,<B>ปกติสระ</B> นั้น มีวิธีทำไม่แปลกไปจากเดิม คือสระเดิมเป็น
|
|
07,0020,015,อย่างใด ก็คงไว้อย่างนั้น เป็นแต่เอาสระหน้ากับสระหลังไปต่อกันเข้า
|
|
07,0020,016,เท่านั้น เช่น โก=อิมํ ก็คงเป็น โกอิมํ.
|
|
07,0020,017,<B>ทีโฆ</B> มี ๒ คือ ทีฆะสระหน้า ๑ ทีฆะสระหลัง ๑. ทีฆะสระ
|
|
07,0020,018,หน้านั้น คือ:-
|
|
07,0020,019,ก. ถ้ามีสระอยู่เบื้องหลัง ก็ลบสระหลังเสีย แล้วจึงทีฆะสระหน้า
|
|
07,0020,020,"เช่น กึสุ=อิธ เป็น กึสูธ, สาธุ=อิติ เป็น สาธูติ."
|
|
07,0020,021,ข. แม้พยัญชนะอยู่เบื้องหลัง ก็ทีฆะสระหน้าได้ เช่น มุนิ=จเร
|
|
|