|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
07,0011,001,ส่วนเสียงของพยัญชนะทั่วไป มี ๒ คือ ที่มีเสียงก้องเรียกว่า
|
|
07,0011,002,โฆสะ อย่าง ๑ ที่มีเสียงไม่ก้องเรียก อโฆสะ อย่าง ๑. แต่พยัญชนะ
|
|
07,0011,003,วรรคที่เป็น โฆสะ และอโฆสะ นั้น ยังแบ่งเป็น ๒ ต่อไปอีก ตามเสียง
|
|
07,0011,004,"ที่หย่อนและหนัก, เสียงพยัญชนะที่ถูกฐานของตนหย่อน ๆ ชื่อ สิถิล"
|
|
07,0011,005,ที่ถูกฐานของหนัก ชื่อ ธนิต ดังนี้ :-
|
|
07,0011,006,พยัญชนะที่ ๑ ในวรรคทั้ง ๕ คือ ก จ ฏ ต ป เป็น สิถิลอโฆสะ
|
|
07,0011,007,""" "" ๒ "" "" "" ข ฉ ถ ผ "" ธนิตอโมสะ"
|
|
07,0011,008,""" "" ๓ "" "" "" ค ช ฑ ท พ "" สิถิลโฆสะ"
|
|
07,0011,009,""" "" ๔ "" "" "" ฆ ฌ ฒ ธ ภ"" ธนิตโฆสะ"
|
|
07,0011,010,""" "" ๕ "" "" "" ง ณ น ม"" สิถิลโฆสะ"
|
|
07,0011,011,ส่วนพยัญชนะที่เป็น อวรรค มีเสียงดังนี้ :-
|
|
07,0011,012,ย ร ล ง ห ฬ ๖ ตัวนี้ เป็น โฆสะ
|
|
07,0011,013,"ส "" อโฆสะ"
|
|
07,0011,014,ํ (นิคคหิต) นักปราชญ์ผู้รู้ศัพทศาสตร์ ประสงค์เป็น โฆสะ
|
|
07,0011,015,ส่วนนักปราชญ์ฝ่ายศาสนา ประสงค์เป็น โฆสาโฆสวิมุตติ คือพ้นจาก
|
|
07,0011,016,โฆสะ และ อโฆสะ และเสียงของนิคคหิตนี้ อ่านตามวิธีบาลีภาษา
|
|
07,0011,017,มีสำเนียงเหมือนตัว ง สะกด อ่านตามวิธีสํสกฤต มีสำเนียงเหมือน
|
|
07,0011,018,ตัว ฒ สะกด.
|
|
07,0011,019,บรรดาพยัญชนะเหล่านั้น พยัญชนะที่เป็น สิถิลอโฆสะมีเสียงเบา
|
|
07,0011,020,"กว่าทุกพยัญชนะ, ธนิตอโฆสะ มีเสียงหนักกว่า สิถิลอโฆสะ, สิถิลโฆสะ"
|
|
07,0011,021,"มีเสียงดังกว่า ธนิตอโฆสะ, ธนิตโฆสะ มีเสียงดังก้องกว่า สิถิลโฆสะ."
|
|
|