question_id
int32
1
4k
article_id
int32
665
954k
context
stringlengths
75
87.2k
question
stringlengths
11
135
answers
sequence
757
224,450
หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สารสาส; 7 มิถุนายน พ.ศ. 2458 – 18 ตุลาคม พ.ศ. 2526) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมลประวัติ ประวัติ. หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยามีนามเดิมว่า งามจิตต์ สารสาส เป็นธิดาของพันโท พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) บุตรของนายใหญ่ กับนางจำรัส สุนทานนท์ กับสวัสดิ์ อัศวนนท์ ธิดาของพระยาราชายสาธก (ง่วนสุน อัศวนนท์) อดีตนายด่านศุลกากรจังหวัดสมุทรปราการ หม่อมงามจิตต์มีพี่น้อง 4 คน ซึ่งรวมไปถึงร้อยเอกสมหวัง สารสาส อดีตสวามีของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา เมื่อสมรสใช้ราชสกุลฉัตรชัย ณ อยุธยา ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานราชสกุลบุรฉัตร สำหรับหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร ทั้งสองมีโอรสบุญธรรม 1 คน คือ หม่อมหลวงธีรฉัตร บุรฉัตร ซึ่งเป็นโอรสของหม่อมเจ้าหญิงเฟื่องฉัตร ฉัตรชัย พระขนิษฐาร่วมพระบิดากันกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร หลังจากที่หม่อมถึงงามจิตต์แก่อนิจกรรม ยังมีการก่อตั้ง มูลนิธิอนุสรณ์หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติและรำลึกถึงคุณงามความดี และความสามารถของหม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ปุชนียบุคคลระดับโลกที่มีผลงานดีเด่น ได้รับคัดเลือกตั้งให้เป็นให้เป็นประธานสภาสตรีระหว่างประเทศคนแรกและคนเดียวในประเทศไทยในรอบ 120 ปี และมีการจัดงานเป็นประจำทุกปี โดยมอบรางวัล หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร แก่ ครู เจ้าหน้าที่ ในจังหวัดที่รับผิดชอบงานมูลนิธิร่วมจิตน้อมเกล้าอย่างมีประสิทธิภาพ บุคคลผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)
หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา มีนามเดิมเรียกว่าอะไร
{ "answer": [ "งามจิตต์ สารสาส" ], "answer_begin_position": [ 462 ], "answer_end_position": [ 477 ] }
758
224,450
หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สารสาส; 7 มิถุนายน พ.ศ. 2458 – 18 ตุลาคม พ.ศ. 2526) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมลประวัติ ประวัติ. หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยามีนามเดิมว่า งามจิตต์ สารสาส เป็นธิดาของพันโท พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) บุตรของนายใหญ่ กับนางจำรัส สุนทานนท์ กับสวัสดิ์ อัศวนนท์ ธิดาของพระยาราชายสาธก (ง่วนสุน อัศวนนท์) อดีตนายด่านศุลกากรจังหวัดสมุทรปราการ หม่อมงามจิตต์มีพี่น้อง 4 คน ซึ่งรวมไปถึงร้อยเอกสมหวัง สารสาส อดีตสวามีของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา เมื่อสมรสใช้ราชสกุลฉัตรชัย ณ อยุธยา ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานราชสกุลบุรฉัตร สำหรับหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร ทั้งสองมีโอรสบุญธรรม 1 คน คือ หม่อมหลวงธีรฉัตร บุรฉัตร ซึ่งเป็นโอรสของหม่อมเจ้าหญิงเฟื่องฉัตร ฉัตรชัย พระขนิษฐาร่วมพระบิดากันกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร หลังจากที่หม่อมถึงงามจิตต์แก่อนิจกรรม ยังมีการก่อตั้ง มูลนิธิอนุสรณ์หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติและรำลึกถึงคุณงามความดี และความสามารถของหม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ปุชนียบุคคลระดับโลกที่มีผลงานดีเด่น ได้รับคัดเลือกตั้งให้เป็นให้เป็นประธานสภาสตรีระหว่างประเทศคนแรกและคนเดียวในประเทศไทยในรอบ 120 ปี และมีการจัดงานเป็นประจำทุกปี โดยมอบรางวัล หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร แก่ ครู เจ้าหน้าที่ ในจังหวัดที่รับผิดชอบงานมูลนิธิร่วมจิตน้อมเกล้าอย่างมีประสิทธิภาพ บุคคลผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)
ร้อยเอกสมหวัง สารสาส อดีตสวามีของผู้ใด
{ "answer": [ "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา" ], "answer_begin_position": [ 738 ], "answer_end_position": [ 772 ] }
1,951
224,450
หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สารสาส; 7 มิถุนายน พ.ศ. 2458 – 18 ตุลาคม พ.ศ. 2526) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมลประวัติ ประวัติ. หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยามีนามเดิมว่า งามจิตต์ สารสาส เป็นธิดาของพันโท พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) บุตรของนายใหญ่ กับนางจำรัส สุนทานนท์ กับสวัสดิ์ อัศวนนท์ ธิดาของพระยาราชายสาธก (ง่วนสุน อัศวนนท์) อดีตนายด่านศุลกากรจังหวัดสมุทรปราการ หม่อมงามจิตต์มีพี่น้อง 4 คน ซึ่งรวมไปถึงร้อยเอกสมหวัง สารสาส อดีตสวามีของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา เมื่อสมรสใช้ราชสกุลฉัตรชัย ณ อยุธยา ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานราชสกุลบุรฉัตร สำหรับหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร ทั้งสองมีโอรสบุญธรรม 1 คน คือ หม่อมหลวงธีรฉัตร บุรฉัตร ซึ่งเป็นโอรสของหม่อมเจ้าหญิงเฟื่องฉัตร ฉัตรชัย พระขนิษฐาร่วมพระบิดากันกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร หลังจากที่หม่อมถึงงามจิตต์แก่อนิจกรรม ยังมีการก่อตั้ง มูลนิธิอนุสรณ์หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติและรำลึกถึงคุณงามความดี และความสามารถของหม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ปุชนียบุคคลระดับโลกที่มีผลงานดีเด่น ได้รับคัดเลือกตั้งให้เป็นให้เป็นประธานสภาสตรีระหว่างประเทศคนแรกและคนเดียวในประเทศไทยในรอบ 120 ปี และมีการจัดงานเป็นประจำทุกปี โดยมอบรางวัล หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร แก่ ครู เจ้าหน้าที่ ในจังหวัดที่รับผิดชอบงานมูลนิธิร่วมจิตน้อมเกล้าอย่างมีประสิทธิภาพ บุคคลผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)
หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา มีนามเดิมว่าอะไร
{ "answer": [ "งามจิตต์ สารสาส" ], "answer_begin_position": [ 462 ], "answer_end_position": [ 477 ] }
1,952
224,450
หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สารสาส; 7 มิถุนายน พ.ศ. 2458 – 18 ตุลาคม พ.ศ. 2526) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมลประวัติ ประวัติ. หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยามีนามเดิมว่า งามจิตต์ สารสาส เป็นธิดาของพันโท พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) บุตรของนายใหญ่ กับนางจำรัส สุนทานนท์ กับสวัสดิ์ อัศวนนท์ ธิดาของพระยาราชายสาธก (ง่วนสุน อัศวนนท์) อดีตนายด่านศุลกากรจังหวัดสมุทรปราการ หม่อมงามจิตต์มีพี่น้อง 4 คน ซึ่งรวมไปถึงร้อยเอกสมหวัง สารสาส อดีตสวามีของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา เมื่อสมรสใช้ราชสกุลฉัตรชัย ณ อยุธยา ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานราชสกุลบุรฉัตร สำหรับหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร ทั้งสองมีโอรสบุญธรรม 1 คน คือ หม่อมหลวงธีรฉัตร บุรฉัตร ซึ่งเป็นโอรสของหม่อมเจ้าหญิงเฟื่องฉัตร ฉัตรชัย พระขนิษฐาร่วมพระบิดากันกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร หลังจากที่หม่อมถึงงามจิตต์แก่อนิจกรรม ยังมีการก่อตั้ง มูลนิธิอนุสรณ์หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติและรำลึกถึงคุณงามความดี และความสามารถของหม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ปุชนียบุคคลระดับโลกที่มีผลงานดีเด่น ได้รับคัดเลือกตั้งให้เป็นให้เป็นประธานสภาสตรีระหว่างประเทศคนแรกและคนเดียวในประเทศไทยในรอบ 120 ปี และมีการจัดงานเป็นประจำทุกปี โดยมอบรางวัล หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร แก่ ครู เจ้าหน้าที่ ในจังหวัดที่รับผิดชอบงานมูลนิธิร่วมจิตน้อมเกล้าอย่างมีประสิทธิภาพ บุคคลผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)
หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา สมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร" ], "answer_begin_position": [ 241 ], "answer_end_position": [ 276 ] }
1,984
224,450
หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สารสาส; 7 มิถุนายน พ.ศ. 2458 – 18 ตุลาคม พ.ศ. 2526) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมลประวัติ ประวัติ. หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยามีนามเดิมว่า งามจิตต์ สารสาส เป็นธิดาของพันโท พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) บุตรของนายใหญ่ กับนางจำรัส สุนทานนท์ กับสวัสดิ์ อัศวนนท์ ธิดาของพระยาราชายสาธก (ง่วนสุน อัศวนนท์) อดีตนายด่านศุลกากรจังหวัดสมุทรปราการ หม่อมงามจิตต์มีพี่น้อง 4 คน ซึ่งรวมไปถึงร้อยเอกสมหวัง สารสาส อดีตสวามีของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา เมื่อสมรสใช้ราชสกุลฉัตรชัย ณ อยุธยา ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานราชสกุลบุรฉัตร สำหรับหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร ทั้งสองมีโอรสบุญธรรม 1 คน คือ หม่อมหลวงธีรฉัตร บุรฉัตร ซึ่งเป็นโอรสของหม่อมเจ้าหญิงเฟื่องฉัตร ฉัตรชัย พระขนิษฐาร่วมพระบิดากันกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร หลังจากที่หม่อมถึงงามจิตต์แก่อนิจกรรม ยังมีการก่อตั้ง มูลนิธิอนุสรณ์หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติและรำลึกถึงคุณงามความดี และความสามารถของหม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ปุชนียบุคคลระดับโลกที่มีผลงานดีเด่น ได้รับคัดเลือกตั้งให้เป็นให้เป็นประธานสภาสตรีระหว่างประเทศคนแรกและคนเดียวในประเทศไทยในรอบ 120 ปี และมีการจัดงานเป็นประจำทุกปี โดยมอบรางวัล หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร แก่ ครู เจ้าหน้าที่ ในจังหวัดที่รับผิดชอบงานมูลนิธิร่วมจิตน้อมเกล้าอย่างมีประสิทธิภาพ บุคคลผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)
หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา สมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร" ], "answer_begin_position": [ 241 ], "answer_end_position": [ 276 ] }
1,985
224,450
หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สารสาส; 7 มิถุนายน พ.ศ. 2458 – 18 ตุลาคม พ.ศ. 2526) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมลประวัติ ประวัติ. หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยามีนามเดิมว่า งามจิตต์ สารสาส เป็นธิดาของพันโท พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) บุตรของนายใหญ่ กับนางจำรัส สุนทานนท์ กับสวัสดิ์ อัศวนนท์ ธิดาของพระยาราชายสาธก (ง่วนสุน อัศวนนท์) อดีตนายด่านศุลกากรจังหวัดสมุทรปราการ หม่อมงามจิตต์มีพี่น้อง 4 คน ซึ่งรวมไปถึงร้อยเอกสมหวัง สารสาส อดีตสวามีของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา เมื่อสมรสใช้ราชสกุลฉัตรชัย ณ อยุธยา ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานราชสกุลบุรฉัตร สำหรับหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร ทั้งสองมีโอรสบุญธรรม 1 คน คือ หม่อมหลวงธีรฉัตร บุรฉัตร ซึ่งเป็นโอรสของหม่อมเจ้าหญิงเฟื่องฉัตร ฉัตรชัย พระขนิษฐาร่วมพระบิดากันกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร หลังจากที่หม่อมถึงงามจิตต์แก่อนิจกรรม ยังมีการก่อตั้ง มูลนิธิอนุสรณ์หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติและรำลึกถึงคุณงามความดี และความสามารถของหม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ปุชนียบุคคลระดับโลกที่มีผลงานดีเด่น ได้รับคัดเลือกตั้งให้เป็นให้เป็นประธานสภาสตรีระหว่างประเทศคนแรกและคนเดียวในประเทศไทยในรอบ 120 ปี และมีการจัดงานเป็นประจำทุกปี โดยมอบรางวัล หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร แก่ ครู เจ้าหน้าที่ ในจังหวัดที่รับผิดชอบงานมูลนิธิร่วมจิตน้อมเกล้าอย่างมีประสิทธิภาพ บุคคลผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)
บิดาของหม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา คือใคร
{ "answer": [ "พันโท พระสารสาสน์พลขันธ์" ], "answer_begin_position": [ 489 ], "answer_end_position": [ 513 ] }
759
317,644
หม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เซเลีย โฮวาร์ด () ชื่อเล่นภาษาสเปนว่า เชลีตา () หรือรู้จักในนาม หม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นสตรีชาวอาร์เจนตินาและเป็นหม่อมคนที่สองของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ซึ่งสมรสกันในปี พ.ศ. 2494 ก่อนที่จะหย่ากันในปี พ.ศ. 2499ประวัติประวัติตอนต้น ประวัติ. ประวัติตอนต้น. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชได้พบกับเชลีตา โฮเวิร์ดหรือหม่อมชลิตา ครั้งแรกในการแข่งขันที่ประเทศอาร์เจนตินา ด้วยขณะนั้นพระองค์พีระและหม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา ได้ครองคู่กันมากว่า 11 ปีแล้ว แต่ด้วยความที่พระองค์พีระทรงเป็นคนดังบุคลิกดี สามารถตรัสได้คล่องทั้งภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และยังใช้ชีวิตอย่างเศรษฐี ซึ่งสิ่งเหล่านี้เองได้กลายเป็นแรงดึงดูดผู้หญิงอื่นให้เข้ามาหลงใหลพระองค์พีระ จนทำให้หม่อมซิริลตัดสินใจแยกกันอยู่ ซึ่งก็ทำให้ทั้งสองห่างกัน หม่อมชลิตาที่เป็นสาวสวยได้คอบปรนนิบัติพัดวีแก่พระองค์พีระขณะที่ได้รับบาดเจ็บจากการแข่งรถ จนที่สุดพระองค์ก็ทรงพาชลิตากลับมาอังกฤษด้วยกัน ประทับอยู่กับหล่อนไม่ได้กลับบ้านไปหาหม่อมซิริล เมื่อเป็นเช่นนั้น หม่อมซิริลจึงตัดสินใจหย่าขาดจากพระองค์พีระตามกฎหมายในปี พ.ศ. 2493 ทั้งที่ยังรัก พระองค์พีระเองก็ทั้งรักและอาลัยหม่อมซิริล ทั้งยังทรงอ้อนวอนให้หม่อมเปลี่ยนใจไม่หย่าแต่ก็ไม่ทรงคิดที่จะสละชลิตาไปได้อยู่ดี ทั้งคู่จึงจากกันด้วยน้ำตา เพราะรู้ตัวว่าสามารถครองคู่กันได้เพียงแค่นี้ คงเหลือไว้แต่ความเป็นเพื่อนเท่านั้นเสกสมรส เสกสมรส. หลังทรงหย่ากับหม่อมซิริล พระองค์พีระจึงตัดสินพระทัยเสกสมรสใหม่กับหม่อมชลิตาที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2494 มีการจัดงานเลี้ยง ณ สถานทูตไทยในปารีส โดยมีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์และหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยาร่วมงานด้วย แต่อย่างไรก็ตามพระองค์พีระก็ทรงระลึกถึงหม่อมซิริลเสมอ ทรงเป็นมิตรกับเพื่อนชายของหม่อมซิริล แล้วพาหม่อมชลิตาไปด้วยเพื่อให้รู้จักกับหม่อมซิริล ไปไหนมาไหนกัน 4 คน แต่หม่อมซิริลก็ไม่ได้กลับมาหาท่านอีก และยังคงพบปะกันอย่างเพื่อนสนิทเท่านั้น ปลายปี พ.ศ. 2497 พระองค์พีระก็ทรงเห็นว่าพ้นยุคที่จะทรงแข่งรถอีกต่อไปแล้ว รถแข่งรุ่นใหม่ที่มีสมรรถภาพที่ดีเกิดขึ้นกว่าเก่าก่อน จะแซงหน้ารถที่ทรงขับไปได้ง่าย ถ้าจะลงทุนซื้อรถใหม่พร้อมการดูแลในการแข่งรถอีกก็ถือเป็นเรื่องสิ้นเปลืองมหาศาล ประกอบกับหม่อมชลิตาได้ให้การประสูติโอรส คือหม่อมราชวงศ์พีรเดช ภาณุพันธุ์ พระองค์พีระจึงตัดสินพระทัยอำลาชีวิตนักแข่ง พาครอบครัวกลับมาพำนักในเมืองไทยใน พ.ศ. 2499 ทรงจบบทบาทของเจ้าดาราทองที่โด่งดังไปทั่วยุโรปและอเมริกา เมื่อพระชนมายุได้ 42 พรรษาชีวิตหลังการหย่า ชีวิตหลังการหย่า. แต่เมื่อหม่อมชลิตาเข้ามาพำนักในไทยได้ 11 วัน ก็บินไปฝรั่งเศส จนในอีก 7 เดือนต่อมาพระองค์พีระจึงได้ทำการหย่ากับหม่อมชลิตาโดยตกลงกันว่า หม่อมราชวงศ์พีรเดช ภาณุพันธุ์จะอยู่ภายใต้การดูแลของหม่อมชลิตาจนอายุครบ 21 ปี ซึ่งเหตุที่มีเรื่องขึ้นมา เนื่องจากก่อนหน้าที่มายังประเทศไทยพระองค์พีระได้ทรงพบปะกับสาลิกา กะลันตานนท์ พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินชาวไทย ซึ่งทำให้หม่อมชลิตาหึงหวงเป็นอย่างมาก แต่สุดท้ายสาลิกา กะลันตานนท์ ก็กลายเป็นหม่อมคนที่สามของพระองค์พีระไป โดยเสกสมรสกันในปี พ.ศ. 2500 ส่วนพระโอรสของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชที่เกิดกับหม่อมชลิตาคือหม่อมราชวงศ์พีรเดช ภาณุพันธุ์ ได้เสียชีวิตลงด้วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว ขณะที่มีอายุเพียง 17 ปี แต่บางแห่งก็กล่าวว่าเสียชีวิตเมื่อมีอายุ 21 ปี ในปี พ.ศ. 2560 หม่อมชลิตาในวัย 94 ปี ใช้ชีวิตบั้นปลาย ณ บ้านพักคนชราในบัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา
เซเลีย โฮวาร์ด ชื่อเล่นภาษาสเปนเรียกว่าอะไร
{ "answer": [ "เชลีตา" ], "answer_begin_position": [ 174 ], "answer_end_position": [ 180 ] }
760
317,644
หม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เซเลีย โฮวาร์ด () ชื่อเล่นภาษาสเปนว่า เชลีตา () หรือรู้จักในนาม หม่อมชลิตา ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นสตรีชาวอาร์เจนตินาและเป็นหม่อมคนที่สองของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ซึ่งสมรสกันในปี พ.ศ. 2494 ก่อนที่จะหย่ากันในปี พ.ศ. 2499ประวัติประวัติตอนต้น ประวัติ. ประวัติตอนต้น. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชได้พบกับเชลีตา โฮเวิร์ดหรือหม่อมชลิตา ครั้งแรกในการแข่งขันที่ประเทศอาร์เจนตินา ด้วยขณะนั้นพระองค์พีระและหม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา ได้ครองคู่กันมากว่า 11 ปีแล้ว แต่ด้วยความที่พระองค์พีระทรงเป็นคนดังบุคลิกดี สามารถตรัสได้คล่องทั้งภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และยังใช้ชีวิตอย่างเศรษฐี ซึ่งสิ่งเหล่านี้เองได้กลายเป็นแรงดึงดูดผู้หญิงอื่นให้เข้ามาหลงใหลพระองค์พีระ จนทำให้หม่อมซิริลตัดสินใจแยกกันอยู่ ซึ่งก็ทำให้ทั้งสองห่างกัน หม่อมชลิตาที่เป็นสาวสวยได้คอบปรนนิบัติพัดวีแก่พระองค์พีระขณะที่ได้รับบาดเจ็บจากการแข่งรถ จนที่สุดพระองค์ก็ทรงพาชลิตากลับมาอังกฤษด้วยกัน ประทับอยู่กับหล่อนไม่ได้กลับบ้านไปหาหม่อมซิริล เมื่อเป็นเช่นนั้น หม่อมซิริลจึงตัดสินใจหย่าขาดจากพระองค์พีระตามกฎหมายในปี พ.ศ. 2493 ทั้งที่ยังรัก พระองค์พีระเองก็ทั้งรักและอาลัยหม่อมซิริล ทั้งยังทรงอ้อนวอนให้หม่อมเปลี่ยนใจไม่หย่าแต่ก็ไม่ทรงคิดที่จะสละชลิตาไปได้อยู่ดี ทั้งคู่จึงจากกันด้วยน้ำตา เพราะรู้ตัวว่าสามารถครองคู่กันได้เพียงแค่นี้ คงเหลือไว้แต่ความเป็นเพื่อนเท่านั้นเสกสมรส เสกสมรส. หลังทรงหย่ากับหม่อมซิริล พระองค์พีระจึงตัดสินพระทัยเสกสมรสใหม่กับหม่อมชลิตาที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2494 มีการจัดงานเลี้ยง ณ สถานทูตไทยในปารีส โดยมีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์และหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยาร่วมงานด้วย แต่อย่างไรก็ตามพระองค์พีระก็ทรงระลึกถึงหม่อมซิริลเสมอ ทรงเป็นมิตรกับเพื่อนชายของหม่อมซิริล แล้วพาหม่อมชลิตาไปด้วยเพื่อให้รู้จักกับหม่อมซิริล ไปไหนมาไหนกัน 4 คน แต่หม่อมซิริลก็ไม่ได้กลับมาหาท่านอีก และยังคงพบปะกันอย่างเพื่อนสนิทเท่านั้น ปลายปี พ.ศ. 2497 พระองค์พีระก็ทรงเห็นว่าพ้นยุคที่จะทรงแข่งรถอีกต่อไปแล้ว รถแข่งรุ่นใหม่ที่มีสมรรถภาพที่ดีเกิดขึ้นกว่าเก่าก่อน จะแซงหน้ารถที่ทรงขับไปได้ง่าย ถ้าจะลงทุนซื้อรถใหม่พร้อมการดูแลในการแข่งรถอีกก็ถือเป็นเรื่องสิ้นเปลืองมหาศาล ประกอบกับหม่อมชลิตาได้ให้การประสูติโอรส คือหม่อมราชวงศ์พีรเดช ภาณุพันธุ์ พระองค์พีระจึงตัดสินพระทัยอำลาชีวิตนักแข่ง พาครอบครัวกลับมาพำนักในเมืองไทยใน พ.ศ. 2499 ทรงจบบทบาทของเจ้าดาราทองที่โด่งดังไปทั่วยุโรปและอเมริกา เมื่อพระชนมายุได้ 42 พรรษาชีวิตหลังการหย่า ชีวิตหลังการหย่า. แต่เมื่อหม่อมชลิตาเข้ามาพำนักในไทยได้ 11 วัน ก็บินไปฝรั่งเศส จนในอีก 7 เดือนต่อมาพระองค์พีระจึงได้ทำการหย่ากับหม่อมชลิตาโดยตกลงกันว่า หม่อมราชวงศ์พีรเดช ภาณุพันธุ์จะอยู่ภายใต้การดูแลของหม่อมชลิตาจนอายุครบ 21 ปี ซึ่งเหตุที่มีเรื่องขึ้นมา เนื่องจากก่อนหน้าที่มายังประเทศไทยพระองค์พีระได้ทรงพบปะกับสาลิกา กะลันตานนท์ พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินชาวไทย ซึ่งทำให้หม่อมชลิตาหึงหวงเป็นอย่างมาก แต่สุดท้ายสาลิกา กะลันตานนท์ ก็กลายเป็นหม่อมคนที่สามของพระองค์พีระไป โดยเสกสมรสกันในปี พ.ศ. 2500 ส่วนพระโอรสของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชที่เกิดกับหม่อมชลิตาคือหม่อมราชวงศ์พีรเดช ภาณุพันธุ์ ได้เสียชีวิตลงด้วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว ขณะที่มีอายุเพียง 17 ปี แต่บางแห่งก็กล่าวว่าเสียชีวิตเมื่อมีอายุ 21 ปี ในปี พ.ศ. 2560 หม่อมชลิตาในวัย 94 ปี ใช้ชีวิตบั้นปลาย ณ บ้านพักคนชราในบัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา
หม่อมชลิตา ภานุพันธุ์ ณ อยุธยา ในวัย 94 ปี ใช้ชีวิตบั้นปลาย ณ บ้านพักคนชราในบัวโนสไอเรส ประเทศอะไร
{ "answer": [ "ประเทศอาร์เจนตินา" ], "answer_begin_position": [ 3191 ], "answer_end_position": [ 3208 ] }
762
479,762
หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา หรือนามเดิม เจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่ (13 มิถุนายน พ.ศ. 2426 — 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497) นางข้าหลวงในเจ้าดารารัศมี พระราชชายา และอดีตหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชประวัติ ประวัติ. หม่อมทิพวัน เป็นธิดาของเจ้าเทพดำรงค์รักษาเขต เจ้าฟ้าเมืองขุนยวม ผู้รักษาเมืองชายแดนแถบลุ่มแม่น้ำสาละวินสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ กับเจ้าปิมปา ณ เชียงใหม่ หลานสาวเจ้าราชบุตร (สุริยฆาต) ณ นครเชียงใหม่ เจ้าราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้ากาวิละ หม่อมทิพวันเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ซึ่งได้พบรักกันในขณะที่เจ้าทิพวัน ได้เข้ามาอยู่กับเจ้าดารารัศมี ในพระราชวังดุสิต มีธิดา 1 พระองค์ แต่ถึงแก่อนิจกรรมตั้งแต่คลอด หลังจากนั้นพระองค์เจ้าบวรเดชได้เสกสมรสกับเจ้าศรีนวล ณ เชียงใหม่ น้องสาวของเจ้าทิพวันเป็นหม่อมคนใหม่ หม่อมทิพวันจึงกลับไปประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาพระองค์เจ้าบวรเดช ต้องอาญาในฐานความผิดกบฏ และหนีไปอาศัยอยู่ที่ประเทศเวียดนาม จนกระทั่งได้รับพระราชทานอภัยโทษจึงกลับมาตั้งโรงงานพิมพ์ผ้าที่อำเภอหัวหิน ซึ่งหม่อมทิพวันก็ได้เดินทางไปเยี่ยมเยียนด้วย หม่อมทิพวันถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 สิริรวมอายุ 71 ปีการปฏิบัติภารกิจด้านการถวายความจงรักภักดี การปฏิบัติภารกิจ. ด้านการถวายความจงรักภักดี. ในปี พ.ศ. 2452 หม่อมทิพวันได้มีโอกาสสนองพระเดชพระคุณในการถวายพระอภิบาลแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้านายเล็ก ๆ ที่เสด็จไปทรงศึกษาวิชาอยู่ในยุโรปในเวลานั้นหลายพระองค์ ในฐานะภริยาเอกอัครราชทูต และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงก็ได้ทรงเมตตาเป็นพิเศษ พระราชทานเครื่องเพชรประดับกายอย่างสมเกียรติ หม่อมทิพวันได้มีโอกาสรำถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อคราวเสด็จประพาสจังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2469 และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ให้แก่หม่อมทิพวันในครั้งนั้นด้านการเกษตร ด้านการเกษตร. หม่อมทิพวันได้สร้างเตาบ่มใบยาสูบ ที่บ้านหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ และริเริ่มเพาะปลูกและบ่มใบยาเวอร์ยิเนียเป็นรายแรกในจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2486ด้านการศึกษา ศาสนา และสังคม ด้านการศึกษา ศาสนา และสังคม. หม่อมทิพวัน ได้บริจาคที่ดิน 9 ไร่ เพื่อสร้างวัด เมื่อปี พ.ศ. 2482 และได้เป็นประธานสร้างพระวิหาร ในปี พ.ศ. 2490 สำเร็จเมื่อปี พ.ศ. 2494 ใช้ทุนทรัพย์ส่วนตัวในการก่อสร้าง 81,500 บาท ชาวบ้านจึงได้ขนานนามวัดนี้ว่า "วัดทิพวนาราม" ในปี พ.ศ. 2483 เจ้าทิพวัน ได้มอบที่ดินจำนวน 10 ไร่ เพื่อสร้างโรงเรียนประชาบาลประจำตำบลหนองหาร ซึ่งปัจจุบันคือ โรงเรียนบ้านหนองหาร (ทิพวันอุทิศ) หม่อมทิพวัน เคยได้รับตำแหน่งนายกสมาคมสตรีศรีล้านนา เมื่อปี พ.ศ. 2496 และเป็นกรรมการสมาคมผู้บ่มเพาะปลูกยาสูบแห่งประเทศไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2469 - เหรียญรัตนาภรณ์ ชั้น 4 (ป.ป.ร. 4)
หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา มีนามเดิมว่าอะไร
{ "answer": [ "เจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่" ], "answer_begin_position": [ 170 ], "answer_end_position": [ 192 ] }
763
479,762
หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา หรือนามเดิม เจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่ (13 มิถุนายน พ.ศ. 2426 — 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497) นางข้าหลวงในเจ้าดารารัศมี พระราชชายา และอดีตหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชประวัติ ประวัติ. หม่อมทิพวัน เป็นธิดาของเจ้าเทพดำรงค์รักษาเขต เจ้าฟ้าเมืองขุนยวม ผู้รักษาเมืองชายแดนแถบลุ่มแม่น้ำสาละวินสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ กับเจ้าปิมปา ณ เชียงใหม่ หลานสาวเจ้าราชบุตร (สุริยฆาต) ณ นครเชียงใหม่ เจ้าราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้ากาวิละ หม่อมทิพวันเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ซึ่งได้พบรักกันในขณะที่เจ้าทิพวัน ได้เข้ามาอยู่กับเจ้าดารารัศมี ในพระราชวังดุสิต มีธิดา 1 พระองค์ แต่ถึงแก่อนิจกรรมตั้งแต่คลอด หลังจากนั้นพระองค์เจ้าบวรเดชได้เสกสมรสกับเจ้าศรีนวล ณ เชียงใหม่ น้องสาวของเจ้าทิพวันเป็นหม่อมคนใหม่ หม่อมทิพวันจึงกลับไปประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาพระองค์เจ้าบวรเดช ต้องอาญาในฐานความผิดกบฏ และหนีไปอาศัยอยู่ที่ประเทศเวียดนาม จนกระทั่งได้รับพระราชทานอภัยโทษจึงกลับมาตั้งโรงงานพิมพ์ผ้าที่อำเภอหัวหิน ซึ่งหม่อมทิพวันก็ได้เดินทางไปเยี่ยมเยียนด้วย หม่อมทิพวันถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 สิริรวมอายุ 71 ปีการปฏิบัติภารกิจด้านการถวายความจงรักภักดี การปฏิบัติภารกิจ. ด้านการถวายความจงรักภักดี. ในปี พ.ศ. 2452 หม่อมทิพวันได้มีโอกาสสนองพระเดชพระคุณในการถวายพระอภิบาลแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้านายเล็ก ๆ ที่เสด็จไปทรงศึกษาวิชาอยู่ในยุโรปในเวลานั้นหลายพระองค์ ในฐานะภริยาเอกอัครราชทูต และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงก็ได้ทรงเมตตาเป็นพิเศษ พระราชทานเครื่องเพชรประดับกายอย่างสมเกียรติ หม่อมทิพวันได้มีโอกาสรำถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อคราวเสด็จประพาสจังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2469 และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ให้แก่หม่อมทิพวันในครั้งนั้นด้านการเกษตร ด้านการเกษตร. หม่อมทิพวันได้สร้างเตาบ่มใบยาสูบ ที่บ้านหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ และริเริ่มเพาะปลูกและบ่มใบยาเวอร์ยิเนียเป็นรายแรกในจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2486ด้านการศึกษา ศาสนา และสังคม ด้านการศึกษา ศาสนา และสังคม. หม่อมทิพวัน ได้บริจาคที่ดิน 9 ไร่ เพื่อสร้างวัด เมื่อปี พ.ศ. 2482 และได้เป็นประธานสร้างพระวิหาร ในปี พ.ศ. 2490 สำเร็จเมื่อปี พ.ศ. 2494 ใช้ทุนทรัพย์ส่วนตัวในการก่อสร้าง 81,500 บาท ชาวบ้านจึงได้ขนานนามวัดนี้ว่า "วัดทิพวนาราม" ในปี พ.ศ. 2483 เจ้าทิพวัน ได้มอบที่ดินจำนวน 10 ไร่ เพื่อสร้างโรงเรียนประชาบาลประจำตำบลหนองหาร ซึ่งปัจจุบันคือ โรงเรียนบ้านหนองหาร (ทิพวันอุทิศ) หม่อมทิพวัน เคยได้รับตำแหน่งนายกสมาคมสตรีศรีล้านนา เมื่อปี พ.ศ. 2496 และเป็นกรรมการสมาคมผู้บ่มเพาะปลูกยาสูบแห่งประเทศไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2469 - เหรียญรัตนาภรณ์ ชั้น 4 (ป.ป.ร. 4)
บิดาของหม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา คือใคร
{ "answer": [ "เจ้าเทพดำรงค์รักษาเขต เจ้าฟ้าเมืองขุนยวม" ], "answer_begin_position": [ 361 ], "answer_end_position": [ 401 ] }
843
479,762
หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา หรือนามเดิม เจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่ (13 มิถุนายน พ.ศ. 2426 — 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497) นางข้าหลวงในเจ้าดารารัศมี พระราชชายา และอดีตหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชประวัติ ประวัติ. หม่อมทิพวัน เป็นธิดาของเจ้าเทพดำรงค์รักษาเขต เจ้าฟ้าเมืองขุนยวม ผู้รักษาเมืองชายแดนแถบลุ่มแม่น้ำสาละวินสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ กับเจ้าปิมปา ณ เชียงใหม่ หลานสาวเจ้าราชบุตร (สุริยฆาต) ณ นครเชียงใหม่ เจ้าราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้ากาวิละ หม่อมทิพวันเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ซึ่งได้พบรักกันในขณะที่เจ้าทิพวัน ได้เข้ามาอยู่กับเจ้าดารารัศมี ในพระราชวังดุสิต มีธิดา 1 พระองค์ แต่ถึงแก่อนิจกรรมตั้งแต่คลอด หลังจากนั้นพระองค์เจ้าบวรเดชได้เสกสมรสกับเจ้าศรีนวล ณ เชียงใหม่ น้องสาวของเจ้าทิพวันเป็นหม่อมคนใหม่ หม่อมทิพวันจึงกลับไปประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาพระองค์เจ้าบวรเดช ต้องอาญาในฐานความผิดกบฏ และหนีไปอาศัยอยู่ที่ประเทศเวียดนาม จนกระทั่งได้รับพระราชทานอภัยโทษจึงกลับมาตั้งโรงงานพิมพ์ผ้าที่อำเภอหัวหิน ซึ่งหม่อมทิพวันก็ได้เดินทางไปเยี่ยมเยียนด้วย หม่อมทิพวันถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 สิริรวมอายุ 71 ปีการปฏิบัติภารกิจด้านการถวายความจงรักภักดี การปฏิบัติภารกิจ. ด้านการถวายความจงรักภักดี. ในปี พ.ศ. 2452 หม่อมทิพวันได้มีโอกาสสนองพระเดชพระคุณในการถวายพระอภิบาลแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้านายเล็ก ๆ ที่เสด็จไปทรงศึกษาวิชาอยู่ในยุโรปในเวลานั้นหลายพระองค์ ในฐานะภริยาเอกอัครราชทูต และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงก็ได้ทรงเมตตาเป็นพิเศษ พระราชทานเครื่องเพชรประดับกายอย่างสมเกียรติ หม่อมทิพวันได้มีโอกาสรำถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อคราวเสด็จประพาสจังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2469 และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ให้แก่หม่อมทิพวันในครั้งนั้นด้านการเกษตร ด้านการเกษตร. หม่อมทิพวันได้สร้างเตาบ่มใบยาสูบ ที่บ้านหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ และริเริ่มเพาะปลูกและบ่มใบยาเวอร์ยิเนียเป็นรายแรกในจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2486ด้านการศึกษา ศาสนา และสังคม ด้านการศึกษา ศาสนา และสังคม. หม่อมทิพวัน ได้บริจาคที่ดิน 9 ไร่ เพื่อสร้างวัด เมื่อปี พ.ศ. 2482 และได้เป็นประธานสร้างพระวิหาร ในปี พ.ศ. 2490 สำเร็จเมื่อปี พ.ศ. 2494 ใช้ทุนทรัพย์ส่วนตัวในการก่อสร้าง 81,500 บาท ชาวบ้านจึงได้ขนานนามวัดนี้ว่า "วัดทิพวนาราม" ในปี พ.ศ. 2483 เจ้าทิพวัน ได้มอบที่ดินจำนวน 10 ไร่ เพื่อสร้างโรงเรียนประชาบาลประจำตำบลหนองหาร ซึ่งปัจจุบันคือ โรงเรียนบ้านหนองหาร (ทิพวันอุทิศ) หม่อมทิพวัน เคยได้รับตำแหน่งนายกสมาคมสตรีศรีล้านนา เมื่อปี พ.ศ. 2496 และเป็นกรรมการสมาคมผู้บ่มเพาะปลูกยาสูบแห่งประเทศไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2469 - เหรียญรัตนาภรณ์ ชั้น 4 (ป.ป.ร. 4)
หม่อมทิพวัน ณ เชียงใหม่ เป็นธิดาของผู้ใด
{ "answer": [ "เจ้าเทพดำรงค์รักษาเขต เจ้าฟ้าเมืองขุนยวม" ], "answer_begin_position": [ 361 ], "answer_end_position": [ 401 ] }
844
479,762
หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา หรือนามเดิม เจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่ (13 มิถุนายน พ.ศ. 2426 — 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497) นางข้าหลวงในเจ้าดารารัศมี พระราชชายา และอดีตหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชประวัติ ประวัติ. หม่อมทิพวัน เป็นธิดาของเจ้าเทพดำรงค์รักษาเขต เจ้าฟ้าเมืองขุนยวม ผู้รักษาเมืองชายแดนแถบลุ่มแม่น้ำสาละวินสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ กับเจ้าปิมปา ณ เชียงใหม่ หลานสาวเจ้าราชบุตร (สุริยฆาต) ณ นครเชียงใหม่ เจ้าราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้ากาวิละ หม่อมทิพวันเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ซึ่งได้พบรักกันในขณะที่เจ้าทิพวัน ได้เข้ามาอยู่กับเจ้าดารารัศมี ในพระราชวังดุสิต มีธิดา 1 พระองค์ แต่ถึงแก่อนิจกรรมตั้งแต่คลอด หลังจากนั้นพระองค์เจ้าบวรเดชได้เสกสมรสกับเจ้าศรีนวล ณ เชียงใหม่ น้องสาวของเจ้าทิพวันเป็นหม่อมคนใหม่ หม่อมทิพวันจึงกลับไปประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาพระองค์เจ้าบวรเดช ต้องอาญาในฐานความผิดกบฏ และหนีไปอาศัยอยู่ที่ประเทศเวียดนาม จนกระทั่งได้รับพระราชทานอภัยโทษจึงกลับมาตั้งโรงงานพิมพ์ผ้าที่อำเภอหัวหิน ซึ่งหม่อมทิพวันก็ได้เดินทางไปเยี่ยมเยียนด้วย หม่อมทิพวันถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 สิริรวมอายุ 71 ปีการปฏิบัติภารกิจด้านการถวายความจงรักภักดี การปฏิบัติภารกิจ. ด้านการถวายความจงรักภักดี. ในปี พ.ศ. 2452 หม่อมทิพวันได้มีโอกาสสนองพระเดชพระคุณในการถวายพระอภิบาลแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้านายเล็ก ๆ ที่เสด็จไปทรงศึกษาวิชาอยู่ในยุโรปในเวลานั้นหลายพระองค์ ในฐานะภริยาเอกอัครราชทูต และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงก็ได้ทรงเมตตาเป็นพิเศษ พระราชทานเครื่องเพชรประดับกายอย่างสมเกียรติ หม่อมทิพวันได้มีโอกาสรำถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อคราวเสด็จประพาสจังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2469 และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ให้แก่หม่อมทิพวันในครั้งนั้นด้านการเกษตร ด้านการเกษตร. หม่อมทิพวันได้สร้างเตาบ่มใบยาสูบ ที่บ้านหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ และริเริ่มเพาะปลูกและบ่มใบยาเวอร์ยิเนียเป็นรายแรกในจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2486ด้านการศึกษา ศาสนา และสังคม ด้านการศึกษา ศาสนา และสังคม. หม่อมทิพวัน ได้บริจาคที่ดิน 9 ไร่ เพื่อสร้างวัด เมื่อปี พ.ศ. 2482 และได้เป็นประธานสร้างพระวิหาร ในปี พ.ศ. 2490 สำเร็จเมื่อปี พ.ศ. 2494 ใช้ทุนทรัพย์ส่วนตัวในการก่อสร้าง 81,500 บาท ชาวบ้านจึงได้ขนานนามวัดนี้ว่า "วัดทิพวนาราม" ในปี พ.ศ. 2483 เจ้าทิพวัน ได้มอบที่ดินจำนวน 10 ไร่ เพื่อสร้างโรงเรียนประชาบาลประจำตำบลหนองหาร ซึ่งปัจจุบันคือ โรงเรียนบ้านหนองหาร (ทิพวันอุทิศ) หม่อมทิพวัน เคยได้รับตำแหน่งนายกสมาคมสตรีศรีล้านนา เมื่อปี พ.ศ. 2496 และเป็นกรรมการสมาคมผู้บ่มเพาะปลูกยาสูบแห่งประเทศไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2469 - เหรียญรัตนาภรณ์ ชั้น 4 (ป.ป.ร. 4)
เจ้าศรีนวล ณ เชียงใหม่ เป็นน้องสาวของใคร
{ "answer": [ "เจ้าทิพวัน" ], "answer_begin_position": [ 851 ], "answer_end_position": [ 861 ] }
764
491,331
หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2387—2476) เป็นหม่อมในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ประวัติ ประวัติ. หม่อมบัวเขียว เกิดในราวปี พ.ศ. 2387 พื้นเพมีนิวาสสถานเดิมอยู่หน้าวัดเชียงมั่น ในตัวเมืองเชียงใหม่ ต่อมาพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 ได้มาพบเมื่อครั้งงานทำบุญขึ้นปีใหม่ จึงได้มาสู่ขอให้เป็นหม่อมในเจ้าแก้วนวรัฐ โดยเป็นภริยารองจากเจ้าจามรีวงศ์ ทั้งนี้เจ้าแก้วนวรัฐกับหม่อมบัวเขียวมีโอรส-ธิดา 3 คน ได้แก่1. เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ สมรสกับหม่อมตระการ และหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ มีบุตรธิดา 5 คน 2. เจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่ สมรสกับเจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่ มีบุตรธิดา 3 คน หนึ่งในนั้นคือเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ 3. เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ สมรสกับเจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง มีบุตรธิดา 5 คน หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ ถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. 2476
หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ เป็นหม่อมของใคร
{ "answer": [ "พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ" ], "answer_begin_position": [ 180 ], "answer_end_position": [ 199 ] }
1,722
491,331
หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2387—2476) เป็นหม่อมในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ประวัติ ประวัติ. หม่อมบัวเขียว เกิดในราวปี พ.ศ. 2387 พื้นเพมีนิวาสสถานเดิมอยู่หน้าวัดเชียงมั่น ในตัวเมืองเชียงใหม่ ต่อมาพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 ได้มาพบเมื่อครั้งงานทำบุญขึ้นปีใหม่ จึงได้มาสู่ขอให้เป็นหม่อมในเจ้าแก้วนวรัฐ โดยเป็นภริยารองจากเจ้าจามรีวงศ์ ทั้งนี้เจ้าแก้วนวรัฐกับหม่อมบัวเขียวมีโอรส-ธิดา 3 คน ได้แก่1. เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ สมรสกับหม่อมตระการ และหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ มีบุตรธิดา 5 คน 2. เจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่ สมรสกับเจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่ มีบุตรธิดา 3 คน หนึ่งในนั้นคือเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ 3. เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ สมรสกับเจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง มีบุตรธิดา 5 คน หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ ถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. 2476
เจ้าแก้วนวรัฐกับหม่อมบัวเขียว มีโอรสธิดากี่คน
{ "answer": [ "3 คน" ], "answer_begin_position": [ 555 ], "answer_end_position": [ 559 ] }
765
285,056
หม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล เป็นโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2449 เษกสมรสกับหม่อมเจ้าสีดาดำรวง สวัสดิวัตน์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับ หม่อมเจ้าฉวีวิลัย คัคณางค์ ทรงมีพระโอรส 2 ท่าน คือ- หม่อมราชวงศ์ศักดิสาณ ชุมพล สมรสกับนางวราภรณ์ บุณยรักษ์ มีบุตรธิดา 2 ท่าน คือ- หม่อมหลวงสิทธิสาณ ชุมพล - หม่อมหลวงวราภา ชุมพล (นักลีลาศหญิงทีมชาติไทย) - รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับนางอรพันธ์ ชาติยานนท์ มีบุตรธิดา 4 ท่าน คือ- หม่อมหลวงวรารมณ์ ชุมพล - หม่อมหลวงสมรดา ชุมพล - หม่อมหลวงกมลพฤทธิ์ ชุมพล - หม่อมหลวงรัมภาพันธุ์ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสานเป็นหนึ่งในหกผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท อาคเนย์ประกันภัย ร่วมกับนายดำรง เสรีนิยม นายรองสนิท (สมสวาท โชติกเสถียร) นายพยัพ ศรีกาญจนา พระยาปรีชานุสาสน์ และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล
หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล สมรสกับใคร
{ "answer": [ "หม่อมเจ้าสีดาดำรวง สวัสดิวัตน์" ], "answer_begin_position": [ 431 ], "answer_end_position": [ 461 ] }
1,671
285,056
หม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล เป็นโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2449 เษกสมรสกับหม่อมเจ้าสีดาดำรวง สวัสดิวัตน์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับ หม่อมเจ้าฉวีวิลัย คัคณางค์ ทรงมีพระโอรส 2 ท่าน คือ- หม่อมราชวงศ์ศักดิสาณ ชุมพล สมรสกับนางวราภรณ์ บุณยรักษ์ มีบุตรธิดา 2 ท่าน คือ- หม่อมหลวงสิทธิสาณ ชุมพล - หม่อมหลวงวราภา ชุมพล (นักลีลาศหญิงทีมชาติไทย) - รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับนางอรพันธ์ ชาติยานนท์ มีบุตรธิดา 4 ท่าน คือ- หม่อมหลวงวรารมณ์ ชุมพล - หม่อมหลวงสมรดา ชุมพล - หม่อมหลวงกมลพฤทธิ์ ชุมพล - หม่อมหลวงรัมภาพันธุ์ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสานเป็นหนึ่งในหกผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท อาคเนย์ประกันภัย ร่วมกับนายดำรง เสรีนิยม นายรองสนิท (สมสวาท โชติกเสถียร) นายพยัพ ศรีกาญจนา พระยาปรีชานุสาสน์ และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล
พระบิดาของหม่อมเจ้าสีดาดำรวง สวัสดิวัตน์ มีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์" ], "answer_begin_position": [ 471 ], "answer_end_position": [ 540 ] }
1,672
285,056
หม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล เป็นโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2449 เษกสมรสกับหม่อมเจ้าสีดาดำรวง สวัสดิวัตน์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับ หม่อมเจ้าฉวีวิลัย คัคณางค์ ทรงมีพระโอรส 2 ท่าน คือ- หม่อมราชวงศ์ศักดิสาณ ชุมพล สมรสกับนางวราภรณ์ บุณยรักษ์ มีบุตรธิดา 2 ท่าน คือ- หม่อมหลวงสิทธิสาณ ชุมพล - หม่อมหลวงวราภา ชุมพล (นักลีลาศหญิงทีมชาติไทย) - รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับนางอรพันธ์ ชาติยานนท์ มีบุตรธิดา 4 ท่าน คือ- หม่อมหลวงวรารมณ์ ชุมพล - หม่อมหลวงสมรดา ชุมพล - หม่อมหลวงกมลพฤทธิ์ ชุมพล - หม่อมหลวงรัมภาพันธุ์ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสานเป็นหนึ่งในหกผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท อาคเนย์ประกันภัย ร่วมกับนายดำรง เสรีนิยม นายรองสนิท (สมสวาท โชติกเสถียร) นายพยัพ ศรีกาญจนา พระยาปรีชานุสาสน์ และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล
พระมารดาของหม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล มีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 218 ], "answer_end_position": [ 245 ] }
1,815
285,056
หม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล เป็นโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2449 เษกสมรสกับหม่อมเจ้าสีดาดำรวง สวัสดิวัตน์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับ หม่อมเจ้าฉวีวิลัย คัคณางค์ ทรงมีพระโอรส 2 ท่าน คือ- หม่อมราชวงศ์ศักดิสาณ ชุมพล สมรสกับนางวราภรณ์ บุณยรักษ์ มีบุตรธิดา 2 ท่าน คือ- หม่อมหลวงสิทธิสาณ ชุมพล - หม่อมหลวงวราภา ชุมพล (นักลีลาศหญิงทีมชาติไทย) - รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับนางอรพันธ์ ชาติยานนท์ มีบุตรธิดา 4 ท่าน คือ- หม่อมหลวงวรารมณ์ ชุมพล - หม่อมหลวงสมรดา ชุมพล - หม่อมหลวงกมลพฤทธิ์ ชุมพล - หม่อมหลวงรัมภาพันธุ์ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสานเป็นหนึ่งในหกผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท อาคเนย์ประกันภัย ร่วมกับนายดำรง เสรีนิยม นายรองสนิท (สมสวาท โชติกเสถียร) นายพยัพ ศรีกาญจนา พระยาปรีชานุสาสน์ และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล
มารดาของหม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล คือใคร
{ "answer": [ "หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 218 ], "answer_end_position": [ 245 ] }
1,947
285,056
หม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล เป็นโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2449 เษกสมรสกับหม่อมเจ้าสีดาดำรวง สวัสดิวัตน์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับ หม่อมเจ้าฉวีวิลัย คัคณางค์ ทรงมีพระโอรส 2 ท่าน คือ- หม่อมราชวงศ์ศักดิสาณ ชุมพล สมรสกับนางวราภรณ์ บุณยรักษ์ มีบุตรธิดา 2 ท่าน คือ- หม่อมหลวงสิทธิสาณ ชุมพล - หม่อมหลวงวราภา ชุมพล (นักลีลาศหญิงทีมชาติไทย) - รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับนางอรพันธ์ ชาติยานนท์ มีบุตรธิดา 4 ท่าน คือ- หม่อมหลวงวรารมณ์ ชุมพล - หม่อมหลวงสมรดา ชุมพล - หม่อมหลวงกมลพฤทธิ์ ชุมพล - หม่อมหลวงรัมภาพันธุ์ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสานเป็นหนึ่งในหกผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท อาคเนย์ประกันภัย ร่วมกับนายดำรง เสรีนิยม นายรองสนิท (สมสวาท โชติกเสถียร) นายพยัพ ศรีกาญจนา พระยาปรีชานุสาสน์ และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล
มารดาของหม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล คือใคร
{ "answer": [ "หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 218 ], "answer_end_position": [ 245 ] }
1,948
285,056
