buddhist-theology / 04 /040159.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
raw
history blame
2.79 kB
Book,Page,LineNumber,Text
04,0159,001,"<B>โส คจฺฉติ</B> เขา ไปอยู่, <B>เต คจฺฉนฺติ</B> เขาทั้งหลาย ไปอยู่. "
04,0159,002,ยกไว้แต่นามศัพท์ที่เป็นเอกวจนะหลาย ๆ ศัพท์ รวมกันด้วย 'จ' ศัพท์
04,0159,003,ใช้กิริยาเป็นพหุวจนะ ซึ่งจะมีแจ้งในวากยสัมพันธ์ข้างหน้า.
04,0159,004,บุรุษ
04,0159,005,(๑๑๓) วิภัตตินั้น จัดเป็นบุรุษ ๓ คือ ประถมบุรุษ ๑ มัธยม-
04,0159,006,"บุรุษ ๑ อุตตมบุรุษ ๑, เหมือนปุริสสัพพนาม. ถ้าปุริสสัพพนามใด"
04,0159,007,เป็นประธาน ต้องใช้กิริยาประกอบวิภัตติให้ถูกต้องตามปุรสสัพพนาม
04,0159,008,"นั้น อย่างนี้ :- <B>โส ยาติ</B> เขา ไป, <B>ตฺวํ ยาสิ</B> เจ้า ไป, <B>อหํ"
04,0159,009,ยามิ</B> ข้า ไป. ในเวลาพูดหรือเรียนหนังสือ แม้จะไม่ออกชื่อ
04,0159,010,ปรุสสัพพนาม ใช้แต่วิภัตติกิริยาให้ถูกต้องตามบุรุษที่ตนประสงค์จะ
04,0159,011,"ออกชื่อ ก็เป็นอันเข้าใจกันได้เหมือนกัน, เหมือนคำว่า <B>เอกิ [เจ้า]</B>"
04,0159,012,จงมา. ถึงจะไม่ออกชื่อ <B>'ตฺวํ'</B> ก็รู้ได้ เพราะ <B>'หิ'</B> วิภัตติ เป็ฯ
04,0159,013,"ปัญจมี, เอกวจนะ, มัธยมบุรุษ เมื่อเป็นเช่นนี้ ก็ส่องความให้เห็น"
04,0159,014,"ว่าเป็นกิริยาของ <B>'ตฺวํ'</B> ซึ่งเป็นมัธยมบุรุษ, เอกวจนะ. แม้คำว่า"
04,0159,015,<B>ปุญฺํ กริสฺสาม [ข้า ท.]</B> จักทำ ซึ่งบุญ. ถึงจะไม่ออกชื่อ <B>'มยํ'</B>
04,0159,016,ก็รู้ได้ โดยนัยที่กล่าวแล้ว.