หม่อมเจ้ากมลีสาณ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยาพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล เป็นโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2449 เษกสมรสกับหม่อมเจ้าสีดาดำรวง สวัสดิวัตน์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับ หม่อมเจ้าฉวีวิลัย คัคณางค์ ทรงมีพระโอรส 2 ท่าน คือ- หม่อมราชวงศ์ศักดิสาณ ชุมพล สมรสกับนางวราภรณ์ บุณยรักษ์ มีบุตรธิดา 2 ท่าน คือ- หม่อมหลวงสิทธิสาณ ชุมพล - หม่อมหลวงวราภา ชุมพล (นักลีลาศหญิงทีมชาติไทย) - รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์พฤทธิสาณ ชุมพล อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมรสกับนางอรพันธ์ ชาติยานนท์ มีบุตรธิดา 4 ท่าน คือ- หม่อมหลวงวรารมณ์ ชุมพล - หม่อมหลวงสมรดา ชุมพล - หม่อมหลวงกมลพฤทธิ์ ชุมพล - หม่อมหลวงรัมภาพันธุ์ ชุมพล หม่อมเจ้ากมลีสานเป็นหนึ่งในหกผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท อาคเนย์ประกันภัย ร่วมกับนายดำรง เสรีนิยม นายรองสนิท (สมสวาท โชติกเสถียร) นายพยัพ ศรีกาญจนา พระยาปรีชานุสาสน์ และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล
บิดาของหม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล มีนามว่าอะไร
{ "answer": [ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์" ], "answer_begin_position": [ 150 ], "answer_end_position": [ 213 ] }
766
574,000
หม่อมเจ้ากิตติปียา กิติยากร หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร (6 ธันวาคม พ.ศ. 2466 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร ประสูติเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2466 เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถกับหม่อมละเมียด เปลี่ยนประยูร พระองค์มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร สิ้นชีพิตักษัยด้วยโรคมะเร็งที่อันตะคุณ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานหีบทองทึบประกอบศพ ฉัตรเบญจาตั้งประดับ ปี่ กลองชนะประโคมเวลาพระราชทานน้ำหลวงสรงศพ และรับศพอยู่ในพระบรมราชานุเคราะห์โดยตลอด มีพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมเวลากลางคืน กำหนด 7 คืนเสกสมรส เสกสมรส. หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าจีริดนัย กิติยากร พระเชษฐาต่างพระมารดา มีโอรส 1 คน คือหม่อมราชวงศ์วงศ์ดนัย กิติยากร
หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร สิ้นชีพิตักษัยด้วยโรคอะไร
{ "answer": [ "โรคมะเร็งที่อันตะคุณ" ], "answer_begin_position": [ 653 ], "answer_end_position": [ 673 ] }
851
574,000
หม่อมเจ้ากิตติปียา กิติยากร หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร (6 ธันวาคม พ.ศ. 2466 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร ประสูติเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2466 เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถกับหม่อมละเมียด เปลี่ยนประยูร พระองค์มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร สิ้นชีพิตักษัยด้วยโรคมะเร็งที่อันตะคุณ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานหีบทองทึบประกอบศพ ฉัตรเบญจาตั้งประดับ ปี่ กลองชนะประโคมเวลาพระราชทานน้ำหลวงสรงศพ และรับศพอยู่ในพระบรมราชานุเคราะห์โดยตลอด มีพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมเวลากลางคืน กำหนด 7 คืนเสกสมรส เสกสมรส. หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าจีริดนัย กิติยากร พระเชษฐาต่างพระมารดา มีโอรส 1 คน คือหม่อมราชวงศ์วงศ์ดนัย กิติยากร
หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร เป็นพระธิดาในราชวงศ์พระองค์ใด
{ "answer": [ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ" ], "answer_begin_position": [ 216 ], "answer_end_position": [ 281 ] }
852
574,000
หม่อมเจ้ากิตติปียา กิติยากร หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร (6 ธันวาคม พ.ศ. 2466 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร ประสูติเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2466 เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถกับหม่อมละเมียด เปลี่ยนประยูร พระองค์มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร สิ้นชีพิตักษัยด้วยโรคมะเร็งที่อันตะคุณ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานหีบทองทึบประกอบศพ ฉัตรเบญจาตั้งประดับ ปี่ กลองชนะประโคมเวลาพระราชทานน้ำหลวงสรงศพ และรับศพอยู่ในพระบรมราชานุเคราะห์โดยตลอด มีพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมเวลากลางคืน กำหนด 7 คืนเสกสมรส เสกสมรส. หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าจีริดนัย กิติยากร พระเชษฐาต่างพระมารดา มีโอรส 1 คน คือหม่อมราชวงศ์วงศ์ดนัย กิติยากร
หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร เสกสมรสกับหม่อมองค์ใด
{ "answer": [ "หม่อมเจ้าจีริดนัย กิติยากร" ], "answer_begin_position": [ 1004 ], "answer_end_position": [ 1030 ] }
1,881
574,000
หม่อมเจ้ากิตติปียา กิติยากร หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร (6 ธันวาคม พ.ศ. 2466 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร ประสูติเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2466 เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถกับหม่อมละเมียด เปลี่ยนประยูร พระองค์มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร สิ้นชีพิตักษัยด้วยโรคมะเร็งที่อันตะคุณ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานหีบทองทึบประกอบศพ ฉัตรเบญจาตั้งประดับ ปี่ กลองชนะประโคมเวลาพระราชทานน้ำหลวงสรงศพ และรับศพอยู่ในพระบรมราชานุเคราะห์โดยตลอด มีพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมเวลากลางคืน กำหนด 7 คืนเสกสมรส เสกสมรส. หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าจีริดนัย กิติยากร พระเชษฐาต่างพระมารดา มีโอรส 1 คน คือหม่อมราชวงศ์วงศ์ดนัย กิติยากร
หม่อมเจ้ากิติปปียา กิติยากร ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "6" ], "answer_begin_position": [ 409 ], "answer_end_position": [ 410 ] }
767
605,272
หม่อมเจ้ากุสุมา เกษมสันต์ หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ประสูติวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 เป็นพระธิดาลำดับที่ 7 ใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ กับ หม่อมเจียม คชเสนี ธิดา สมิงอังวะมังสี (ทองคำ) คชเสนี ผู้เป็นหลานปู่เจ้าพระยามหาโยธา (พญาทอเรียะ) บุตร เจ้าพระยามหาโยธานราธิบดีศรีพิชัยณรงค์ (พญาเจ่ง) ต้นสกุล คชเสนี หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ทรงมีพระนามอย่างลำลองในหมู่พระญาติว่า ท่านหญิงจุ่น ทรงเป็นพระพี่เลี้ยงใน สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และทรงทำหน้าที่พระอภิบาลใน สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา, รัชกาลที่ 8 และ รัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงแล่าถึงหม่อมเจ้าหญิงกุสุมาดังนี้ หม่อมเจ้าหญิงกุสุมาสิ้นชีพิตักษัยปี พ.ศ. 2477 สิริพระชนมายุ 55 ชันษา - หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ทรงมีพระขนิษฐาร่วมพระมารดาคือ - หม่อมเจ้าหญิงประภาพรรณ เกษมสันต์
หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ทรงมีพระนามอย่างลำลองในหมู่พระญาติว่าอะไร
{ "answer": [ "ท่านหญิงจุ่น" ], "answer_begin_position": [ 523 ], "answer_end_position": [ 535 ] }
855
605,272
หม่อมเจ้ากุสุมา เกษมสันต์ หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ประสูติวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 เป็นพระธิดาลำดับที่ 7 ใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ กับ หม่อมเจียม คชเสนี ธิดา สมิงอังวะมังสี (ทองคำ) คชเสนี ผู้เป็นหลานปู่เจ้าพระยามหาโยธา (พญาทอเรียะ) บุตร เจ้าพระยามหาโยธานราธิบดีศรีพิชัยณรงค์ (พญาเจ่ง) ต้นสกุล คชเสนี หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ทรงมีพระนามอย่างลำลองในหมู่พระญาติว่า ท่านหญิงจุ่น ทรงเป็นพระพี่เลี้ยงใน สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และทรงทำหน้าที่พระอภิบาลใน สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา, รัชกาลที่ 8 และ รัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงแล่าถึงหม่อมเจ้าหญิงกุสุมาดังนี้ หม่อมเจ้าหญิงกุสุมาสิ้นชีพิตักษัยปี พ.ศ. 2477 สิริพระชนมายุ 55 ชันษา - หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ทรงมีพระขนิษฐาร่วมพระมารดาคือ - หม่อมเจ้าหญิงประภาพรรณ เกษมสันต์
ท่านหญิงจุ่น หรือ หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ทรงเป็นพระพี่เลี้ยงใน สมเด็จพระองค์ใด
{ "answer": [ "สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก" ], "answer_begin_position": [ 558 ], "answer_end_position": [ 606 ] }
856
605,272
หม่อมเจ้ากุสุมา เกษมสันต์ หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ประสูติวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 เป็นพระธิดาลำดับที่ 7 ใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ กับ หม่อมเจียม คชเสนี ธิดา สมิงอังวะมังสี (ทองคำ) คชเสนี ผู้เป็นหลานปู่เจ้าพระยามหาโยธา (พญาทอเรียะ) บุตร เจ้าพระยามหาโยธานราธิบดีศรีพิชัยณรงค์ (พญาเจ่ง) ต้นสกุล คชเสนี หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ทรงมีพระนามอย่างลำลองในหมู่พระญาติว่า ท่านหญิงจุ่น ทรงเป็นพระพี่เลี้ยงใน สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และทรงทำหน้าที่พระอภิบาลใน สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา, รัชกาลที่ 8 และ รัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงแล่าถึงหม่อมเจ้าหญิงกุสุมาดังนี้ หม่อมเจ้าหญิงกุสุมาสิ้นชีพิตักษัยปี พ.ศ. 2477 สิริพระชนมายุ 55 ชันษา - หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ทรงมีพระขนิษฐาร่วมพระมารดาคือ - หม่อมเจ้าหญิงประภาพรรณ เกษมสันต์
หม่อมเจียม คชเสนี เป็นธิดาของใคร
{ "answer": [ "สมิงอังวะมังสี (ทองคำ) คชเสนี" ], "answer_begin_position": [ 313 ], "answer_end_position": [ 342 ] }
1,886
605,272
หม่อมเจ้ากุสุมา เกษมสันต์ หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ประสูติวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 เป็นพระธิดาลำดับที่ 7 ใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ กับ หม่อมเจียม คชเสนี ธิดา สมิงอังวะมังสี (ทองคำ) คชเสนี ผู้เป็นหลานปู่เจ้าพระยามหาโยธา (พญาทอเรียะ) บุตร เจ้าพระยามหาโยธานราธิบดีศรีพิชัยณรงค์ (พญาเจ่ง) ต้นสกุล คชเสนี หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ทรงมีพระนามอย่างลำลองในหมู่พระญาติว่า ท่านหญิงจุ่น ทรงเป็นพระพี่เลี้ยงใน สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และทรงทำหน้าที่พระอภิบาลใน สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา, รัชกาลที่ 8 และ รัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงแล่าถึงหม่อมเจ้าหญิงกุสุมาดังนี้ หม่อมเจ้าหญิงกุสุมาสิ้นชีพิตักษัยปี พ.ศ. 2477 สิริพระชนมายุ 55 ชันษา - หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ทรงมีพระขนิษฐาร่วมพระมารดาคือ - หม่อมเจ้าหญิงประภาพรรณ เกษมสันต์
หม่อมเจ้าหญิงกุสุมา เกษมสันต์ ประสูติวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "24" ], "answer_begin_position": [ 170 ], "answer_end_position": [ 172 ] }
768
198,596
หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร พลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร (22 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ กับหม่อมช้อย วิจิตรานุช ทรงรับราชการทหารเรือจนได้เป็นผู้บัญชาการทหารเรือ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 สืบต่อจากพลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร เสกสมรสกับหม่อมเจ้าดวงทิพโชติแจ้งหล้า รพีพัฒน์ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ มีบุตรธิดา คือ- หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์หญิงทิพภากร อาภากร สมรสกับหม่อมราชวงศ์วิบูลย์เกียรติ วรวรรณ บุตรพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ มีบุตรธิดา คือ หม่อมหลวงเกียรติกร วรวรรณ และหม่อมหลวงสุทธิ์ธรทิพย์ วรวรรณ - หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์พรระพี อาภากร สมรสกับ อุมาภร ศุภสมุทร มีบุตรคือ หม่อมหลวงพงศ์ระพีพร อาภากร พลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 ขณะทรงดำรงอยู่ในตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือเครื่องราชอิสริยาภรณ์
หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร เสกสมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "หม่อมเจ้าดวงทิพโชติแจ้งหล้า รพีพัฒน์" ], "answer_begin_position": [ 472 ], "answer_end_position": [ 508 ] }
861
198,596
หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร พลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร (22 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ กับหม่อมช้อย วิจิตรานุช ทรงรับราชการทหารเรือจนได้เป็นผู้บัญชาการทหารเรือ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 สืบต่อจากพลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร เสกสมรสกับหม่อมเจ้าดวงทิพโชติแจ้งหล้า รพีพัฒน์ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ มีบุตรธิดา คือ- หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์หญิงทิพภากร อาภากร สมรสกับหม่อมราชวงศ์วิบูลย์เกียรติ วรวรรณ บุตรพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ มีบุตรธิดา คือ หม่อมหลวงเกียรติกร วรวรรณ และหม่อมหลวงสุทธิ์ธรทิพย์ วรวรรณ - หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์พรระพี อาภากร สมรสกับ อุมาภร ศุภสมุทร มีบุตรคือ หม่อมหลวงพงศ์ระพีพร อาภากร พลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 ขณะทรงดำรงอยู่ในตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือเครื่องราชอิสริยาภรณ์
หม่อมเจ้าดวงทิพโชติแจ้งหล้า รพีพัฒน์ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์ใด
{ "answer": [ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์" ], "answer_begin_position": [ 518 ], "answer_end_position": [ 560 ] }
862
198,596
หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร พลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร (22 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ กับหม่อมช้อย วิจิตรานุช ทรงรับราชการทหารเรือจนได้เป็นผู้บัญชาการทหารเรือ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 สืบต่อจากพลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร เสกสมรสกับหม่อมเจ้าดวงทิพโชติแจ้งหล้า รพีพัฒน์ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ มีบุตรธิดา คือ- หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์หญิงทิพภากร อาภากร สมรสกับหม่อมราชวงศ์วิบูลย์เกียรติ วรวรรณ บุตรพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ มีบุตรธิดา คือ หม่อมหลวงเกียรติกร วรวรรณ และหม่อมหลวงสุทธิ์ธรทิพย์ วรวรรณ - หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์พรระพี อาภากร สมรสกับ อุมาภร ศุภสมุทร มีบุตรคือ หม่อมหลวงพงศ์ระพีพร อาภากร พลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 ขณะทรงดำรงอยู่ในตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือเครื่องราชอิสริยาภรณ์
หม่อมราชวงศ์พรระพี อาภากร สมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "อุมาภร ศุภสมุทร" ], "answer_begin_position": [ 927 ], "answer_end_position": [ 942 ] }
1,795
198,596
หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร พลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร (22 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ กับหม่อมช้อย วิจิตรานุช ทรงรับราชการทหารเรือจนได้เป็นผู้บัญชาการทหารเรือ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 สืบต่อจากพลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร เสกสมรสกับหม่อมเจ้าดวงทิพโชติแจ้งหล้า รพีพัฒน์ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ มีบุตรธิดา คือ- หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์หญิงทิพภากร อาภากร สมรสกับหม่อมราชวงศ์วิบูลย์เกียรติ วรวรรณ บุตรพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ มีบุตรธิดา คือ หม่อมหลวงเกียรติกร วรวรรณ และหม่อมหลวงสุทธิ์ธรทิพย์ วรวรรณ - หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์ชาย ถึงแก่กรรมตั้งแต่เด็ก - หม่อมราชวงศ์พรระพี อาภากร สมรสกับ อุมาภร ศุภสมุทร มีบุตรคือ หม่อมหลวงพงศ์ระพีพร อาภากร พลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 ขณะทรงดำรงอยู่ในตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือเครื่องราชอิสริยาภรณ์
พลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "20" ], "answer_begin_position": [ 1041 ], "answer_end_position": [ 1043 ] }
769
945,001
หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล หรือรู้จักกันทั่วไปในชื่อ คุณป้อม ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารโดยเฉพาะอาหารไทยตำรับชาววัง และด้านการออกแบบอาหาร กรรมการรายการมาสเตอร์เชฟไทยแลนด์ ซีซันที่ 1 และมาสเตอร์เชฟไทยแลนด์ ซีซันที่ 2 และเป็นเจ้าของวลีเด็ด เตือนแล้วนะประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล เป็นบุตรคนเล็กของหม่อมราชวงศ์เทพยพงศ์ เทวกุล กับนางประเทือง เทวกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศิลปรัศมี) โดยมีพี่ร่วมบิดามารดาได้แก่ หม่อมหลวงประทิ่นทิพย์ นาครทรรพ, หม่อมหลวงปรางทิพย์ พรหมพจน์ และ หม่อมหลวงเทวพร เทวกุล เป็นนัดดาในหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล (พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา) กับหม่อมราชวงศ์สอางค์ เทวกุล (ปราโมช) ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมนุ่ม ปราโมช ณ อยุธยา ด้านการศึกษาสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนจิตรลดา, ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนราชินี และระดับปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านการสมรสสมรสและหย่าโดยใช้นามสกุลสามี "สามเสน" ต่อมากลับมาใช้นามสกุลเดิม "เทวกุล" มีบุตรชาย 3 คนอุปนิสัย อุปนิสัย. หม่อมหลวงชวัญทิพย์ได้ให้สัมภาษณ์กับหลายรายการว่า ตนเองนั้นไมได้เรียบร้อยแบบผู้หญิงไทย อุปนิสัยของตนนั้นมีลักษณะห้าวหาญมากกว่า โดยหลังจากที่ตนหย่าขาดจากสามีโดยให้เหตุผลว่า สามีของเธอนั้นรักสนุก เธอก็เลี้ยงดูบุตรชายของเธอทั้ง 3 คนเพียงลำพัง โดยหม่อมหลวงขวัญทิพย์ยังสอนให้ลูกทั้ง 3 คน ให้ความเคารพคุณพ่อดังเดิม ถึงแม้ตนเองนั้นจะแยกกันอยู่ก็ตาม
หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล หรือรู้จักกันในชื่ออะไร
{ "answer": [ "คุณป้อม" ], "answer_begin_position": [ 178 ], "answer_end_position": [ 185 ] }
868
945,001
หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล หรือรู้จักกันทั่วไปในชื่อ คุณป้อม ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารโดยเฉพาะอาหารไทยตำรับชาววัง และด้านการออกแบบอาหาร กรรมการรายการมาสเตอร์เชฟไทยแลนด์ ซีซันที่ 1 และมาสเตอร์เชฟไทยแลนด์ ซีซันที่ 2 และเป็นเจ้าของวลีเด็ด เตือนแล้วนะประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล เป็นบุตรคนเล็กของหม่อมราชวงศ์เทพยพงศ์ เทวกุล กับนางประเทือง เทวกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศิลปรัศมี) โดยมีพี่ร่วมบิดามารดาได้แก่ หม่อมหลวงประทิ่นทิพย์ นาครทรรพ, หม่อมหลวงปรางทิพย์ พรหมพจน์ และ หม่อมหลวงเทวพร เทวกุล เป็นนัดดาในหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล (พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา) กับหม่อมราชวงศ์สอางค์ เทวกุล (ปราโมช) ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมนุ่ม ปราโมช ณ อยุธยา ด้านการศึกษาสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนจิตรลดา, ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนราชินี และระดับปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านการสมรสสมรสและหย่าโดยใช้นามสกุลสามี "สามเสน" ต่อมากลับมาใช้นามสกุลเดิม "เทวกุล" มีบุตรชาย 3 คนอุปนิสัย อุปนิสัย. หม่อมหลวงชวัญทิพย์ได้ให้สัมภาษณ์กับหลายรายการว่า ตนเองนั้นไมได้เรียบร้อยแบบผู้หญิงไทย อุปนิสัยของตนนั้นมีลักษณะห้าวหาญมากกว่า โดยหลังจากที่ตนหย่าขาดจากสามีโดยให้เหตุผลว่า สามีของเธอนั้นรักสนุก เธอก็เลี้ยงดูบุตรชายของเธอทั้ง 3 คนเพียงลำพัง โดยหม่อมหลวงขวัญทิพย์ยังสอนให้ลูกทั้ง 3 คน ให้ความเคารพคุณพ่อดังเดิม ถึงแม้ตนเองนั้นจะแยกกันอยู่ก็ตาม
นางประเทือง เทวกุล ณ อยุธยา ใช้สกุลเดิมคืออะไร
{ "answer": [ "ศิลปรัศมี" ], "answer_begin_position": [ 497 ], "answer_end_position": [ 506 ] }
1,718
945,001
หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล หรือรู้จักกันทั่วไปในชื่อ คุณป้อม ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารโดยเฉพาะอาหารไทยตำรับชาววัง และด้านการออกแบบอาหาร กรรมการรายการมาสเตอร์เชฟไทยแลนด์ ซีซันที่ 1 และมาสเตอร์เชฟไทยแลนด์ ซีซันที่ 2 และเป็นเจ้าของวลีเด็ด เตือนแล้วนะประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล เป็นบุตรคนเล็กของหม่อมราชวงศ์เทพยพงศ์ เทวกุล กับนางประเทือง เทวกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศิลปรัศมี) โดยมีพี่ร่วมบิดามารดาได้แก่ หม่อมหลวงประทิ่นทิพย์ นาครทรรพ, หม่อมหลวงปรางทิพย์ พรหมพจน์ และ หม่อมหลวงเทวพร เทวกุล เป็นนัดดาในหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล (พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา) กับหม่อมราชวงศ์สอางค์ เทวกุล (ปราโมช) ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมนุ่ม ปราโมช ณ อยุธยา ด้านการศึกษาสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนจิตรลดา, ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนราชินี และระดับปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านการสมรสสมรสและหย่าโดยใช้นามสกุลสามี "สามเสน" ต่อมากลับมาใช้นามสกุลเดิม "เทวกุล" มีบุตรชาย 3 คนอุปนิสัย อุปนิสัย. หม่อมหลวงชวัญทิพย์ได้ให้สัมภาษณ์กับหลายรายการว่า ตนเองนั้นไมได้เรียบร้อยแบบผู้หญิงไทย อุปนิสัยของตนนั้นมีลักษณะห้าวหาญมากกว่า โดยหลังจากที่ตนหย่าขาดจากสามีโดยให้เหตุผลว่า สามีของเธอนั้นรักสนุก เธอก็เลี้ยงดูบุตรชายของเธอทั้ง 3 คนเพียงลำพัง โดยหม่อมหลวงขวัญทิพย์ยังสอนให้ลูกทั้ง 3 คน ให้ความเคารพคุณพ่อดังเดิม ถึงแม้ตนเองนั้นจะแยกกันอยู่ก็ตาม
พระบิดาของหม่อมราชวงศ์สอางค์ เทวกุล หรือ ปราโมช มีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ" ], "answer_begin_position": [ 795 ], "answer_end_position": [ 823 ] }
1,925
945,001
หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล หรือรู้จักกันทั่วไปในชื่อ คุณป้อม ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารโดยเฉพาะอาหารไทยตำรับชาววัง และด้านการออกแบบอาหาร กรรมการรายการมาสเตอร์เชฟไทยแลนด์ ซีซันที่ 1 และมาสเตอร์เชฟไทยแลนด์ ซีซันที่ 2 และเป็นเจ้าของวลีเด็ด เตือนแล้วนะประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล เป็นบุตรคนเล็กของหม่อมราชวงศ์เทพยพงศ์ เทวกุล กับนางประเทือง เทวกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศิลปรัศมี) โดยมีพี่ร่วมบิดามารดาได้แก่ หม่อมหลวงประทิ่นทิพย์ นาครทรรพ, หม่อมหลวงปรางทิพย์ พรหมพจน์ และ หม่อมหลวงเทวพร เทวกุล เป็นนัดดาในหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล (พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา) กับหม่อมราชวงศ์สอางค์ เทวกุล (ปราโมช) ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมนุ่ม ปราโมช ณ อยุธยา ด้านการศึกษาสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนจิตรลดา, ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนราชินี และระดับปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านการสมรสสมรสและหย่าโดยใช้นามสกุลสามี "สามเสน" ต่อมากลับมาใช้นามสกุลเดิม "เทวกุล" มีบุตรชาย 3 คนอุปนิสัย อุปนิสัย. หม่อมหลวงชวัญทิพย์ได้ให้สัมภาษณ์กับหลายรายการว่า ตนเองนั้นไมได้เรียบร้อยแบบผู้หญิงไทย อุปนิสัยของตนนั้นมีลักษณะห้าวหาญมากกว่า โดยหลังจากที่ตนหย่าขาดจากสามีโดยให้เหตุผลว่า สามีของเธอนั้นรักสนุก เธอก็เลี้ยงดูบุตรชายของเธอทั้ง 3 คนเพียงลำพัง โดยหม่อมหลวงขวัญทิพย์ยังสอนให้ลูกทั้ง 3 คน ให้ความเคารพคุณพ่อดังเดิม ถึงแม้ตนเองนั้นจะแยกกันอยู่ก็ตาม
บิดาของหม่อมหลวงขวัญทิพย์ เทวกุล คือผู้ใด
{ "answer": [ "หม่อมราชวงศ์เทพยพงศ์ เทวกุล" ], "answer_begin_position": [ 428 ], "answer_end_position": [ 455 ] }
770
299,618
หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ เป็นบุตรชายของหม่อมราชวงศ์นับทอง ทองใหญ่ กับนางกุลนิติ ทองใหญ่ ณ อยุธยา สมรสกับ หม่อมหลวงหญิงขวัญกมล เทวกุล ธิดาของหม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล องคมนตรี กับคุณหญิงขวัญตา เทวกุล ณ อยุธยา (ขวัญตา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา) มีบุตร-ธิดา คือ1. นางสาวทิพยมาศ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (ไหม) 2. นางสาวกมลมาศ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (มิ้นท์) 3. เด็กชายทองเทวินทร์ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (แม็ค) (เสียชีวิต 31 ส.ค.2545)การศึกษา การศึกษา. หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากแคนเบอรา ประเทศออสเตรเลีย และเคยเป็นนักกีฬาคริกเกตของทีมแคนเบอราอีกด้วย ต่อจากนั้นจึงได้ศึกษาจนจบปริญญาตรี สาขาออกแบบอุตสาหกรรม จากมหาวิทยาลัยออสเตรเลียน อินเตอร์เนชั่นแนล และจบปริญญาโท สาขาอิเล็กทรอนิกส์กราฟิค มหาวิทยาลัยโคเวนตรี ประเทศอังกฤษการทำงาน การทำงาน. หม่อมหลวงคฑาทอง เริ่มรับราชการในตำแหน่งนักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ ระดับ 4 สังกัดกรมส่งเสริมการส่งออก เมื่อปี พ.ศ. 2532 จนกระทั่งได้รับตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่มมูลค่าสินค้า กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ ในปี พ.ศ. 2545 นอกจากนั้นยังมีผลงานเป็นนายแบบโฆษณาน้ำมันใส่ผม ไบรล์ครีม และครีเอทีฟให้กับบริษัท โอกิลวี่ แอนด์ เมเธอร์ รวมถึงเป็นผู้อำนวยการฝ่ายศิลป์ นิตยสารเอ็กเซ็นต์ไทย
หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ เกิดที่ไหน
{ "answer": [ "กรุงเทพมหานคร" ], "answer_begin_position": [ 153 ], "answer_end_position": [ 166 ] }
870
299,618
หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ เป็นบุตรชายของหม่อมราชวงศ์นับทอง ทองใหญ่ กับนางกุลนิติ ทองใหญ่ ณ อยุธยา สมรสกับ หม่อมหลวงหญิงขวัญกมล เทวกุล ธิดาของหม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล องคมนตรี กับคุณหญิงขวัญตา เทวกุล ณ อยุธยา (ขวัญตา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา) มีบุตร-ธิดา คือ1. นางสาวทิพยมาศ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (ไหม) 2. นางสาวกมลมาศ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (มิ้นท์) 3. เด็กชายทองเทวินทร์ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (แม็ค) (เสียชีวิต 31 ส.ค.2545)การศึกษา การศึกษา. หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากแคนเบอรา ประเทศออสเตรเลีย และเคยเป็นนักกีฬาคริกเกตของทีมแคนเบอราอีกด้วย ต่อจากนั้นจึงได้ศึกษาจนจบปริญญาตรี สาขาออกแบบอุตสาหกรรม จากมหาวิทยาลัยออสเตรเลียน อินเตอร์เนชั่นแนล และจบปริญญาโท สาขาอิเล็กทรอนิกส์กราฟิค มหาวิทยาลัยโคเวนตรี ประเทศอังกฤษการทำงาน การทำงาน. หม่อมหลวงคฑาทอง เริ่มรับราชการในตำแหน่งนักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ ระดับ 4 สังกัดกรมส่งเสริมการส่งออก เมื่อปี พ.ศ. 2532 จนกระทั่งได้รับตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่มมูลค่าสินค้า กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ ในปี พ.ศ. 2545 นอกจากนั้นยังมีผลงานเป็นนายแบบโฆษณาน้ำมันใส่ผม ไบรล์ครีม และครีเอทีฟให้กับบริษัท โอกิลวี่ แอนด์ เมเธอร์ รวมถึงเป็นผู้อำนวยการฝ่ายศิลป์ นิตยสารเอ็กเซ็นต์ไทย
หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากแคนเบอรา ประเทศอะไร
{ "answer": [ "ประเทศออสเตรเลีย" ], "answer_begin_position": [ 631 ], "answer_end_position": [ 647 ] }
1,679
299,618
หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ เป็นบุตรชายของหม่อมราชวงศ์นับทอง ทองใหญ่ กับนางกุลนิติ ทองใหญ่ ณ อยุธยา สมรสกับ หม่อมหลวงหญิงขวัญกมล เทวกุล ธิดาของหม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล องคมนตรี กับคุณหญิงขวัญตา เทวกุล ณ อยุธยา (ขวัญตา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา) มีบุตร-ธิดา คือ1. นางสาวทิพยมาศ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (ไหม) 2. นางสาวกมลมาศ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (มิ้นท์) 3. เด็กชายทองเทวินทร์ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (แม็ค) (เสียชีวิต 31 ส.ค.2545)การศึกษา การศึกษา. หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากแคนเบอรา ประเทศออสเตรเลีย และเคยเป็นนักกีฬาคริกเกตของทีมแคนเบอราอีกด้วย ต่อจากนั้นจึงได้ศึกษาจนจบปริญญาตรี สาขาออกแบบอุตสาหกรรม จากมหาวิทยาลัยออสเตรเลียน อินเตอร์เนชั่นแนล และจบปริญญาโท สาขาอิเล็กทรอนิกส์กราฟิค มหาวิทยาลัยโคเวนตรี ประเทศอังกฤษการทำงาน การทำงาน. หม่อมหลวงคฑาทอง เริ่มรับราชการในตำแหน่งนักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ ระดับ 4 สังกัดกรมส่งเสริมการส่งออก เมื่อปี พ.ศ. 2532 จนกระทั่งได้รับตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่มมูลค่าสินค้า กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ ในปี พ.ศ. 2545 นอกจากนั้นยังมีผลงานเป็นนายแบบโฆษณาน้ำมันใส่ผม ไบรล์ครีม และครีเอทีฟให้กับบริษัท โอกิลวี่ แอนด์ เมเธอร์ รวมถึงเป็นผู้อำนวยการฝ่ายศิลป์ นิตยสารเอ็กเซ็นต์ไทย
พระมารดาของหม่อมหลวงหญิงขวัญกมล เทวกุล คือใคร
{ "answer": [ "คุณหญิงขวัญตา เทวกุล ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 329 ], "answer_end_position": [ 358 ] }
1,819
299,618
หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ เป็นบุตรชายของหม่อมราชวงศ์นับทอง ทองใหญ่ กับนางกุลนิติ ทองใหญ่ ณ อยุธยา สมรสกับ หม่อมหลวงหญิงขวัญกมล เทวกุล ธิดาของหม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล องคมนตรี กับคุณหญิงขวัญตา เทวกุล ณ อยุธยา (ขวัญตา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา) มีบุตร-ธิดา คือ1. นางสาวทิพยมาศ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (ไหม) 2. นางสาวกมลมาศ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (มิ้นท์) 3. เด็กชายทองเทวินทร์ ทองใหญ่ ณ อยุธยา (แม็ค) (เสียชีวิต 31 ส.ค.2545)การศึกษา การศึกษา. หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากแคนเบอรา ประเทศออสเตรเลีย และเคยเป็นนักกีฬาคริกเกตของทีมแคนเบอราอีกด้วย ต่อจากนั้นจึงได้ศึกษาจนจบปริญญาตรี สาขาออกแบบอุตสาหกรรม จากมหาวิทยาลัยออสเตรเลียน อินเตอร์เนชั่นแนล และจบปริญญาโท สาขาอิเล็กทรอนิกส์กราฟิค มหาวิทยาลัยโคเวนตรี ประเทศอังกฤษการทำงาน การทำงาน. หม่อมหลวงคฑาทอง เริ่มรับราชการในตำแหน่งนักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ ระดับ 4 สังกัดกรมส่งเสริมการส่งออก เมื่อปี พ.ศ. 2532 จนกระทั่งได้รับตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่มมูลค่าสินค้า กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ ในปี พ.ศ. 2545 นอกจากนั้นยังมีผลงานเป็นนายแบบโฆษณาน้ำมันใส่ผม ไบรล์ครีม และครีเอทีฟให้กับบริษัท โอกิลวี่ แอนด์ เมเธอร์ รวมถึงเป็นผู้อำนวยการฝ่ายศิลป์ นิตยสารเอ็กเซ็นต์ไทย
มารดาของหม่อมหลวงหญิงขวัญกมล เทวกุล คือใคร
{ "answer": [ "คุณหญิงขวัญตา เทวกุล ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 329 ], "answer_end_position": [ 358 ] }
771
224,258
หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เป็นที่มาของชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ ในฝั่งธนบุรี เป็นปลัดกระทรวงคมนาคมเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2489 หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ เป็นบุตรของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงวงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2456 ได้รับทุนของกรมรถไฟหลวง ไปศึกษาต่อในด้านวิศวกรรมโยธา ที่ประเทศอังกฤษจนจบการศึกษา แล้วเข้ารับราชการในกรมรถไฟหลวง เมื่อ พ.ศ. 2465 ในตำแหน่ง นายช่างผู้ช่วยประจำกองก่อสร้างสายตะวันออกเฉียงเหนือ จนตำแหน่งสุดท้ายในกรมรถไฟคือ ผู้อำนวยการราชการฝ่ายการช่างโยธา กรมรถไฟ กระทรวงคมนาคม (วิศวกรใหญ่ฝ่ายการช่างโยธา การรถไฟแห่งประเทศไทยในปัจจุบัน) จากนั้นจึงโอนไปรับราชการในกระทรวงอุตสาหกรรม ตำแหน่ง อธิบดีกรมโลหะกิจ จนตำแหน่งสุดท้ายเป็นปลัดกระทรวงคมนาคม ในรัชกาลที่ 6 ท่านได้รับพระราชทานราชทินนามเป็น หลวงจรัญสนิทวงศ์ นามของท่านถูกนำมาตั้งเป็นชื่อของถนนที่ตัดใหม่โดยกรมทางหลวงในฝั่งธนบุรี เชื่อมถนนเพชรเกษม ตั้งแต่แยกท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ผ่านเขตบางกอกน้อย ขนานไปกับแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นระยะทางประมาณ 11.4 กิโลเมตร ไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานพระราม 6 ในเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เดิมถนนสายนี้กรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อผิดเป็น "จรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์"เครื่องราชอิสริยาภรณ์
หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ อดีตปลัดกระทรวงใด
{ "answer": [ "กระทรวงคมนาคม" ], "answer_begin_position": [ 151 ], "answer_end_position": [ 164 ] }
871
224,258
หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เป็นที่มาของชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ ในฝั่งธนบุรี เป็นปลัดกระทรวงคมนาคมเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2489 หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ เป็นบุตรของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงวงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2456 ได้รับทุนของกรมรถไฟหลวง ไปศึกษาต่อในด้านวิศวกรรมโยธา ที่ประเทศอังกฤษจนจบการศึกษา แล้วเข้ารับราชการในกรมรถไฟหลวง เมื่อ พ.ศ. 2465 ในตำแหน่ง นายช่างผู้ช่วยประจำกองก่อสร้างสายตะวันออกเฉียงเหนือ จนตำแหน่งสุดท้ายในกรมรถไฟคือ ผู้อำนวยการราชการฝ่ายการช่างโยธา กรมรถไฟ กระทรวงคมนาคม (วิศวกรใหญ่ฝ่ายการช่างโยธา การรถไฟแห่งประเทศไทยในปัจจุบัน) จากนั้นจึงโอนไปรับราชการในกระทรวงอุตสาหกรรม ตำแหน่ง อธิบดีกรมโลหะกิจ จนตำแหน่งสุดท้ายเป็นปลัดกระทรวงคมนาคม ในรัชกาลที่ 6 ท่านได้รับพระราชทานราชทินนามเป็น หลวงจรัญสนิทวงศ์ นามของท่านถูกนำมาตั้งเป็นชื่อของถนนที่ตัดใหม่โดยกรมทางหลวงในฝั่งธนบุรี เชื่อมถนนเพชรเกษม ตั้งแต่แยกท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ผ่านเขตบางกอกน้อย ขนานไปกับแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นระยะทางประมาณ 11.4 กิโลเมตร ไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานพระราม 6 ในเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เดิมถนนสายนี้กรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อผิดเป็น "จรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์"เครื่องราชอิสริยาภรณ์
หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ อดีตปลัดกระทรวงใด
{ "answer": [ "กระทรวงคมนาคม" ], "answer_begin_position": [ 151 ], "answer_end_position": [ 164 ] }
1,658
224,258
หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เป็นที่มาของชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ ในฝั่งธนบุรี เป็นปลัดกระทรวงคมนาคมเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2489 หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ เป็นบุตรของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงวงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2456 ได้รับทุนของกรมรถไฟหลวง ไปศึกษาต่อในด้านวิศวกรรมโยธา ที่ประเทศอังกฤษจนจบการศึกษา แล้วเข้ารับราชการในกรมรถไฟหลวง เมื่อ พ.ศ. 2465 ในตำแหน่ง นายช่างผู้ช่วยประจำกองก่อสร้างสายตะวันออกเฉียงเหนือ จนตำแหน่งสุดท้ายในกรมรถไฟคือ ผู้อำนวยการราชการฝ่ายการช่างโยธา กรมรถไฟ กระทรวงคมนาคม (วิศวกรใหญ่ฝ่ายการช่างโยธา การรถไฟแห่งประเทศไทยในปัจจุบัน) จากนั้นจึงโอนไปรับราชการในกระทรวงอุตสาหกรรม ตำแหน่ง อธิบดีกรมโลหะกิจ จนตำแหน่งสุดท้ายเป็นปลัดกระทรวงคมนาคม ในรัชกาลที่ 6 ท่านได้รับพระราชทานราชทินนามเป็น หลวงจรัญสนิทวงศ์ นามของท่านถูกนำมาตั้งเป็นชื่อของถนนที่ตัดใหม่โดยกรมทางหลวงในฝั่งธนบุรี เชื่อมถนนเพชรเกษม ตั้งแต่แยกท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ผ่านเขตบางกอกน้อย ขนานไปกับแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นระยะทางประมาณ 11.4 กิโลเมตร ไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานพระราม 6 ในเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เดิมถนนสายนี้กรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อผิดเป็น "จรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์"เครื่องราชอิสริยาภรณ์
หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ เป็นบุตรของเจ้าพระยาพระองค์ใด
{ "answer": [ "เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์" ], "answer_begin_position": [ 292 ], "answer_end_position": [ 315 ] }
1,803
224,258
หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เป็นที่มาของชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ ในฝั่งธนบุรี เป็นปลัดกระทรวงคมนาคมเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2489 หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ เป็นบุตรของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงวงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2456 ได้รับทุนของกรมรถไฟหลวง ไปศึกษาต่อในด้านวิศวกรรมโยธา ที่ประเทศอังกฤษจนจบการศึกษา แล้วเข้ารับราชการในกรมรถไฟหลวง เมื่อ พ.ศ. 2465 ในตำแหน่ง นายช่างผู้ช่วยประจำกองก่อสร้างสายตะวันออกเฉียงเหนือ จนตำแหน่งสุดท้ายในกรมรถไฟคือ ผู้อำนวยการราชการฝ่ายการช่างโยธา กรมรถไฟ กระทรวงคมนาคม (วิศวกรใหญ่ฝ่ายการช่างโยธา การรถไฟแห่งประเทศไทยในปัจจุบัน) จากนั้นจึงโอนไปรับราชการในกระทรวงอุตสาหกรรม ตำแหน่ง อธิบดีกรมโลหะกิจ จนตำแหน่งสุดท้ายเป็นปลัดกระทรวงคมนาคม ในรัชกาลที่ 6 ท่านได้รับพระราชทานราชทินนามเป็น หลวงจรัญสนิทวงศ์ นามของท่านถูกนำมาตั้งเป็นชื่อของถนนที่ตัดใหม่โดยกรมทางหลวงในฝั่งธนบุรี เชื่อมถนนเพชรเกษม ตั้งแต่แยกท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ผ่านเขตบางกอกน้อย ขนานไปกับแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นระยะทางประมาณ 11.4 กิโลเมตร ไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานพระราม 6 ในเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เดิมถนนสายนี้กรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อผิดเป็น "จรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์"เครื่องราชอิสริยาภรณ์
มารดาของหม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ คือใคร
{ "answer": [ "ท่านผู้หญิงวงศานุประพัทธ์" ], "answer_begin_position": [ 348 ], "answer_end_position": [ 373 ] }
772
565,618
หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ พลโท นายแพทย์ หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เป็นบุตรของมหาอำมาตย์เอกพลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) และยังเป็นพระมาตุลาเพียงแค่ท่านเดียวในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่มาจากผู้ที่เป็นน้องชายร่วมมารดาเดียวกันกับหม่อมหลวงบัว กิติยากร ผู้ที่เป็นพระชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถการศึกษา การศึกษา. สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2469 ปริญญาแพทยศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2484 เริ่มเป็นแพทย์ทหารไปปฏิบัติราชการสงครามอินโดจีนเมื่อกลับมาแล้วเป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลกลาง ซึ่งอยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสงครามเลิกแล้วได้ย้ายไปทำงานที่โรงพยาบาลเลิดสินซึ่งเป็นโรงพยาบาลเปิดใหม่ต่อมาได้รับทุนฟูลไบร์ทไปศึกษาและฝึกงานศัลยกรรมกระดูกที่ SyracuseUniversity แล้วทำงานต่อที่สหรัฐอเมริกากลับมาทำงานต่อที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าจัดตั้งแผนกศัลยกรรมกระดูกขึ้นเป็นแผนกเฉพาะในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้ารับราชการ รับราชการ. หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์เริ่มรับราชการสนองพระเดชพระคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2498 โดยถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นครั้งคราว พร้อมกับทำงานที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปด้วยซึ่งในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จแปรพระราชฐานบ่อยขึ้น หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ต้องตามเสด็จด้วย การเสด็จเยี่ยมราษฎรแต่ละครั้งทรงรับเอาราษฎรเป็นคนไข้ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ และโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ ร่วมให้การรักษา ขณะนั้นหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ยังเป็นแพทย์ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าอยู่ด้วย ขณะนั้นจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทราบถึงความไม่สะดวกของหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ จึงย้ายหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ไปเป็นนายแพทย์ประจำกองบัญชาการทหารสูงสุดและส่งมาปฏิบัติหน้าที่ถวายการรักษาโดยตรงตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2503 – พ.ศ. 2510 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีหมายกำหนดการเสด็จเยือนต่างประเทศเป็นทางการเกือบ 30 ประเทศ หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ในขณะนั้นมียศพันเอก โดยติดตามเสด็จทุกประเทศในฐานะแพทย์ประจำพระองค์ การที่หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ ได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นระยะเวลายาวนานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งให้เป็นราชองครักษ์พิเศษครอบครัว ครอบครัว. หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ สมรสกับท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา มีบุตร-ธิดาด้วยกัน 3 คนคือ- พลอากาศเอก จารึก สนิทวงศ์ ณ อยุธยา สมรสกับนางสาวกานดา ศรืรัชยานนท์ - คุณหญิงบุษยา ไกรฤกษ์ สมรสกับ ดร. จิตรพัฒน์ ไกรฤกษ์ - พันตรี ภาดร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา สมรสกับนางสาวพรพิมล เอี่ยมบุญลือชีวิตบั้นปลาย ชีวิตบั้นปลาย. ต่อมาเมื่ออายุได้ 67 ปี พลโท นายแพทย์หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เห็นว่าตนเองมีอายุมากแล้วสมควรที่จะให้ผู้อื่นปฏิบัติหน้าที่แพทย์ประจำพระองค์แทนต่อไปจึงได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งแพทย์ประจำพระองค์แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงอนุมัติ ยังคงให้หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เป็นแพทย์ประจำพระองค์สืบต่อมา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศาสตราจารย์ นายแพทย์ดนัย สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เป็นแพทย์ประจำพระองค์อีกคนหนึ่ง
หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เป็นพระมาตุลาของใคร
{ "answer": [ "สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ" ], "answer_begin_position": [ 453 ], "answer_end_position": [ 494 ] }
773
565,618
หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ พลโท นายแพทย์ หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เป็นบุตรของมหาอำมาตย์เอกพลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) และยังเป็นพระมาตุลาเพียงแค่ท่านเดียวในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่มาจากผู้ที่เป็นน้องชายร่วมมารดาเดียวกันกับหม่อมหลวงบัว กิติยากร ผู้ที่เป็นพระชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถการศึกษา การศึกษา. สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2469 ปริญญาแพทยศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2484 เริ่มเป็นแพทย์ทหารไปปฏิบัติราชการสงครามอินโดจีนเมื่อกลับมาแล้วเป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลกลาง ซึ่งอยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสงครามเลิกแล้วได้ย้ายไปทำงานที่โรงพยาบาลเลิดสินซึ่งเป็นโรงพยาบาลเปิดใหม่ต่อมาได้รับทุนฟูลไบร์ทไปศึกษาและฝึกงานศัลยกรรมกระดูกที่ SyracuseUniversity แล้วทำงานต่อที่สหรัฐอเมริกากลับมาทำงานต่อที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าจัดตั้งแผนกศัลยกรรมกระดูกขึ้นเป็นแผนกเฉพาะในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้ารับราชการ รับราชการ. หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์เริ่มรับราชการสนองพระเดชพระคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2498 โดยถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นครั้งคราว พร้อมกับทำงานที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปด้วยซึ่งในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จแปรพระราชฐานบ่อยขึ้น หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ต้องตามเสด็จด้วย การเสด็จเยี่ยมราษฎรแต่ละครั้งทรงรับเอาราษฎรเป็นคนไข้ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ และโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ ร่วมให้การรักษา ขณะนั้นหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ยังเป็นแพทย์ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าอยู่ด้วย ขณะนั้นจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทราบถึงความไม่สะดวกของหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ จึงย้ายหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ไปเป็นนายแพทย์ประจำกองบัญชาการทหารสูงสุดและส่งมาปฏิบัติหน้าที่ถวายการรักษาโดยตรงตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2503 – พ.ศ. 2510 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีหมายกำหนดการเสด็จเยือนต่างประเทศเป็นทางการเกือบ 30 ประเทศ หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ในขณะนั้นมียศพันเอก โดยติดตามเสด็จทุกประเทศในฐานะแพทย์ประจำพระองค์ การที่หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ ได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นระยะเวลายาวนานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งให้เป็นราชองครักษ์พิเศษครอบครัว ครอบครัว. หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ สมรสกับท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา มีบุตร-ธิดาด้วยกัน 3 คนคือ- พลอากาศเอก จารึก สนิทวงศ์ ณ อยุธยา สมรสกับนางสาวกานดา ศรืรัชยานนท์ - คุณหญิงบุษยา ไกรฤกษ์ สมรสกับ ดร. จิตรพัฒน์ ไกรฤกษ์ - พันตรี ภาดร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา สมรสกับนางสาวพรพิมล เอี่ยมบุญลือชีวิตบั้นปลาย ชีวิตบั้นปลาย. ต่อมาเมื่ออายุได้ 67 ปี พลโท นายแพทย์หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เห็นว่าตนเองมีอายุมากแล้วสมควรที่จะให้ผู้อื่นปฏิบัติหน้าที่แพทย์ประจำพระองค์แทนต่อไปจึงได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งแพทย์ประจำพระองค์แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงอนุมัติ ยังคงให้หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เป็นแพทย์ประจำพระองค์สืบต่อมา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศาสตราจารย์ นายแพทย์ดนัย สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เป็นแพทย์ประจำพระองค์อีกคนหนึ่ง
หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ สมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "ท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 2389 ], "answer_end_position": [ 2424 ] }
873
565,618
หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ พลโท นายแพทย์ หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เป็นบุตรของมหาอำมาตย์เอกพลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) และยังเป็นพระมาตุลาเพียงแค่ท่านเดียวในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่มาจากผู้ที่เป็นน้องชายร่วมมารดาเดียวกันกับหม่อมหลวงบัว กิติยากร ผู้ที่เป็นพระชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถการศึกษา การศึกษา. สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2469 ปริญญาแพทยศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2484 เริ่มเป็นแพทย์ทหารไปปฏิบัติราชการสงครามอินโดจีนเมื่อกลับมาแล้วเป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลกลาง ซึ่งอยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสงครามเลิกแล้วได้ย้ายไปทำงานที่โรงพยาบาลเลิดสินซึ่งเป็นโรงพยาบาลเปิดใหม่ต่อมาได้รับทุนฟูลไบร์ทไปศึกษาและฝึกงานศัลยกรรมกระดูกที่ SyracuseUniversity แล้วทำงานต่อที่สหรัฐอเมริกากลับมาทำงานต่อที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าจัดตั้งแผนกศัลยกรรมกระดูกขึ้นเป็นแผนกเฉพาะในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้ารับราชการ รับราชการ. หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์เริ่มรับราชการสนองพระเดชพระคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2498 โดยถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นครั้งคราว พร้อมกับทำงานที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปด้วยซึ่งในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จแปรพระราชฐานบ่อยขึ้น หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ต้องตามเสด็จด้วย การเสด็จเยี่ยมราษฎรแต่ละครั้งทรงรับเอาราษฎรเป็นคนไข้ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ และโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ ร่วมให้การรักษา ขณะนั้นหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ยังเป็นแพทย์ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าอยู่ด้วย ขณะนั้นจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทราบถึงความไม่สะดวกของหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ จึงย้ายหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ไปเป็นนายแพทย์ประจำกองบัญชาการทหารสูงสุดและส่งมาปฏิบัติหน้าที่ถวายการรักษาโดยตรงตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2503 – พ.ศ. 2510 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีหมายกำหนดการเสด็จเยือนต่างประเทศเป็นทางการเกือบ 30 ประเทศ หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ในขณะนั้นมียศพันเอก โดยติดตามเสด็จทุกประเทศในฐานะแพทย์ประจำพระองค์ การที่หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ ได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นระยะเวลายาวนานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งให้เป็นราชองครักษ์พิเศษครอบครัว ครอบครัว. หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ สมรสกับท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา มีบุตร-ธิดาด้วยกัน 3 คนคือ- พลอากาศเอก จารึก สนิทวงศ์ ณ อยุธยา สมรสกับนางสาวกานดา ศรืรัชยานนท์ - คุณหญิงบุษยา ไกรฤกษ์ สมรสกับ ดร. จิตรพัฒน์ ไกรฤกษ์ - พันตรี ภาดร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา สมรสกับนางสาวพรพิมล เอี่ยมบุญลือชีวิตบั้นปลาย ชีวิตบั้นปลาย. ต่อมาเมื่ออายุได้ 67 ปี พลโท นายแพทย์หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เห็นว่าตนเองมีอายุมากแล้วสมควรที่จะให้ผู้อื่นปฏิบัติหน้าที่แพทย์ประจำพระองค์แทนต่อไปจึงได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งแพทย์ประจำพระองค์แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงอนุมัติ ยังคงให้หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เป็นแพทย์ประจำพระองค์สืบต่อมา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศาสตราจารย์ นายแพทย์ดนัย สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เป็นแพทย์ประจำพระองค์อีกคนหนึ่ง
พลอากาศเอก จารึก สนิทวงศ์ ณ อยุธยา สมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "นางสาวกานดา ศรืรัชยานนท์" ], "answer_begin_position": [ 2495 ], "answer_end_position": [ 2519 ] }
874
565,618
หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ พลโท นายแพทย์ หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เป็นบุตรของมหาอำมาตย์เอกพลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) และยังเป็นพระมาตุลาเพียงแค่ท่านเดียวในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่มาจากผู้ที่เป็นน้องชายร่วมมารดาเดียวกันกับหม่อมหลวงบัว กิติยากร ผู้ที่เป็นพระชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถการศึกษา การศึกษา. สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2469 ปริญญาแพทยศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2484 เริ่มเป็นแพทย์ทหารไปปฏิบัติราชการสงครามอินโดจีนเมื่อกลับมาแล้วเป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลกลาง ซึ่งอยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสงครามเลิกแล้วได้ย้ายไปทำงานที่โรงพยาบาลเลิดสินซึ่งเป็นโรงพยาบาลเปิดใหม่ต่อมาได้รับทุนฟูลไบร์ทไปศึกษาและฝึกงานศัลยกรรมกระดูกที่ SyracuseUniversity แล้วทำงานต่อที่สหรัฐอเมริกากลับมาทำงานต่อที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าจัดตั้งแผนกศัลยกรรมกระดูกขึ้นเป็นแผนกเฉพาะในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้ารับราชการ รับราชการ. หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์เริ่มรับราชการสนองพระเดชพระคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2498 โดยถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นครั้งคราว พร้อมกับทำงานที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปด้วยซึ่งในเวลาต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จแปรพระราชฐานบ่อยขึ้น หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ต้องตามเสด็จด้วย การเสด็จเยี่ยมราษฎรแต่ละครั้งทรงรับเอาราษฎรเป็นคนไข้ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ และโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ ร่วมให้การรักษา ขณะนั้นหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ยังเป็นแพทย์ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าอยู่ด้วย ขณะนั้นจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทราบถึงความไม่สะดวกของหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ จึงย้ายหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ไปเป็นนายแพทย์ประจำกองบัญชาการทหารสูงสุดและส่งมาปฏิบัติหน้าที่ถวายการรักษาโดยตรงตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ในปี พ.ศ. 2503 – พ.ศ. 2510 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีหมายกำหนดการเสด็จเยือนต่างประเทศเป็นทางการเกือบ 30 ประเทศ หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ในขณะนั้นมียศพันเอก โดยติดตามเสด็จทุกประเทศในฐานะแพทย์ประจำพระองค์ การที่หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ ได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นระยะเวลายาวนานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งให้เป็นราชองครักษ์พิเศษครอบครัว ครอบครัว. หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ สมรสกับท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา มีบุตร-ธิดาด้วยกัน 3 คนคือ- พลอากาศเอก จารึก สนิทวงศ์ ณ อยุธยา สมรสกับนางสาวกานดา ศรืรัชยานนท์ - คุณหญิงบุษยา ไกรฤกษ์ สมรสกับ ดร. จิตรพัฒน์ ไกรฤกษ์ - พันตรี ภาดร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา สมรสกับนางสาวพรพิมล เอี่ยมบุญลือชีวิตบั้นปลาย ชีวิตบั้นปลาย. ต่อมาเมื่ออายุได้ 67 ปี พลโท นายแพทย์หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เห็นว่าตนเองมีอายุมากแล้วสมควรที่จะให้ผู้อื่นปฏิบัติหน้าที่แพทย์ประจำพระองค์แทนต่อไปจึงได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งแพทย์ประจำพระองค์แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงอนุมัติ ยังคงให้หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เป็นแพทย์ประจำพระองค์สืบต่อมา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ศาสตราจารย์ นายแพทย์ดนัย สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เป็นแพทย์ประจำพระองค์อีกคนหนึ่ง
คุณหญิงบุษยา ไกรฤกษ์ สมรสกับใคร
{ "answer": [ "ดร. จิตรพัฒน์ ไกรฤกษ์" ], "answer_begin_position": [ 2551 ], "answer_end_position": [ 2572 ] }
774
142,307
หม่อมหลวงชูชาติ กำภู หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (4 มกราคม พ.ศ. 2448-13 เมษายน พ.ศ. 2512) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา และวิทยาลัยการชลประทาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ในวันคล้ายวันเกิดของหม่อมหลวงชูชาติ โรงเรียนชลประทานวิทยาและวิทยาลัยการชลประทานได้กำหนดให้วันที่ 4 มกราคมของทุกปี เป็นวันงานพิธีไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครู และพระคุณของหม่อมหลวงชูชาติ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เกิดวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2448 ที่ตำบลสามยอด อำเภอพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นบุตรคนโตของพลตรีพระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู) และคุณหญิงผอบ สุรเสนา ได้รับพระราชทานนาม "ชูชาติ" จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง หม่อมหลวงชูชาติ กำภู สมรสกับคุณหญิงโฉมศรี กำภู ณ อยุธยา ธิดาของมหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) และคุณหญิงสว่าง พลเทพ มีบุตรธิดาคือ1. นายคาวี กำภู ณ อยุธยา 2. นางสาวสุธาทิพย์ กำภู ณ อยุธยาการศึกษา การศึกษา. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เริ่มการศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2457 เมื่ออายุได้ 9 ปี เรียนจบได้รับประกาศนียบัตรชั้นมัธยมบริบูรณ์ เมื่ออายุได้ 17 ปี และสอบชิงทุนได้รับทุนเล่าเรียนหลวงให้ไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ ได้ศึกษาที่โรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2466 เป็นเวลา 2 ปี แล้วจึงเข้าศึกษาในวิทยาลัยที่มหาวิทยาลัยลอนดอน เมื่อ พ.ศ. 2468 ศึกษาอยู่ 8 ปี จึงสำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโททางวิศวกรรมโยธา ประกาศนียบัตรและปริญญาบัตรที่ได้มาจากมหาวิทยาลัยนี้คือ A.C.G.L., B. Sc. ทางวิศวกรรมโยธา D.IC. (Advanced Dipkoma of Impetial College) และปริญญาโท M.Sc. ในทางคอนกรีตและไฮโดรลิกส์ ในปี พ.ศ. 2472 ได้เข้าฝึกงานในด้านวิศวกรรมโยธาในกรมโยธาธิการของอังกฤษ 1 ปี จึงกลับประเทศไทยเข้ารับราชการในกรมชลประทาน เมื่อ พ.ศ. 2473 หม่อมหลวงชูชาติ กำภู ได้อุปสมบท ณ พัทสีมาวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2482 โดยมีสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) เป็นพระอุปัชฌาย์ มีฉายาว่า ปัญญาวุโธ หลังจากปฏิบัติราชการในด้านกรมชลประทานและวิศวกรรมเรื่อยมา จนมีความรู้และประสบการณ์ในด้านดังกล่าวเป็นพิเศษ จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นราชบัณฑิตในวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เมื่อ พ.ศ. 2505 และปริญญาชั้นสูงสุด คือ ปริญญาช่างชลประทานดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2506 ต่อมาได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา เมื่อได้สร้างเขื่อนภูมิพลแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2507การทำงาน การทำงาน. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เริ่มเข้ารับราชการนายช่างผู้ช่วยประจำกองที่ปรึกษา กรมชลประทาน ชั้นผู้ช่วยเซ็กชั่นแนลเอนจิเนียร์ เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2473 ได้รับพระราชทานยศเป็นรองอำมาตย์เอกในปีต่อมา จนเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการเรื่อยมาจนกระทั่ง ในปี พ.ศ. 2492 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมชลประทาน ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี (วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2499 ถึง 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) และยังคงเป็นอธิบดีกรมชลประทาน จากนั้นในปี พ.ศ. 2507 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2507 จนสิ้นสมัยเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2512) และยังคงเป็นอธิบดีกรมชลประทาน ในช่วงนั้นยังได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2 สิงหาคม พ.ศ. 2508 ถึง 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510) อีกตำแหน่งหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2512 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาแห่งชาติอีก เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2512 และยังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการอยู่จนถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2512หน้าที่ราชการพิเศษหน้าที่ราชการพิเศษ. - พ.ศ. 2491 เป็นกรรมการองค์การอาหารและเกษตรแห่งชาติ (ได้รับเลือกอีกในปี พ.ศ. 2495) - พ.ศ. 2494 เป็นกรรมการพิจารณาเกี่ยวกับการก่อสร้างเขื่อนแม่น้ำเจ้าพระยาโดยใช้เงินกู้จากธนาคารโลก (ได้รับการแต่งตั้งอีกในปี พ.ศ. 2495 และ 2497) - พ.ศ. 2497 เป็นผู้ว่าการองค์การพลังงานไฟฟ้าลิกไนท์ และเป็นกรรมการพลังงานแห่งชาติ - พ.ศ. 2500 เป็นประธานกรรมการการไฟฟ้ายันฮี (จนถึง พ.ศ. 2507) - พ.ศ. 2502 เป็นกรรมการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ (จนถึงแก่อนิจกรรม) - พ.ศ. 2503 เป็นประธานกรรมการชลประทานศึกษามูลนิธิ - พ.ศ. 2510 เป็นรองประธานกรรมการพัฒนาการเกษตร ในเขตโครงการคันและคูน้ำ - พ.ศ. 2511 เป็นผู้แทนประเทศไทยระดับรัฐมนตรีในคณะกรรมการประสานงานทางหลวงแห่งเอเชีย - พ.ศ. 2512 เป็นกรรมการบริหารสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติบั้นปลายชีวิต บั้นปลายชีวิต. หม่อมหลวงชูชาติ กำภูได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคเส้นโลหิตในหัวใจตัน เมื่อวันจันทร์ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2512 รวมอายุได้ 64 ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และพระราชทานโกศไม้สิบสอง และทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้อยู่ในพระบรมราชานุเคราะห์ตั้งแต่ถึงอนิจกรรม จนถึงวันบำเพ็ญกุศล 7 วัน พระราชทาน ณ บ้าน 1225 ถนนสุขุมวิท พระนครเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ. สืบตระกูล พระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู)- พ.ศ. 2507 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) - พ.ศ. 2498 - เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.) - พ.ศ. 2498 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3) - พ.ศ. 2493 - เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9 (กาไหล่ทอง)เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - พ.ศ. 2509 - สายสะพายจากประเทศออสเตรีย (The Silver Grand with Sash for Merit to the Republic of Austria)
หม่อมหลวงชูชาติ กำภู สมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "คุณหญิงโฉมศรี กำภู ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 844 ], "answer_end_position": [ 871 ] }
875
142,307
หม่อมหลวงชูชาติ กำภู หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (4 มกราคม พ.ศ. 2448-13 เมษายน พ.ศ. 2512) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา และวิทยาลัยการชลประทาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ในวันคล้ายวันเกิดของหม่อมหลวงชูชาติ โรงเรียนชลประทานวิทยาและวิทยาลัยการชลประทานได้กำหนดให้วันที่ 4 มกราคมของทุกปี เป็นวันงานพิธีไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครู และพระคุณของหม่อมหลวงชูชาติ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เกิดวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2448 ที่ตำบลสามยอด อำเภอพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นบุตรคนโตของพลตรีพระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู) และคุณหญิงผอบ สุรเสนา ได้รับพระราชทานนาม "ชูชาติ" จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง หม่อมหลวงชูชาติ กำภู สมรสกับคุณหญิงโฉมศรี กำภู ณ อยุธยา ธิดาของมหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) และคุณหญิงสว่าง พลเทพ มีบุตรธิดาคือ1. นายคาวี กำภู ณ อยุธยา 2. นางสาวสุธาทิพย์ กำภู ณ อยุธยาการศึกษา การศึกษา. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เริ่มการศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2457 เมื่ออายุได้ 9 ปี เรียนจบได้รับประกาศนียบัตรชั้นมัธยมบริบูรณ์ เมื่ออายุได้ 17 ปี และสอบชิงทุนได้รับทุนเล่าเรียนหลวงให้ไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ ได้ศึกษาที่โรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2466 เป็นเวลา 2 ปี แล้วจึงเข้าศึกษาในวิทยาลัยที่มหาวิทยาลัยลอนดอน เมื่อ พ.ศ. 2468 ศึกษาอยู่ 8 ปี จึงสำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโททางวิศวกรรมโยธา ประกาศนียบัตรและปริญญาบัตรที่ได้มาจากมหาวิทยาลัยนี้คือ A.C.G.L., B. Sc. ทางวิศวกรรมโยธา D.IC. (Advanced Dipkoma of Impetial College) และปริญญาโท M.Sc. ในทางคอนกรีตและไฮโดรลิกส์ ในปี พ.ศ. 2472 ได้เข้าฝึกงานในด้านวิศวกรรมโยธาในกรมโยธาธิการของอังกฤษ 1 ปี จึงกลับประเทศไทยเข้ารับราชการในกรมชลประทาน เมื่อ พ.ศ. 2473 หม่อมหลวงชูชาติ กำภู ได้อุปสมบท ณ พัทสีมาวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2482 โดยมีสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) เป็นพระอุปัชฌาย์ มีฉายาว่า ปัญญาวุโธ หลังจากปฏิบัติราชการในด้านกรมชลประทานและวิศวกรรมเรื่อยมา จนมีความรู้และประสบการณ์ในด้านดังกล่าวเป็นพิเศษ จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นราชบัณฑิตในวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เมื่อ พ.ศ. 2505 และปริญญาชั้นสูงสุด คือ ปริญญาช่างชลประทานดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2506 ต่อมาได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา เมื่อได้สร้างเขื่อนภูมิพลแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2507การทำงาน การทำงาน. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เริ่มเข้ารับราชการนายช่างผู้ช่วยประจำกองที่ปรึกษา กรมชลประทาน ชั้นผู้ช่วยเซ็กชั่นแนลเอนจิเนียร์ เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2473 ได้รับพระราชทานยศเป็นรองอำมาตย์เอกในปีต่อมา จนเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการเรื่อยมาจนกระทั่ง ในปี พ.ศ. 2492 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมชลประทาน ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี (วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2499 ถึง 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) และยังคงเป็นอธิบดีกรมชลประทาน จากนั้นในปี พ.ศ. 2507 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2507 จนสิ้นสมัยเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2512) และยังคงเป็นอธิบดีกรมชลประทาน ในช่วงนั้นยังได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2 สิงหาคม พ.ศ. 2508 ถึง 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510) อีกตำแหน่งหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2512 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาแห่งชาติอีก เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2512 และยังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการอยู่จนถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2512หน้าที่ราชการพิเศษหน้าที่ราชการพิเศษ. - พ.ศ. 2491 เป็นกรรมการองค์การอาหารและเกษตรแห่งชาติ (ได้รับเลือกอีกในปี พ.ศ. 2495) - พ.ศ. 2494 เป็นกรรมการพิจารณาเกี่ยวกับการก่อสร้างเขื่อนแม่น้ำเจ้าพระยาโดยใช้เงินกู้จากธนาคารโลก (ได้รับการแต่งตั้งอีกในปี พ.ศ. 2495 และ 2497) - พ.ศ. 2497 เป็นผู้ว่าการองค์การพลังงานไฟฟ้าลิกไนท์ และเป็นกรรมการพลังงานแห่งชาติ - พ.ศ. 2500 เป็นประธานกรรมการการไฟฟ้ายันฮี (จนถึง พ.ศ. 2507) - พ.ศ. 2502 เป็นกรรมการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ (จนถึงแก่อนิจกรรม) - พ.ศ. 2503 เป็นประธานกรรมการชลประทานศึกษามูลนิธิ - พ.ศ. 2510 เป็นรองประธานกรรมการพัฒนาการเกษตร ในเขตโครงการคันและคูน้ำ - พ.ศ. 2511 เป็นผู้แทนประเทศไทยระดับรัฐมนตรีในคณะกรรมการประสานงานทางหลวงแห่งเอเชีย - พ.ศ. 2512 เป็นกรรมการบริหารสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติบั้นปลายชีวิต บั้นปลายชีวิต. หม่อมหลวงชูชาติ กำภูได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคเส้นโลหิตในหัวใจตัน เมื่อวันจันทร์ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2512 รวมอายุได้ 64 ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และพระราชทานโกศไม้สิบสอง และทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้อยู่ในพระบรมราชานุเคราะห์ตั้งแต่ถึงอนิจกรรม จนถึงวันบำเพ็ญกุศล 7 วัน พระราชทาน ณ บ้าน 1225 ถนนสุขุมวิท พระนครเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ. สืบตระกูล พระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู)- พ.ศ. 2507 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) - พ.ศ. 2498 - เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.) - พ.ศ. 2498 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3) - พ.ศ. 2493 - เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9 (กาไหล่ทอง)เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - พ.ศ. 2509 - สายสะพายจากประเทศออสเตรีย (The Silver Grand with Sash for Merit to the Republic of Austria)
หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนอะไร
{ "answer": [ "โรงเรียนชลประทานวิทยา" ], "answer_begin_position": [ 188 ], "answer_end_position": [ 209 ] }
876
142,307
หม่อมหลวงชูชาติ กำภู หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (4 มกราคม พ.ศ. 2448-13 เมษายน พ.ศ. 2512) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา และวิทยาลัยการชลประทาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ในวันคล้ายวันเกิดของหม่อมหลวงชูชาติ โรงเรียนชลประทานวิทยาและวิทยาลัยการชลประทานได้กำหนดให้วันที่ 4 มกราคมของทุกปี เป็นวันงานพิธีไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครู และพระคุณของหม่อมหลวงชูชาติ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เกิดวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2448 ที่ตำบลสามยอด อำเภอพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นบุตรคนโตของพลตรีพระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู) และคุณหญิงผอบ สุรเสนา ได้รับพระราชทานนาม "ชูชาติ" จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง หม่อมหลวงชูชาติ กำภู สมรสกับคุณหญิงโฉมศรี กำภู ณ อยุธยา ธิดาของมหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) และคุณหญิงสว่าง พลเทพ มีบุตรธิดาคือ1. นายคาวี กำภู ณ อยุธยา 2. นางสาวสุธาทิพย์ กำภู ณ อยุธยาการศึกษา การศึกษา. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เริ่มการศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2457 เมื่ออายุได้ 9 ปี เรียนจบได้รับประกาศนียบัตรชั้นมัธยมบริบูรณ์ เมื่ออายุได้ 17 ปี และสอบชิงทุนได้รับทุนเล่าเรียนหลวงให้ไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ ได้ศึกษาที่โรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2466 เป็นเวลา 2 ปี แล้วจึงเข้าศึกษาในวิทยาลัยที่มหาวิทยาลัยลอนดอน เมื่อ พ.ศ. 2468 ศึกษาอยู่ 8 ปี จึงสำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโททางวิศวกรรมโยธา ประกาศนียบัตรและปริญญาบัตรที่ได้มาจากมหาวิทยาลัยนี้คือ A.C.G.L., B. Sc. ทางวิศวกรรมโยธา D.IC. (Advanced Dipkoma of Impetial College) และปริญญาโท M.Sc. ในทางคอนกรีตและไฮโดรลิกส์ ในปี พ.ศ. 2472 ได้เข้าฝึกงานในด้านวิศวกรรมโยธาในกรมโยธาธิการของอังกฤษ 1 ปี จึงกลับประเทศไทยเข้ารับราชการในกรมชลประทาน เมื่อ พ.ศ. 2473 หม่อมหลวงชูชาติ กำภู ได้อุปสมบท ณ พัทสีมาวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2482 โดยมีสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) เป็นพระอุปัชฌาย์ มีฉายาว่า ปัญญาวุโธ หลังจากปฏิบัติราชการในด้านกรมชลประทานและวิศวกรรมเรื่อยมา จนมีความรู้และประสบการณ์ในด้านดังกล่าวเป็นพิเศษ จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นราชบัณฑิตในวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เมื่อ พ.ศ. 2505 และปริญญาชั้นสูงสุด คือ ปริญญาช่างชลประทานดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2506 ต่อมาได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา เมื่อได้สร้างเขื่อนภูมิพลแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2507การทำงาน การทำงาน. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เริ่มเข้ารับราชการนายช่างผู้ช่วยประจำกองที่ปรึกษา กรมชลประทาน ชั้นผู้ช่วยเซ็กชั่นแนลเอนจิเนียร์ เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2473 ได้รับพระราชทานยศเป็นรองอำมาตย์เอกในปีต่อมา จนเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการเรื่อยมาจนกระทั่ง ในปี พ.ศ. 2492 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมชลประทาน ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี (วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2499 ถึง 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) และยังคงเป็นอธิบดีกรมชลประทาน จากนั้นในปี พ.ศ. 2507 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2507 จนสิ้นสมัยเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2512) และยังคงเป็นอธิบดีกรมชลประทาน ในช่วงนั้นยังได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2 สิงหาคม พ.ศ. 2508 ถึง 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510) อีกตำแหน่งหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2512 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาแห่งชาติอีก เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2512 และยังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการอยู่จนถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2512หน้าที่ราชการพิเศษหน้าที่ราชการพิเศษ. - พ.ศ. 2491 เป็นกรรมการองค์การอาหารและเกษตรแห่งชาติ (ได้รับเลือกอีกในปี พ.ศ. 2495) - พ.ศ. 2494 เป็นกรรมการพิจารณาเกี่ยวกับการก่อสร้างเขื่อนแม่น้ำเจ้าพระยาโดยใช้เงินกู้จากธนาคารโลก (ได้รับการแต่งตั้งอีกในปี พ.ศ. 2495 และ 2497) - พ.ศ. 2497 เป็นผู้ว่าการองค์การพลังงานไฟฟ้าลิกไนท์ และเป็นกรรมการพลังงานแห่งชาติ - พ.ศ. 2500 เป็นประธานกรรมการการไฟฟ้ายันฮี (จนถึง พ.ศ. 2507) - พ.ศ. 2502 เป็นกรรมการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ (จนถึงแก่อนิจกรรม) - พ.ศ. 2503 เป็นประธานกรรมการชลประทานศึกษามูลนิธิ - พ.ศ. 2510 เป็นรองประธานกรรมการพัฒนาการเกษตร ในเขตโครงการคันและคูน้ำ - พ.ศ. 2511 เป็นผู้แทนประเทศไทยระดับรัฐมนตรีในคณะกรรมการประสานงานทางหลวงแห่งเอเชีย - พ.ศ. 2512 เป็นกรรมการบริหารสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติบั้นปลายชีวิต บั้นปลายชีวิต. หม่อมหลวงชูชาติ กำภูได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคเส้นโลหิตในหัวใจตัน เมื่อวันจันทร์ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2512 รวมอายุได้ 64 ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และพระราชทานโกศไม้สิบสอง และทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้อยู่ในพระบรมราชานุเคราะห์ตั้งแต่ถึงอนิจกรรม จนถึงวันบำเพ็ญกุศล 7 วัน พระราชทาน ณ บ้าน 1225 ถนนสุขุมวิท พระนครเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ. สืบตระกูล พระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู)- พ.ศ. 2507 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) - พ.ศ. 2498 - เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.) - พ.ศ. 2498 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3) - พ.ศ. 2493 - เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9 (กาไหล่ทอง)เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - พ.ศ. 2509 - สายสะพายจากประเทศออสเตรีย (The Silver Grand with Sash for Merit to the Republic of Austria)
หม่อมหลวงชูชาติ กำภูได้ ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคอะไร
{ "answer": [ "โรคเส้นโลหิตในหัวใจตัน" ], "answer_begin_position": [ 4117 ], "answer_end_position": [ 4139 ] }
1,781
142,307
หม่อมหลวงชูชาติ กำภู หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (4 มกราคม พ.ศ. 2448-13 เมษายน พ.ศ. 2512) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา และวิทยาลัยการชลประทาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ในวันคล้ายวันเกิดของหม่อมหลวงชูชาติ โรงเรียนชลประทานวิทยาและวิทยาลัยการชลประทานได้กำหนดให้วันที่ 4 มกราคมของทุกปี เป็นวันงานพิธีไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครู และพระคุณของหม่อมหลวงชูชาติ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เกิดวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2448 ที่ตำบลสามยอด อำเภอพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นบุตรคนโตของพลตรีพระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู) และคุณหญิงผอบ สุรเสนา ได้รับพระราชทานนาม "ชูชาติ" จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง หม่อมหลวงชูชาติ กำภู สมรสกับคุณหญิงโฉมศรี กำภู ณ อยุธยา ธิดาของมหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) และคุณหญิงสว่าง พลเทพ มีบุตรธิดาคือ1. นายคาวี กำภู ณ อยุธยา 2. นางสาวสุธาทิพย์ กำภู ณ อยุธยาการศึกษา การศึกษา. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เริ่มการศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2457 เมื่ออายุได้ 9 ปี เรียนจบได้รับประกาศนียบัตรชั้นมัธยมบริบูรณ์ เมื่ออายุได้ 17 ปี และสอบชิงทุนได้รับทุนเล่าเรียนหลวงให้ไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ ได้ศึกษาที่โรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2466 เป็นเวลา 2 ปี แล้วจึงเข้าศึกษาในวิทยาลัยที่มหาวิทยาลัยลอนดอน เมื่อ พ.ศ. 2468 ศึกษาอยู่ 8 ปี จึงสำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโททางวิศวกรรมโยธา ประกาศนียบัตรและปริญญาบัตรที่ได้มาจากมหาวิทยาลัยนี้คือ A.C.G.L., B. Sc. ทางวิศวกรรมโยธา D.IC. (Advanced Dipkoma of Impetial College) และปริญญาโท M.Sc. ในทางคอนกรีตและไฮโดรลิกส์ ในปี พ.ศ. 2472 ได้เข้าฝึกงานในด้านวิศวกรรมโยธาในกรมโยธาธิการของอังกฤษ 1 ปี จึงกลับประเทศไทยเข้ารับราชการในกรมชลประทาน เมื่อ พ.ศ. 2473 หม่อมหลวงชูชาติ กำภู ได้อุปสมบท ณ พัทสีมาวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2482 โดยมีสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) เป็นพระอุปัชฌาย์ มีฉายาว่า ปัญญาวุโธ หลังจากปฏิบัติราชการในด้านกรมชลประทานและวิศวกรรมเรื่อยมา จนมีความรู้และประสบการณ์ในด้านดังกล่าวเป็นพิเศษ จึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นราชบัณฑิตในวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เมื่อ พ.ศ. 2505 และปริญญาชั้นสูงสุด คือ ปริญญาช่างชลประทานดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2506 ต่อมาได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา เมื่อได้สร้างเขื่อนภูมิพลแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2507การทำงาน การทำงาน. หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เริ่มเข้ารับราชการนายช่างผู้ช่วยประจำกองที่ปรึกษา กรมชลประทาน ชั้นผู้ช่วยเซ็กชั่นแนลเอนจิเนียร์ เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2473 ได้รับพระราชทานยศเป็นรองอำมาตย์เอกในปีต่อมา จนเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการเรื่อยมาจนกระทั่ง ในปี พ.ศ. 2492 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมชลประทาน ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี (วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2499 ถึง 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) และยังคงเป็นอธิบดีกรมชลประทาน จากนั้นในปี พ.ศ. 2507 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ (วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2507 จนสิ้นสมัยเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2512) และยังคงเป็นอธิบดีกรมชลประทาน ในช่วงนั้นยังได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2 สิงหาคม พ.ศ. 2508 ถึง 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510) อีกตำแหน่งหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2512 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาแห่งชาติอีก เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2512 และยังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการอยู่จนถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2512หน้าที่ราชการพิเศษหน้าที่ราชการพิเศษ. - พ.ศ. 2491 เป็นกรรมการองค์การอาหารและเกษตรแห่งชาติ (ได้รับเลือกอีกในปี พ.ศ. 2495) - พ.ศ. 2494 เป็นกรรมการพิจารณาเกี่ยวกับการก่อสร้างเขื่อนแม่น้ำเจ้าพระยาโดยใช้เงินกู้จากธนาคารโลก (ได้รับการแต่งตั้งอีกในปี พ.ศ. 2495 และ 2497) - พ.ศ. 2497 เป็นผู้ว่าการองค์การพลังงานไฟฟ้าลิกไนท์ และเป็นกรรมการพลังงานแห่งชาติ - พ.ศ. 2500 เป็นประธานกรรมการการไฟฟ้ายันฮี (จนถึง พ.ศ. 2507) - พ.ศ. 2502 เป็นกรรมการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ (จนถึงแก่อนิจกรรม) - พ.ศ. 2503 เป็นประธานกรรมการชลประทานศึกษามูลนิธิ - พ.ศ. 2510 เป็นรองประธานกรรมการพัฒนาการเกษตร ในเขตโครงการคันและคูน้ำ - พ.ศ. 2511 เป็นผู้แทนประเทศไทยระดับรัฐมนตรีในคณะกรรมการประสานงานทางหลวงแห่งเอเชีย - พ.ศ. 2512 เป็นกรรมการบริหารสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติบั้นปลายชีวิต บั้นปลายชีวิต. หม่อมหลวงชูชาติ กำภูได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคเส้นโลหิตในหัวใจตัน เมื่อวันจันทร์ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2512 รวมอายุได้ 64 ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และพระราชทานโกศไม้สิบสอง และทรงพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้อยู่ในพระบรมราชานุเคราะห์ตั้งแต่ถึงอนิจกรรม จนถึงวันบำเพ็ญกุศล 7 วัน พระราชทาน ณ บ้าน 1225 ถนนสุขุมวิท พระนครเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศ. สืบตระกูล พระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู)- พ.ศ. 2507 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) - พ.ศ. 2498 - เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.) - พ.ศ. 2498 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3) - พ.ศ. 2493 - เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9 (กาไหล่ทอง)เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - พ.ศ. 2509 - สายสะพายจากประเทศออสเตรีย (The Silver Grand with Sash for Merit to the Republic of Austria)
หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "4" ], "answer_begin_position": [ 591 ], "answer_end_position": [ 592 ] }
775
305,470
หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร บุตรชายของหม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร อดีตรองผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โอรสของ หม่อมเจ้าเสริมสวาสดิ์ กฤดากร กับ หม่อมหลวงแส กฤดากร (สกุลเดิม สนิทวงศ์ โดยมีศักดิ์เป็นพี่ชายของ หม่อมหลวงบัว กิติยากร พระราชชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) กับ ท่านผู้หญิงวิยะฎา กฤดากร ณ อยุธยา ซึ่งเป็น นางสนองพระโอษฐ์ ในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ เฮลิคอปเตอร์ผู้ตามเสด็จตก ที่จังหวัดนราธิวาส มีพี่สาว 1 คน คือ- หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร สมรสกับ นางมนทกานติ์ กฤดากร ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ปราโมช) บุตรสาวของ หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช และท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา มีบุตรชาย 1 คนคือ- ปิยกร กฤดากร ณ อยุธยา ปัจจุบัน หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร ดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการของบริษัทหลักทรัพย์ไทยพาณิชย์ ในเครือธนาคารไทยพาณิชย์
บิดาของหม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร คือใคร
{ "answer": [ "หม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร" ], "answer_begin_position": [ 153 ], "answer_end_position": [ 181 ] }
776
305,470
หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร บุตรชายของหม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร อดีตรองผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โอรสของ หม่อมเจ้าเสริมสวาสดิ์ กฤดากร กับ หม่อมหลวงแส กฤดากร (สกุลเดิม สนิทวงศ์ โดยมีศักดิ์เป็นพี่ชายของ หม่อมหลวงบัว กิติยากร พระราชชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) กับ ท่านผู้หญิงวิยะฎา กฤดากร ณ อยุธยา ซึ่งเป็น นางสนองพระโอษฐ์ ในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ เฮลิคอปเตอร์ผู้ตามเสด็จตก ที่จังหวัดนราธิวาส มีพี่สาว 1 คน คือ- หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร สมรสกับ นางมนทกานติ์ กฤดากร ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ปราโมช) บุตรสาวของ หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช และท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา มีบุตรชาย 1 คนคือ- ปิยกร กฤดากร ณ อยุธยา ปัจจุบัน หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร ดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการของบริษัทหลักทรัพย์ไทยพาณิชย์ ในเครือธนาคารไทยพาณิชย์
หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร สมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "นางมนทกานติ์ กฤดากร ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 666 ], "answer_end_position": [ 694 ] }
877
305,470
หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร บุตรชายของหม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร อดีตรองผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โอรสของ หม่อมเจ้าเสริมสวาสดิ์ กฤดากร กับ หม่อมหลวงแส กฤดากร (สกุลเดิม สนิทวงศ์ โดยมีศักดิ์เป็นพี่ชายของ หม่อมหลวงบัว กิติยากร พระราชชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) กับ ท่านผู้หญิงวิยะฎา กฤดากร ณ อยุธยา ซึ่งเป็น นางสนองพระโอษฐ์ ในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ เฮลิคอปเตอร์ผู้ตามเสด็จตก ที่จังหวัดนราธิวาส มีพี่สาว 1 คน คือ- หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร สมรสกับ นางมนทกานติ์ กฤดากร ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ปราโมช) บุตรสาวของ หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช และท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา มีบุตรชาย 1 คนคือ- ปิยกร กฤดากร ณ อยุธยา ปัจจุบัน หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร ดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการของบริษัทหลักทรัพย์ไทยพาณิชย์ ในเครือธนาคารไทยพาณิชย์
หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร สมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "นางมนทกานติ์ กฤดากร ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 666 ], "answer_end_position": [ 694 ] }
878
305,470
หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร บุตรชายของหม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร อดีตรองผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โอรสของ หม่อมเจ้าเสริมสวาสดิ์ กฤดากร กับ หม่อมหลวงแส กฤดากร (สกุลเดิม สนิทวงศ์ โดยมีศักดิ์เป็นพี่ชายของ หม่อมหลวงบัว กิติยากร พระราชชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) กับ ท่านผู้หญิงวิยะฎา กฤดากร ณ อยุธยา ซึ่งเป็น นางสนองพระโอษฐ์ ในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ เฮลิคอปเตอร์ผู้ตามเสด็จตก ที่จังหวัดนราธิวาส มีพี่สาว 1 คน คือ- หม่อมหลวงปิยาภัสร์ ภิรมย์ภักดี หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร สมรสกับ นางมนทกานติ์ กฤดากร ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ปราโมช) บุตรสาวของ หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช และท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา มีบุตรชาย 1 คนคือ- ปิยกร กฤดากร ณ อยุธยา ปัจจุบัน หม่อมหลวงชโยทิต กฤดากร ดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการของบริษัทหลักทรัพย์ไทยพาณิชย์ ในเครือธนาคารไทยพาณิชย์
หม่อมหลวงแส กฤดากร ใช้สกุลเดิมว่าอะไร
{ "answer": [ "สนิทวงศ์" ], "answer_begin_position": [ 306 ], "answer_end_position": [ 314 ] }
777
130,458
หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล ร้อยตรี หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล พิธีกร และผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 และความรู้ความสามารถในการเป็นพิธีกร ทั้งเรื่องประเด็นข่าวเศรษฐกิจ และต่างประเทศอีกด้วยประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล มีชื่อเล่นว่า “ปลื้ม” แต่นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า "คุณปลื้ม" หรือ "หม่อมปลื้ม" เกิดวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2519 เป็นบุตรชายของหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชั่วคราว หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ชีวิตส่วนตัว หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์สมรสกับณัฐรดา อภิธนานนท์ หรือ "แจ็กเกอรีน" หรือ "แจ็กกี้" นักแสดงสาวลูกครึ่งไทย-แคนาดา ในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ณ ห้องสกุณตลาบอลรูม โรงแรมเพนนินซูล่า โดยมีบุตร 1 คนชื่อ ด.ช.กริชกุลธร เทวกุล ณ อยุธยา หรือ น้องเจมการศึกษาการศึกษา. - ประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร - มัธยมศึกษา โรงเรียน ณ มัธยมศึกษา ณ รัฐโอเรกอน สหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน สหรัฐอเมริกา - ปริญญาโท ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ (The Paul H. Nitze School of Advanced International Studies (SAIS)) สหรัฐอเมริกาผลงานงานราชการผลงาน. งานราชการ. - พ.ศ. 2540 รับราชการเป็นล่ามและผู้ร่างคำแถลงที่กรมข่าวทหารบก (มียศทางทหารเป็นร้อยตรี)งานสื่อสารมวลชนงานสื่อสารมวลชน. - ผู้ดำเนินรายการ “Economic Time” ทางทีเอ็นเอ็น - ผู้ดำเนินรายการ “Wake up Thailand” ร่วมกับ ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข, ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์, ตวงพร อัศววิไล และธีรัตถ์ รัตนเสวี ทางวอยซ์ทีวี - ผู้จัดรายการวิทยุ “วิเคราะห์ข่าวข้ามซีกโลก” ทางเอฟเอ็ม 97 เมกะเฮิร์ตซ์ - ผู้จัดรายการวิทยุ “The News Show with คุณปลื้ม” ทางเอฟเอ็ม 105 เมกะเฮิร์ตซ์ - หนังสือเล่ม “The Daily Dose คิดเปลี่ยนโลก” โดยสำนักพิมพ์มติชน- อดีตพิธีกรข่าวในรายการ “เรื่องเล่าเช้านี้” และ “เรื่องเด่นเย็นนี้ เสาร์-อาทิตย์” ทางช่อง 3 - อดีตพิธีกรรายการ “ปากต่อปาก” และ “แกะดำ” ทางช่อง 3 - อดีตผู้วิเคราะห์ข่าวในรายการ “ทันข่าวเศรษฐกิจ” ททบ.5 - อดีตผู้ดำเนินรายการ “วิพากษ์หุ้น” และ “เป็นปลื้ม” ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี - อดีตผู้ประกาศข่าว ผู้วิเคราะห์ข่าว และผู้ช่วยบรรณาธิการรายการ “Newsline” ทาง สทท. - อดีตผู้วิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ รายการ “ทันคนทันข่าว” ทาง สทท. - อดีตผู้ดำเนินรายการ “Thailand Insight” และ “Investment Beat” ทางช่องไทยแลนด์ เอาต์ลุก แชนแนล - อดีตผู้ดำเนินรายการวิทยุ “Econ Bizz” ทางเอฟเอ็ม 96.5 เมกะเฮิร์ตซ์ - อดีตผู้จัดรายการวิทยุ “ตั้งวง ชงข่าว” ทางเอฟเอ็ม 106 เมกะเฮิร์ตซ์ - อดีตผู้จัดรายการวิทยุ “เดินสาย รอบโลก” ทางเอฟเอ็ม 106 เมกะเฮิร์ตซ์ - ผู้ดำเนินรายการ “The Daily Dose” ทางวอยซ์ทีวี - อดีตผู้ดำเนินรายการ “ปลื้ม Explore!” ทางวอยซ์ทีวี - อดีตผู้ดำเนินรายการ “Talking Thailand ” ร่วมกับ จิตต์สุภา ฉิน , อดัม แบรดชอว์ , เกรซ โรบินสัน , แดเนียล ไวต์เฮาส์ และ ยูจีนี เมริโย่ว์ ทางวอยซ์ทีวี - ผู้ดำเนินรายการ “Wake up Thailand” ร่วมกับ ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข, ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์, ตวงพร อัศววิไล และธีรัตถ์ รัตนเสวี ทางวอยซ์ทีวีงานโฆษณางานโฆษณา. - รถยนต์นิสสัน ทีด้า - ยาสีฟันซอลท์งานเพลงงานเพลง. - อัลบั้มชุด “THE ALBUM ดิอัลบั้ม อยากบอกต้องออกเทป” (พ.ศ. 2550) ร่วมกับนักแสดงอีก 5 คนคือ หยาด หยาดทิพย์ ราชปาล เชอร์รี่ เข็มอัปสร สิริสุขะ กาละแมร์ พัชรศรี เบญจมาศ แชมป์ พีรพล เอื้ออารียกูล และ ปอ ทฤษฎี สหวงษ์งานภาพยนตร์งานภาพยนตร์. - ถอดรหัส...วิญญาณ SOUL'S CODE (พ.ศ. 2551) รับบทเป็น ผ.บ.กานนท์ ซึ่งได้รับรางวัลทุเรียนทองคำ สาขานักแสดงนำชายยอดแย่ไปครองบทบาททางการเมือง บทบาททางการเมือง. ม.ล.ณัฏฐกรณ์ เคยให้สัมภาษณ์ว่าในชีวิตของตนอยากที่จะเล่นการเมือง ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ได้ทำการเปิดตัวเป็นผู้สมัครคนแรก ๆ แต่ยังไม่ทันได้ลงรับสมัครจริง เมื่อทราบว่าคะแนนความนิยมตามโพลล์ยังห่างจากนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน มากนัก จึงได้ถอนตัวไป ต่อมาได้ลงสมัครรับเลือกตั้งอีกครั้งหนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 ซึ่ง ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ได้หมายเลข 8 มีคะแนนนำมาเป็นลำดับที่หนึ่งตามโพลล์แค่ในช่วงต้น ผลการเลือกตั้งสุดท้ายได้คะแนนมาเป็นลำดับที่ 3 ในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2552 ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ซึ่งมีบทบาทเป็นสื่อสารมวลชน ได้วิพากษ์วิจารณ์การเคลื่อนไหวของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและกลุ่มแนวร่วมอย่างรุนแรงตลอด และวิจารณ์บทบาทการทำหน้าที่ของ นางสาวรสนา โตสิตระกูล สมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อย่างรุนแรง ม.ล.ณัฏฐกรณ์ มีบทบาทในการเสนอแนะแนวคิดให้กับกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติและได้ออกมาตอบโต้แทนกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติถึงกรณีผังล้มเจ้า ผ่านทางวอยซ์ทีวี เขาออกขอโทษประชาชนกรณีวาทกรรม คอรัปชั่นไม่ใช่อุปสรรคในการพัฒนาประเทศ ในปี พ.ศ. 2559 เขาวิจารณ์ว่า คณะรักษาความสงบแห่งชาติ อาจอยู่เบื้องหลัง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ที่สั่งฟ้อง นายสรยุทธ สุทัศนะจินดา คณะรักษาความสงบแห่งชาติ กำลังเชือดไก่ให้ลิงดูในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2557 คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ สั่งให้เขาถูกพักงานกับ วอยซ์ทีวี ตามที่ทาง วอยซ์ทีวี เสนอส่งผลให้เขาเป็นอดีตพิธีกร ทุกรายการของ วอยซ์ทีวี ทันที จนกระทั่งครบกำหนดพักงาน เขากลับมาทำงานเป็นพิธีกรอีกครั้ง ในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2559ความขัดแย้งกับนายสรยุทธ สุทัศนะจินดา ความขัดแย้งกับนายสรยุทธ สุทัศนะจินดา. ในกลางปี พ.ศ. 2550 รายการเรื่องเล่าเช้านี้ทางช่อง 3 โดย นายสรยุทธ สุทัศนะจินดา พิธีกรและผู้จัดรายการได้เชิญชวน ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ให้มาเป็นหนึ่งในพิธีกรร่วมด้วย แต่หลังจากทำหน้าที่นี้ได้ไม่นาน ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ก็ได้ถอนตัวออกไป โดยให้เหตุผลว่านายสรยุทธไม่เคยให้เกียรติตนรวมทั้งไม่ชอบในการนำเสนอข่าวของนายสรยุทธด้วย แต่กระนั้น ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ก็ยังคงทำหน้าที่ผู้ประกาศข่าวทางช่อง 3 เหมือนเดิม
หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล มีชื่อเล่นว่าอะไร
{ "answer": [ "ปลื้ม" ], "answer_begin_position": [ 394 ], "answer_end_position": [ 399 ] }
778
130,458
หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล ร้อยตรี หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล พิธีกร และผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 และความรู้ความสามารถในการเป็นพิธีกร ทั้งเรื่องประเด็นข่าวเศรษฐกิจ และต่างประเทศอีกด้วยประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล มีชื่อเล่นว่า “ปลื้ม” แต่นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า "คุณปลื้ม" หรือ "หม่อมปลื้ม" เกิดวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2519 เป็นบุตรชายของหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชั่วคราว หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ชีวิตส่วนตัว หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์สมรสกับณัฐรดา อภิธนานนท์ หรือ "แจ็กเกอรีน" หรือ "แจ็กกี้" นักแสดงสาวลูกครึ่งไทย-แคนาดา ในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ณ ห้องสกุณตลาบอลรูม โรงแรมเพนนินซูล่า โดยมีบุตร 1 คนชื่อ ด.ช.กริชกุลธร เทวกุล ณ อยุธยา หรือ น้องเจมการศึกษาการศึกษา. - ประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร - มัธยมศึกษา โรงเรียน ณ มัธยมศึกษา ณ รัฐโอเรกอน สหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน สหรัฐอเมริกา - ปริญญาโท ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ (The Paul H. Nitze School of Advanced International Studies (SAIS)) สหรัฐอเมริกาผลงานงานราชการผลงาน. งานราชการ. - พ.ศ. 2540 รับราชการเป็นล่ามและผู้ร่างคำแถลงที่กรมข่าวทหารบก (มียศทางทหารเป็นร้อยตรี)งานสื่อสารมวลชนงานสื่อสารมวลชน. - ผู้ดำเนินรายการ “Economic Time” ทางทีเอ็นเอ็น - ผู้ดำเนินรายการ “Wake up Thailand” ร่วมกับ ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข, ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์, ตวงพร อัศววิไล และธีรัตถ์ รัตนเสวี ทางวอยซ์ทีวี - ผู้จัดรายการวิทยุ “วิเคราะห์ข่าวข้ามซีกโลก” ทางเอฟเอ็ม 97 เมกะเฮิร์ตซ์ - ผู้จัดรายการวิทยุ “The News Show with คุณปลื้ม” ทางเอฟเอ็ม 105 เมกะเฮิร์ตซ์ - หนังสือเล่ม “The Daily Dose คิดเปลี่ยนโลก” โดยสำนักพิมพ์มติชน- อดีตพิธีกรข่าวในรายการ “เรื่องเล่าเช้านี้” และ “เรื่องเด่นเย็นนี้ เสาร์-อาทิตย์” ทางช่อง 3 - อดีตพิธีกรรายการ “ปากต่อปาก” และ “แกะดำ” ทางช่อง 3 - อดีตผู้วิเคราะห์ข่าวในรายการ “ทันข่าวเศรษฐกิจ” ททบ.5 - อดีตผู้ดำเนินรายการ “วิพากษ์หุ้น” และ “เป็นปลื้ม” ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี - อดีตผู้ประกาศข่าว ผู้วิเคราะห์ข่าว และผู้ช่วยบรรณาธิการรายการ “Newsline” ทาง สทท. - อดีตผู้วิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ รายการ “ทันคนทันข่าว” ทาง สทท. - อดีตผู้ดำเนินรายการ “Thailand Insight” และ “Investment Beat” ทางช่องไทยแลนด์ เอาต์ลุก แชนแนล - อดีตผู้ดำเนินรายการวิทยุ “Econ Bizz” ทางเอฟเอ็ม 96.5 เมกะเฮิร์ตซ์ - อดีตผู้จัดรายการวิทยุ “ตั้งวง ชงข่าว” ทางเอฟเอ็ม 106 เมกะเฮิร์ตซ์ - อดีตผู้จัดรายการวิทยุ “เดินสาย รอบโลก” ทางเอฟเอ็ม 106 เมกะเฮิร์ตซ์ - ผู้ดำเนินรายการ “The Daily Dose” ทางวอยซ์ทีวี - อดีตผู้ดำเนินรายการ “ปลื้ม Explore!” ทางวอยซ์ทีวี - อดีตผู้ดำเนินรายการ “Talking Thailand ” ร่วมกับ จิตต์สุภา ฉิน , อดัม แบรดชอว์ , เกรซ โรบินสัน , แดเนียล ไวต์เฮาส์ และ ยูจีนี เมริโย่ว์ ทางวอยซ์ทีวี - ผู้ดำเนินรายการ “Wake up Thailand” ร่วมกับ ชูวัส ฤกษ์ศิริสุข, ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์, ตวงพร อัศววิไล และธีรัตถ์ รัตนเสวี ทางวอยซ์ทีวีงานโฆษณางานโฆษณา. - รถยนต์นิสสัน ทีด้า - ยาสีฟันซอลท์งานเพลงงานเพลง. - อัลบั้มชุด “THE ALBUM ดิอัลบั้ม อยากบอกต้องออกเทป” (พ.ศ. 2550) ร่วมกับนักแสดงอีก 5 คนคือ หยาด หยาดทิพย์ ราชปาล เชอร์รี่ เข็มอัปสร สิริสุขะ กาละแมร์ พัชรศรี เบญจมาศ แชมป์ พีรพล เอื้ออารียกูล และ ปอ ทฤษฎี สหวงษ์งานภาพยนตร์งานภาพยนตร์. - ถอดรหัส...วิญญาณ SOUL'S CODE (พ.ศ. 2551) รับบทเป็น ผ.บ.กานนท์ ซึ่งได้รับรางวัลทุเรียนทองคำ สาขานักแสดงนำชายยอดแย่ไปครองบทบาททางการเมือง บทบาททางการเมือง. ม.ล.ณัฏฐกรณ์ เคยให้สัมภาษณ์ว่าในชีวิตของตนอยากที่จะเล่นการเมือง ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551 ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ได้ทำการเปิดตัวเป็นผู้สมัครคนแรก ๆ แต่ยังไม่ทันได้ลงรับสมัครจริง เมื่อทราบว่าคะแนนความนิยมตามโพลล์ยังห่างจากนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน มากนัก จึงได้ถอนตัวไป ต่อมาได้ลงสมัครรับเลือกตั้งอีกครั้งหนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 ซึ่ง ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ได้หมายเลข 8 มีคะแนนนำมาเป็นลำดับที่หนึ่งตามโพลล์แค่ในช่วงต้น ผลการเลือกตั้งสุดท้ายได้คะแนนมาเป็นลำดับที่ 3 ในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2552 ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ซึ่งมีบทบาทเป็นสื่อสารมวลชน ได้วิพากษ์วิจารณ์การเคลื่อนไหวของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและกลุ่มแนวร่วมอย่างรุนแรงตลอด และวิจารณ์บทบาทการทำหน้าที่ของ นางสาวรสนา โตสิตระกูล สมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อย่างรุนแรง ม.ล.ณัฏฐกรณ์ มีบทบาทในการเสนอแนะแนวคิดให้กับกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติและได้ออกมาตอบโต้แทนกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติถึงกรณีผังล้มเจ้า ผ่านทางวอยซ์ทีวี เขาออกขอโทษประชาชนกรณีวาทกรรม คอรัปชั่นไม่ใช่อุปสรรคในการพัฒนาประเทศ ในปี พ.ศ. 2559 เขาวิจารณ์ว่า คณะรักษาความสงบแห่งชาติ อาจอยู่เบื้องหลัง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ที่สั่งฟ้อง นายสรยุทธ สุทัศนะจินดา คณะรักษาความสงบแห่งชาติ กำลังเชือดไก่ให้ลิงดูในวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2557 คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ สั่งให้เขาถูกพักงานกับ วอยซ์ทีวี ตามที่ทาง วอยซ์ทีวี เสนอส่งผลให้เขาเป็นอดีตพิธีกร ทุกรายการของ วอยซ์ทีวี ทันที จนกระทั่งครบกำหนดพักงาน เขากลับมาทำงานเป็นพิธีกรอีกครั้ง ในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2559ความขัดแย้งกับนายสรยุทธ สุทัศนะจินดา ความขัดแย้งกับนายสรยุทธ สุทัศนะจินดา. ในกลางปี พ.ศ. 2550 รายการเรื่องเล่าเช้านี้ทางช่อง 3 โดย นายสรยุทธ สุทัศนะจินดา พิธีกรและผู้จัดรายการได้เชิญชวน ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ให้มาเป็นหนึ่งในพิธีกรร่วมด้วย แต่หลังจากทำหน้าที่นี้ได้ไม่นาน ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ก็ได้ถอนตัวออกไป โดยให้เหตุผลว่านายสรยุทธไม่เคยให้เกียรติตนรวมทั้งไม่ชอบในการนำเสนอข่าวของนายสรยุทธด้วย แต่กระนั้น ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ก็ยังคงทำหน้าที่ผู้ประกาศข่าวทางช่อง 3 เหมือนเดิม
หม่อมหลวงณัฏฐกรณ์ เทวกุล สมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "ณัฐรดา อภิธนานนท์" ], "answer_begin_position": [ 675 ], "answer_end_position": [ 692 ] }
779
42,849
หม่อมหลวงบัว กิติยากร หม่อมหลวงบัว กิติยากร นามเดิม หม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 − 19 กันยายน พ.ศ. 2542) หรือชื่อในการแสดงว่า ประทุม ชิดเชื้อ เป็นธิดาของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ และเป็นที่รู้จักในฐานะพระราชมารดาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ รวมทั้งยังทรงเป็นพระอัยยิกาฝ่ายพระชนนีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรประวัติ ประวัติ. ท่านผู้หญิงบัว กิติยากร มีนามเดิมว่าหม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 เป็นธิดาของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) มีพี่น้องร่วมบิดามารดาได้แก่ หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค ทั้งยังมีพี่น้องร่วมบิดาแต่ต่างมารดาอีก 12 คน ท่านผู้หญิงบัวเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนสายปัญญา และโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ภายหลังได้รับพระราชทานโปรดเกล้าฯ เข้าถวายงาน เป็นนางพระกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เมื่อ พ.ศ. 2471 ในปีนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างภาพยนตร์เงียบขาวดำ ชื่อเรื่อง แหวนวิเศษ และทรงให้หม่อมหลวงบัว รับบทเป็น "นางพรายน้ำ" นางเอกของเรื่องเสกสมรส เสกสมรส. ท่านผู้หญิงบัวสมรสกับหม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร (ต่อมาคือพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ) ขณะดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเสนาธิการทหารบก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเสกสมรสให้เมื่อประมาณกลางปี พ.ศ. 2471 มีพระโอรสและพระธิดา 1 พระองค์และ 3 ท่านดังนี้1. หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (20 กันยายน 2472 − 15 พฤษภาคม 2530) สมรสกับท่านผู้หญิงอรุณ กิติยากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) มีบุตรธิดาสองคน 2. หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร (2 พฤศจิกายน 2473 − 5 พฤษภาคม 2547) สมรสกับท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี กิติยากร (พระนามเดิม หม่อมเจ้าพันธุ์สวลี ยุคล) มีธิดาสองคน 3. สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) ราชาภิเษกสมรสกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชบุตรสี่พระองค์ 4. ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ (2 สิงหาคม พ.ศ. 2477) สมรสครั้งแรกกับหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ สมรสครั้งที่สองกับนาวาเอกสุรยุทธ สธนพงศ์ มีธิดาจากการสมรสครั้งแรกหนึ่งคน ท่านผู้หญิงบัวถึงแก่พิราลัย ด้วยอาการนิ่วในถุงน้ำดี ที่โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2542 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งศพที่ศาลาสหทัยสมาคม และโปรดเกล้าฯ พระราชทานฉัตรโหมดทอง 5 ชั้น และโกศกุดั่นน้อยประกอบเกียรติยศศพ เทียบชั้นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า และพระราชทานเพลิงศพเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 4 (ป.ป.ร.4) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1 (ภ.ป.ร.1)ทายาทลำดับสาแหรก
หม่อมหลวงบัว กิติยากร ใช้นามเดิมเรียกว่าอะไร
{ "answer": [ "หม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์" ], "answer_begin_position": [ 146 ], "answer_end_position": [ 167 ] }
780
42,849
หม่อมหลวงบัว กิติยากร หม่อมหลวงบัว กิติยากร นามเดิม หม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 − 19 กันยายน พ.ศ. 2542) หรือชื่อในการแสดงว่า ประทุม ชิดเชื้อ เป็นธิดาของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ และเป็นที่รู้จักในฐานะพระราชมารดาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ รวมทั้งยังทรงเป็นพระอัยยิกาฝ่ายพระชนนีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรประวัติ ประวัติ. ท่านผู้หญิงบัว กิติยากร มีนามเดิมว่าหม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 เป็นธิดาของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) มีพี่น้องร่วมบิดามารดาได้แก่ หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค ทั้งยังมีพี่น้องร่วมบิดาแต่ต่างมารดาอีก 12 คน ท่านผู้หญิงบัวเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนสายปัญญา และโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ภายหลังได้รับพระราชทานโปรดเกล้าฯ เข้าถวายงาน เป็นนางพระกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เมื่อ พ.ศ. 2471 ในปีนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างภาพยนตร์เงียบขาวดำ ชื่อเรื่อง แหวนวิเศษ และทรงให้หม่อมหลวงบัว รับบทเป็น "นางพรายน้ำ" นางเอกของเรื่องเสกสมรส เสกสมรส. ท่านผู้หญิงบัวสมรสกับหม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร (ต่อมาคือพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ) ขณะดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเสนาธิการทหารบก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเสกสมรสให้เมื่อประมาณกลางปี พ.ศ. 2471 มีพระโอรสและพระธิดา 1 พระองค์และ 3 ท่านดังนี้1. หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (20 กันยายน 2472 − 15 พฤษภาคม 2530) สมรสกับท่านผู้หญิงอรุณ กิติยากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) มีบุตรธิดาสองคน 2. หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร (2 พฤศจิกายน 2473 − 5 พฤษภาคม 2547) สมรสกับท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี กิติยากร (พระนามเดิม หม่อมเจ้าพันธุ์สวลี ยุคล) มีธิดาสองคน 3. สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) ราชาภิเษกสมรสกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชบุตรสี่พระองค์ 4. ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ (2 สิงหาคม พ.ศ. 2477) สมรสครั้งแรกกับหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ สมรสครั้งที่สองกับนาวาเอกสุรยุทธ สธนพงศ์ มีธิดาจากการสมรสครั้งแรกหนึ่งคน ท่านผู้หญิงบัวถึงแก่พิราลัย ด้วยอาการนิ่วในถุงน้ำดี ที่โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2542 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งศพที่ศาลาสหทัยสมาคม และโปรดเกล้าฯ พระราชทานฉัตรโหมดทอง 5 ชั้น และโกศกุดั่นน้อยประกอบเกียรติยศศพ เทียบชั้นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า และพระราชทานเพลิงศพเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 4 (ป.ป.ร.4) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1 (ภ.ป.ร.1)ทายาทลำดับสาแหรก
ท่านผู้หญิงบัว สนิทวงศ์ สมรสกับใคร
{ "answer": [ "หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร" ], "answer_begin_position": [ 1330 ], "answer_end_position": [ 1359 ] }
781
285,522
หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ร้อยเอกหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล (เกิด 26 สิงหาคม พ.ศ. 2499; ชื่อเล่น: คุณเหลน) ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทรโอชา อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทยครอบครัว ครอบครัว. เป็นบุตรชายเพียงคนเดียวของ พลตรี หม่อมราชวงศ์สังขดิศ ดิศกุล อดีตเสรีไทย และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำหลายประเทศ กับมัณฑนา ดิศกุล ณ อยุธยา และเป็นปนัดดา (เหลน) ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เกิดที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันสมรสกับนางอัมพร ดิศกุล ณ อยุธยา และมีบุตรชายคนเดียว คือ วรดิศ ดิศกุล ณ อยุธยาการศึกษา การศึกษา. ในระดับประถม(รุ่นที่ 10)และมัธยมที่โรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร จากนั้นจึงติดตามครอบครัวไปศึกษาต่อในต่างประเทศ ณ โรงเรียนเตรียมทหารคิงส์ ประเทศออสเตรเลีย โดยสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางการทหาร และปริญญาโททางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จาก Brigham Young University สหรัฐอเมริกา และได้เข้ารับการอบรมาหลักสูตรวิชาประวัติศาสตร์ไทย-ญี่ปุ่น เปรียบเทียบ ณ Sophia University ประเทศญี่ปุ่น หม่อมหลวงปนัดดา ผ่านการอบรมหลักสูตร"นักปกครองชั้นสูง " จากวิทยาลัยมหาดไทย และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่น 2550ราชการข้าราชการประจำ ราชการ. ข้าราชการประจำ. หม่อมหลวงปนัดดา เริ่มต้นเข้ารับราชการในกองทัพบก ตำแหน่ง อาจารย์ สังกัดส่วนการศึกษา กองวิชากฎหมายและสังคมศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ชั้นยศร้อยเอก และเข้าศึกษาหลักสูตรกระโดดร่ม (ส่งทางอากาศ) รุ่นที่ 144 และหลักสูตรชั้นนายร้อยเหล่าทหารม้า จากนั้นได้โอนย้ายมารับราชการ สังกัดกองการต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง อาทิ ปี พ.ศ. 2541 ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการส่วนนโยบายการเมืองการปกครองและการบริหาร สำนักนโยบายและแผน และหัวหน้าสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย ในปี พ.ศ. 2542 ในปี พ.ศ. 2546 ได้รับแต่งตั้งเป็น รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร รองผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี (พ.ศ. 2547) และรองผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ (พ.ศ. 2550) ต่อมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2550 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ 10 (ชช.) ดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษาด้านความมั่นคง สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม ในปี พ.ศ. 2552 ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 จึงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ จนกระทั่งในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 จึงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ในปี 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี อีกหน้าที่หนึ่งข้าราชการการเมือง ข้าราชการการเมือง. นอกจากดำรงตำแหน่งปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี แล้ว เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2557 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อีกหน้าที่หนึ่ง แต่ต่อมาเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558 หม่อมหลวงปนัดดา ได้ขอลาออกจากราชการเพื่อทำหน้าที่รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีเพียงหน้าที่เดียว ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ได้รับพระราชโองการแต่งตั้งให้พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จนพ้นความเป็นรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี ในเวลาต่อมาบทวิจารณ์ บทวิจารณ์. หม่อมหลวงปนัดดา ได้รับการกล่าวขานถึงอย่างกว้างขวางในความเป็นข้าราชการผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์มาตลอดชีวิตการรับราชการตราบจนเกษียณอายุราชการ ในปี 2559 โดยได้รับการประกาศเกียรติคุณจากหลายส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ และองค์กรภาคเอกชนและภาครัฐ อาทิ (1) สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทยพิจารณามอบรางวัลเมขลา (ปูชนียบุคคลที่ทรงคุณค่าต่อแผ่นดิน) ในฐานะข้าราชการผู้ยึดมั่นความจงรักภักดีเป็นหัวใจแห่งการดำรงตน (2) สมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทยพิจารณามอบรางวัลครุฑทองคำผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น ในฐานะผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม และผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ที่ประสบความสำเร็จทางการบริหารและได้รับความเมตตากรุณา และเป็นที่รักใคร่ของพี่น้องประชาชน (3) สำนักงาน ป.ป.ช. ประกาศมอบรางวัลเกียรติยศให้เป็นข้าราชการผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นการปฏิบัติราชการตามหลักธรรมาภิบาลอย่างเคร่งครัด และได้รับการประดับรูปภาพเป็นเกียรติยศ ณ ห้องเกียรติสถิต พิพิธภัณฑ์ต่อต้านการทุจริต สำนักงาน ป.ป.ช. (4) โรงเรียนสาธิต (ฝ่ายประถม) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประกาศเกียรติคุณให้เป็นศิษย์เก่าดีเด่น ณ ห้องประวัติของโรงเรียน ยังความภาคภูมิใจแก่ชีวิตการรับราชการของหม่อมหลวงปนัดดาและครอบครัวตลอดระยะเวลา 37 ปีเต็ม และเมื่อล่าสุดนี้ (6 ก.ค.59) ในโลกออนไลน์ คนแห่ชื่นชมหม่อมหลวงปนัดดา หลังต่อแถวขึ้นเครื่องบินที่สนามบิน ยกเป็น 'ข้าราชการตัวอย่าง' ซึ่งโลกออนไลน์ดังกล่าวได้มีการแชร์ภาพสุดประทับใจของข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ท่านหนึ่งแต่ไม่ระบุชื่อ ที่เข้าแถวต่อคิวรอขึ้นเครื่องบินโดยสารเหมือนกับประชาชนคนธรรมดาทั่วไป โดยภาพดังกล่าวได้เผยให้เห็นว่าคือ 'ม.ล.ปนัดดา ดิศกุล' สวมเสื้อผ้าไหมสีฟ้าถือกระเป๋าเอกสารยืนหันหลังต่อแถวเตรียมขึ้นเครื่องบินที่สนามบิน ซึ่งผู้ใช้เฟซบุ๊กที่ได้เผยแพร่ภาพระบุข้อความว่า 'ประทับใจภาพ ม.ล.ปนัดดา ต่อแถวขึ้นเครื่องบินของสายการบินโลว์คอสต์ เพื่อเดินขึ้นเครื่องเช่นเดียวกับผู้โดยสารคนอื่นๆ เมื่อพนักงานตรวจตั๋วเดินทาง ส่งบัตรโดยสารคืนให้ ท่านก็กล่าวถ้อยคำว่า ขอบคุณครับ ด้วยน้ำเสียงอบอุ่น ถ่อมตน เมื่อผมเดินตามท่านไปถึงประตูเครื่อง พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินยกมือไหว้ ท่านก็ยกมือไหว้ตอบ และกล่าวคำว่า สวัสดีครับ ด้วยน้ำเสียงเช่นเดิม พร้อมกับรอยยิ้มที่ดูเป็นมิตร ขณะที่เดินไปยังที่นั่งของท่าน ท่านเดินผ่านสุภาพสตรีสูงอายุท่านหนึ่ง ท่านก็ค้อมตัวเล็กน้อย พร้อมกล่าวคำว่า ขอโทษนะครับ แล้วท่านก็เดินผ่านไป และยกกระเป๋าขึ้นเก็บยังที่เก็บของด้วยตัวท่านเอง ขอยกให้ท่านเป็นข้าราชการตัวอย่างที่ผมจะขอจดจำ' สื่อขอสัมภาษณ์ 'พี่หม่อมของพวกเรา' ภายหลังว่ามีความรู้สึกอย่างไรที่ผู้คนเข้ามาชื่นชมมากมายเป็นครั้งที่ 2 แล้วภายหลังปี 2557 ท่านตอบว่า 'กราบขอบพระคุณทุกท่านครับ พี่ปฏิบัติของพี่มาเช่นนี้ ตั้งแต่เมื่อแลเห็นคุณพ่อผู้ล่วงลับ (หม่อมราชวงศ์สังขดิศ) เป็นแบบอย่างเมื่อพ่อเป็นเอกอัครราชทูตในประเทศต่างๆ และเมื่อพี่มาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ภริยากับลูกชายก็บอกว่าทำถูกต้อง ทำเหมือนคุณพ่อ ใครๆ เขาก็ทำกัน ตำแหน่งหน้าที่ในคราวหนึ่งๆ ก็คือหัวโขน ไม่ใช่เรื่องอื่นใดเลย' และท้ายที่สุดนี้ ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รับพระราชทาน 'โล่เกียรติคุณผู้ทำคุณประโยชน์เพื่อสังคมและประเทศชาติ' ตามคำกราบบังคมทูลของจุฬาราชมนตรี และคณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๔ พ.ค. ๒๕๖๑รางวัลดีเด่น รางวัลดีเด่น. หม่อมหลวงปนัดดา ได้รับรางวัลดีเด่นหลายรางวัล อาทิ- ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็น “ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ” ของกระทรวงมหาดไทย ประจำปี พ.ศ. 2532 โดยสอบเลื่อนระดับ 6 ได้เป็นอันดับที่ 1 ของกระทรวงมหาดไทยในปีนั้น - ได้รับรางวัล “ศิษย์เก่าดีเด่น” ประจำปี พ.ศ. 2549 จากโรงเรียนสาธิตศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร) - ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็น “ศิษย์เก่าดีเด่น เนื่องในวัน ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี” ประจำปี พ.ศ. 2549 - ได้รับรางวัล “คนดี ศรีสยาม” ประจำปี พ.ศ. 2549 จากสหพันธ์รวมใจไทยทั้งชาติ - ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “ผู้ทำคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี” ประจำปี พ.ศ. 2549 - ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “พ่อตัวอย่างแห่งชาติ” ประจำปี พ.ศ. 2550 - ได้รับรางวัลกิติคุณสัมพันธ์ "สังข์เงิน" ครั้งที่ 23 ประจำปี 2552-2553 - ได้รับพระราชทานปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ - ได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ได้รับรางวัล "ครุฑทองคำ" ผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี 2553-2554 ของสมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย - ได้รับรางวัลเกียรติยศโล่เชิดชูเกียรติ “ยกย่องให้เป็นผู้ประพฤติปฏิบัติตนชอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555” ของ สำนักงาน ป.ป.ช. - ได้รับปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ประจำปีการศึกษา 2556 - ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ "ข้าราชการผู้สร้างชื่อเสียงให้กับกระทรวงมหาดไทย" ปี 2559 - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถาบันทรัพยากรมนุษย์ มีมติประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัลเกียรติยศ "ผู้ทำคุณประโยชน์ดีเด่น ด้านทรัพยากรมนุษย์" (Human Resource Excellence Award) แด่หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในวันที่ 28 มิถุนายน 2560 ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ - และท้ายที่สุดนี้ ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รับพระราชทาน 'โล่เกียรติคุณผู้ทำคุณประโยชน์เพื่อสังคมและประเทศชาติ' ตามคำกราบบังคมทูลของจุฬาราชมนตรี และคณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๔ พ.ค. ๒๕๖๑เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. สืบราชสกุลใน พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล เป็นบุตรชายของผู้ใด
{ "answer": [ "พลตรี หม่อมราชวงศ์สังขดิศ ดิศกุล" ], "answer_begin_position": [ 441 ], "answer_end_position": [ 473 ] }
886
285,522
หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ร้อยเอกหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล (เกิด 26 สิงหาคม พ.ศ. 2499; ชื่อเล่น: คุณเหลน) ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทรโอชา อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทยครอบครัว ครอบครัว. เป็นบุตรชายเพียงคนเดียวของ พลตรี หม่อมราชวงศ์สังขดิศ ดิศกุล อดีตเสรีไทย และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำหลายประเทศ กับมัณฑนา ดิศกุล ณ อยุธยา และเป็นปนัดดา (เหลน) ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เกิดที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันสมรสกับนางอัมพร ดิศกุล ณ อยุธยา และมีบุตรชายคนเดียว คือ วรดิศ ดิศกุล ณ อยุธยาการศึกษา การศึกษา. ในระดับประถม(รุ่นที่ 10)และมัธยมที่โรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร จากนั้นจึงติดตามครอบครัวไปศึกษาต่อในต่างประเทศ ณ โรงเรียนเตรียมทหารคิงส์ ประเทศออสเตรเลีย โดยสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางการทหาร และปริญญาโททางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จาก Brigham Young University สหรัฐอเมริกา และได้เข้ารับการอบรมาหลักสูตรวิชาประวัติศาสตร์ไทย-ญี่ปุ่น เปรียบเทียบ ณ Sophia University ประเทศญี่ปุ่น หม่อมหลวงปนัดดา ผ่านการอบรมหลักสูตร"นักปกครองชั้นสูง " จากวิทยาลัยมหาดไทย และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่น 2550ราชการข้าราชการประจำ ราชการ. ข้าราชการประจำ. หม่อมหลวงปนัดดา เริ่มต้นเข้ารับราชการในกองทัพบก ตำแหน่ง อาจารย์ สังกัดส่วนการศึกษา กองวิชากฎหมายและสังคมศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ชั้นยศร้อยเอก และเข้าศึกษาหลักสูตรกระโดดร่ม (ส่งทางอากาศ) รุ่นที่ 144 และหลักสูตรชั้นนายร้อยเหล่าทหารม้า จากนั้นได้โอนย้ายมารับราชการ สังกัดกองการต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง อาทิ ปี พ.ศ. 2541 ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการส่วนนโยบายการเมืองการปกครองและการบริหาร สำนักนโยบายและแผน และหัวหน้าสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย ในปี พ.ศ. 2542 ในปี พ.ศ. 2546 ได้รับแต่งตั้งเป็น รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร รองผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี (พ.ศ. 2547) และรองผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ (พ.ศ. 2550) ต่อมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2550 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ 10 (ชช.) ดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษาด้านความมั่นคง สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม ในปี พ.ศ. 2552 ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 จึงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ จนกระทั่งในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 จึงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ในปี 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี อีกหน้าที่หนึ่งข้าราชการการเมือง ข้าราชการการเมือง. นอกจากดำรงตำแหน่งปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี แล้ว เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2557 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อีกหน้าที่หนึ่ง แต่ต่อมาเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558 หม่อมหลวงปนัดดา ได้ขอลาออกจากราชการเพื่อทำหน้าที่รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีเพียงหน้าที่เดียว ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ได้รับพระราชโองการแต่งตั้งให้พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จนพ้นความเป็นรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี ในเวลาต่อมาบทวิจารณ์ บทวิจารณ์. หม่อมหลวงปนัดดา ได้รับการกล่าวขานถึงอย่างกว้างขวางในความเป็นข้าราชการผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์มาตลอดชีวิตการรับราชการตราบจนเกษียณอายุราชการ ในปี 2559 โดยได้รับการประกาศเกียรติคุณจากหลายส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ และองค์กรภาคเอกชนและภาครัฐ อาทิ (1) สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทยพิจารณามอบรางวัลเมขลา (ปูชนียบุคคลที่ทรงคุณค่าต่อแผ่นดิน) ในฐานะข้าราชการผู้ยึดมั่นความจงรักภักดีเป็นหัวใจแห่งการดำรงตน (2) สมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทยพิจารณามอบรางวัลครุฑทองคำผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น ในฐานะผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม และผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ที่ประสบความสำเร็จทางการบริหารและได้รับความเมตตากรุณา และเป็นที่รักใคร่ของพี่น้องประชาชน (3) สำนักงาน ป.ป.ช. ประกาศมอบรางวัลเกียรติยศให้เป็นข้าราชการผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นการปฏิบัติราชการตามหลักธรรมาภิบาลอย่างเคร่งครัด และได้รับการประดับรูปภาพเป็นเกียรติยศ ณ ห้องเกียรติสถิต พิพิธภัณฑ์ต่อต้านการทุจริต สำนักงาน ป.ป.ช. (4) โรงเรียนสาธิต (ฝ่ายประถม) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประกาศเกียรติคุณให้เป็นศิษย์เก่าดีเด่น ณ ห้องประวัติของโรงเรียน ยังความภาคภูมิใจแก่ชีวิตการรับราชการของหม่อมหลวงปนัดดาและครอบครัวตลอดระยะเวลา 37 ปีเต็ม และเมื่อล่าสุดนี้ (6 ก.ค.59) ในโลกออนไลน์ คนแห่ชื่นชมหม่อมหลวงปนัดดา หลังต่อแถวขึ้นเครื่องบินที่สนามบิน ยกเป็น 'ข้าราชการตัวอย่าง' ซึ่งโลกออนไลน์ดังกล่าวได้มีการแชร์ภาพสุดประทับใจของข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ท่านหนึ่งแต่ไม่ระบุชื่อ ที่เข้าแถวต่อคิวรอขึ้นเครื่องบินโดยสารเหมือนกับประชาชนคนธรรมดาทั่วไป โดยภาพดังกล่าวได้เผยให้เห็นว่าคือ 'ม.ล.ปนัดดา ดิศกุล' สวมเสื้อผ้าไหมสีฟ้าถือกระเป๋าเอกสารยืนหันหลังต่อแถวเตรียมขึ้นเครื่องบินที่สนามบิน ซึ่งผู้ใช้เฟซบุ๊กที่ได้เผยแพร่ภาพระบุข้อความว่า 'ประทับใจภาพ ม.ล.ปนัดดา ต่อแถวขึ้นเครื่องบินของสายการบินโลว์คอสต์ เพื่อเดินขึ้นเครื่องเช่นเดียวกับผู้โดยสารคนอื่นๆ เมื่อพนักงานตรวจตั๋วเดินทาง ส่งบัตรโดยสารคืนให้ ท่านก็กล่าวถ้อยคำว่า ขอบคุณครับ ด้วยน้ำเสียงอบอุ่น ถ่อมตน เมื่อผมเดินตามท่านไปถึงประตูเครื่อง พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินยกมือไหว้ ท่านก็ยกมือไหว้ตอบ และกล่าวคำว่า สวัสดีครับ ด้วยน้ำเสียงเช่นเดิม พร้อมกับรอยยิ้มที่ดูเป็นมิตร ขณะที่เดินไปยังที่นั่งของท่าน ท่านเดินผ่านสุภาพสตรีสูงอายุท่านหนึ่ง ท่านก็ค้อมตัวเล็กน้อย พร้อมกล่าวคำว่า ขอโทษนะครับ แล้วท่านก็เดินผ่านไป และยกกระเป๋าขึ้นเก็บยังที่เก็บของด้วยตัวท่านเอง ขอยกให้ท่านเป็นข้าราชการตัวอย่างที่ผมจะขอจดจำ' สื่อขอสัมภาษณ์ 'พี่หม่อมของพวกเรา' ภายหลังว่ามีความรู้สึกอย่างไรที่ผู้คนเข้ามาชื่นชมมากมายเป็นครั้งที่ 2 แล้วภายหลังปี 2557 ท่านตอบว่า 'กราบขอบพระคุณทุกท่านครับ พี่ปฏิบัติของพี่มาเช่นนี้ ตั้งแต่เมื่อแลเห็นคุณพ่อผู้ล่วงลับ (หม่อมราชวงศ์สังขดิศ) เป็นแบบอย่างเมื่อพ่อเป็นเอกอัครราชทูตในประเทศต่างๆ และเมื่อพี่มาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ภริยากับลูกชายก็บอกว่าทำถูกต้อง ทำเหมือนคุณพ่อ ใครๆ เขาก็ทำกัน ตำแหน่งหน้าที่ในคราวหนึ่งๆ ก็คือหัวโขน ไม่ใช่เรื่องอื่นใดเลย' และท้ายที่สุดนี้ ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รับพระราชทาน 'โล่เกียรติคุณผู้ทำคุณประโยชน์เพื่อสังคมและประเทศชาติ' ตามคำกราบบังคมทูลของจุฬาราชมนตรี และคณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๔ พ.ค. ๒๕๖๑รางวัลดีเด่น รางวัลดีเด่น. หม่อมหลวงปนัดดา ได้รับรางวัลดีเด่นหลายรางวัล อาทิ- ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็น “ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ” ของกระทรวงมหาดไทย ประจำปี พ.ศ. 2532 โดยสอบเลื่อนระดับ 6 ได้เป็นอันดับที่ 1 ของกระทรวงมหาดไทยในปีนั้น - ได้รับรางวัล “ศิษย์เก่าดีเด่น” ประจำปี พ.ศ. 2549 จากโรงเรียนสาธิตศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร) - ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็น “ศิษย์เก่าดีเด่น เนื่องในวัน ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี” ประจำปี พ.ศ. 2549 - ได้รับรางวัล “คนดี ศรีสยาม” ประจำปี พ.ศ. 2549 จากสหพันธ์รวมใจไทยทั้งชาติ - ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “ผู้ทำคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี” ประจำปี พ.ศ. 2549 - ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “พ่อตัวอย่างแห่งชาติ” ประจำปี พ.ศ. 2550 - ได้รับรางวัลกิติคุณสัมพันธ์ "สังข์เงิน" ครั้งที่ 23 ประจำปี 2552-2553 - ได้รับพระราชทานปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ - ได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ได้รับรางวัล "ครุฑทองคำ" ผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี 2553-2554 ของสมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย - ได้รับรางวัลเกียรติยศโล่เชิดชูเกียรติ “ยกย่องให้เป็นผู้ประพฤติปฏิบัติตนชอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555” ของ สำนักงาน ป.ป.ช. - ได้รับปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ประจำปีการศึกษา 2556 - ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ "ข้าราชการผู้สร้างชื่อเสียงให้กับกระทรวงมหาดไทย" ปี 2559 - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถาบันทรัพยากรมนุษย์ มีมติประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัลเกียรติยศ "ผู้ทำคุณประโยชน์ดีเด่น ด้านทรัพยากรมนุษย์" (Human Resource Excellence Award) แด่หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในวันที่ 28 มิถุนายน 2560 ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ - และท้ายที่สุดนี้ ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รับพระราชทาน 'โล่เกียรติคุณผู้ทำคุณประโยชน์เพื่อสังคมและประเทศชาติ' ตามคำกราบบังคมทูลของจุฬาราชมนตรี และคณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๔ พ.ค. ๒๕๖๑เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. สืบราชสกุลใน พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ร้อยเอกหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ชื่อเล่นว่าอะไร
{ "answer": [ "คุณเหลน" ], "answer_begin_position": [ 188 ], "answer_end_position": [ 195 ] }
1,675
285,522
หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ร้อยเอกหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล (เกิด 26 สิงหาคม พ.ศ. 2499; ชื่อเล่น: คุณเหลน) ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทรโอชา อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทยครอบครัว ครอบครัว. เป็นบุตรชายเพียงคนเดียวของ พลตรี หม่อมราชวงศ์สังขดิศ ดิศกุล อดีตเสรีไทย และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำหลายประเทศ กับมัณฑนา ดิศกุล ณ อยุธยา และเป็นปนัดดา (เหลน) ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เกิดที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันสมรสกับนางอัมพร ดิศกุล ณ อยุธยา และมีบุตรชายคนเดียว คือ วรดิศ ดิศกุล ณ อยุธยาการศึกษา การศึกษา. ในระดับประถม(รุ่นที่ 10)และมัธยมที่โรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร จากนั้นจึงติดตามครอบครัวไปศึกษาต่อในต่างประเทศ ณ โรงเรียนเตรียมทหารคิงส์ ประเทศออสเตรเลีย โดยสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางการทหาร และปริญญาโททางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จาก Brigham Young University สหรัฐอเมริกา และได้เข้ารับการอบรมาหลักสูตรวิชาประวัติศาสตร์ไทย-ญี่ปุ่น เปรียบเทียบ ณ Sophia University ประเทศญี่ปุ่น หม่อมหลวงปนัดดา ผ่านการอบรมหลักสูตร"นักปกครองชั้นสูง " จากวิทยาลัยมหาดไทย และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่น 2550ราชการข้าราชการประจำ ราชการ. ข้าราชการประจำ. หม่อมหลวงปนัดดา เริ่มต้นเข้ารับราชการในกองทัพบก ตำแหน่ง อาจารย์ สังกัดส่วนการศึกษา กองวิชากฎหมายและสังคมศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ชั้นยศร้อยเอก และเข้าศึกษาหลักสูตรกระโดดร่ม (ส่งทางอากาศ) รุ่นที่ 144 และหลักสูตรชั้นนายร้อยเหล่าทหารม้า จากนั้นได้โอนย้ายมารับราชการ สังกัดกองการต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง อาทิ ปี พ.ศ. 2541 ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการส่วนนโยบายการเมืองการปกครองและการบริหาร สำนักนโยบายและแผน และหัวหน้าสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย ในปี พ.ศ. 2542 ในปี พ.ศ. 2546 ได้รับแต่งตั้งเป็น รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร รองผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี (พ.ศ. 2547) และรองผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ (พ.ศ. 2550) ต่อมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2550 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ 10 (ชช.) ดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษาด้านความมั่นคง สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม ในปี พ.ศ. 2552 ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 จึงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ จนกระทั่งในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 จึงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ในปี 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี อีกหน้าที่หนึ่งข้าราชการการเมือง ข้าราชการการเมือง. นอกจากดำรงตำแหน่งปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี แล้ว เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2557 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อีกหน้าที่หนึ่ง แต่ต่อมาเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558 หม่อมหลวงปนัดดา ได้ขอลาออกจากราชการเพื่อทำหน้าที่รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีเพียงหน้าที่เดียว ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ได้รับพระราชโองการแต่งตั้งให้พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จนพ้นความเป็นรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี ในเวลาต่อมาบทวิจารณ์ บทวิจารณ์. หม่อมหลวงปนัดดา ได้รับการกล่าวขานถึงอย่างกว้างขวางในความเป็นข้าราชการผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์มาตลอดชีวิตการรับราชการตราบจนเกษียณอายุราชการ ในปี 2559 โดยได้รับการประกาศเกียรติคุณจากหลายส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ และองค์กรภาคเอกชนและภาครัฐ อาทิ (1) สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทยพิจารณามอบรางวัลเมขลา (ปูชนียบุคคลที่ทรงคุณค่าต่อแผ่นดิน) ในฐานะข้าราชการผู้ยึดมั่นความจงรักภักดีเป็นหัวใจแห่งการดำรงตน (2) สมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทยพิจารณามอบรางวัลครุฑทองคำผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น ในฐานะผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม และผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ที่ประสบความสำเร็จทางการบริหารและได้รับความเมตตากรุณา และเป็นที่รักใคร่ของพี่น้องประชาชน (3) สำนักงาน ป.ป.ช. ประกาศมอบรางวัลเกียรติยศให้เป็นข้าราชการผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นการปฏิบัติราชการตามหลักธรรมาภิบาลอย่างเคร่งครัด และได้รับการประดับรูปภาพเป็นเกียรติยศ ณ ห้องเกียรติสถิต พิพิธภัณฑ์ต่อต้านการทุจริต สำนักงาน ป.ป.ช. (4) โรงเรียนสาธิต (ฝ่ายประถม) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประกาศเกียรติคุณให้เป็นศิษย์เก่าดีเด่น ณ ห้องประวัติของโรงเรียน ยังความภาคภูมิใจแก่ชีวิตการรับราชการของหม่อมหลวงปนัดดาและครอบครัวตลอดระยะเวลา 37 ปีเต็ม และเมื่อล่าสุดนี้ (6 ก.ค.59) ในโลกออนไลน์ คนแห่ชื่นชมหม่อมหลวงปนัดดา หลังต่อแถวขึ้นเครื่องบินที่สนามบิน ยกเป็น 'ข้าราชการตัวอย่าง' ซึ่งโลกออนไลน์ดังกล่าวได้มีการแชร์ภาพสุดประทับใจของข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ท่านหนึ่งแต่ไม่ระบุชื่อ ที่เข้าแถวต่อคิวรอขึ้นเครื่องบินโดยสารเหมือนกับประชาชนคนธรรมดาทั่วไป โดยภาพดังกล่าวได้เผยให้เห็นว่าคือ 'ม.ล.ปนัดดา ดิศกุล' สวมเสื้อผ้าไหมสีฟ้าถือกระเป๋าเอกสารยืนหันหลังต่อแถวเตรียมขึ้นเครื่องบินที่สนามบิน ซึ่งผู้ใช้เฟซบุ๊กที่ได้เผยแพร่ภาพระบุข้อความว่า 'ประทับใจภาพ ม.ล.ปนัดดา ต่อแถวขึ้นเครื่องบินของสายการบินโลว์คอสต์ เพื่อเดินขึ้นเครื่องเช่นเดียวกับผู้โดยสารคนอื่นๆ เมื่อพนักงานตรวจตั๋วเดินทาง ส่งบัตรโดยสารคืนให้ ท่านก็กล่าวถ้อยคำว่า ขอบคุณครับ ด้วยน้ำเสียงอบอุ่น ถ่อมตน เมื่อผมเดินตามท่านไปถึงประตูเครื่อง พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินยกมือไหว้ ท่านก็ยกมือไหว้ตอบ และกล่าวคำว่า สวัสดีครับ ด้วยน้ำเสียงเช่นเดิม พร้อมกับรอยยิ้มที่ดูเป็นมิตร ขณะที่เดินไปยังที่นั่งของท่าน ท่านเดินผ่านสุภาพสตรีสูงอายุท่านหนึ่ง ท่านก็ค้อมตัวเล็กน้อย พร้อมกล่าวคำว่า ขอโทษนะครับ แล้วท่านก็เดินผ่านไป และยกกระเป๋าขึ้นเก็บยังที่เก็บของด้วยตัวท่านเอง ขอยกให้ท่านเป็นข้าราชการตัวอย่างที่ผมจะขอจดจำ' สื่อขอสัมภาษณ์ 'พี่หม่อมของพวกเรา' ภายหลังว่ามีความรู้สึกอย่างไรที่ผู้คนเข้ามาชื่นชมมากมายเป็นครั้งที่ 2 แล้วภายหลังปี 2557 ท่านตอบว่า 'กราบขอบพระคุณทุกท่านครับ พี่ปฏิบัติของพี่มาเช่นนี้ ตั้งแต่เมื่อแลเห็นคุณพ่อผู้ล่วงลับ (หม่อมราชวงศ์สังขดิศ) เป็นแบบอย่างเมื่อพ่อเป็นเอกอัครราชทูตในประเทศต่างๆ และเมื่อพี่มาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ภริยากับลูกชายก็บอกว่าทำถูกต้อง ทำเหมือนคุณพ่อ ใครๆ เขาก็ทำกัน ตำแหน่งหน้าที่ในคราวหนึ่งๆ ก็คือหัวโขน ไม่ใช่เรื่องอื่นใดเลย' และท้ายที่สุดนี้ ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รับพระราชทาน 'โล่เกียรติคุณผู้ทำคุณประโยชน์เพื่อสังคมและประเทศชาติ' ตามคำกราบบังคมทูลของจุฬาราชมนตรี และคณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๔ พ.ค. ๒๕๖๑รางวัลดีเด่น รางวัลดีเด่น. หม่อมหลวงปนัดดา ได้รับรางวัลดีเด่นหลายรางวัล อาทิ- ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็น “ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ” ของกระทรวงมหาดไทย ประจำปี พ.ศ. 2532 โดยสอบเลื่อนระดับ 6 ได้เป็นอันดับที่ 1 ของกระทรวงมหาดไทยในปีนั้น - ได้รับรางวัล “ศิษย์เก่าดีเด่น” ประจำปี พ.ศ. 2549 จากโรงเรียนสาธิตศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร) - ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็น “ศิษย์เก่าดีเด่น เนื่องในวัน ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี” ประจำปี พ.ศ. 2549 - ได้รับรางวัล “คนดี ศรีสยาม” ประจำปี พ.ศ. 2549 จากสหพันธ์รวมใจไทยทั้งชาติ - ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “ผู้ทำคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี” ประจำปี พ.ศ. 2549 - ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “พ่อตัวอย่างแห่งชาติ” ประจำปี พ.ศ. 2550 - ได้รับรางวัลกิติคุณสัมพันธ์ "สังข์เงิน" ครั้งที่ 23 ประจำปี 2552-2553 - ได้รับพระราชทานปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ - ได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ได้รับรางวัล "ครุฑทองคำ" ผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี 2553-2554 ของสมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย - ได้รับรางวัลเกียรติยศโล่เชิดชูเกียรติ “ยกย่องให้เป็นผู้ประพฤติปฏิบัติตนชอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555” ของ สำนักงาน ป.ป.ช. - ได้รับปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ประจำปีการศึกษา 2556 - ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ "ข้าราชการผู้สร้างชื่อเสียงให้กับกระทรวงมหาดไทย" ปี 2559 - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถาบันทรัพยากรมนุษย์ มีมติประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัลเกียรติยศ "ผู้ทำคุณประโยชน์ดีเด่น ด้านทรัพยากรมนุษย์" (Human Resource Excellence Award) แด่หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในวันที่ 28 มิถุนายน 2560 ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ - และท้ายที่สุดนี้ ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รับพระราชทาน 'โล่เกียรติคุณผู้ทำคุณประโยชน์เพื่อสังคมและประเทศชาติ' ตามคำกราบบังคมทูลของจุฬาราชมนตรี และคณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๔ พ.ค. ๒๕๖๑เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. สืบราชสกุลใน พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ร้อยเอกหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "26" ], "answer_begin_position": [ 156 ], "answer_end_position": [ 158 ] }
1,816
285,522
หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ร้อยเอกหม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล (เกิด 26 สิงหาคม พ.ศ. 2499; ชื่อเล่น: คุณเหลน) ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทรโอชา อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทยครอบครัว ครอบครัว. เป็นบุตรชายเพียงคนเดียวของ พลตรี หม่อมราชวงศ์สังขดิศ ดิศกุล อดีตเสรีไทย และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำหลายประเทศ กับมัณฑนา ดิศกุล ณ อยุธยา และเป็นปนัดดา (เหลน) ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เกิดที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันสมรสกับนางอัมพร ดิศกุล ณ อยุธยา และมีบุตรชายคนเดียว คือ วรดิศ ดิศกุล ณ อยุธยาการศึกษา การศึกษา. ในระดับประถม(รุ่นที่ 10)และมัธยมที่โรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร จากนั้นจึงติดตามครอบครัวไปศึกษาต่อในต่างประเทศ ณ โรงเรียนเตรียมทหารคิงส์ ประเทศออสเตรเลีย โดยสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางการทหาร และปริญญาโททางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จาก Brigham Young University สหรัฐอเมริกา และได้เข้ารับการอบรมาหลักสูตรวิชาประวัติศาสตร์ไทย-ญี่ปุ่น เปรียบเทียบ ณ Sophia University ประเทศญี่ปุ่น หม่อมหลวงปนัดดา ผ่านการอบรมหลักสูตร"นักปกครองชั้นสูง " จากวิทยาลัยมหาดไทย และหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่น 2550ราชการข้าราชการประจำ ราชการ. ข้าราชการประจำ. หม่อมหลวงปนัดดา เริ่มต้นเข้ารับราชการในกองทัพบก ตำแหน่ง อาจารย์ สังกัดส่วนการศึกษา กองวิชากฎหมายและสังคมศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ชั้นยศร้อยเอก และเข้าศึกษาหลักสูตรกระโดดร่ม (ส่งทางอากาศ) รุ่นที่ 144 และหลักสูตรชั้นนายร้อยเหล่าทหารม้า จากนั้นได้โอนย้ายมารับราชการ สังกัดกองการต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง อาทิ ปี พ.ศ. 2541 ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการส่วนนโยบายการเมืองการปกครองและการบริหาร สำนักนโยบายและแผน และหัวหน้าสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย ในปี พ.ศ. 2542 ในปี พ.ศ. 2546 ได้รับแต่งตั้งเป็น รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร รองผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี (พ.ศ. 2547) และรองผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ (พ.ศ. 2550) ต่อมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2550 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ 10 (ชช.) ดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษาด้านความมั่นคง สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม ในปี พ.ศ. 2552 ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 จึงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ จนกระทั่งในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 จึงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ในปี 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี อีกหน้าที่หนึ่งข้าราชการการเมือง ข้าราชการการเมือง. นอกจากดำรงตำแหน่งปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี แล้ว เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2557 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อีกหน้าที่หนึ่ง แต่ต่อมาเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558 หม่อมหลวงปนัดดา ได้ขอลาออกจากราชการเพื่อทำหน้าที่รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีเพียงหน้าที่เดียว ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ได้รับพระราชโองการแต่งตั้งให้พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จนพ้นความเป็นรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำนายกรัฐมนตรี ในเวลาต่อมาบทวิจารณ์ บทวิจารณ์. หม่อมหลวงปนัดดา ได้รับการกล่าวขานถึงอย่างกว้างขวางในความเป็นข้าราชการผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์มาตลอดชีวิตการรับราชการตราบจนเกษียณอายุราชการ ในปี 2559 โดยได้รับการประกาศเกียรติคุณจากหลายส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ และองค์กรภาคเอกชนและภาครัฐ อาทิ (1) สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทยพิจารณามอบรางวัลเมขลา (ปูชนียบุคคลที่ทรงคุณค่าต่อแผ่นดิน) ในฐานะข้าราชการผู้ยึดมั่นความจงรักภักดีเป็นหัวใจแห่งการดำรงตน (2) สมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทยพิจารณามอบรางวัลครุฑทองคำผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น ในฐานะผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม และผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ที่ประสบความสำเร็จทางการบริหารและได้รับความเมตตากรุณา และเป็นที่รักใคร่ของพี่น้องประชาชน (3) สำนักงาน ป.ป.ช. ประกาศมอบรางวัลเกียรติยศให้เป็นข้าราชการผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นการปฏิบัติราชการตามหลักธรรมาภิบาลอย่างเคร่งครัด และได้รับการประดับรูปภาพเป็นเกียรติยศ ณ ห้องเกียรติสถิต พิพิธภัณฑ์ต่อต้านการทุจริต สำนักงาน ป.ป.ช. (4) โรงเรียนสาธิต (ฝ่ายประถม) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประกาศเกียรติคุณให้เป็นศิษย์เก่าดีเด่น ณ ห้องประวัติของโรงเรียน ยังความภาคภูมิใจแก่ชีวิตการรับราชการของหม่อมหลวงปนัดดาและครอบครัวตลอดระยะเวลา 37 ปีเต็ม และเมื่อล่าสุดนี้ (6 ก.ค.59) ในโลกออนไลน์ คนแห่ชื่นชมหม่อมหลวงปนัดดา หลังต่อแถวขึ้นเครื่องบินที่สนามบิน ยกเป็น 'ข้าราชการตัวอย่าง' ซึ่งโลกออนไลน์ดังกล่าวได้มีการแชร์ภาพสุดประทับใจของข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ท่านหนึ่งแต่ไม่ระบุชื่อ ที่เข้าแถวต่อคิวรอขึ้นเครื่องบินโดยสารเหมือนกับประชาชนคนธรรมดาทั่วไป โดยภาพดังกล่าวได้เผยให้เห็นว่าคือ 'ม.ล.ปนัดดา ดิศกุล' สวมเสื้อผ้าไหมสีฟ้าถือกระเป๋าเอกสารยืนหันหลังต่อแถวเตรียมขึ้นเครื่องบินที่สนามบิน ซึ่งผู้ใช้เฟซบุ๊กที่ได้เผยแพร่ภาพระบุข้อความว่า 'ประทับใจภาพ ม.ล.ปนัดดา ต่อแถวขึ้นเครื่องบินของสายการบินโลว์คอสต์ เพื่อเดินขึ้นเครื่องเช่นเดียวกับผู้โดยสารคนอื่นๆ เมื่อพนักงานตรวจตั๋วเดินทาง ส่งบัตรโดยสารคืนให้ ท่านก็กล่าวถ้อยคำว่า ขอบคุณครับ ด้วยน้ำเสียงอบอุ่น ถ่อมตน เมื่อผมเดินตามท่านไปถึงประตูเครื่อง พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินยกมือไหว้ ท่านก็ยกมือไหว้ตอบ และกล่าวคำว่า สวัสดีครับ ด้วยน้ำเสียงเช่นเดิม พร้อมกับรอยยิ้มที่ดูเป็นมิตร ขณะที่เดินไปยังที่นั่งของท่าน ท่านเดินผ่านสุภาพสตรีสูงอายุท่านหนึ่ง ท่านก็ค้อมตัวเล็กน้อย พร้อมกล่าวคำว่า ขอโทษนะครับ แล้วท่านก็เดินผ่านไป และยกกระเป๋าขึ้นเก็บยังที่เก็บของด้วยตัวท่านเอง ขอยกให้ท่านเป็นข้าราชการตัวอย่างที่ผมจะขอจดจำ' สื่อขอสัมภาษณ์ 'พี่หม่อมของพวกเรา' ภายหลังว่ามีความรู้สึกอย่างไรที่ผู้คนเข้ามาชื่นชมมากมายเป็นครั้งที่ 2 แล้วภายหลังปี 2557 ท่านตอบว่า 'กราบขอบพระคุณทุกท่านครับ พี่ปฏิบัติของพี่มาเช่นนี้ ตั้งแต่เมื่อแลเห็นคุณพ่อผู้ล่วงลับ (หม่อมราชวงศ์สังขดิศ) เป็นแบบอย่างเมื่อพ่อเป็นเอกอัครราชทูตในประเทศต่างๆ และเมื่อพี่มาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ภริยากับลูกชายก็บอกว่าทำถูกต้อง ทำเหมือนคุณพ่อ ใครๆ เขาก็ทำกัน ตำแหน่งหน้าที่ในคราวหนึ่งๆ ก็คือหัวโขน ไม่ใช่เรื่องอื่นใดเลย' และท้ายที่สุดนี้ ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รับพระราชทาน 'โล่เกียรติคุณผู้ทำคุณประโยชน์เพื่อสังคมและประเทศชาติ' ตามคำกราบบังคมทูลของจุฬาราชมนตรี และคณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๔ พ.ค. ๒๕๖๑รางวัลดีเด่น รางวัลดีเด่น. หม่อมหลวงปนัดดา ได้รับรางวัลดีเด่นหลายรางวัล อาทิ- ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็น “ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ” ของกระทรวงมหาดไทย ประจำปี พ.ศ. 2532 โดยสอบเลื่อนระดับ 6 ได้เป็นอันดับที่ 1 ของกระทรวงมหาดไทยในปีนั้น - ได้รับรางวัล “ศิษย์เก่าดีเด่น” ประจำปี พ.ศ. 2549 จากโรงเรียนสาธิตศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร) - ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็น “ศิษย์เก่าดีเด่น เนื่องในวัน ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี” ประจำปี พ.ศ. 2549 - ได้รับรางวัล “คนดี ศรีสยาม” ประจำปี พ.ศ. 2549 จากสหพันธ์รวมใจไทยทั้งชาติ - ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “ผู้ทำคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี” ประจำปี พ.ศ. 2549 - ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “พ่อตัวอย่างแห่งชาติ” ประจำปี พ.ศ. 2550 - ได้รับรางวัลกิติคุณสัมพันธ์ "สังข์เงิน" ครั้งที่ 23 ประจำปี 2552-2553 - ได้รับพระราชทานปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ - ได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ได้รับรางวัล "ครุฑทองคำ" ผู้บริหารราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี 2553-2554 ของสมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย - ได้รับรางวัลเกียรติยศโล่เชิดชูเกียรติ “ยกย่องให้เป็นผู้ประพฤติปฏิบัติตนชอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ประจำปี 2555” ของ สำนักงาน ป.ป.ช. - ได้รับปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ประจำปีการศึกษา 2556 - ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ "ข้าราชการผู้สร้างชื่อเสียงให้กับกระทรวงมหาดไทย" ปี 2559 - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถาบันทรัพยากรมนุษย์ มีมติประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัลเกียรติยศ "ผู้ทำคุณประโยชน์ดีเด่น ด้านทรัพยากรมนุษย์" (Human Resource Excellence Award) แด่หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในวันที่ 28 มิถุนายน 2560 ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ - และท้ายที่สุดนี้ ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รับพระราชทาน 'โล่เกียรติคุณผู้ทำคุณประโยชน์เพื่อสังคมและประเทศชาติ' ตามคำกราบบังคมทูลของจุฬาราชมนตรี และคณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑๔ พ.ค. ๒๕๖๑เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. สืบราชสกุลใน พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "26" ], "answer_begin_position": [ 156 ], "answer_end_position": [ 158 ] }
782
17,368
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงปิ่นเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 ณ บ้านถนนอัษฎางค์ กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 6 ใน 13 คน ของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) และท่านผู้หญิงเสงี่ยม พระเสด็จสุเรนทราธิบดี (เสงี่ยม มาลากุล ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม วสันตสิงห์)) ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาทั้งสิ้น 8 คน ได้แก่- หม่อมหลวงปก มาลากุล - หม่อมหลวงป้อง มาลากุล - หม่อมหลวงเปนศรี มาลากุล - หม่อมหลวงปนศักดิ์ มาลากุล - หม่อมหลวงปอง เทวกุล (สมรสกับหม่อมเจ้าสุรวุฒิประวัติ เทวกุล) - หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล - หม่อมหลวงเปี่ยมสิน มาลากุล - หม่อมหลวงปานตา วสันตสิงห์ (สมรสกับนายเมืองเริง วสันตสิงห์)ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา. ปี พ.ศ. 2450 เมื่อหม่อมหลวงปิ่นมีอายุได้ 4 ขวบ ท่านได้เริ่มเรียนหนังสือที่บ้านกับครูแฉล้ม (แฉล้ม คุปตารักษ์) ต่อมาได้เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และต่อมาในปี พ.ศ. 2457 หม่อมหลวงปิ่นก็เข้าศึกษาที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นนักเรียนมหาดเล็กในพระบรมมหาราชวัง ไม่ได้เรียนที่โรงเรียนอีก แต่ปลายปีนั้นก็ยังคงมาสอบไล่และสามารถสอบผ่านชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งทำให้เลื่อนไปเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แต่ก็ไม่ได้มาเรียนหรือมาสอบอีกเลย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ได้รับทุนของกระทรวงธรรมการ จึงออกไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ โดยไปเข้าเรียนที่ The School of Oriental and African Studies, University of London (SOAS) หรือวิทยาลัยบูรพศึกษาและอาฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยลอนดอน และได้รับประกาศนียบัตรวิชาภาษาและวรรณคดีบาลีและสันสกฤต แล้วได้ย้ายไปศึกษาต่อที่คณะบูรพคดีศึกษา (Faculty of Oriental Studies) สถาบันตะวันออกของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ประสบความสำเร็จโดยได้ปริญญาตรี (B.A.) เกียรตินิยมสาขาบูรพคดีศึกษา (Oriental Studies) วิชาเอกภาษาบาลีและสันสกฤต ในปี พ.ศ. 2471 ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 ได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทจนสำเร็จการศึกษา ได้รับปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (M.A.) ระหว่างที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ท่านสังกัดวิทยาลัยบเร๊สโนส (Brasenose College) และในปี พ.ศ. 2498 ท่านก็ได้สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (รุ่นแรก)รับราชการ รับราชการ. ในปีพ.ศ. 2455 ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ต่อมาได้เป็นอาจารย์ประจำกองแบบเรียนกรมวิชาการ อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีพ.ศ. 2474 ในปีพ.ศ. 2475 เป็นอาจารย์โท อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังได้เป็นหัวหน้าแผนกฝึกหัดครูมัธยม คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรักษาการในตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนมัธยมหอวังในปีพ.ศ. 2477 อีกด้วย หม่อมหลวงปิ่นได้เป็นอาจารย์เอก อันดับ 1 ต่อมาในปีพ.ศ. 2480 ท่านได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนสหศึกษาแห่งแรกในประเทศไทย ท่านดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการท่านแรก 5 ปีต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้รับแต่งตั้งเป็นอธิบดีกรมสามัญศึกษาอีกตำแหน่งหนึ่งอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2487 ท่านได้พ้นจากตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและเป็นที่ปรึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและทำงานในหน้าที่เลขาธิการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2489 ท่านดำรงตำแหน่งเป็นปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และในปี พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2496 ท่านได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมวิชาการ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2497 ได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมการฝึกหัดครู รักษาการอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา ศาสตราจารย์พิเศษในคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2492 จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงขึ้นที่ถนนประสานมิตร ต่อมาใน พ.ศ. 2496 เลื่อนฐานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร และเป็น "มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ" ในปัจจุบัน โดยได้ดำรงตำแหน่งอธิการคนแรกระหว่าง พ.ศ. 2497-2499 หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 ถึง 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตั้งแต่พ.ศ. 2500 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นเวลายาวนานถึง 12 ปีเศษสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ สถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์. ปีพ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายที่จะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชาที่หลากหลายขึ้น แต่เนื่องจากบริเวณพื้นที่ในวังท่าพระคับแคบมาก ไม่สามารถจะขยายพื้นที่ออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2511 คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2513 และคณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2515 ตามลำดับ หลังจากนั้น จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2529 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ปัจจุบันคือคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทศโนโลยีอุตสาหกรรม) พ.ศ. 2535 สาเหตุที่เลือกจังหวัดนครปฐมเป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม เหมาะสมที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วยเหตุผลดังนี้1. ประการแรก พระราชวังสนามจันทร์เคยเป็นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้สนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งในทางโบราณคดีและศิลปะทั้งปวง ทรงเป็นนักโบราณคดีและศิลปินชั้นเยี่ยมโดยเฉพาะทางวรรณศิลป์ ทรงสนับสนุนนาฏศิลป์ตลอดรัชสมัยของพระองค์ 2. ประการที่สอง บริเวณพระราชวังสนามจันทร์เป็นที่ตั้งของเทวาลัยคเณศร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้ พระพิฆเนศยังเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะ และเป็นตราของทางมหาวิทยาลัยศิลปากรอยู่แล้ว 3. ประการสุดท้าย ที่จังหวัดนครปฐมมีพระปฐมเจดีย์ประดิษฐานอยู่ นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางของโบราณคดีและศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย ดังนั้นบริเวณพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม จึงเหมาะที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรท่านแรก (ก่อนหน้านั้นมหาวิทยาลัยศิลปากรใช้ตำแหน่ง "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัย" โดยตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากรจะดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากรโดยตำแหน่ง ต่อมาจึงแยกหน่วยงานออกจากกันระหว่างกรมศิลปากรและมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงเปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากร" เป็น "อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร") โดยศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรระหว่าง พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2514การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาขึ้น เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 โดยนักเรียนเริ่มเรียนในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2481 โดยมี ฯพณฯ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียน ในปีแรกๆ โรงเรียนได้เจริญขึ้นเป็นลำดับ เช่น ทางด้านวิชาการมีผลเป็นที่น่าพอใจ การสร้างตึก 2 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2482 และต่อมาได้สร้างตึก 3 ไปจนจดถนนอังรีดูนังต์ ในเวลานี้นอกจากผลงานทางด้านวิชาการจะเป็นที่น่าพอใจแล้ว นักเรียนยังได้แสดงความสามารถในการเล่นกีฬาต่างๆ ที่หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้นำเข้ามาในโรงเรียน เช่น ฮอกกี้ รักบี้ และฟุตบอล เข้าเกณฑ์ที่กล่าวได้ว่า "เรียนก็เด่น เล่นก็ดี กีฬาเลิศ" นอกจากนี้หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ยังมีวิสัยทัศน์อันกว้างไกล ในการดำเนินการศึกษา ให้แก่นักเรียนเตรียมอุดมศึกษา ด้วยเล็งเห็นว่า โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่มุ่งเตรียมเข้าสู่ระดับอุดมศึกษา จึงจัดสหศึกษาของวัยรุ่นด้วยความรอบคอบระมัดระวัง โดยการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการ ควบคู่คุณธรรมดังที่ท่านเคยกล่าวไว้ว่า ไม่เห็นมีเปรียบปานการศึกษา สร้างคนหาค่ามิได้ในโลกา ขึ้นจากผู้ที่หาค่าไม่มีฯ " มีเงินหยิบโยนให้ก็เสร็จสรรพ์ แต่งามจิตใจกว้างนั้นต่างกัน การอบรมเท่านั้นเป็นปัจจัยฯ " หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้วางระเบียบและข้อปฏิบัติงานไว้อย่างเหมาะสม นับเป็นประโยชน์แก่การศึกษา เป็นอย่างดียิ่ง เช่น- มีแผนทะเบียนเป็นศูนย์กลางขึ้นตรงต่อผู้อำนวยการประสานงานฝ่ายวิชาการและการปกครอง - จัดทำทะเบียนประวัติย่อของนักเรียนที่เข้าเรียนแต่ปีแรก - มีสถิติการเรียนและการสอบต่างๆ บันทึกไว้เพื่อให้ทราบพฤติกรรมของนักเรียน - วางระเบียบให้มีรางวัลคะแนนรวมให้แก่นักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยม - มีการจารึกนามนักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยมไว้ที่แผ่นเกียรติยศการศึกษาเป็นตัวอักษรสีทอง ไว้ในห้องประชุมของโรงเรียน (ปัจจุบันคือห้อง 111 ตึก 2) - นอกจากนี้ท่านยังได้คิดการแข่งขันกีฬา ให้เฉพาะโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเรียกว่า การแข่งขันวิ่งสามสระ เป็นกีฬาที่หญิงชายเล่นร่วมกันได้ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ยื่นใบลาออกจากการเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแก่จอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อราวเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2487 ดังนี้ชีวิตสมรส ชีวิตสมรส. ด้านชีวิตครอบครัว หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้สมรสกับ ท่านผู้หญิงดุษฎี มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ไกรฤกษ์) ธิดาเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) และท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร (สกุลเดิม:บางยี่ขัน) แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกันบั้นปลายชีวิต บั้นปลายชีวิต. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538 สิริอายุได้ 91 ปี 11 เดือน 11 วัน โดยได้รับพระทานโกศไม้สิบสองบรรจุศพ ตั้งศพไว้ที่ศาลาบัณรสภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงพระกรุณาเสด็จไปสดับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพ และได้รับพระราชทานเพลิงศพที่เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2539 หลังจากท่านถึงแก่อสัญกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ โดยความร่วมมือกันของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ สมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ร่วมกันจัดสร้างอนุสาวรีย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ประดิษฐานที่บริเวณข้างสำนักงานอธิการบดี ลานหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยกราบบังคมทูลพระกรุณา สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จมาทรงเปิดอนุสาวรีย์และได้ถือเอาวันที่ 24 ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยจัดให้มีการตักบาตร และจุดธูปเทียน วางพวงมาลัยสักการะรำลึกที่บริเวณลานอนุสาวรีย์เป็นประจำทุกปี และได้จัดตั้งห้องเกียรติยศหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ที่บริเวณชั้น ๔ อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยภายในจัดแสดงหนังสือที่ท่านแต่งขึ้น โต๊ะทำงาน ของสะสม เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และครุยวิทยฐานะตลอดจนสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 ท่านได้รับการประกาศเชิดชูเกียรติจากองค์การยูเนสโกยกย่องท่านเป็น "นักการศึกษาดีเด่นของโลก ในสาขาวรรณกรรมและสื่อสาร" ถือเป็นความภาคภูมิใจของชาวเตรียมอุดมทุกคน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อัญเชิญรูปปั้น ฯพณฯ ศ.หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล จากหอวชิราวุธานุสรณ์ มาประดิษฐาน ห้อง 57 ตึก 1 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เป็นวาระครบรอบ 100 ปีของ ฯพณฯ ศ. ม.ล. ปิ่น มาลากุลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจึงดำริที่จะจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อน้อมรำลึกถึงพระคุณของท่าน นับแต่นี้ต่อไปก็จะมีเพียงการสานต่อแนวความคิดของ ฯพณฯ ให้ปรากฏเป็นผลสมเจตจำนง อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อประโยชน์ของเยาวชน และสังคมไทยตลอดไปเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 5 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 - เหรียญราชรุจิเงิน - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา - เหรียญจักรพรรดิมาลา - เหรียญราชการชายแดน - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1 - เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6 - เหรียญกาชาดสรรเสริญเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ชั้น Grosskreuz สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี - เครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ ชั้นที่ 1 ราชอาณาจักรเบลเยียม - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อรหสมบัติ ชั้นที่ 1 ประเทศญี่ปุ่น - Order of National Security Merit ชั้นที่ 1 Tong-il Medal สาธารณรัฐเกาหลี - [Order of Brilliant Star ชั้นที่ 2 สาธารณรัฐจีน
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้สมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "ท่านผู้หญิงดุษฎี มาลากุล ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 7873 ], "answer_end_position": [ 7906 ] }
887
17,368
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงปิ่นเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 ณ บ้านถนนอัษฎางค์ กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 6 ใน 13 คน ของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) และท่านผู้หญิงเสงี่ยม พระเสด็จสุเรนทราธิบดี (เสงี่ยม มาลากุล ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม วสันตสิงห์)) ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาทั้งสิ้น 8 คน ได้แก่- หม่อมหลวงปก มาลากุล - หม่อมหลวงป้อง มาลากุล - หม่อมหลวงเปนศรี มาลากุล - หม่อมหลวงปนศักดิ์ มาลากุล - หม่อมหลวงปอง เทวกุล (สมรสกับหม่อมเจ้าสุรวุฒิประวัติ เทวกุล) - หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล - หม่อมหลวงเปี่ยมสิน มาลากุล - หม่อมหลวงปานตา วสันตสิงห์ (สมรสกับนายเมืองเริง วสันตสิงห์)ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา. ปี พ.ศ. 2450 เมื่อหม่อมหลวงปิ่นมีอายุได้ 4 ขวบ ท่านได้เริ่มเรียนหนังสือที่บ้านกับครูแฉล้ม (แฉล้ม คุปตารักษ์) ต่อมาได้เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และต่อมาในปี พ.ศ. 2457 หม่อมหลวงปิ่นก็เข้าศึกษาที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นนักเรียนมหาดเล็กในพระบรมมหาราชวัง ไม่ได้เรียนที่โรงเรียนอีก แต่ปลายปีนั้นก็ยังคงมาสอบไล่และสามารถสอบผ่านชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งทำให้เลื่อนไปเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แต่ก็ไม่ได้มาเรียนหรือมาสอบอีกเลย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ได้รับทุนของกระทรวงธรรมการ จึงออกไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ โดยไปเข้าเรียนที่ The School of Oriental and African Studies, University of London (SOAS) หรือวิทยาลัยบูรพศึกษาและอาฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยลอนดอน และได้รับประกาศนียบัตรวิชาภาษาและวรรณคดีบาลีและสันสกฤต แล้วได้ย้ายไปศึกษาต่อที่คณะบูรพคดีศึกษา (Faculty of Oriental Studies) สถาบันตะวันออกของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ประสบความสำเร็จโดยได้ปริญญาตรี (B.A.) เกียรตินิยมสาขาบูรพคดีศึกษา (Oriental Studies) วิชาเอกภาษาบาลีและสันสกฤต ในปี พ.ศ. 2471 ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 ได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทจนสำเร็จการศึกษา ได้รับปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (M.A.) ระหว่างที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ท่านสังกัดวิทยาลัยบเร๊สโนส (Brasenose College) และในปี พ.ศ. 2498 ท่านก็ได้สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (รุ่นแรก)รับราชการ รับราชการ. ในปีพ.ศ. 2455 ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ต่อมาได้เป็นอาจารย์ประจำกองแบบเรียนกรมวิชาการ อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีพ.ศ. 2474 ในปีพ.ศ. 2475 เป็นอาจารย์โท อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังได้เป็นหัวหน้าแผนกฝึกหัดครูมัธยม คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรักษาการในตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนมัธยมหอวังในปีพ.ศ. 2477 อีกด้วย หม่อมหลวงปิ่นได้เป็นอาจารย์เอก อันดับ 1 ต่อมาในปีพ.ศ. 2480 ท่านได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนสหศึกษาแห่งแรกในประเทศไทย ท่านดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการท่านแรก 5 ปีต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้รับแต่งตั้งเป็นอธิบดีกรมสามัญศึกษาอีกตำแหน่งหนึ่งอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2487 ท่านได้พ้นจากตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและเป็นที่ปรึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและทำงานในหน้าที่เลขาธิการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2489 ท่านดำรงตำแหน่งเป็นปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และในปี พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2496 ท่านได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมวิชาการ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2497 ได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมการฝึกหัดครู รักษาการอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา ศาสตราจารย์พิเศษในคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2492 จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงขึ้นที่ถนนประสานมิตร ต่อมาใน พ.ศ. 2496 เลื่อนฐานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร และเป็น "มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ" ในปัจจุบัน โดยได้ดำรงตำแหน่งอธิการคนแรกระหว่าง พ.ศ. 2497-2499 หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 ถึง 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตั้งแต่พ.ศ. 2500 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นเวลายาวนานถึง 12 ปีเศษสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ สถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์. ปีพ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายที่จะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชาที่หลากหลายขึ้น แต่เนื่องจากบริเวณพื้นที่ในวังท่าพระคับแคบมาก ไม่สามารถจะขยายพื้นที่ออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2511 คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2513 และคณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2515 ตามลำดับ หลังจากนั้น จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2529 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ปัจจุบันคือคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทศโนโลยีอุตสาหกรรม) พ.ศ. 2535 สาเหตุที่เลือกจังหวัดนครปฐมเป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม เหมาะสมที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วยเหตุผลดังนี้1. ประการแรก พระราชวังสนามจันทร์เคยเป็นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้สนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งในทางโบราณคดีและศิลปะทั้งปวง ทรงเป็นนักโบราณคดีและศิลปินชั้นเยี่ยมโดยเฉพาะทางวรรณศิลป์ ทรงสนับสนุนนาฏศิลป์ตลอดรัชสมัยของพระองค์ 2. ประการที่สอง บริเวณพระราชวังสนามจันทร์เป็นที่ตั้งของเทวาลัยคเณศร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้ พระพิฆเนศยังเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะ และเป็นตราของทางมหาวิทยาลัยศิลปากรอยู่แล้ว 3. ประการสุดท้าย ที่จังหวัดนครปฐมมีพระปฐมเจดีย์ประดิษฐานอยู่ นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางของโบราณคดีและศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย ดังนั้นบริเวณพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม จึงเหมาะที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรท่านแรก (ก่อนหน้านั้นมหาวิทยาลัยศิลปากรใช้ตำแหน่ง "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัย" โดยตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากรจะดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากรโดยตำแหน่ง ต่อมาจึงแยกหน่วยงานออกจากกันระหว่างกรมศิลปากรและมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงเปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากร" เป็น "อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร") โดยศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรระหว่าง พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2514การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาขึ้น เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 โดยนักเรียนเริ่มเรียนในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2481 โดยมี ฯพณฯ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียน ในปีแรกๆ โรงเรียนได้เจริญขึ้นเป็นลำดับ เช่น ทางด้านวิชาการมีผลเป็นที่น่าพอใจ การสร้างตึก 2 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2482 และต่อมาได้สร้างตึก 3 ไปจนจดถนนอังรีดูนังต์ ในเวลานี้นอกจากผลงานทางด้านวิชาการจะเป็นที่น่าพอใจแล้ว นักเรียนยังได้แสดงความสามารถในการเล่นกีฬาต่างๆ ที่หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้นำเข้ามาในโรงเรียน เช่น ฮอกกี้ รักบี้ และฟุตบอล เข้าเกณฑ์ที่กล่าวได้ว่า "เรียนก็เด่น เล่นก็ดี กีฬาเลิศ" นอกจากนี้หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ยังมีวิสัยทัศน์อันกว้างไกล ในการดำเนินการศึกษา ให้แก่นักเรียนเตรียมอุดมศึกษา ด้วยเล็งเห็นว่า โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่มุ่งเตรียมเข้าสู่ระดับอุดมศึกษา จึงจัดสหศึกษาของวัยรุ่นด้วยความรอบคอบระมัดระวัง โดยการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการ ควบคู่คุณธรรมดังที่ท่านเคยกล่าวไว้ว่า ไม่เห็นมีเปรียบปานการศึกษา สร้างคนหาค่ามิได้ในโลกา ขึ้นจากผู้ที่หาค่าไม่มีฯ " มีเงินหยิบโยนให้ก็เสร็จสรรพ์ แต่งามจิตใจกว้างนั้นต่างกัน การอบรมเท่านั้นเป็นปัจจัยฯ " หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้วางระเบียบและข้อปฏิบัติงานไว้อย่างเหมาะสม นับเป็นประโยชน์แก่การศึกษา เป็นอย่างดียิ่ง เช่น- มีแผนทะเบียนเป็นศูนย์กลางขึ้นตรงต่อผู้อำนวยการประสานงานฝ่ายวิชาการและการปกครอง - จัดทำทะเบียนประวัติย่อของนักเรียนที่เข้าเรียนแต่ปีแรก - มีสถิติการเรียนและการสอบต่างๆ บันทึกไว้เพื่อให้ทราบพฤติกรรมของนักเรียน - วางระเบียบให้มีรางวัลคะแนนรวมให้แก่นักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยม - มีการจารึกนามนักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยมไว้ที่แผ่นเกียรติยศการศึกษาเป็นตัวอักษรสีทอง ไว้ในห้องประชุมของโรงเรียน (ปัจจุบันคือห้อง 111 ตึก 2) - นอกจากนี้ท่านยังได้คิดการแข่งขันกีฬา ให้เฉพาะโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเรียกว่า การแข่งขันวิ่งสามสระ เป็นกีฬาที่หญิงชายเล่นร่วมกันได้ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ยื่นใบลาออกจากการเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแก่จอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อราวเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2487 ดังนี้ชีวิตสมรส ชีวิตสมรส. ด้านชีวิตครอบครัว หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้สมรสกับ ท่านผู้หญิงดุษฎี มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ไกรฤกษ์) ธิดาเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) และท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร (สกุลเดิม:บางยี่ขัน) แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกันบั้นปลายชีวิต บั้นปลายชีวิต. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538 สิริอายุได้ 91 ปี 11 เดือน 11 วัน โดยได้รับพระทานโกศไม้สิบสองบรรจุศพ ตั้งศพไว้ที่ศาลาบัณรสภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงพระกรุณาเสด็จไปสดับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพ และได้รับพระราชทานเพลิงศพที่เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2539 หลังจากท่านถึงแก่อสัญกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ โดยความร่วมมือกันของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ สมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ร่วมกันจัดสร้างอนุสาวรีย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ประดิษฐานที่บริเวณข้างสำนักงานอธิการบดี ลานหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยกราบบังคมทูลพระกรุณา สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จมาทรงเปิดอนุสาวรีย์และได้ถือเอาวันที่ 24 ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยจัดให้มีการตักบาตร และจุดธูปเทียน วางพวงมาลัยสักการะรำลึกที่บริเวณลานอนุสาวรีย์เป็นประจำทุกปี และได้จัดตั้งห้องเกียรติยศหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ที่บริเวณชั้น ๔ อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยภายในจัดแสดงหนังสือที่ท่านแต่งขึ้น โต๊ะทำงาน ของสะสม เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และครุยวิทยฐานะตลอดจนสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 ท่านได้รับการประกาศเชิดชูเกียรติจากองค์การยูเนสโกยกย่องท่านเป็น "นักการศึกษาดีเด่นของโลก ในสาขาวรรณกรรมและสื่อสาร" ถือเป็นความภาคภูมิใจของชาวเตรียมอุดมทุกคน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อัญเชิญรูปปั้น ฯพณฯ ศ.หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล จากหอวชิราวุธานุสรณ์ มาประดิษฐาน ห้อง 57 ตึก 1 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เป็นวาระครบรอบ 100 ปีของ ฯพณฯ ศ. ม.ล. ปิ่น มาลากุลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจึงดำริที่จะจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อน้อมรำลึกถึงพระคุณของท่าน นับแต่นี้ต่อไปก็จะมีเพียงการสานต่อแนวความคิดของ ฯพณฯ ให้ปรากฏเป็นผลสมเจตจำนง อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อประโยชน์ของเยาวชน และสังคมไทยตลอดไปเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 5 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 - เหรียญราชรุจิเงิน - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา - เหรียญจักรพรรดิมาลา - เหรียญราชการชายแดน - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1 - เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6 - เหรียญกาชาดสรรเสริญเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ชั้น Grosskreuz สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี - เครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ ชั้นที่ 1 ราชอาณาจักรเบลเยียม - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อรหสมบัติ ชั้นที่ 1 ประเทศญี่ปุ่น - Order of National Security Merit ชั้นที่ 1 Tong-il Medal สาธารณรัฐเกาหลี - [Order of Brilliant Star ชั้นที่ 2 สาธารณรัฐจีน
หม่อมหลวงปานตา วสันตสิงห์ สมรสกับใคร
{ "answer": [ "นายเมืองเริง วสันตสิงห์" ], "answer_begin_position": [ 1028 ], "answer_end_position": [ 1051 ] }
1,294
17,368
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงปิ่นเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 ณ บ้านถนนอัษฎางค์ กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 6 ใน 13 คน ของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) และท่านผู้หญิงเสงี่ยม พระเสด็จสุเรนทราธิบดี (เสงี่ยม มาลากุล ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม วสันตสิงห์)) ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาทั้งสิ้น 8 คน ได้แก่- หม่อมหลวงปก มาลากุล - หม่อมหลวงป้อง มาลากุล - หม่อมหลวงเปนศรี มาลากุล - หม่อมหลวงปนศักดิ์ มาลากุล - หม่อมหลวงปอง เทวกุล (สมรสกับหม่อมเจ้าสุรวุฒิประวัติ เทวกุล) - หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล - หม่อมหลวงเปี่ยมสิน มาลากุล - หม่อมหลวงปานตา วสันตสิงห์ (สมรสกับนายเมืองเริง วสันตสิงห์)ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา. ปี พ.ศ. 2450 เมื่อหม่อมหลวงปิ่นมีอายุได้ 4 ขวบ ท่านได้เริ่มเรียนหนังสือที่บ้านกับครูแฉล้ม (แฉล้ม คุปตารักษ์) ต่อมาได้เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และต่อมาในปี พ.ศ. 2457 หม่อมหลวงปิ่นก็เข้าศึกษาที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นนักเรียนมหาดเล็กในพระบรมมหาราชวัง ไม่ได้เรียนที่โรงเรียนอีก แต่ปลายปีนั้นก็ยังคงมาสอบไล่และสามารถสอบผ่านชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งทำให้เลื่อนไปเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แต่ก็ไม่ได้มาเรียนหรือมาสอบอีกเลย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ได้รับทุนของกระทรวงธรรมการ จึงออกไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ โดยไปเข้าเรียนที่ The School of Oriental and African Studies, University of London (SOAS) หรือวิทยาลัยบูรพศึกษาและอาฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยลอนดอน และได้รับประกาศนียบัตรวิชาภาษาและวรรณคดีบาลีและสันสกฤต แล้วได้ย้ายไปศึกษาต่อที่คณะบูรพคดีศึกษา (Faculty of Oriental Studies) สถาบันตะวันออกของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ประสบความสำเร็จโดยได้ปริญญาตรี (B.A.) เกียรตินิยมสาขาบูรพคดีศึกษา (Oriental Studies) วิชาเอกภาษาบาลีและสันสกฤต ในปี พ.ศ. 2471 ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 ได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทจนสำเร็จการศึกษา ได้รับปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (M.A.) ระหว่างที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ท่านสังกัดวิทยาลัยบเร๊สโนส (Brasenose College) และในปี พ.ศ. 2498 ท่านก็ได้สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (รุ่นแรก)รับราชการ รับราชการ. ในปีพ.ศ. 2455 ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ต่อมาได้เป็นอาจารย์ประจำกองแบบเรียนกรมวิชาการ อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีพ.ศ. 2474 ในปีพ.ศ. 2475 เป็นอาจารย์โท อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังได้เป็นหัวหน้าแผนกฝึกหัดครูมัธยม คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรักษาการในตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนมัธยมหอวังในปีพ.ศ. 2477 อีกด้วย หม่อมหลวงปิ่นได้เป็นอาจารย์เอก อันดับ 1 ต่อมาในปีพ.ศ. 2480 ท่านได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนสหศึกษาแห่งแรกในประเทศไทย ท่านดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการท่านแรก 5 ปีต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้รับแต่งตั้งเป็นอธิบดีกรมสามัญศึกษาอีกตำแหน่งหนึ่งอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2487 ท่านได้พ้นจากตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและเป็นที่ปรึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและทำงานในหน้าที่เลขาธิการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2489 ท่านดำรงตำแหน่งเป็นปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และในปี พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2496 ท่านได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมวิชาการ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2497 ได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมการฝึกหัดครู รักษาการอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา ศาสตราจารย์พิเศษในคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2492 จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงขึ้นที่ถนนประสานมิตร ต่อมาใน พ.ศ. 2496 เลื่อนฐานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร และเป็น "มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ" ในปัจจุบัน โดยได้ดำรงตำแหน่งอธิการคนแรกระหว่าง พ.ศ. 2497-2499 หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 ถึง 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตั้งแต่พ.ศ. 2500 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นเวลายาวนานถึง 12 ปีเศษสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ สถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์. ปีพ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายที่จะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชาที่หลากหลายขึ้น แต่เนื่องจากบริเวณพื้นที่ในวังท่าพระคับแคบมาก ไม่สามารถจะขยายพื้นที่ออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2511 คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2513 และคณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2515 ตามลำดับ หลังจากนั้น จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2529 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ปัจจุบันคือคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทศโนโลยีอุตสาหกรรม) พ.ศ. 2535 สาเหตุที่เลือกจังหวัดนครปฐมเป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม เหมาะสมที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วยเหตุผลดังนี้1. ประการแรก พระราชวังสนามจันทร์เคยเป็นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้สนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งในทางโบราณคดีและศิลปะทั้งปวง ทรงเป็นนักโบราณคดีและศิลปินชั้นเยี่ยมโดยเฉพาะทางวรรณศิลป์ ทรงสนับสนุนนาฏศิลป์ตลอดรัชสมัยของพระองค์ 2. ประการที่สอง บริเวณพระราชวังสนามจันทร์เป็นที่ตั้งของเทวาลัยคเณศร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้ พระพิฆเนศยังเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะ และเป็นตราของทางมหาวิทยาลัยศิลปากรอยู่แล้ว 3. ประการสุดท้าย ที่จังหวัดนครปฐมมีพระปฐมเจดีย์ประดิษฐานอยู่ นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางของโบราณคดีและศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย ดังนั้นบริเวณพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม จึงเหมาะที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรท่านแรก (ก่อนหน้านั้นมหาวิทยาลัยศิลปากรใช้ตำแหน่ง "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัย" โดยตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากรจะดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากรโดยตำแหน่ง ต่อมาจึงแยกหน่วยงานออกจากกันระหว่างกรมศิลปากรและมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงเปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากร" เป็น "อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร") โดยศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรระหว่าง พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2514การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาขึ้น เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 โดยนักเรียนเริ่มเรียนในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2481 โดยมี ฯพณฯ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียน ในปีแรกๆ โรงเรียนได้เจริญขึ้นเป็นลำดับ เช่น ทางด้านวิชาการมีผลเป็นที่น่าพอใจ การสร้างตึก 2 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2482 และต่อมาได้สร้างตึก 3 ไปจนจดถนนอังรีดูนังต์ ในเวลานี้นอกจากผลงานทางด้านวิชาการจะเป็นที่น่าพอใจแล้ว นักเรียนยังได้แสดงความสามารถในการเล่นกีฬาต่างๆ ที่หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้นำเข้ามาในโรงเรียน เช่น ฮอกกี้ รักบี้ และฟุตบอล เข้าเกณฑ์ที่กล่าวได้ว่า "เรียนก็เด่น เล่นก็ดี กีฬาเลิศ" นอกจากนี้หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ยังมีวิสัยทัศน์อันกว้างไกล ในการดำเนินการศึกษา ให้แก่นักเรียนเตรียมอุดมศึกษา ด้วยเล็งเห็นว่า โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่มุ่งเตรียมเข้าสู่ระดับอุดมศึกษา จึงจัดสหศึกษาของวัยรุ่นด้วยความรอบคอบระมัดระวัง โดยการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการ ควบคู่คุณธรรมดังที่ท่านเคยกล่าวไว้ว่า ไม่เห็นมีเปรียบปานการศึกษา สร้างคนหาค่ามิได้ในโลกา ขึ้นจากผู้ที่หาค่าไม่มีฯ " มีเงินหยิบโยนให้ก็เสร็จสรรพ์ แต่งามจิตใจกว้างนั้นต่างกัน การอบรมเท่านั้นเป็นปัจจัยฯ " หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้วางระเบียบและข้อปฏิบัติงานไว้อย่างเหมาะสม นับเป็นประโยชน์แก่การศึกษา เป็นอย่างดียิ่ง เช่น- มีแผนทะเบียนเป็นศูนย์กลางขึ้นตรงต่อผู้อำนวยการประสานงานฝ่ายวิชาการและการปกครอง - จัดทำทะเบียนประวัติย่อของนักเรียนที่เข้าเรียนแต่ปีแรก - มีสถิติการเรียนและการสอบต่างๆ บันทึกไว้เพื่อให้ทราบพฤติกรรมของนักเรียน - วางระเบียบให้มีรางวัลคะแนนรวมให้แก่นักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยม - มีการจารึกนามนักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยมไว้ที่แผ่นเกียรติยศการศึกษาเป็นตัวอักษรสีทอง ไว้ในห้องประชุมของโรงเรียน (ปัจจุบันคือห้อง 111 ตึก 2) - นอกจากนี้ท่านยังได้คิดการแข่งขันกีฬา ให้เฉพาะโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเรียกว่า การแข่งขันวิ่งสามสระ เป็นกีฬาที่หญิงชายเล่นร่วมกันได้ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ยื่นใบลาออกจากการเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแก่จอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อราวเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2487 ดังนี้ชีวิตสมรส ชีวิตสมรส. ด้านชีวิตครอบครัว หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้สมรสกับ ท่านผู้หญิงดุษฎี มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ไกรฤกษ์) ธิดาเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) และท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร (สกุลเดิม:บางยี่ขัน) แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกันบั้นปลายชีวิต บั้นปลายชีวิต. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538 สิริอายุได้ 91 ปี 11 เดือน 11 วัน โดยได้รับพระทานโกศไม้สิบสองบรรจุศพ ตั้งศพไว้ที่ศาลาบัณรสภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงพระกรุณาเสด็จไปสดับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพ และได้รับพระราชทานเพลิงศพที่เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2539 หลังจากท่านถึงแก่อสัญกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ โดยความร่วมมือกันของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ สมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ร่วมกันจัดสร้างอนุสาวรีย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ประดิษฐานที่บริเวณข้างสำนักงานอธิการบดี ลานหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยกราบบังคมทูลพระกรุณา สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จมาทรงเปิดอนุสาวรีย์และได้ถือเอาวันที่ 24 ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยจัดให้มีการตักบาตร และจุดธูปเทียน วางพวงมาลัยสักการะรำลึกที่บริเวณลานอนุสาวรีย์เป็นประจำทุกปี และได้จัดตั้งห้องเกียรติยศหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ที่บริเวณชั้น ๔ อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยภายในจัดแสดงหนังสือที่ท่านแต่งขึ้น โต๊ะทำงาน ของสะสม เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และครุยวิทยฐานะตลอดจนสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 ท่านได้รับการประกาศเชิดชูเกียรติจากองค์การยูเนสโกยกย่องท่านเป็น "นักการศึกษาดีเด่นของโลก ในสาขาวรรณกรรมและสื่อสาร" ถือเป็นความภาคภูมิใจของชาวเตรียมอุดมทุกคน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อัญเชิญรูปปั้น ฯพณฯ ศ.หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล จากหอวชิราวุธานุสรณ์ มาประดิษฐาน ห้อง 57 ตึก 1 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เป็นวาระครบรอบ 100 ปีของ ฯพณฯ ศ. ม.ล. ปิ่น มาลากุลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจึงดำริที่จะจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อน้อมรำลึกถึงพระคุณของท่าน นับแต่นี้ต่อไปก็จะมีเพียงการสานต่อแนวความคิดของ ฯพณฯ ให้ปรากฏเป็นผลสมเจตจำนง อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อประโยชน์ของเยาวชน และสังคมไทยตลอดไปเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 5 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 - เหรียญราชรุจิเงิน - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา - เหรียญจักรพรรดิมาลา - เหรียญราชการชายแดน - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1 - เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6 - เหรียญกาชาดสรรเสริญเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ชั้น Grosskreuz สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี - เครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ ชั้นที่ 1 ราชอาณาจักรเบลเยียม - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อรหสมบัติ ชั้นที่ 1 ประเทศญี่ปุ่น - Order of National Security Merit ชั้นที่ 1 Tong-il Medal สาธารณรัฐเกาหลี - [Order of Brilliant Star ชั้นที่ 2 สาธารณรัฐจีน
หม่อมหลวงปอง เทวกุล สมรสกับหม่อมเจ้าพระองค์ใด
{ "answer": [ "หม่อมเจ้าสุรวุฒิประวัติ เทวกุล" ], "answer_begin_position": [ 907 ], "answer_end_position": [ 937 ] }
1,733
17,368
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงปิ่นเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 ณ บ้านถนนอัษฎางค์ กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 6 ใน 13 คน ของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) และท่านผู้หญิงเสงี่ยม พระเสด็จสุเรนทราธิบดี (เสงี่ยม มาลากุล ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม วสันตสิงห์)) ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาทั้งสิ้น 8 คน ได้แก่- หม่อมหลวงปก มาลากุล - หม่อมหลวงป้อง มาลากุล - หม่อมหลวงเปนศรี มาลากุล - หม่อมหลวงปนศักดิ์ มาลากุล - หม่อมหลวงปอง เทวกุล (สมรสกับหม่อมเจ้าสุรวุฒิประวัติ เทวกุล) - หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล - หม่อมหลวงเปี่ยมสิน มาลากุล - หม่อมหลวงปานตา วสันตสิงห์ (สมรสกับนายเมืองเริง วสันตสิงห์)ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา. ปี พ.ศ. 2450 เมื่อหม่อมหลวงปิ่นมีอายุได้ 4 ขวบ ท่านได้เริ่มเรียนหนังสือที่บ้านกับครูแฉล้ม (แฉล้ม คุปตารักษ์) ต่อมาได้เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และต่อมาในปี พ.ศ. 2457 หม่อมหลวงปิ่นก็เข้าศึกษาที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นนักเรียนมหาดเล็กในพระบรมมหาราชวัง ไม่ได้เรียนที่โรงเรียนอีก แต่ปลายปีนั้นก็ยังคงมาสอบไล่และสามารถสอบผ่านชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งทำให้เลื่อนไปเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แต่ก็ไม่ได้มาเรียนหรือมาสอบอีกเลย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ได้รับทุนของกระทรวงธรรมการ จึงออกไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ โดยไปเข้าเรียนที่ The School of Oriental and African Studies, University of London (SOAS) หรือวิทยาลัยบูรพศึกษาและอาฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยลอนดอน และได้รับประกาศนียบัตรวิชาภาษาและวรรณคดีบาลีและสันสกฤต แล้วได้ย้ายไปศึกษาต่อที่คณะบูรพคดีศึกษา (Faculty of Oriental Studies) สถาบันตะวันออกของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ประสบความสำเร็จโดยได้ปริญญาตรี (B.A.) เกียรตินิยมสาขาบูรพคดีศึกษา (Oriental Studies) วิชาเอกภาษาบาลีและสันสกฤต ในปี พ.ศ. 2471 ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 ได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทจนสำเร็จการศึกษา ได้รับปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (M.A.) ระหว่างที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ท่านสังกัดวิทยาลัยบเร๊สโนส (Brasenose College) และในปี พ.ศ. 2498 ท่านก็ได้สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (รุ่นแรก)รับราชการ รับราชการ. ในปีพ.ศ. 2455 ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ต่อมาได้เป็นอาจารย์ประจำกองแบบเรียนกรมวิชาการ อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีพ.ศ. 2474 ในปีพ.ศ. 2475 เป็นอาจารย์โท อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังได้เป็นหัวหน้าแผนกฝึกหัดครูมัธยม คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรักษาการในตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนมัธยมหอวังในปีพ.ศ. 2477 อีกด้วย หม่อมหลวงปิ่นได้เป็นอาจารย์เอก อันดับ 1 ต่อมาในปีพ.ศ. 2480 ท่านได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนสหศึกษาแห่งแรกในประเทศไทย ท่านดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการท่านแรก 5 ปีต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้รับแต่งตั้งเป็นอธิบดีกรมสามัญศึกษาอีกตำแหน่งหนึ่งอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2487 ท่านได้พ้นจากตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและเป็นที่ปรึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและทำงานในหน้าที่เลขาธิการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2489 ท่านดำรงตำแหน่งเป็นปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และในปี พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2496 ท่านได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมวิชาการ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2497 ได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมการฝึกหัดครู รักษาการอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา ศาสตราจารย์พิเศษในคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2492 จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงขึ้นที่ถนนประสานมิตร ต่อมาใน พ.ศ. 2496 เลื่อนฐานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร และเป็น "มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ" ในปัจจุบัน โดยได้ดำรงตำแหน่งอธิการคนแรกระหว่าง พ.ศ. 2497-2499 หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 ถึง 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตั้งแต่พ.ศ. 2500 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นเวลายาวนานถึง 12 ปีเศษสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ สถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์. ปีพ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายที่จะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชาที่หลากหลายขึ้น แต่เนื่องจากบริเวณพื้นที่ในวังท่าพระคับแคบมาก ไม่สามารถจะขยายพื้นที่ออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2511 คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2513 และคณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2515 ตามลำดับ หลังจากนั้น จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2529 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ปัจจุบันคือคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทศโนโลยีอุตสาหกรรม) พ.ศ. 2535 สาเหตุที่เลือกจังหวัดนครปฐมเป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม เหมาะสมที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วยเหตุผลดังนี้1. ประการแรก พระราชวังสนามจันทร์เคยเป็นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้สนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งในทางโบราณคดีและศิลปะทั้งปวง ทรงเป็นนักโบราณคดีและศิลปินชั้นเยี่ยมโดยเฉพาะทางวรรณศิลป์ ทรงสนับสนุนนาฏศิลป์ตลอดรัชสมัยของพระองค์ 2. ประการที่สอง บริเวณพระราชวังสนามจันทร์เป็นที่ตั้งของเทวาลัยคเณศร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้ พระพิฆเนศยังเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะ และเป็นตราของทางมหาวิทยาลัยศิลปากรอยู่แล้ว 3. ประการสุดท้าย ที่จังหวัดนครปฐมมีพระปฐมเจดีย์ประดิษฐานอยู่ นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางของโบราณคดีและศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย ดังนั้นบริเวณพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม จึงเหมาะที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรท่านแรก (ก่อนหน้านั้นมหาวิทยาลัยศิลปากรใช้ตำแหน่ง "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัย" โดยตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากรจะดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากรโดยตำแหน่ง ต่อมาจึงแยกหน่วยงานออกจากกันระหว่างกรมศิลปากรและมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงเปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากร" เป็น "อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร") โดยศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรระหว่าง พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2514การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาขึ้น เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 โดยนักเรียนเริ่มเรียนในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2481 โดยมี ฯพณฯ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียน ในปีแรกๆ โรงเรียนได้เจริญขึ้นเป็นลำดับ เช่น ทางด้านวิชาการมีผลเป็นที่น่าพอใจ การสร้างตึก 2 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2482 และต่อมาได้สร้างตึก 3 ไปจนจดถนนอังรีดูนังต์ ในเวลานี้นอกจากผลงานทางด้านวิชาการจะเป็นที่น่าพอใจแล้ว นักเรียนยังได้แสดงความสามารถในการเล่นกีฬาต่างๆ ที่หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้นำเข้ามาในโรงเรียน เช่น ฮอกกี้ รักบี้ และฟุตบอล เข้าเกณฑ์ที่กล่าวได้ว่า "เรียนก็เด่น เล่นก็ดี กีฬาเลิศ" นอกจากนี้หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ยังมีวิสัยทัศน์อันกว้างไกล ในการดำเนินการศึกษา ให้แก่นักเรียนเตรียมอุดมศึกษา ด้วยเล็งเห็นว่า โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่มุ่งเตรียมเข้าสู่ระดับอุดมศึกษา จึงจัดสหศึกษาของวัยรุ่นด้วยความรอบคอบระมัดระวัง โดยการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการ ควบคู่คุณธรรมดังที่ท่านเคยกล่าวไว้ว่า ไม่เห็นมีเปรียบปานการศึกษา สร้างคนหาค่ามิได้ในโลกา ขึ้นจากผู้ที่หาค่าไม่มีฯ " มีเงินหยิบโยนให้ก็เสร็จสรรพ์ แต่งามจิตใจกว้างนั้นต่างกัน การอบรมเท่านั้นเป็นปัจจัยฯ " หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้วางระเบียบและข้อปฏิบัติงานไว้อย่างเหมาะสม นับเป็นประโยชน์แก่การศึกษา เป็นอย่างดียิ่ง เช่น- มีแผนทะเบียนเป็นศูนย์กลางขึ้นตรงต่อผู้อำนวยการประสานงานฝ่ายวิชาการและการปกครอง - จัดทำทะเบียนประวัติย่อของนักเรียนที่เข้าเรียนแต่ปีแรก - มีสถิติการเรียนและการสอบต่างๆ บันทึกไว้เพื่อให้ทราบพฤติกรรมของนักเรียน - วางระเบียบให้มีรางวัลคะแนนรวมให้แก่นักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยม - มีการจารึกนามนักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยมไว้ที่แผ่นเกียรติยศการศึกษาเป็นตัวอักษรสีทอง ไว้ในห้องประชุมของโรงเรียน (ปัจจุบันคือห้อง 111 ตึก 2) - นอกจากนี้ท่านยังได้คิดการแข่งขันกีฬา ให้เฉพาะโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเรียกว่า การแข่งขันวิ่งสามสระ เป็นกีฬาที่หญิงชายเล่นร่วมกันได้ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ยื่นใบลาออกจากการเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแก่จอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อราวเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2487 ดังนี้ชีวิตสมรส ชีวิตสมรส. ด้านชีวิตครอบครัว หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้สมรสกับ ท่านผู้หญิงดุษฎี มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ไกรฤกษ์) ธิดาเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) และท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร (สกุลเดิม:บางยี่ขัน) แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกันบั้นปลายชีวิต บั้นปลายชีวิต. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538 สิริอายุได้ 91 ปี 11 เดือน 11 วัน โดยได้รับพระทานโกศไม้สิบสองบรรจุศพ ตั้งศพไว้ที่ศาลาบัณรสภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงพระกรุณาเสด็จไปสดับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพ และได้รับพระราชทานเพลิงศพที่เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2539 หลังจากท่านถึงแก่อสัญกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ โดยความร่วมมือกันของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ สมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ร่วมกันจัดสร้างอนุสาวรีย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ประดิษฐานที่บริเวณข้างสำนักงานอธิการบดี ลานหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยกราบบังคมทูลพระกรุณา สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จมาทรงเปิดอนุสาวรีย์และได้ถือเอาวันที่ 24 ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยจัดให้มีการตักบาตร และจุดธูปเทียน วางพวงมาลัยสักการะรำลึกที่บริเวณลานอนุสาวรีย์เป็นประจำทุกปี และได้จัดตั้งห้องเกียรติยศหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ที่บริเวณชั้น ๔ อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยภายในจัดแสดงหนังสือที่ท่านแต่งขึ้น โต๊ะทำงาน ของสะสม เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และครุยวิทยฐานะตลอดจนสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 ท่านได้รับการประกาศเชิดชูเกียรติจากองค์การยูเนสโกยกย่องท่านเป็น "นักการศึกษาดีเด่นของโลก ในสาขาวรรณกรรมและสื่อสาร" ถือเป็นความภาคภูมิใจของชาวเตรียมอุดมทุกคน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อัญเชิญรูปปั้น ฯพณฯ ศ.หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล จากหอวชิราวุธานุสรณ์ มาประดิษฐาน ห้อง 57 ตึก 1 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เป็นวาระครบรอบ 100 ปีของ ฯพณฯ ศ. ม.ล. ปิ่น มาลากุลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจึงดำริที่จะจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อน้อมรำลึกถึงพระคุณของท่าน นับแต่นี้ต่อไปก็จะมีเพียงการสานต่อแนวความคิดของ ฯพณฯ ให้ปรากฏเป็นผลสมเจตจำนง อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อประโยชน์ของเยาวชน และสังคมไทยตลอดไปเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 5 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 - เหรียญราชรุจิเงิน - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา - เหรียญจักรพรรดิมาลา - เหรียญราชการชายแดน - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1 - เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6 - เหรียญกาชาดสรรเสริญเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ชั้น Grosskreuz สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี - เครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ ชั้นที่ 1 ราชอาณาจักรเบลเยียม - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อรหสมบัติ ชั้นที่ 1 ประเทศญี่ปุ่น - Order of National Security Merit ชั้นที่ 1 Tong-il Medal สาธารณรัฐเกาหลี - [Order of Brilliant Star ชั้นที่ 2 สาธารณรัฐจีน
ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เกิดวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "24" ], "answer_begin_position": [ 497 ], "answer_end_position": [ 499 ] }
3,908
17,368
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงปิ่นเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 ณ บ้านถนนอัษฎางค์ กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 6 ใน 13 คน ของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) และท่านผู้หญิงเสงี่ยม พระเสด็จสุเรนทราธิบดี (เสงี่ยม มาลากุล ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม วสันตสิงห์)) ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาทั้งสิ้น 8 คน ได้แก่- หม่อมหลวงปก มาลากุล - หม่อมหลวงป้อง มาลากุล - หม่อมหลวงเปนศรี มาลากุล - หม่อมหลวงปนศักดิ์ มาลากุล - หม่อมหลวงปอง เทวกุล (สมรสกับหม่อมเจ้าสุรวุฒิประวัติ เทวกุล) - หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล - หม่อมหลวงเปี่ยมสิน มาลากุล - หม่อมหลวงปานตา วสันตสิงห์ (สมรสกับนายเมืองเริง วสันตสิงห์)ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา. ปี พ.ศ. 2450 เมื่อหม่อมหลวงปิ่นมีอายุได้ 4 ขวบ ท่านได้เริ่มเรียนหนังสือที่บ้านกับครูแฉล้ม (แฉล้ม คุปตารักษ์) ต่อมาได้เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และต่อมาในปี พ.ศ. 2457 หม่อมหลวงปิ่นก็เข้าศึกษาที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นนักเรียนมหาดเล็กในพระบรมมหาราชวัง ไม่ได้เรียนที่โรงเรียนอีก แต่ปลายปีนั้นก็ยังคงมาสอบไล่และสามารถสอบผ่านชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งทำให้เลื่อนไปเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แต่ก็ไม่ได้มาเรียนหรือมาสอบอีกเลย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ได้รับทุนของกระทรวงธรรมการ จึงออกไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ โดยไปเข้าเรียนที่ The School of Oriental and African Studies, University of London (SOAS) หรือวิทยาลัยบูรพศึกษาและอาฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยลอนดอน และได้รับประกาศนียบัตรวิชาภาษาและวรรณคดีบาลีและสันสกฤต แล้วได้ย้ายไปศึกษาต่อที่คณะบูรพคดีศึกษา (Faculty of Oriental Studies) สถาบันตะวันออกของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ประสบความสำเร็จโดยได้ปริญญาตรี (B.A.) เกียรตินิยมสาขาบูรพคดีศึกษา (Oriental Studies) วิชาเอกภาษาบาลีและสันสกฤต ในปี พ.ศ. 2471 ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 ได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทจนสำเร็จการศึกษา ได้รับปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (M.A.) ระหว่างที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ท่านสังกัดวิทยาลัยบเร๊สโนส (Brasenose College) และในปี พ.ศ. 2498 ท่านก็ได้สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (รุ่นแรก)รับราชการ รับราชการ. ในปีพ.ศ. 2455 ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ต่อมาได้เป็นอาจารย์ประจำกองแบบเรียนกรมวิชาการ อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีพ.ศ. 2474 ในปีพ.ศ. 2475 เป็นอาจารย์โท อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังได้เป็นหัวหน้าแผนกฝึกหัดครูมัธยม คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรักษาการในตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนมัธยมหอวังในปีพ.ศ. 2477 อีกด้วย หม่อมหลวงปิ่นได้เป็นอาจารย์เอก อันดับ 1 ต่อมาในปีพ.ศ. 2480 ท่านได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนสหศึกษาแห่งแรกในประเทศไทย ท่านดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการท่านแรก 5 ปีต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้รับแต่งตั้งเป็นอธิบดีกรมสามัญศึกษาอีกตำแหน่งหนึ่งอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2487 ท่านได้พ้นจากตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและเป็นที่ปรึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและทำงานในหน้าที่เลขาธิการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2489 ท่านดำรงตำแหน่งเป็นปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และในปี พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2496 ท่านได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมวิชาการ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2497 ได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมการฝึกหัดครู รักษาการอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา ศาสตราจารย์พิเศษในคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2492 จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงขึ้นที่ถนนประสานมิตร ต่อมาใน พ.ศ. 2496 เลื่อนฐานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร และเป็น "มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ" ในปัจจุบัน โดยได้ดำรงตำแหน่งอธิการคนแรกระหว่าง พ.ศ. 2497-2499 หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 ถึง 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตั้งแต่พ.ศ. 2500 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นเวลายาวนานถึง 12 ปีเศษสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ สถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์. ปีพ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายที่จะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชาที่หลากหลายขึ้น แต่เนื่องจากบริเวณพื้นที่ในวังท่าพระคับแคบมาก ไม่สามารถจะขยายพื้นที่ออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2511 คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2513 และคณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2515 ตามลำดับ หลังจากนั้น จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2529 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ปัจจุบันคือคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทศโนโลยีอุตสาหกรรม) พ.ศ. 2535 สาเหตุที่เลือกจังหวัดนครปฐมเป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม เหมาะสมที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วยเหตุผลดังนี้1. ประการแรก พระราชวังสนามจันทร์เคยเป็นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้สนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งในทางโบราณคดีและศิลปะทั้งปวง ทรงเป็นนักโบราณคดีและศิลปินชั้นเยี่ยมโดยเฉพาะทางวรรณศิลป์ ทรงสนับสนุนนาฏศิลป์ตลอดรัชสมัยของพระองค์ 2. ประการที่สอง บริเวณพระราชวังสนามจันทร์เป็นที่ตั้งของเทวาลัยคเณศร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้ พระพิฆเนศยังเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะ และเป็นตราของทางมหาวิทยาลัยศิลปากรอยู่แล้ว 3. ประการสุดท้าย ที่จังหวัดนครปฐมมีพระปฐมเจดีย์ประดิษฐานอยู่ นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางของโบราณคดีและศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย ดังนั้นบริเวณพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม จึงเหมาะที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรท่านแรก (ก่อนหน้านั้นมหาวิทยาลัยศิลปากรใช้ตำแหน่ง "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัย" โดยตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากรจะดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากรโดยตำแหน่ง ต่อมาจึงแยกหน่วยงานออกจากกันระหว่างกรมศิลปากรและมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงเปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากร" เป็น "อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร") โดยศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรระหว่าง พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2514การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาขึ้น เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 โดยนักเรียนเริ่มเรียนในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2481 โดยมี ฯพณฯ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียน ในปีแรกๆ โรงเรียนได้เจริญขึ้นเป็นลำดับ เช่น ทางด้านวิชาการมีผลเป็นที่น่าพอใจ การสร้างตึก 2 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2482 และต่อมาได้สร้างตึก 3 ไปจนจดถนนอังรีดูนังต์ ในเวลานี้นอกจากผลงานทางด้านวิชาการจะเป็นที่น่าพอใจแล้ว นักเรียนยังได้แสดงความสามารถในการเล่นกีฬาต่างๆ ที่หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้นำเข้ามาในโรงเรียน เช่น ฮอกกี้ รักบี้ และฟุตบอล เข้าเกณฑ์ที่กล่าวได้ว่า "เรียนก็เด่น เล่นก็ดี กีฬาเลิศ" นอกจากนี้หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ยังมีวิสัยทัศน์อันกว้างไกล ในการดำเนินการศึกษา ให้แก่นักเรียนเตรียมอุดมศึกษา ด้วยเล็งเห็นว่า โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่มุ่งเตรียมเข้าสู่ระดับอุดมศึกษา จึงจัดสหศึกษาของวัยรุ่นด้วยความรอบคอบระมัดระวัง โดยการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการ ควบคู่คุณธรรมดังที่ท่านเคยกล่าวไว้ว่า ไม่เห็นมีเปรียบปานการศึกษา สร้างคนหาค่ามิได้ในโลกา ขึ้นจากผู้ที่หาค่าไม่มีฯ " มีเงินหยิบโยนให้ก็เสร็จสรรพ์ แต่งามจิตใจกว้างนั้นต่างกัน การอบรมเท่านั้นเป็นปัจจัยฯ " หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้วางระเบียบและข้อปฏิบัติงานไว้อย่างเหมาะสม นับเป็นประโยชน์แก่การศึกษา เป็นอย่างดียิ่ง เช่น- มีแผนทะเบียนเป็นศูนย์กลางขึ้นตรงต่อผู้อำนวยการประสานงานฝ่ายวิชาการและการปกครอง - จัดทำทะเบียนประวัติย่อของนักเรียนที่เข้าเรียนแต่ปีแรก - มีสถิติการเรียนและการสอบต่างๆ บันทึกไว้เพื่อให้ทราบพฤติกรรมของนักเรียน - วางระเบียบให้มีรางวัลคะแนนรวมให้แก่นักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยม - มีการจารึกนามนักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยมไว้ที่แผ่นเกียรติยศการศึกษาเป็นตัวอักษรสีทอง ไว้ในห้องประชุมของโรงเรียน (ปัจจุบันคือห้อง 111 ตึก 2) - นอกจากนี้ท่านยังได้คิดการแข่งขันกีฬา ให้เฉพาะโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเรียกว่า การแข่งขันวิ่งสามสระ เป็นกีฬาที่หญิงชายเล่นร่วมกันได้ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ยื่นใบลาออกจากการเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแก่จอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อราวเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2487 ดังนี้ชีวิตสมรส ชีวิตสมรส. ด้านชีวิตครอบครัว หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้สมรสกับ ท่านผู้หญิงดุษฎี มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ไกรฤกษ์) ธิดาเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) และท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร (สกุลเดิม:บางยี่ขัน) แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกันบั้นปลายชีวิต บั้นปลายชีวิต. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538 สิริอายุได้ 91 ปี 11 เดือน 11 วัน โดยได้รับพระทานโกศไม้สิบสองบรรจุศพ ตั้งศพไว้ที่ศาลาบัณรสภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงพระกรุณาเสด็จไปสดับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพ และได้รับพระราชทานเพลิงศพที่เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2539 หลังจากท่านถึงแก่อสัญกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ โดยความร่วมมือกันของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ สมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ร่วมกันจัดสร้างอนุสาวรีย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ประดิษฐานที่บริเวณข้างสำนักงานอธิการบดี ลานหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยกราบบังคมทูลพระกรุณา สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จมาทรงเปิดอนุสาวรีย์และได้ถือเอาวันที่ 24 ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยจัดให้มีการตักบาตร และจุดธูปเทียน วางพวงมาลัยสักการะรำลึกที่บริเวณลานอนุสาวรีย์เป็นประจำทุกปี และได้จัดตั้งห้องเกียรติยศหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ที่บริเวณชั้น ๔ อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยภายในจัดแสดงหนังสือที่ท่านแต่งขึ้น โต๊ะทำงาน ของสะสม เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และครุยวิทยฐานะตลอดจนสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 ท่านได้รับการประกาศเชิดชูเกียรติจากองค์การยูเนสโกยกย่องท่านเป็น "นักการศึกษาดีเด่นของโลก ในสาขาวรรณกรรมและสื่อสาร" ถือเป็นความภาคภูมิใจของชาวเตรียมอุดมทุกคน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อัญเชิญรูปปั้น ฯพณฯ ศ.หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล จากหอวชิราวุธานุสรณ์ มาประดิษฐาน ห้อง 57 ตึก 1 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เป็นวาระครบรอบ 100 ปีของ ฯพณฯ ศ. ม.ล. ปิ่น มาลากุลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจึงดำริที่จะจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อน้อมรำลึกถึงพระคุณของท่าน นับแต่นี้ต่อไปก็จะมีเพียงการสานต่อแนวความคิดของ ฯพณฯ ให้ปรากฏเป็นผลสมเจตจำนง อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อประโยชน์ของเยาวชน และสังคมไทยตลอดไปเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 5 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 - เหรียญราชรุจิเงิน - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา - เหรียญจักรพรรดิมาลา - เหรียญราชการชายแดน - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1 - เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6 - เหรียญกาชาดสรรเสริญเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ชั้น Grosskreuz สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี - เครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ ชั้นที่ 1 ราชอาณาจักรเบลเยียม - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อรหสมบัติ ชั้นที่ 1 ประเทศญี่ปุ่น - Order of National Security Merit ชั้นที่ 1 Tong-il Medal สาธารณรัฐเกาหลี - [Order of Brilliant Star ชั้นที่ 2 สาธารณรัฐจีน
ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "24" ], "answer_begin_position": [ 497 ], "answer_end_position": [ 499 ] }
3,909
17,368
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงปิ่นเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 ณ บ้านถนนอัษฎางค์ กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 6 ใน 13 คน ของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) และท่านผู้หญิงเสงี่ยม พระเสด็จสุเรนทราธิบดี (เสงี่ยม มาลากุล ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม วสันตสิงห์)) ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาทั้งสิ้น 8 คน ได้แก่- หม่อมหลวงปก มาลากุล - หม่อมหลวงป้อง มาลากุล - หม่อมหลวงเปนศรี มาลากุล - หม่อมหลวงปนศักดิ์ มาลากุล - หม่อมหลวงปอง เทวกุล (สมรสกับหม่อมเจ้าสุรวุฒิประวัติ เทวกุล) - หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล - หม่อมหลวงเปี่ยมสิน มาลากุล - หม่อมหลวงปานตา วสันตสิงห์ (สมรสกับนายเมืองเริง วสันตสิงห์)ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา. ปี พ.ศ. 2450 เมื่อหม่อมหลวงปิ่นมีอายุได้ 4 ขวบ ท่านได้เริ่มเรียนหนังสือที่บ้านกับครูแฉล้ม (แฉล้ม คุปตารักษ์) ต่อมาได้เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และต่อมาในปี พ.ศ. 2457 หม่อมหลวงปิ่นก็เข้าศึกษาที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นนักเรียนมหาดเล็กในพระบรมมหาราชวัง ไม่ได้เรียนที่โรงเรียนอีก แต่ปลายปีนั้นก็ยังคงมาสอบไล่และสามารถสอบผ่านชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งทำให้เลื่อนไปเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แต่ก็ไม่ได้มาเรียนหรือมาสอบอีกเลย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ได้รับทุนของกระทรวงธรรมการ จึงออกไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ โดยไปเข้าเรียนที่ The School of Oriental and African Studies, University of London (SOAS) หรือวิทยาลัยบูรพศึกษาและอาฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยลอนดอน และได้รับประกาศนียบัตรวิชาภาษาและวรรณคดีบาลีและสันสกฤต แล้วได้ย้ายไปศึกษาต่อที่คณะบูรพคดีศึกษา (Faculty of Oriental Studies) สถาบันตะวันออกของมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ประสบความสำเร็จโดยได้ปริญญาตรี (B.A.) เกียรตินิยมสาขาบูรพคดีศึกษา (Oriental Studies) วิชาเอกภาษาบาลีและสันสกฤต ในปี พ.ศ. 2471 ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 ได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทจนสำเร็จการศึกษา ได้รับปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (M.A.) ระหว่างที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ท่านสังกัดวิทยาลัยบเร๊สโนส (Brasenose College) และในปี พ.ศ. 2498 ท่านก็ได้สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (รุ่นแรก)รับราชการ รับราชการ. ในปีพ.ศ. 2455 ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ต่อมาได้เป็นอาจารย์ประจำกองแบบเรียนกรมวิชาการ อาจารย์พิเศษคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีพ.ศ. 2474 ในปีพ.ศ. 2475 เป็นอาจารย์โท อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังได้เป็นหัวหน้าแผนกฝึกหัดครูมัธยม คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรักษาการในตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนมัธยมหอวังในปีพ.ศ. 2477 อีกด้วย หม่อมหลวงปิ่นได้เป็นอาจารย์เอก อันดับ 1 ต่อมาในปีพ.ศ. 2480 ท่านได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนสหศึกษาแห่งแรกในประเทศไทย ท่านดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการท่านแรก 5 ปีต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้รับแต่งตั้งเป็นอธิบดีกรมสามัญศึกษาอีกตำแหน่งหนึ่งอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2487 ท่านได้พ้นจากตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและเป็นที่ปรึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและทำงานในหน้าที่เลขาธิการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2489 ท่านดำรงตำแหน่งเป็นปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และในปี พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2496 ท่านได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมวิชาการ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2497 ได้เป็นรักษาการอธิบดีกรมการฝึกหัดครู รักษาการอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา ศาสตราจารย์พิเศษในคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2492 จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงขึ้นที่ถนนประสานมิตร ต่อมาใน พ.ศ. 2496 เลื่อนฐานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร และเป็น "มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ" ในปัจจุบัน โดยได้ดำรงตำแหน่งอธิการคนแรกระหว่าง พ.ศ. 2497-2499 หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 ถึง 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตั้งแต่พ.ศ. 2500 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นเวลายาวนานถึง 12 ปีเศษสถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ สถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์. ปีพ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัยศิลปากร มีนโยบายที่จะเปิดคณะวิชาและสาขาวิชาที่หลากหลายขึ้น แต่เนื่องจากบริเวณพื้นที่ในวังท่าพระคับแคบมาก ไม่สามารถจะขยายพื้นที่ออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2511 คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2513 และคณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2515 ตามลำดับ หลังจากนั้น จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. 2529 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ปัจจุบันคือคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทศโนโลยีอุตสาหกรรม) พ.ศ. 2535 สาเหตุที่เลือกจังหวัดนครปฐมเป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม เหมาะสมที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วยเหตุผลดังนี้1. ประการแรก พระราชวังสนามจันทร์เคยเป็นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้สนพระราชหฤทัยเป็นอย่างยิ่งในทางโบราณคดีและศิลปะทั้งปวง ทรงเป็นนักโบราณคดีและศิลปินชั้นเยี่ยมโดยเฉพาะทางวรรณศิลป์ ทรงสนับสนุนนาฏศิลป์ตลอดรัชสมัยของพระองค์ 2. ประการที่สอง บริเวณพระราชวังสนามจันทร์เป็นที่ตั้งของเทวาลัยคเณศร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้ พระพิฆเนศยังเป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะ และเป็นตราของทางมหาวิทยาลัยศิลปากรอยู่แล้ว 3. ประการสุดท้าย ที่จังหวัดนครปฐมมีพระปฐมเจดีย์ประดิษฐานอยู่ นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางของโบราณคดีและศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย ดังนั้นบริเวณพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม จึงเหมาะที่จะเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรท่านแรก (ก่อนหน้านั้นมหาวิทยาลัยศิลปากรใช้ตำแหน่ง "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัย" โดยตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากรจะดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากรโดยตำแหน่ง ต่อมาจึงแยกหน่วยงานออกจากกันระหว่างกรมศิลปากรและมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงเปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "ผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยศิลปากร" เป็น "อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร") โดยศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากรระหว่าง พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2514การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาขึ้น เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 โดยนักเรียนเริ่มเรียนในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2481 โดยมี ฯพณฯ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียน ในปีแรกๆ โรงเรียนได้เจริญขึ้นเป็นลำดับ เช่น ทางด้านวิชาการมีผลเป็นที่น่าพอใจ การสร้างตึก 2 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2482 และต่อมาได้สร้างตึก 3 ไปจนจดถนนอังรีดูนังต์ ในเวลานี้นอกจากผลงานทางด้านวิชาการจะเป็นที่น่าพอใจแล้ว นักเรียนยังได้แสดงความสามารถในการเล่นกีฬาต่างๆ ที่หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้นำเข้ามาในโรงเรียน เช่น ฮอกกี้ รักบี้ และฟุตบอล เข้าเกณฑ์ที่กล่าวได้ว่า "เรียนก็เด่น เล่นก็ดี กีฬาเลิศ" นอกจากนี้หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ยังมีวิสัยทัศน์อันกว้างไกล ในการดำเนินการศึกษา ให้แก่นักเรียนเตรียมอุดมศึกษา ด้วยเล็งเห็นว่า โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่มุ่งเตรียมเข้าสู่ระดับอุดมศึกษา จึงจัดสหศึกษาของวัยรุ่นด้วยความรอบคอบระมัดระวัง โดยการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการ ควบคู่คุณธรรมดังที่ท่านเคยกล่าวไว้ว่า ไม่เห็นมีเปรียบปานการศึกษา สร้างคนหาค่ามิได้ในโลกา ขึ้นจากผู้ที่หาค่าไม่มีฯ " มีเงินหยิบโยนให้ก็เสร็จสรรพ์ แต่งามจิตใจกว้างนั้นต่างกัน การอบรมเท่านั้นเป็นปัจจัยฯ " หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้วางระเบียบและข้อปฏิบัติงานไว้อย่างเหมาะสม นับเป็นประโยชน์แก่การศึกษา เป็นอย่างดียิ่ง เช่น- มีแผนทะเบียนเป็นศูนย์กลางขึ้นตรงต่อผู้อำนวยการประสานงานฝ่ายวิชาการและการปกครอง - จัดทำทะเบียนประวัติย่อของนักเรียนที่เข้าเรียนแต่ปีแรก - มีสถิติการเรียนและการสอบต่างๆ บันทึกไว้เพื่อให้ทราบพฤติกรรมของนักเรียน - วางระเบียบให้มีรางวัลคะแนนรวมให้แก่นักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยม - มีการจารึกนามนักเรียนที่ได้คะแนนยอดเยี่ยมไว้ที่แผ่นเกียรติยศการศึกษาเป็นตัวอักษรสีทอง ไว้ในห้องประชุมของโรงเรียน (ปัจจุบันคือห้อง 111 ตึก 2) - นอกจากนี้ท่านยังได้คิดการแข่งขันกีฬา ให้เฉพาะโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเรียกว่า การแข่งขันวิ่งสามสระ เป็นกีฬาที่หญิงชายเล่นร่วมกันได้ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลได้ยื่นใบลาออกจากการเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแก่จอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อราวเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2487 ดังนี้ชีวิตสมรส ชีวิตสมรส. ด้านชีวิตครอบครัว หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ได้สมรสกับ ท่านผู้หญิงดุษฎี มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ไกรฤกษ์) ธิดาเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) และท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร (สกุลเดิม:บางยี่ขัน) แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกันบั้นปลายชีวิต บั้นปลายชีวิต. หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538 สิริอายุได้ 91 ปี 11 เดือน 11 วัน โดยได้รับพระทานโกศไม้สิบสองบรรจุศพ ตั้งศพไว้ที่ศาลาบัณรสภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงพระกรุณาเสด็จไปสดับพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพ และได้รับพระราชทานเพลิงศพที่เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2539 หลังจากท่านถึงแก่อสัญกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ โดยความร่วมมือกันของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ สมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ร่วมกันจัดสร้างอนุสาวรีย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ประดิษฐานที่บริเวณข้างสำนักงานอธิการบดี ลานหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยกราบบังคมทูลพระกรุณา สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จมาทรงเปิดอนุสาวรีย์และได้ถือเอาวันที่ 24 ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยจัดให้มีการตักบาตร และจุดธูปเทียน วางพวงมาลัยสักการะรำลึกที่บริเวณลานอนุสาวรีย์เป็นประจำทุกปี และได้จัดตั้งห้องเกียรติยศหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ที่บริเวณชั้น ๔ อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยภายในจัดแสดงหนังสือที่ท่านแต่งขึ้น โต๊ะทำงาน ของสะสม เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และครุยวิทยฐานะตลอดจนสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 ท่านได้รับการประกาศเชิดชูเกียรติจากองค์การยูเนสโกยกย่องท่านเป็น "นักการศึกษาดีเด่นของโลก ในสาขาวรรณกรรมและสื่อสาร" ถือเป็นความภาคภูมิใจของชาวเตรียมอุดมทุกคน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อัญเชิญรูปปั้น ฯพณฯ ศ.หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล จากหอวชิราวุธานุสรณ์ มาประดิษฐาน ห้อง 57 ตึก 1 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เป็นวาระครบรอบ 100 ปีของ ฯพณฯ ศ. ม.ล. ปิ่น มาลากุลโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจึงดำริที่จะจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อน้อมรำลึกถึงพระคุณของท่าน นับแต่นี้ต่อไปก็จะมีเพียงการสานต่อแนวความคิดของ ฯพณฯ ให้ปรากฏเป็นผลสมเจตจำนง อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อประโยชน์ของเยาวชน และสังคมไทยตลอดไปเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 5 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 - เหรียญราชรุจิเงิน - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา - เหรียญจักรพรรดิมาลา - เหรียญราชการชายแดน - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1 - เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6 - เหรียญกาชาดสรรเสริญเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ชั้น Grosskreuz สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี - เครื่องราชอิสริยาภรณ์เลโอโปลด์ ชั้นที่ 1 ราชอาณาจักรเบลเยียม - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อรหสมบัติ ชั้นที่ 1 ประเทศญี่ปุ่น - Order of National Security Merit ชั้นที่ 1 Tong-il Medal สาธารณรัฐเกาหลี - [Order of Brilliant Star ชั้นที่ 2 สาธารณรัฐจีน
บิดาของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล คือใคร
{ "answer": [ "เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี" ], "answer_begin_position": [ 577 ], "answer_end_position": [ 607 ] }
783
619,806
หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม: สวัสดิกุล; เกิด: 2 มิถุนายน พ.ศ. 2458 — ตาย: 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เป็นหม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และต่อมาเป็นหม่อมในหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล เป็นธิดาของหม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล หม่อมเกื้อ สวัสดิกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ณ ระนอง) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2458 ต่อมาเสกสมรสเป็นหม่อมคนแรกของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรเมื่อ พ.ศ. 2475 ได้ประสูติพระธิดา 1 พระองค์ ต่อมาทรงหย่ากับพระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และเสกสมรสใหม่กับหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติเมื่อ พ.ศ. 2482 และพำนักที่วังหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ตราบจนถึงแก่กรรม หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 สิริอายุ 70 ปีสมรส สมรส. หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล สมรสครั้งแรกกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล เมื่อ พ.ศ. 2475 มีพระธิดา 1 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าจามเทพี ยุคล (23 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 26 มกราคม พ.ศ. 2485) ต่อมาสมรสใหม่กับหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ พ.ศ. 2482 มีธิดา 1 คน- หม่อมราชวงศ์หญิงสุรภี จิรประวัติ สมรสกับ หม่อมราชวงศ์วุฒิสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์- หม่อมหลวงหญิงเสาวรส สวัสดิวัตน์ - หม่อมหลวงหญิงกุลยา สวัสดิวัตน์สาแหรก
หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ ราชสกุลเดิมคืออะไร
{ "answer": [ "สวัสดิกุล" ], "answer_begin_position": [ 193 ], "answer_end_position": [ 202 ] }
1,705
619,806
หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม: สวัสดิกุล; เกิด: 2 มิถุนายน พ.ศ. 2458 — ตาย: 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เป็นหม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และต่อมาเป็นหม่อมในหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล เป็นธิดาของหม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล หม่อมเกื้อ สวัสดิกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ณ ระนอง) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2458 ต่อมาเสกสมรสเป็นหม่อมคนแรกของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรเมื่อ พ.ศ. 2475 ได้ประสูติพระธิดา 1 พระองค์ ต่อมาทรงหย่ากับพระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และเสกสมรสใหม่กับหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติเมื่อ พ.ศ. 2482 และพำนักที่วังหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ตราบจนถึงแก่กรรม หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 สิริอายุ 70 ปีสมรส สมรส. หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล สมรสครั้งแรกกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล เมื่อ พ.ศ. 2475 มีพระธิดา 1 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าจามเทพี ยุคล (23 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 26 มกราคม พ.ศ. 2485) ต่อมาสมรสใหม่กับหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ พ.ศ. 2482 มีธิดา 1 คน- หม่อมราชวงศ์หญิงสุรภี จิรประวัติ สมรสกับ หม่อมราชวงศ์วุฒิสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์- หม่อมหลวงหญิงเสาวรส สวัสดิวัตน์ - หม่อมหลวงหญิงกุลยา สวัสดิวัตน์สาแหรก
หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "30" ], "answer_begin_position": [ 1103 ], "answer_end_position": [ 1105 ] }
1,706
619,806
หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม: สวัสดิกุล; เกิด: 2 มิถุนายน พ.ศ. 2458 — ตาย: 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เป็นหม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และต่อมาเป็นหม่อมในหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล เป็นธิดาของหม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล หม่อมเกื้อ สวัสดิกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ณ ระนอง) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2458 ต่อมาเสกสมรสเป็นหม่อมคนแรกของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรเมื่อ พ.ศ. 2475 ได้ประสูติพระธิดา 1 พระองค์ ต่อมาทรงหย่ากับพระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และเสกสมรสใหม่กับหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติเมื่อ พ.ศ. 2482 และพำนักที่วังหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ตราบจนถึงแก่กรรม หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 สิริอายุ 70 ปีสมรส สมรส. หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล สมรสครั้งแรกกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล เมื่อ พ.ศ. 2475 มีพระธิดา 1 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าจามเทพี ยุคล (23 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 26 มกราคม พ.ศ. 2485) ต่อมาสมรสใหม่กับหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ พ.ศ. 2482 มีธิดา 1 คน- หม่อมราชวงศ์หญิงสุรภี จิรประวัติ สมรสกับ หม่อมราชวงศ์วุฒิสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์- หม่อมหลวงหญิงเสาวรส สวัสดิวัตน์ - หม่อมหลวงหญิงกุลยา สวัสดิวัตน์สาแหรก
มารดาของหม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล คือใคร
{ "answer": [ "หม่อมเกื้อ สวัสดิกุล ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 690 ], "answer_end_position": [ 719 ] }
1,887
619,806
หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม: สวัสดิกุล; เกิด: 2 มิถุนายน พ.ศ. 2458 — ตาย: 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เป็นหม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และต่อมาเป็นหม่อมในหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล เป็นธิดาของหม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล หม่อมเกื้อ สวัสดิกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ณ ระนอง) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2458 ต่อมาเสกสมรสเป็นหม่อมคนแรกของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรเมื่อ พ.ศ. 2475 ได้ประสูติพระธิดา 1 พระองค์ ต่อมาทรงหย่ากับพระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และเสกสมรสใหม่กับหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติเมื่อ พ.ศ. 2482 และพำนักที่วังหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ตราบจนถึงแก่กรรม หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 สิริอายุ 70 ปีสมรส สมรส. หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล สมรสครั้งแรกกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล เมื่อ พ.ศ. 2475 มีพระธิดา 1 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าจามเทพี ยุคล (23 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 26 มกราคม พ.ศ. 2485) ต่อมาสมรสใหม่กับหม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ พ.ศ. 2482 มีธิดา 1 คน- หม่อมราชวงศ์หญิงสุรภี จิรประวัติ สมรสกับ หม่อมราชวงศ์วุฒิสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์- หม่อมหลวงหญิงเสาวรส สวัสดิวัตน์ - หม่อมหลวงหญิงกุลยา สวัสดิวัตน์สาแหรก
บิดาของหม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล คือใคร
{ "answer": [ "หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล" ], "answer_begin_position": [ 652 ], "answer_end_position": [ 689 ] }
784
25,191
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ศาสตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี พ.ศ. 2551 กระทรวงวัฒนธรรมของไทย ได้เสนอชื่อหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์เป็นบุคคลสำคัญของโลกต่อองค์การยูเนสโก โดยมีทั้งเสียงสนับสนุน และคัดค้าน ซึ่งต่อมาในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ทางองค์การยูเนสโกได้ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์เป็นบุคคลสำคัญของโลก ใน 4 สาขา ได้แก่ การศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ และสื่อสารมวลชน ในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาล พ.ศ. 2554 โดยได้รับการประกาศพร้อมกันกับครูเอื้อ สุนทรสนาน ซึ่งได้รับในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาลพ.ศ. 2553ประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2454 ในเรือกลางแม่น้ำเจ้าพระยา ณ ตำบลบ้านม้า อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นโอรสคนสุดท้อง ในบรรดาโอรส-ธิดา ทั้ง 6 คน ของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) โดยชื่อ "คึกฤทธิ์" นั้น มาจากการที่ ชอบร้องไห้เสียงดังในวัยทารก จึงได้รับพระราชทานนามนี้จาก สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ หม่อมราชวงศ์หญิงพักตร์พริ้ง ทองใหญ่ เมื่อ พ.ศ. 2479 มีบุตรธิดา 2 คน คือ หม่อมหลวงรองฤทธิ์ ปราโมช และ หม่อมหลวงหญิง วิสุมิตรา ปราโมช ต่อมาได้แยกกันอยู่กับหม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช พักอยู่ที่บ้านในซอยพระพินิจ ซึ่งเป็นซอยย่อยอยู่ในซอยสวนพลู ถนนสาทรใต้ เขตสาทร บ้านหลังนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า "บ้านซอยสวนพลู" หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ นับเป็นบุคคลที่มีบุคลิกและบทบาทที่หลากหลาย มีชื่อเสียงในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะการประพันธ์ การแสดง และยังเป็นนักการเมือง ท่านเป็นผู้ก่อตั้งพรรคก้าวหน้า เมื่อ พ.ศ. 2488 ต่อมาได้ยุบรวมกับพรรคประชาธิปัตย์ในปีถัดมา ต่อมาก่อตั้งหนังสือพิมพ์สยามรัฐ เมื่อ พ.ศ. 2493 และก่อตั้งพรรคกิจสังคม เมื่อ พ.ศ. 2517 และได้ดำรงตำแหน่งเป็น นายกรัฐมนตรี คนที่ 13 ของประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2518 โดยสามารถเป็นแกนนำตั้งรัฐบาลทั้งที่มีจำนวน ส.ส.ในมือเพียง 18 คน รัฐบาลคึกฤทธิ์ในครั้งนั้นมี นายบุญชู โรจนเสถียร ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคกิจสังคม เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง มีนโยบาย "เงินผัน" เป็นที่รู้จักเลื่องลือทั่วไปในสมัยนั้น ก่อนดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เคยรับบทเป็น นายกรัฐมนตรี ของประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประเทศหนึ่ง ชื่อว่าประเทศ สารขัณฑ์ ในภาพยนตร์เรื่อง The Ugly American (1963) คู่กับมาร์ลอน แบรนโด เมื่อ ปี พ.ศ. 2506 และหลังพ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เคยรับบทเป็นนักแสดงรับเชิญในภาพยนตร์ ผู้แทนนอกสภา กำกับโดย สุรสีห์ ผาธรรม นำแสดงโดย สรพงศ์ ชาตรี เมื่อปี พ.ศ. 2526 ระหว่างการเล่นการเมือง หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ มีบุคลิกที่โดดเด่นเป็นตัวของตัวเองที่ทุกคนรู้จักดี คือ วาทะศิลป์ และบทบาทเป็นที่ชวนให้จดจำ เช่น การผวนพูดเล่นชื่อของตัวเองเมื่อมีผู้ถามว่า หมายถึงอะไร โดยตอบว่า "คึกฤทธิ์ ก็คือ คิดลึก" เป็นต้น หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ได้รับฉายาจากนักการเมือง และสื่อมวลชนมากมาย เช่น "เฒ่าสารพัดพิษ" "ซือแป๋ซอยสวนพลู" ภายหลังเมื่อมีอาวุโสสูงวัย จนสามารถแสดงความเห็นทางการเมือง ได้อย่างตรงไปตรงมา โดยไม่ต้องเกรงกลัวอิทธิพลใดๆ จึงได้รับฉายาว่า "เสาหลักประชาธิปไตย" นอกจากนี้อีกฉายาหนึ่งที่ใช้เรียก หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ในบางแห่งคือ "หม่อมป้า" ในด้านวรรณศิลป์ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ มีผลงานหนังสือที่มีชื่อเสียงระดับประเทศมากมาย ที่ได้รับการตีพิมพ์ซ้ำแล้วซ้ำอีก เช่น สี่แผ่นดิน, ไผ่แดง, กาเหว่าที่บางเพลง, หลายชีวิต, ซูสีไทเฮา, สามก๊กฉบับนายทุน และเรื่องสั้น "มอม" ซึ่งได้ใช้เป็นบทความประกอบแบบเรียนภาษาไทยในปัจจุบัน บางชิ้นมีผู้นำไปทำเป็นละครโทรทัศน์ เช่น สี่แผ่นดิน, หลายชีวิต และทำเป็นภาพยนตร์ เช่น กาเหว่าที่บางเพลง หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเบาหวาน เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538 สิริรวมอายุ 84 ปี 5 เดือน 20 วัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 กระทรวงวัฒนธรรมได้เสนอชื่อให้ท่านเป็น บุคคลสำคัญของโลก กับทาง ยูเนสโกการศึกษา การศึกษา. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ เริ่มต้นเรียนหนังสือที่บ้าน กับหม่อมราชวงศ์บุญรับ พี่สาวคนโต จนอ่านภาษาไทยได้ตั้งแต่อายุ 4 ปี กระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2458 ท่านจึงเข้าศึกษาภาคบังคับ ที่โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย (วังหลัง) จากนั้นเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และเดินทางไปศึกษาต่อในประเทศอังกฤษ ที่โรงเรียนเทรนต์วิทยาลัย (Trent College) จากนั้นสอบเข้าวิทยาลัยควีนส์ (The Queen's College) มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เพื่อศึกษาวิชาปรัชญา เศรษฐศาสตร์ และการเมือง (Philosophy, Politics and Economics) โดยสำเร็จปริญญาตรีเกียรตินิยม และอีกสามปีต่อมา ก็สำเร็จปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยเดียวกันผลงานประพันธ์นวนิยายผลงานประพันธ์. นวนิยาย. - สี่แผ่นดิน - ไผ่แดง - กาเหว่าที่บางเพลง - ซูสีไทเฮา - สามก๊กฉบับนายทุน - ราโชมอน - ฮวนนั้ง - โจโฉ นายกตลอดกาลรวมเรื่องสั้นรวมเรื่องสั้น. - มอม - เพื่อนนอน - หลายชีวิตสารคดีสารคดี. - ฉากญี่ปุ่น - ยิว - เจ้าโลก - สงครามผิว - คนของโลก - ชมสวน - ธรรมคดี - น้ำพริก - ฝรั่งศักดินา - สรรพสัตว์ - สัพเพเหระคดี - ข้อคิดเรื่อง เกิด แก่ เจ็บ ตาย - โครงกระดูกในตู้ - พม่าเสียเมือง - ถกเขมร - เก็บเล็กผสมน้อย - เบ้งเฮ็ก ผู้ถูกกลืนทั้งเป็น - เมืองมายา - เรื่องขำขัน- โจโฉ นายกฯ-ตลอดกาล - กฤษฎาภินิหารอันบดบังมิได้ - คนรักหมา - ตลาดนัด - นิกายเซน - บันเทิงเริงรมย์ - วัยรุ่น - สงครามเย็น - อโรคยา - สยามเมืองยิ้ม - ห้วงมหรรณพบทละครเวทีบทละครเวที. - ลูกคุณหลวง - ราโชมอนทำงานทำงาน. - รับราชการที่กรมสรรพากรประวัติการ - เลขานุการที่ปรึกษากระทรวงการคลัง - ผู้จัดการธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด สาขาลำปาง (พ.ศ. 2478-2486) - รับราชการทหาร (เมื่อเกิดสงครามอินโดจีนและสงครามมหาเอเชียบูรพา ได้รับยศ สิบตรี) - หัวหน้าฝ่ายสำนักผู้ว่าการและหัวหน้าฝ่ายออกบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย - ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การจำกัด - เขียนบทความลงในคอลัมน์ "ซอยสวนพลู" - อาจารย์พิเศษของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ ประจำ พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2531 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนยศจากสิบตรี เป็นพลตรี (ทหารราชองครักษ์พิเศษ)บทบาททางการเมืองบทบาททางการเมือง. - พ.ศ. 2488-2489 เป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งพรรคการเมืองพรรคแรกในเมืองไทย ชื่อ "พรรคก้าวหน้า" - ได้ร่วมในคณะผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์คนแรก - ได้ริเริ่มจัดตั้งพรรคกิจสังคม - พ.ศ. 2516 เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และได้รับเลือกเป็นประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ - พ.ศ. 2518 ได้จัดตั้งรัฐบาลผสมขึ้น และได้เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี - พ.ศ. 2519 ได้ตัดสินใจยุบสภาผู้แทนราษฎร บริหารประเทศประมาณ 9 เดือนเศษผลงานที่สำคัญผลงานที่สำคัญ. - หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา ขณะที่เป็นนายกรัฐมนตรีได้ดำเนินการเปิดสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยเดินทางไปเยือนกรุงปักกิ่งเมื่อปี พ.ศ. 2518 หลังจากที่ตัดขาดความสัมพันธ์ระดับรัฐบาลมาเป็นเวลานานการวิพากษ์วิจารณ์ การวิพากษ์วิจารณ์. สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ได้วิพากษ์วิจารณ์ผลงานของ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ โดยเฉพาะ สี่แผ่นดินว่า "ใช้เล่ห์เพทุบาย ในการมอมเมาผู้คนยิ่งกว่าให้ข้อเท็จจริงอย่างสุจริตใจ" ส่วน ไผ่แดง กาเหว่าที่บางเพลง ฮวนนั้ง และซูสีไทเฮา สุลักษณ์ กล่าวว่าเป็นบทประพันธ์ที่ลอกเลียนมาจากภาษาต่างประเทศระดับ "ขโมยหรือปล้นสะดมมาเลยทีเดียว" คำวิพากษ์วิจารณ์นี้อยู่บนพื้นฐานของการวิจัยปัญญาชนไทย 10 คน ซึ่งมีอิทธิพลกับการสร้างจิตสำนึกให้คนไทยร่วมสมัย ซึ่ง หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หลวงวิจิตรวาทการ ก็อยู่ในรายชื่อปัญญาชนของการวิจัยดังกล่าวด้วยรางวัลและเกียรติยศ รางวัลและเกียรติยศ. ศาสตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้รับพระราชทานยศกองอาสารักษาดินแดนเป็น นายกองใหญ่ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา สาขาวรรณศิลป์ลำดับสาแหรก
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ เริ่มต้นเรียนหนังสือที่บ้าน กับผู้ใด
{ "answer": [ "หม่อมราชวงศ์บุญรับ" ], "answer_begin_position": [ 3992 ], "answer_end_position": [ 4010 ] }
1,734
25,191
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ศาสตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี พ.ศ. 2551 กระทรวงวัฒนธรรมของไทย ได้เสนอชื่อหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์เป็นบุคคลสำคัญของโลกต่อองค์การยูเนสโก โดยมีทั้งเสียงสนับสนุน และคัดค้าน ซึ่งต่อมาในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ทางองค์การยูเนสโกได้ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์เป็นบุคคลสำคัญของโลก ใน 4 สาขา ได้แก่ การศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ และสื่อสารมวลชน ในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาล พ.ศ. 2554 โดยได้รับการประกาศพร้อมกันกับครูเอื้อ สุนทรสนาน ซึ่งได้รับในวาระครบรอบ 100 ปี ชาตกาลพ.ศ. 2553ประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2454 ในเรือกลางแม่น้ำเจ้าพระยา ณ ตำบลบ้านม้า อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นโอรสคนสุดท้อง ในบรรดาโอรส-ธิดา ทั้ง 6 คน ของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) โดยชื่อ "คึกฤทธิ์" นั้น มาจากการที่ ชอบร้องไห้เสียงดังในวัยทารก จึงได้รับพระราชทานนามนี้จาก สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ ชีวิตส่วนตัวสมรสกับ หม่อมราชวงศ์หญิงพักตร์พริ้ง ทองใหญ่ เมื่อ พ.ศ. 2479 มีบุตรธิดา 2 คน คือ หม่อมหลวงรองฤทธิ์ ปราโมช และ หม่อมหลวงหญิง วิสุมิตรา ปราโมช ต่อมาได้แยกกันอยู่กับหม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช พักอยู่ที่บ้านในซอยพระพินิจ ซึ่งเป็นซอยย่อยอยู่ในซอยสวนพลู ถนนสาทรใต้ เขตสาทร บ้านหลังนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า "บ้านซอยสวนพลู" หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ นับเป็นบุคคลที่มีบุคลิกและบทบาทที่หลากหลาย มีชื่อเสียงในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะการประพันธ์ การแสดง และยังเป็นนักการเมือง ท่านเป็นผู้ก่อตั้งพรรคก้าวหน้า เมื่อ พ.ศ. 2488 ต่อมาได้ยุบรวมกับพรรคประชาธิปัตย์ในปีถัดมา ต่อมาก่อตั้งหนังสือพิมพ์สยามรัฐ เมื่อ พ.ศ. 2493 และก่อตั้งพรรคกิจสังคม เมื่อ พ.ศ. 2517 และได้ดำรงตำแหน่งเป็น นายกรัฐมนตรี คนที่ 13 ของประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2518 โดยสามารถเป็นแกนนำตั้งรัฐบาลทั้งที่มีจำนวน ส.ส.ในมือเพียง 18 คน รัฐบาลคึกฤทธิ์ในครั้งนั้นมี นายบุญชู โรจนเสถียร ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคกิจสังคม เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง มีนโยบาย "เงินผัน" เป็นที่รู้จักเลื่องลือทั่วไปในสมัยนั้น ก่อนดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เคยรับบทเป็น นายกรัฐมนตรี ของประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประเทศหนึ่ง ชื่อว่าประเทศ สารขัณฑ์ ในภาพยนตร์เรื่อง The Ugly American (1963) คู่กับมาร์ลอน แบรนโด เมื่อ ปี พ.ศ. 2506 และหลังพ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เคยรับบทเป็นนักแสดงรับเชิญในภาพยนตร์ ผู้แทนนอกสภา กำกับโดย สุรสีห์ ผาธรรม นำแสดงโดย สรพงศ์ ชาตรี เมื่อปี พ.ศ. 2526 ระหว่างการเล่นการเมือง หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ มีบุคลิกที่โดดเด่นเป็นตัวของตัวเองที่ทุกคนรู้จักดี คือ วาทะศิลป์ และบทบาทเป็นที่ชวนให้จดจำ เช่น การผวนพูดเล่นชื่อของตัวเองเมื่อมีผู้ถามว่า หมายถึงอะไร โดยตอบว่า "คึกฤทธิ์ ก็คือ คิดลึก" เป็นต้น หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ได้รับฉายาจากนักการเมือง และสื่อมวลชนมากมาย เช่น "เฒ่าสารพัดพิษ" "ซือแป๋ซอยสวนพลู" ภายหลังเมื่อมีอาวุโสสูงวัย จนสามารถแสดงความเห็นทางการเมือง ได้อย่างตรงไปตรงมา โดยไม่ต้องเกรงกลัวอิทธิพลใดๆ จึงได้รับฉายาว่า "เสาหลักประชาธิปไตย" นอกจากนี้อีกฉายาหนึ่งที่ใช้เรียก หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ในบางแห่งคือ "หม่อมป้า" ในด้านวรรณศิลป์ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ มีผลงานหนังสือที่มีชื่อเสียงระดับประเทศมากมาย ที่ได้รับการตีพิมพ์ซ้ำแล้วซ้ำอีก เช่น สี่แผ่นดิน, ไผ่แดง, กาเหว่าที่บางเพลง, หลายชีวิต, ซูสีไทเฮา, สามก๊กฉบับนายทุน และเรื่องสั้น "มอม" ซึ่งได้ใช้เป็นบทความประกอบแบบเรียนภาษาไทยในปัจจุบัน บางชิ้นมีผู้นำไปทำเป็นละครโทรทัศน์ เช่น สี่แผ่นดิน, หลายชีวิต และทำเป็นภาพยนตร์ เช่น กาเหว่าที่บางเพลง หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเบาหวาน เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538 สิริรวมอายุ 84 ปี 5 เดือน 20 วัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 กระทรวงวัฒนธรรมได้เสนอชื่อให้ท่านเป็น บุคคลสำคัญของโลก กับทาง ยูเนสโกการศึกษา การศึกษา. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ เริ่มต้นเรียนหนังสือที่บ้าน กับหม่อมราชวงศ์บุญรับ พี่สาวคนโต จนอ่านภาษาไทยได้ตั้งแต่อายุ 4 ปี กระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2458 ท่านจึงเข้าศึกษาภาคบังคับ ที่โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย (วังหลัง) จากนั้นเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และเดินทางไปศึกษาต่อในประเทศอังกฤษ ที่โรงเรียนเทรนต์วิทยาลัย (Trent College) จากนั้นสอบเข้าวิทยาลัยควีนส์ (The Queen's College) มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เพื่อศึกษาวิชาปรัชญา เศรษฐศาสตร์ และการเมือง (Philosophy, Politics and Economics) โดยสำเร็จปริญญาตรีเกียรตินิยม และอีกสามปีต่อมา ก็สำเร็จปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยเดียวกันผลงานประพันธ์นวนิยายผลงานประพันธ์. นวนิยาย. - สี่แผ่นดิน - ไผ่แดง - กาเหว่าที่บางเพลง - ซูสีไทเฮา - สามก๊กฉบับนายทุน - ราโชมอน - ฮวนนั้ง - โจโฉ นายกตลอดกาลรวมเรื่องสั้นรวมเรื่องสั้น. - มอม - เพื่อนนอน - หลายชีวิตสารคดีสารคดี. - ฉากญี่ปุ่น - ยิว - เจ้าโลก - สงครามผิว - คนของโลก - ชมสวน - ธรรมคดี - น้ำพริก - ฝรั่งศักดินา - สรรพสัตว์ - สัพเพเหระคดี - ข้อคิดเรื่อง เกิด แก่ เจ็บ ตาย - โครงกระดูกในตู้ - พม่าเสียเมือง - ถกเขมร - เก็บเล็กผสมน้อย - เบ้งเฮ็ก ผู้ถูกกลืนทั้งเป็น - เมืองมายา - เรื่องขำขัน- โจโฉ นายกฯ-ตลอดกาล - กฤษฎาภินิหารอันบดบังมิได้ - คนรักหมา - ตลาดนัด - นิกายเซน - บันเทิงเริงรมย์ - วัยรุ่น - สงครามเย็น - อโรคยา - สยามเมืองยิ้ม - ห้วงมหรรณพบทละครเวทีบทละครเวที. - ลูกคุณหลวง - ราโชมอนทำงานทำงาน. - รับราชการที่กรมสรรพากรประวัติการ - เลขานุการที่ปรึกษากระทรวงการคลัง - ผู้จัดการธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด สาขาลำปาง (พ.ศ. 2478-2486) - รับราชการทหาร (เมื่อเกิดสงครามอินโดจีนและสงครามมหาเอเชียบูรพา ได้รับยศ สิบตรี) - หัวหน้าฝ่ายสำนักผู้ว่าการและหัวหน้าฝ่ายออกบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย - ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การจำกัด - เขียนบทความลงในคอลัมน์ "ซอยสวนพลู" - อาจารย์พิเศษของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ ประจำ พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2531 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนยศจากสิบตรี เป็นพลตรี (ทหารราชองครักษ์พิเศษ)บทบาททางการเมืองบทบาททางการเมือง. - พ.ศ. 2488-2489 เป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งพรรคการเมืองพรรคแรกในเมืองไทย ชื่อ "พรรคก้าวหน้า" - ได้ร่วมในคณะผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์คนแรก - ได้ริเริ่มจัดตั้งพรรคกิจสังคม - พ.ศ. 2516 เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และได้รับเลือกเป็นประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ - พ.ศ. 2518 ได้จัดตั้งรัฐบาลผสมขึ้น และได้เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี - พ.ศ. 2519 ได้ตัดสินใจยุบสภาผู้แทนราษฎร บริหารประเทศประมาณ 9 เดือนเศษผลงานที่สำคัญผลงานที่สำคัญ. - หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา ขณะที่เป็นนายกรัฐมนตรีได้ดำเนินการเปิดสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยเดินทางไปเยือนกรุงปักกิ่งเมื่อปี พ.ศ. 2518 หลังจากที่ตัดขาดความสัมพันธ์ระดับรัฐบาลมาเป็นเวลานานการวิพากษ์วิจารณ์ การวิพากษ์วิจารณ์. สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ได้วิพากษ์วิจารณ์ผลงานของ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ โดยเฉพาะ สี่แผ่นดินว่า "ใช้เล่ห์เพทุบาย ในการมอมเมาผู้คนยิ่งกว่าให้ข้อเท็จจริงอย่างสุจริตใจ" ส่วน ไผ่แดง กาเหว่าที่บางเพลง ฮวนนั้ง และซูสีไทเฮา สุลักษณ์ กล่าวว่าเป็นบทประพันธ์ที่ลอกเลียนมาจากภาษาต่างประเทศระดับ "ขโมยหรือปล้นสะดมมาเลยทีเดียว" คำวิพากษ์วิจารณ์นี้อยู่บนพื้นฐานของการวิจัยปัญญาชนไทย 10 คน ซึ่งมีอิทธิพลกับการสร้างจิตสำนึกให้คนไทยร่วมสมัย ซึ่ง หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หลวงวิจิตรวาทการ ก็อยู่ในรายชื่อปัญญาชนของการวิจัยดังกล่าวด้วยรางวัลและเกียรติยศ รางวัลและเกียรติยศ. ศาสตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้รับพระราชทานยศกองอาสารักษาดินแดนเป็น นายกองใหญ่ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา สาขาวรรณศิลป์ลำดับสาแหรก
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "20" ], "answer_begin_position": [ 1102 ], "answer_end_position": [ 1104 ] }
785
130,642
เก่งกาจ จงใจพระ เก่งกาจ จงใจพระ เดิมมีชื่อว่า ศรีไพร ใจพระ เกิดเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2481 ที่ตำบลศาลเจ้าโรงทอง อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีน ในอดีตเคยเป็นดาราภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ นักจัดรายการวิทยุ นักร้องเพลงลูกทุ่ง และผู้จัดการวงดนตรีลูกทุ่ง โดยผลงานการแสดงที่เด่น ๆ ได้แก่ การรับบท ไอ้แว่น เพื่อนรักของ ไอ้คล้าว ในภาพยนตร์เรื่อง มนต์รักลูกทุ่ง ในปี พ.ศ. 2513 โดยแสดงคู่กับมิตร ชัยบัญชา และบุปผา สายชล ที่ต่อมากลายเป็นภรรยาของตนเอง ต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อ และนามสกุล และศึกษาโหราศาสตร์มาตั้งแต่เด็ก จนกลายเป็นหมอดูชื่อดัง โดยมักจะให้คำทำนายเกี่ยวกับสถานการณ์บ้านเมืองตามสื่อมวลชนเป็นระยะ ๆ โดยเริ่มงานครั้งแรกด้วยการเป็นคอลัมนิสต์โหรการเมืองในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ในปี พ.ศ. 2518 เคยเป็นพิธีกรในรายการ "นายมั่ง นายคง คนสองยุค" โดยใช้ชื่อว่า "นายคง" ร่วมกับ "นายมั่น" (ประสาน ศิลป์จารุ) ออกอากาศตอนเวลา 12.30 น. ทางสถานี TTV 2 ชีวิตครอบครัวมีภรรยามาแล้วทั้งหมด 3 คน มีลูกที่เกิดกับภรรยาทั้ง 3 ทั้งหมด 6 คน โดยภรรยาคนปัจจุบันชื่อ มณฑา จงใจพระ ปัจจุบัน ถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย จากการเป็นหนี้สินจำนวนมากกับธนาคารกสิกรไทย เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2552
เก่งกาจ จงใจพระ เดิมมีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "ศรีไพร ใจพระ" ], "answer_begin_position": [ 136 ], "answer_end_position": [ 148 ] }
790
130,642
เก่งกาจ จงใจพระ เก่งกาจ จงใจพระ เดิมมีชื่อว่า ศรีไพร ใจพระ เกิดเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2481 ที่ตำบลศาลเจ้าโรงทอง อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีน ในอดีตเคยเป็นดาราภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ นักจัดรายการวิทยุ นักร้องเพลงลูกทุ่ง และผู้จัดการวงดนตรีลูกทุ่ง โดยผลงานการแสดงที่เด่น ๆ ได้แก่ การรับบท ไอ้แว่น เพื่อนรักของ ไอ้คล้าว ในภาพยนตร์เรื่อง มนต์รักลูกทุ่ง ในปี พ.ศ. 2513 โดยแสดงคู่กับมิตร ชัยบัญชา และบุปผา สายชล ที่ต่อมากลายเป็นภรรยาของตนเอง ต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อ และนามสกุล และศึกษาโหราศาสตร์มาตั้งแต่เด็ก จนกลายเป็นหมอดูชื่อดัง โดยมักจะให้คำทำนายเกี่ยวกับสถานการณ์บ้านเมืองตามสื่อมวลชนเป็นระยะ ๆ โดยเริ่มงานครั้งแรกด้วยการเป็นคอลัมนิสต์โหรการเมืองในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ในปี พ.ศ. 2518 เคยเป็นพิธีกรในรายการ "นายมั่ง นายคง คนสองยุค" โดยใช้ชื่อว่า "นายคง" ร่วมกับ "นายมั่น" (ประสาน ศิลป์จารุ) ออกอากาศตอนเวลา 12.30 น. ทางสถานี TTV 2 ชีวิตครอบครัวมีภรรยามาแล้วทั้งหมด 3 คน มีลูกที่เกิดกับภรรยาทั้ง 3 ทั้งหมด 6 คน โดยภรรยาคนปัจจุบันชื่อ มณฑา จงใจพระ ปัจจุบัน ถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย จากการเป็นหนี้สินจำนวนมากกับธนาคารกสิกรไทย เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2552
นักแสดงหญิงในภาพยนตร์เรื่อง มนต์รักลูกทุ่งที่แสดงร่วมกับเก่งกาจ จงใจพระ และต่อมากลายเป็นภรรยาของเขามีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "บุปผา สายชล" ], "answer_begin_position": [ 520 ], "answer_end_position": [ 531 ] }
788
423,130
หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา โชติกเสถียร ท่านผู้หญิงจีริกัญญา โชติกเสถียร มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา กิติยากร (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2490) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าจีรินันท์ กิติยากร กับหม่อมสมลักษณ์ กิติยากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ทิพย์สมัย) สมรสกับหรรษา โชติกเสถียร มีบุตร 2 คน คือ จิตีวันต์ โชติกเสถียร และอภิธร โชติกเสถียร ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยได้ถวายงานรับใช้มาโดยตลอด
ท่านผู้หญิงจีริกัญญา โชติกเสถียร มีนามเดิมว่าอะไร
{ "answer": [ "หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา กิติยากร" ], "answer_begin_position": [ 188 ], "answer_end_position": [ 218 ] }
789
423,130
หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา โชติกเสถียร ท่านผู้หญิงจีริกัญญา โชติกเสถียร มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา กิติยากร (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2490) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าจีรินันท์ กิติยากร กับหม่อมสมลักษณ์ กิติยากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ทิพย์สมัย) สมรสกับหรรษา โชติกเสถียร มีบุตร 2 คน คือ จิตีวันต์ โชติกเสถียร และอภิธร โชติกเสถียร ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยได้ถวายงานรับใช้มาโดยตลอด
ท่านผู้หญิงจีริกัญญา โชติกเสถียร สมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "หรรษา โชติกเสถียร" ], "answer_begin_position": [ 343 ], "answer_end_position": [ 360 ] }
895
423,130
หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา โชติกเสถียร ท่านผู้หญิงจีริกัญญา โชติกเสถียร มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา กิติยากร (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2490) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าจีรินันท์ กิติยากร กับหม่อมสมลักษณ์ กิติยากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ทิพย์สมัย) สมรสกับหรรษา โชติกเสถียร มีบุตร 2 คน คือ จิตีวันต์ โชติกเสถียร และอภิธร โชติกเสถียร ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยได้ถวายงานรับใช้มาโดยตลอด
ท่านผู้หญิงจีริกัญญา โชติกเสถียร มีนามเดิมว่าหม่อมอะไร
{ "answer": [ "หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา กิติยากร" ], "answer_begin_position": [ 188 ], "answer_end_position": [ 218 ] }
896
423,130
หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา โชติกเสถียร ท่านผู้หญิงจีริกัญญา โชติกเสถียร มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา กิติยากร (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2490) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าจีรินันท์ กิติยากร กับหม่อมสมลักษณ์ กิติยากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ทิพย์สมัย) สมรสกับหรรษา โชติกเสถียร มีบุตร 2 คน คือ จิตีวันต์ โชติกเสถียร และอภิธร โชติกเสถียร ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยได้ถวายงานรับใช้มาโดยตลอด
หม่อมสมลักษณ์ กิติยากร ณ อยุธยา มีสกุลเดิมเรียกว่าอะไร
{ "answer": [ "ทิพย์สมัย" ], "answer_begin_position": [ 325 ], "answer_end_position": [ 334 ] }
791
450,176
หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคไทยรักไทยประวัติ ประวัติ. ม.ร.ว.ดำรงดิศ เกิดเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2496 เป็นโอรสใน หม่อมเจ้ากาฬวรรณดิศ ดิศกุล กับหม่อมฉวีทิพ ดิศกุล ณ อยุธยา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ จากวิทยาลัยเซนต์วินเซ็น และปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยมาแชลการทำงาน การทำงาน. ม.ร.ว.ดำรงดิศ ประกอบอาชีพเป็นนักธุรกิจ ต่อมาได้หันเข้าสู่งานการเมือง และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร (เขตดอนเมือง) สังกัดพรรคไทยรักไทย ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 ต่อมาในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2548 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกในระบบบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 26 สังกัดพรรคไทยรักไทย และมีตำแหน่งเป็นกรรมการบริหารพรรค รวมทั้งเป็นหนึ่งในกรรมการบริหารพรรคทึ่ถูกตัดสิทธิ์ในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549 อีกด้วย ในการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 ได้ลงสมัครแบบแบ่งเขต ในนามพรรคชาติพัฒนา
หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคอะไร
{ "answer": [ "พรรคไทยรักไทย" ], "answer_begin_position": [ 200 ], "answer_end_position": [ 213 ] }
1,862
450,176
หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคไทยรักไทยประวัติ ประวัติ. ม.ร.ว.ดำรงดิศ เกิดเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2496 เป็นโอรสใน หม่อมเจ้ากาฬวรรณดิศ ดิศกุล กับหม่อมฉวีทิพ ดิศกุล ณ อยุธยา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ จากวิทยาลัยเซนต์วินเซ็น และปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยมาแชลการทำงาน การทำงาน. ม.ร.ว.ดำรงดิศ ประกอบอาชีพเป็นนักธุรกิจ ต่อมาได้หันเข้าสู่งานการเมือง และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร (เขตดอนเมือง) สังกัดพรรคไทยรักไทย ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 ต่อมาในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2548 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกในระบบบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 26 สังกัดพรรคไทยรักไทย และมีตำแหน่งเป็นกรรมการบริหารพรรค รวมทั้งเป็นหนึ่งในกรรมการบริหารพรรคทึ่ถูกตัดสิทธิ์ในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549 อีกด้วย ในการเลือกตั้ง 2 กุมภาพันธ์ 2557 ได้ลงสมัครแบบแบ่งเขต ในนามพรรคชาติพัฒนา
หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "10" ], "answer_begin_position": [ 260 ], "answer_end_position": [ 262 ] }
792
55,708
ไดกิ นะกะมุระ ไดกิ นะกะมุระ () เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1962 ที่จังหวัดโตเกียว กรุ๊ปเลือด A สังกัดค่าย 81 โปรดิวซ์ เคยมีชื่อเสียงโด่งดังมาก จากบท ดาเตะ เซจิ ในเรื่อง ซามูไรทรูปเปอร์ผลงานแอนิเมชันผลงาน. แอนิเมชัน. - ผู้กล้ารถด่วน ไมท์กายน์ รับบทเป็น ไกน์ - สามก๊ก (ฉบับวาดโดย มิตสึเทรุ โยโกยามะ) รับบทเป็น เล่าปี่ - ซามูไรทรูปเปอร์ รับบทเป็น ดาเตะ เซจิ - มือปราบเกราะเหล็ก เมทัลแจ็ค (Armored Police Metal Jack) รับบทเป็น อั๊กลี่ เรียว - ชิมปุย รับบทเป็น โอเอะยามะ - ตำนานกาโร่ รับบทเป็น บิลลี่ กัน - ตำนานกาโร่ 2 รับบทเป็น คิม คัฟฮวาน - โซริวเด็น รับบทเป็น ริวโด โอวารุ - ซามูไรสปิริตส์ รับบทเป็น ฮาโอมารุ - มฤตยูเหนือนรก รับบทเป็น เดอิจิ - ชู้ต! รับบทเป็น อิวางามิ จุนจิ - โมจาโกะ รับบทเป็น ดอนโม่ - กันดั้มเอ็กซ์ รับบทเป็น ชินโกะ โมริ - ซอยด์ หุ่นรบไดโนเสาร์ รับบทเป็น รอซโซ่ - อาร์ม หัตถ์เทพมืออสูร รับบทเป็น คาบุโตะ โคอิจิ - นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ รับบทเป็น ยามานากะ อิโนอิจิ - อินิเชียลD Fourth Stage รับบทเป็น สุเอสึงุ โทรุ - ร็อคแมน EXE รับบทเป็น ธันเดอร์แมน - โคโรเกะ ผจญภัย รับบทเป็น ไดฟุคู - เคโรโระ ขบวนการอ๊บอ๊บป่วนโลก รับบทเป็น เวทเทิลคิง - คุโรมาตี้ โรงเรียนคนบวม รับบทเป็น คู่หูของปูทันเกมเกม. - ซามูไรสปิริตส์ รับบทเป็น ฮาโอมารุ - ไซคิกฟอร์ซ 2012 รับบทเป็น คาร์โล เบลฟรอนด์ - ชาโดว์ฮาร์ทส รับบทเป็น เรนี่ เคอร์ติส - ซุปเปอร์โรบ็อตไทเซ็น อัลฟา ไกเด็น รับบทเป็น ชินโกะ โมริภาพยนตร์โทคุซัทสึภาพยนตร์โทคุซัทสึ. - บี-โรโบ คาบูทัก รับบทเป็น คุวาจิโร่ - โกโกไฟว์ รับบทเป็น จิวฟีซะ
ไดกิ นะกะมุระผู้เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น มีชื่อเสียงโด่งดังจากบท ดาเตะ เซจิ ในเรื่องอะไร
{ "answer": [ "ซามูไรทรูปเปอร์" ], "answer_begin_position": [ 285 ], "answer_end_position": [ 300 ] }
793
55,708
ไดกิ นะกะมุระ ไดกิ นะกะมุระ () เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1962 ที่จังหวัดโตเกียว กรุ๊ปเลือด A สังกัดค่าย 81 โปรดิวซ์ เคยมีชื่อเสียงโด่งดังมาก จากบท ดาเตะ เซจิ ในเรื่อง ซามูไรทรูปเปอร์ผลงานแอนิเมชันผลงาน. แอนิเมชัน. - ผู้กล้ารถด่วน ไมท์กายน์ รับบทเป็น ไกน์ - สามก๊ก (ฉบับวาดโดย มิตสึเทรุ โยโกยามะ) รับบทเป็น เล่าปี่ - ซามูไรทรูปเปอร์ รับบทเป็น ดาเตะ เซจิ - มือปราบเกราะเหล็ก เมทัลแจ็ค (Armored Police Metal Jack) รับบทเป็น อั๊กลี่ เรียว - ชิมปุย รับบทเป็น โอเอะยามะ - ตำนานกาโร่ รับบทเป็น บิลลี่ กัน - ตำนานกาโร่ 2 รับบทเป็น คิม คัฟฮวาน - โซริวเด็น รับบทเป็น ริวโด โอวารุ - ซามูไรสปิริตส์ รับบทเป็น ฮาโอมารุ - มฤตยูเหนือนรก รับบทเป็น เดอิจิ - ชู้ต! รับบทเป็น อิวางามิ จุนจิ - โมจาโกะ รับบทเป็น ดอนโม่ - กันดั้มเอ็กซ์ รับบทเป็น ชินโกะ โมริ - ซอยด์ หุ่นรบไดโนเสาร์ รับบทเป็น รอซโซ่ - อาร์ม หัตถ์เทพมืออสูร รับบทเป็น คาบุโตะ โคอิจิ - นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ รับบทเป็น ยามานากะ อิโนอิจิ - อินิเชียลD Fourth Stage รับบทเป็น สุเอสึงุ โทรุ - ร็อคแมน EXE รับบทเป็น ธันเดอร์แมน - โคโรเกะ ผจญภัย รับบทเป็น ไดฟุคู - เคโรโระ ขบวนการอ๊บอ๊บป่วนโลก รับบทเป็น เวทเทิลคิง - คุโรมาตี้ โรงเรียนคนบวม รับบทเป็น คู่หูของปูทันเกมเกม. - ซามูไรสปิริตส์ รับบทเป็น ฮาโอมารุ - ไซคิกฟอร์ซ 2012 รับบทเป็น คาร์โล เบลฟรอนด์ - ชาโดว์ฮาร์ทส รับบทเป็น เรนี่ เคอร์ติส - ซุปเปอร์โรบ็อตไทเซ็น อัลฟา ไกเด็น รับบทเป็น ชินโกะ โมริภาพยนตร์โทคุซัทสึภาพยนตร์โทคุซัทสึ. - บี-โรโบ คาบูทัก รับบทเป็น คุวาจิโร่ - โกโกไฟว์ รับบทเป็น จิวฟีซะ
ในเรื่อง สามก๊ก (ฉบับวาดโดย มิตสึเทรุ โยโกยามะ) ไดกิ นะกะมุระ รับบทเป็นใคร
{ "answer": [ "เล่าปี่" ], "answer_begin_position": [ 424 ], "answer_end_position": [ 431 ] }
794
569,356
สากล ม่วงศิริ นายสากล ม่วงศิริ (เกิด 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2514) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ประวัติ ประวัติ. นายสากล ม่วงศิริ เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 เป็นบุตรของนายประเสริฐ ม่วงศิริ และ นางรัตนา ม่วงศิริ และเป็นน้องชายของพันตำรวจเอกสามารถ ม่วงศิริ สำเร็จการศึกษา นิติศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยรามคำแหงงานการเมือง งานการเมือง. สากล ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรก ใน พ.ศ. 2544 สังกัดพรรคไทยรักไทย ซึ่งได้รับเลือกตั้งในครั้งดังกล่าว และได้รับเลือกติดต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2554) รวม 4 สมัยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. สากล ม่วงศิริ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 4 สมัย คือ1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคไทยรักไทย 2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคไทยรักไทย 3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541) → พรรคประชาธิปัตย์ 4. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์
นายสากล ม่วงศิริ เกิดเมื่อใด
{ "answer": [ "16 พฤษภาคม พ.ศ. 2514" ], "answer_begin_position": [ 260 ], "answer_end_position": [ 280 ] }
795
616,556
หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต พันโท หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต (3 มกราคม พ.ศ. 2445 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2511) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชากับหม่อมอาบ จันทรทัต ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต ประสูติเมื่อ 3 มกราคม พ.ศ. 2445 ทรงมีพระอนุชาและพระขนิษฐภคินีร่วมพระมารดา 3 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าอุรคินทร์ จันทรทัต (พ.ศ. 2456-2511) - หม่อมเจ้าศศวินทุวิศาล จันทรทัต (พ.ศ. 2460-2527) - หม่อมเจ้าโสมกานดา จันทรทัต (พ.ศ. 2461-2553) และมีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีต่างมารดา 4 พระองค์- หม่อมเจ้าทัตจันทร์จำรูญ จันทรทัต (พ.ศ. 2428-2485) - หม่อมเจ้าวิบูลย์จันทรา จันทรทัต (พ.ศ. 2429-2473) - หม่อมเจ้าประภาจันทรี จันทรทัต (พ.ศ. 2437-2455) - หม่อมเจ้าเฉลิมศรีจันทรทัต จันทรทัต (พ.ศ. 2438-2507) เมื่อพ.ศ. 2452 ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาได้เข้ารับราชการเป็นทหาร มียศสูงสุดที่ พันโท เนื่องจากท่านได้รับราชการทหารที่ต่างจังหวัดจึงไม่ค่อยมีเวลาอยู่กับบุตรธิดานัก หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2511 ชนมายุ 55 ปีครอบครัว ครอบครัว. หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต เษกสมรสกับ หม่อมจรูญ จันทรทัต ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ณ ถลาง) คน มีบุตรธิดา 3 คน- หม่อมราชวงศ์ประสมจันทร์จรูญ จันทรทัต สมรสกับ วิลาศ บุนนาค มีบุตร 1 คน- ฟิลลิปวีระ บุนนาค - หม่อมราชวงศ์ประยูรจันทร์เจริญ จันทรทัต - หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต สมรสกับ โอนอ่อน จันทรฑัต มีบุตร 2 คน- หม่อมหลวงจันทรจุฑา จันทรทัต - หม่อมหลวงจันทรขจร จันทรทัต
หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต เษกสมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "หม่อมจรูญ จันทรทัต ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 1274 ], "answer_end_position": [ 1301 ] }
1,703
616,556
หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต พันโท หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต (3 มกราคม พ.ศ. 2445 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2511) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชากับหม่อมอาบ จันทรทัต ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต ประสูติเมื่อ 3 มกราคม พ.ศ. 2445 ทรงมีพระอนุชาและพระขนิษฐภคินีร่วมพระมารดา 3 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าอุรคินทร์ จันทรทัต (พ.ศ. 2456-2511) - หม่อมเจ้าศศวินทุวิศาล จันทรทัต (พ.ศ. 2460-2527) - หม่อมเจ้าโสมกานดา จันทรทัต (พ.ศ. 2461-2553) และมีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีต่างมารดา 4 พระองค์- หม่อมเจ้าทัตจันทร์จำรูญ จันทรทัต (พ.ศ. 2428-2485) - หม่อมเจ้าวิบูลย์จันทรา จันทรทัต (พ.ศ. 2429-2473) - หม่อมเจ้าประภาจันทรี จันทรทัต (พ.ศ. 2437-2455) - หม่อมเจ้าเฉลิมศรีจันทรทัต จันทรทัต (พ.ศ. 2438-2507) เมื่อพ.ศ. 2452 ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาได้เข้ารับราชการเป็นทหาร มียศสูงสุดที่ พันโท เนื่องจากท่านได้รับราชการทหารที่ต่างจังหวัดจึงไม่ค่อยมีเวลาอยู่กับบุตรธิดานัก หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2511 ชนมายุ 55 ปีครอบครัว ครอบครัว. หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต เษกสมรสกับ หม่อมจรูญ จันทรทัต ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ณ ถลาง) คน มีบุตรธิดา 3 คน- หม่อมราชวงศ์ประสมจันทร์จรูญ จันทรทัต สมรสกับ วิลาศ บุนนาค มีบุตร 1 คน- ฟิลลิปวีระ บุนนาค - หม่อมราชวงศ์ประยูรจันทร์เจริญ จันทรทัต - หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต สมรสกับ โอนอ่อน จันทรฑัต มีบุตร 2 คน- หม่อมหลวงจันทรจุฑา จันทรทัต - หม่อมหลวงจันทรขจร จันทรทัต
หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "3" ], "answer_begin_position": [ 460 ], "answer_end_position": [ 461 ] }
1,904
616,556
หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต พันโท หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต (3 มกราคม พ.ศ. 2445 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2511) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชากับหม่อมอาบ จันทรทัต ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต ประสูติเมื่อ 3 มกราคม พ.ศ. 2445 ทรงมีพระอนุชาและพระขนิษฐภคินีร่วมพระมารดา 3 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าอุรคินทร์ จันทรทัต (พ.ศ. 2456-2511) - หม่อมเจ้าศศวินทุวิศาล จันทรทัต (พ.ศ. 2460-2527) - หม่อมเจ้าโสมกานดา จันทรทัต (พ.ศ. 2461-2553) และมีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีต่างมารดา 4 พระองค์- หม่อมเจ้าทัตจันทร์จำรูญ จันทรทัต (พ.ศ. 2428-2485) - หม่อมเจ้าวิบูลย์จันทรา จันทรทัต (พ.ศ. 2429-2473) - หม่อมเจ้าประภาจันทรี จันทรทัต (พ.ศ. 2437-2455) - หม่อมเจ้าเฉลิมศรีจันทรทัต จันทรทัต (พ.ศ. 2438-2507) เมื่อพ.ศ. 2452 ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาได้เข้ารับราชการเป็นทหาร มียศสูงสุดที่ พันโท เนื่องจากท่านได้รับราชการทหารที่ต่างจังหวัดจึงไม่ค่อยมีเวลาอยู่กับบุตรธิดานัก หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2511 ชนมายุ 55 ปีครอบครัว ครอบครัว. หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต เษกสมรสกับ หม่อมจรูญ จันทรทัต ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ณ ถลาง) คน มีบุตรธิดา 3 คน- หม่อมราชวงศ์ประสมจันทร์จรูญ จันทรทัต สมรสกับ วิลาศ บุนนาค มีบุตร 1 คน- ฟิลลิปวีระ บุนนาค - หม่อมราชวงศ์ประยูรจันทร์เจริญ จันทรทัต - หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต สมรสกับ โอนอ่อน จันทรฑัต มีบุตร 2 คน- หม่อมหลวงจันทรจุฑา จันทรทัต - หม่อมหลวงจันทรขจร จันทรทัต
หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "3" ], "answer_begin_position": [ 460 ], "answer_end_position": [ 461 ] }
1,905
616,556
หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต พันโท หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต (3 มกราคม พ.ศ. 2445 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2511) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชากับหม่อมอาบ จันทรทัต ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต ประสูติเมื่อ 3 มกราคม พ.ศ. 2445 ทรงมีพระอนุชาและพระขนิษฐภคินีร่วมพระมารดา 3 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าอุรคินทร์ จันทรทัต (พ.ศ. 2456-2511) - หม่อมเจ้าศศวินทุวิศาล จันทรทัต (พ.ศ. 2460-2527) - หม่อมเจ้าโสมกานดา จันทรทัต (พ.ศ. 2461-2553) และมีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีต่างมารดา 4 พระองค์- หม่อมเจ้าทัตจันทร์จำรูญ จันทรทัต (พ.ศ. 2428-2485) - หม่อมเจ้าวิบูลย์จันทรา จันทรทัต (พ.ศ. 2429-2473) - หม่อมเจ้าประภาจันทรี จันทรทัต (พ.ศ. 2437-2455) - หม่อมเจ้าเฉลิมศรีจันทรทัต จันทรทัต (พ.ศ. 2438-2507) เมื่อพ.ศ. 2452 ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาได้เข้ารับราชการเป็นทหาร มียศสูงสุดที่ พันโท เนื่องจากท่านได้รับราชการทหารที่ต่างจังหวัดจึงไม่ค่อยมีเวลาอยู่กับบุตรธิดานัก หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2511 ชนมายุ 55 ปีครอบครัว ครอบครัว. หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต เษกสมรสกับ หม่อมจรูญ จันทรทัต ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ณ ถลาง) คน มีบุตรธิดา 3 คน- หม่อมราชวงศ์ประสมจันทร์จรูญ จันทรทัต สมรสกับ วิลาศ บุนนาค มีบุตร 1 คน- ฟิลลิปวีระ บุนนาค - หม่อมราชวงศ์ประยูรจันทร์เจริญ จันทรทัต - หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต สมรสกับ โอนอ่อน จันทรฑัต มีบุตร 2 คน- หม่อมหลวงจันทรจุฑา จันทรทัต - หม่อมหลวงจันทรขจร จันทรทัต
มารดาของพันโท หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต คือใคร
{ "answer": [ "หม่อมอาบ จันทรทัต ณ อยุธยา" ], "answer_begin_position": [ 311 ], "answer_end_position": [ 337 ] }
796
228,438
หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี ประสูติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2453 เป็นโอรสลำดับที่สามใน พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับ หม่อมพัฒน์ (คุณพัฒน์ บุนนาค บุตรีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ และท่านผู้หญิงเปลี่ยน) ทรงมีบุตรชายคนโตคือ หม่อมราชวงศ์แซมแจ่มจรัส รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ทรงจบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงรับราชการกระทรวงการคลัง และทรงมีความรอบรู้ทั้งด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ทรงเป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์มีความสามารถในด้านกวี ใช้นามปากกาว่า "พ. ณ. ประมวญมารค" ทรงได้รับการยกย่องเปรียบเทียบกับกวีร่วมสมัย คือ อังคาร กัลยาณพงศ์ โดยเรียกหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ว่า "ท่านจันทร์" และเรียกอังคาร กัลยาณพงศ์ ล้อว่า "ท่านอังคาร" เพื่อให้คล้องจองกัน ทรงสนิทสนมคุ้นเคยกับกลุ่มศิลปินและนักเขียน เช่น เฟื้อ หริพิทักษ์, รงค์ วงษ์สวรรค์, สุวรรณี สุคนธา, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, ประหยัด พงษ์ดำ, สาโรจน์ จารักษ์ โดยมักพบปะสังสรรค์กันที่ร้านอาหารมิ่งหลี ใกล้มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งหนึ่งเคยมีผู้บันทึกว่า ทรงเล่นโคลงสดกับอังคาร กัลยาณพงศ์ ความว่า ท่านจันทร์สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 ที่จังหวัดเชียงใหม่ พระราชทานเพลิงศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2535เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2473 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 4
หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์มีความสามารถในด้านกวี ใช้นามปากกาว่าอะไร
{ "answer": [ "พ. ณ. ประมวญมารค" ], "answer_begin_position": [ 700 ], "answer_end_position": [ 716 ] }
1,662
228,438
หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี ประสูติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2453 เป็นโอรสลำดับที่สามใน พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับ หม่อมพัฒน์ (คุณพัฒน์ บุนนาค บุตรีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ และท่านผู้หญิงเปลี่ยน) ทรงมีบุตรชายคนโตคือ หม่อมราชวงศ์แซมแจ่มจรัส รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ทรงจบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงรับราชการกระทรวงการคลัง และทรงมีความรอบรู้ทั้งด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ทรงเป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์มีความสามารถในด้านกวี ใช้นามปากกาว่า "พ. ณ. ประมวญมารค" ทรงได้รับการยกย่องเปรียบเทียบกับกวีร่วมสมัย คือ อังคาร กัลยาณพงศ์ โดยเรียกหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ว่า "ท่านจันทร์" และเรียกอังคาร กัลยาณพงศ์ ล้อว่า "ท่านอังคาร" เพื่อให้คล้องจองกัน ทรงสนิทสนมคุ้นเคยกับกลุ่มศิลปินและนักเขียน เช่น เฟื้อ หริพิทักษ์, รงค์ วงษ์สวรรค์, สุวรรณี สุคนธา, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, ประหยัด พงษ์ดำ, สาโรจน์ จารักษ์ โดยมักพบปะสังสรรค์กันที่ร้านอาหารมิ่งหลี ใกล้มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งหนึ่งเคยมีผู้บันทึกว่า ทรงเล่นโคลงสดกับอังคาร กัลยาณพงศ์ ความว่า ท่านจันทร์สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 ที่จังหวัดเชียงใหม่ พระราชทานเพลิงศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2535เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2473 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 4
หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "21" ], "answer_begin_position": [ 192 ], "answer_end_position": [ 194 ] }
1,901
228,438
หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี ประสูติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2453 เป็นโอรสลำดับที่สามใน พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับ หม่อมพัฒน์ (คุณพัฒน์ บุนนาค บุตรีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ และท่านผู้หญิงเปลี่ยน) ทรงมีบุตรชายคนโตคือ หม่อมราชวงศ์แซมแจ่มจรัส รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ทรงจบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงรับราชการกระทรวงการคลัง และทรงมีความรอบรู้ทั้งด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ทรงเป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์มีความสามารถในด้านกวี ใช้นามปากกาว่า "พ. ณ. ประมวญมารค" ทรงได้รับการยกย่องเปรียบเทียบกับกวีร่วมสมัย คือ อังคาร กัลยาณพงศ์ โดยเรียกหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ว่า "ท่านจันทร์" และเรียกอังคาร กัลยาณพงศ์ ล้อว่า "ท่านอังคาร" เพื่อให้คล้องจองกัน ทรงสนิทสนมคุ้นเคยกับกลุ่มศิลปินและนักเขียน เช่น เฟื้อ หริพิทักษ์, รงค์ วงษ์สวรรค์, สุวรรณี สุคนธา, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, ประหยัด พงษ์ดำ, สาโรจน์ จารักษ์ โดยมักพบปะสังสรรค์กันที่ร้านอาหารมิ่งหลี ใกล้มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งหนึ่งเคยมีผู้บันทึกว่า ทรงเล่นโคลงสดกับอังคาร กัลยาณพงศ์ ความว่า ท่านจันทร์สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 ที่จังหวัดเชียงใหม่ พระราชทานเพลิงศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2535เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2473 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 4
หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "21" ], "answer_begin_position": [ 192 ], "answer_end_position": [ 194 ] }
1,902
228,438
หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี ประสูติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2453 เป็นโอรสลำดับที่สามใน พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับ หม่อมพัฒน์ (คุณพัฒน์ บุนนาค บุตรีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ และท่านผู้หญิงเปลี่ยน) ทรงมีบุตรชายคนโตคือ หม่อมราชวงศ์แซมแจ่มจรัส รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ทรงจบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงรับราชการกระทรวงการคลัง และทรงมีความรอบรู้ทั้งด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ทรงเป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์มีความสามารถในด้านกวี ใช้นามปากกาว่า "พ. ณ. ประมวญมารค" ทรงได้รับการยกย่องเปรียบเทียบกับกวีร่วมสมัย คือ อังคาร กัลยาณพงศ์ โดยเรียกหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ว่า "ท่านจันทร์" และเรียกอังคาร กัลยาณพงศ์ ล้อว่า "ท่านอังคาร" เพื่อให้คล้องจองกัน ทรงสนิทสนมคุ้นเคยกับกลุ่มศิลปินและนักเขียน เช่น เฟื้อ หริพิทักษ์, รงค์ วงษ์สวรรค์, สุวรรณี สุคนธา, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, ประหยัด พงษ์ดำ, สาโรจน์ จารักษ์ โดยมักพบปะสังสรรค์กันที่ร้านอาหารมิ่งหลี ใกล้มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งหนึ่งเคยมีผู้บันทึกว่า ทรงเล่นโคลงสดกับอังคาร กัลยาณพงศ์ ความว่า ท่านจันทร์สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 ที่จังหวัดเชียงใหม่ พระราชทานเพลิงศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2535เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2473 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 4
พระบิดาของหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี มีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์" ], "answer_begin_position": [ 235 ], "answer_end_position": [ 295 ] }
797
602,733
หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2497) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี ที่ประสูติแต่หม่อมชื้น กัลยาณมิตร หม่อมเจ้าจิตรปรีดี เสกสมรสกับหม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร มีบุตรธิดา 4 คน- หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร สมรสกับ สุปรียา รักตประจิต- หม่อมหลวงกิติบดี ประวิตร - หม่อมหลวงสุปรีดี ประวิตร สมรสกับ มัลลิกา ศรีสิทธิธรรม - หม่อมราชวงศ์สุชาติจันทร์ ประวิตร สมรสกับ สมรัก มันประเสริฐ- หม่อมหลวงภัทรชาติ ประวิตร - หม่อมหลวงหญิงกัลยาณรัก ประวิตร - หม่อมหลวงกมลชาติ ประวิตร - หม่อมหลวงธนชาติ ประวิตร - หม่อมราชวงศ์ธวัชจันทร์ ประวิตร สมรสกับ ปิยะธิดา สุจริตกุล- หม่อมหลวงปิยะจันทร์ ประวิตร - หม่อมหลวงหญิงนัดดาจันทร์ ประวิตร - หม่อมราชวงศ์เหมือนจิต ประวิตร (ท่านผู้หญิงเหมือนจิต ภิรมย์ภักดี) สมรสกับ วาปี ภิรมย์ภักดี- สรวิช ภิรมย์ภักดี - ปีย์จิต โอสถานนท์ - ปวิณ ภิรมย์ภักดี ทรงรับราชการในสมัยรัชกาลที่ 7 ในแผนกการเงิน ในกรมพระคลังข้างที่ และที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ต่อมาทรงประชวรด้วยโรคพระหทัย จึงได้ลาออกจากราชการมาตั้งหุ้นส่วนค้าขายส่วนพระองค์ จนกระทั่งประชวรอีกครั้ง สิ้นชีพตักษัยด้วยพระโรคเดิมในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2497
หม่อมเจ้าจิตรปรีดี เสกสมรสกับใคร
{ "answer": [ "หม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร" ], "answer_begin_position": [ 348 ], "answer_end_position": [ 376 ] }
798
602,733
หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2497) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี ที่ประสูติแต่หม่อมชื้น กัลยาณมิตร หม่อมเจ้าจิตรปรีดี เสกสมรสกับหม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร มีบุตรธิดา 4 คน- หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร สมรสกับ สุปรียา รักตประจิต- หม่อมหลวงกิติบดี ประวิตร - หม่อมหลวงสุปรีดี ประวิตร สมรสกับ มัลลิกา ศรีสิทธิธรรม - หม่อมราชวงศ์สุชาติจันทร์ ประวิตร สมรสกับ สมรัก มันประเสริฐ- หม่อมหลวงภัทรชาติ ประวิตร - หม่อมหลวงหญิงกัลยาณรัก ประวิตร - หม่อมหลวงกมลชาติ ประวิตร - หม่อมหลวงธนชาติ ประวิตร - หม่อมราชวงศ์ธวัชจันทร์ ประวิตร สมรสกับ ปิยะธิดา สุจริตกุล- หม่อมหลวงปิยะจันทร์ ประวิตร - หม่อมหลวงหญิงนัดดาจันทร์ ประวิตร - หม่อมราชวงศ์เหมือนจิต ประวิตร (ท่านผู้หญิงเหมือนจิต ภิรมย์ภักดี) สมรสกับ วาปี ภิรมย์ภักดี- สรวิช ภิรมย์ภักดี - ปีย์จิต โอสถานนท์ - ปวิณ ภิรมย์ภักดี ทรงรับราชการในสมัยรัชกาลที่ 7 ในแผนกการเงิน ในกรมพระคลังข้างที่ และที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ต่อมาทรงประชวรด้วยโรคพระหทัย จึงได้ลาออกจากราชการมาตั้งหุ้นส่วนค้าขายส่วนพระองค์ จนกระทั่งประชวรอีกครั้ง สิ้นชีพตักษัยด้วยพระโรคเดิมในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2497
หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร สมรสกับใคร
{ "answer": [ "สุปรียา รักตประจิต" ], "answer_begin_position": [ 432 ], "answer_end_position": [ 450 ] }
1,843
602,733
หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2497) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี ที่ประสูติแต่หม่อมชื้น กัลยาณมิตร หม่อมเจ้าจิตรปรีดี เสกสมรสกับหม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร มีบุตรธิดา 4 คน- หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร สมรสกับ สุปรียา รักตประจิต- หม่อมหลวงกิติบดี ประวิตร - หม่อมหลวงสุปรีดี ประวิตร สมรสกับ มัลลิกา ศรีสิทธิธรรม - หม่อมราชวงศ์สุชาติจันทร์ ประวิตร สมรสกับ สมรัก มันประเสริฐ- หม่อมหลวงภัทรชาติ ประวิตร - หม่อมหลวงหญิงกัลยาณรัก ประวิตร - หม่อมหลวงกมลชาติ ประวิตร - หม่อมหลวงธนชาติ ประวิตร - หม่อมราชวงศ์ธวัชจันทร์ ประวิตร สมรสกับ ปิยะธิดา สุจริตกุล- หม่อมหลวงปิยะจันทร์ ประวิตร - หม่อมหลวงหญิงนัดดาจันทร์ ประวิตร - หม่อมราชวงศ์เหมือนจิต ประวิตร (ท่านผู้หญิงเหมือนจิต ภิรมย์ภักดี) สมรสกับ วาปี ภิรมย์ภักดี- สรวิช ภิรมย์ภักดี - ปีย์จิต โอสถานนท์ - ปวิณ ภิรมย์ภักดี ทรงรับราชการในสมัยรัชกาลที่ 7 ในแผนกการเงิน ในกรมพระคลังข้างที่ และที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ต่อมาทรงประชวรด้วยโรคพระหทัย จึงได้ลาออกจากราชการมาตั้งหุ้นส่วนค้าขายส่วนพระองค์ จนกระทั่งประชวรอีกครั้ง สิ้นชีพตักษัยด้วยพระโรคเดิมในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2497
มารดาของหม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร คือใคร
{ "answer": [ "หม่อมชื้น กัลยาณมิตร" ], "answer_begin_position": [ 298 ], "answer_end_position": [ 318 ] }
1,844
602,733
หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2497) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี ที่ประสูติแต่หม่อมชื้น กัลยาณมิตร หม่อมเจ้าจิตรปรีดี เสกสมรสกับหม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร มีบุตรธิดา 4 คน- หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร สมรสกับ สุปรียา รักตประจิต- หม่อมหลวงกิติบดี ประวิตร - หม่อมหลวงสุปรีดี ประวิตร สมรสกับ มัลลิกา ศรีสิทธิธรรม - หม่อมราชวงศ์สุชาติจันทร์ ประวิตร สมรสกับ สมรัก มันประเสริฐ- หม่อมหลวงภัทรชาติ ประวิตร - หม่อมหลวงหญิงกัลยาณรัก ประวิตร - หม่อมหลวงกมลชาติ ประวิตร - หม่อมหลวงธนชาติ ประวิตร - หม่อมราชวงศ์ธวัชจันทร์ ประวิตร สมรสกับ ปิยะธิดา สุจริตกุล- หม่อมหลวงปิยะจันทร์ ประวิตร - หม่อมหลวงหญิงนัดดาจันทร์ ประวิตร - หม่อมราชวงศ์เหมือนจิต ประวิตร (ท่านผู้หญิงเหมือนจิต ภิรมย์ภักดี) สมรสกับ วาปี ภิรมย์ภักดี- สรวิช ภิรมย์ภักดี - ปีย์จิต โอสถานนท์ - ปวิณ ภิรมย์ภักดี ทรงรับราชการในสมัยรัชกาลที่ 7 ในแผนกการเงิน ในกรมพระคลังข้างที่ และที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ต่อมาทรงประชวรด้วยโรคพระหทัย จึงได้ลาออกจากราชการมาตั้งหุ้นส่วนค้าขายส่วนพระองค์ จนกระทั่งประชวรอีกครั้ง สิ้นชีพตักษัยด้วยพระโรคเดิมในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2497
หม่อมเจ้าจิตรปรีดี ประวิตร เสกสมรสกับผู้ใด
{ "answer": [ "หม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร" ], "answer_begin_position": [ 348 ], "answer_end_position": [ 376 ] }
799
211,448
หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล พลตรี หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล (22 มกราคม พ.ศ. 2490) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 25 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจุลเจิม (ท่านชายใหม่) ประสูติเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2490 เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการกับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา (สุฤทธิ์) เป็นพระนัดดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และเป็นพระราชปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าจุลเจิม ทรงมีเชษฐา เชษฐภคินี และขนิษฐา ร่วมอุทร 4 องค์ คือ- มาลินีมงคล อมาตยกุล (ท่านหญิงหยอย; 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483) - ปัทมนรังษี เสนาณรงค์ (ท่านหญิงเม้า; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2484) - หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (ท่านชายมุ้ย; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) - หม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล (ท่านหญิงยุ้ย; 23 ตุลาคม พ.ศ. 2496) ทรงศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนวชิราวุธ และชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ก่อนจะได้รับการส่งไปศึกษาต่อจนจบมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียน Kemper Military School รัฐมิสซูรี ประเทศสหรัฐอเมริกา และทรงศึกษาต่อจนจบปริญญาตรีด้านวิศวกรรมไฟฟ้า จากมหาวิทยาลัย Western Pacific University (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัย California Miramar University) และหลักสูตรปริญญาโทด้านการจัดการกีฬาการทรงงานการทรงงาน. - ราชองครักษ์พิเศษรักษาพระองค์ ใน สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ - ประธานสโมสรฟุตบอลราชวิถีชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้าจุลเจิมเสกสมรส 2 ครั้ง ในครั้งแรกกับหม่อมศิริพร ยุคล ณ อยุธยา (เสนาลักษณ์) ซึ่งถึงแก่กรรมด้วยโรคมะเร็งเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 มีโอรส - ธิดา 2 คน คือ- หม่อมราชวงศ์รังษิพันธ์ ยุคล (คุณชายเหมา; 15 มีนาคม พ.ศ. 2518) - หม่อมราชวงศ์จันทรลัดดา ยุคล (คุณหญิงแอร์; 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520) ต่อมาได้เสกสมรสใหม่กับหม่อมอัญชลี ยุคล ณ อยุธยา (ขัติยสุรินทร์) ในปี พ.ศ. 2533 มีธิดา 2 คน คือ- หม่อมราชวงศ์แม้นนฤมาส ยุคล (คุณหญิงแม้น; 17 กันยายน พ.ศ. 2533) - หม่อมราชวงศ์จันทรนิภา ยุคล (คุณหญิงไหม; 3 มกราคม พ.ศ. 2535)พระเกียรติยศเครื่องราชอิสริยาภรณ์พระเกียรติยศ. เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2551 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เหรียญพิทักษ์เสรีชน (ส.ช.2) ประเภทที่ 2 - เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 (ภ.ป.ร.4)
หม่อมศิริพร ยุคล ณ อยุธยา ซึ่งถึงแก่กรรมด้วยโรคอะไร
{ "answer": [ "โรคมะเร็ง" ], "answer_begin_position": [ 1640 ], "answer_end_position": [ 1649 ] }