question_id
int32 1
4k
| article_id
int32 665
954k
| context
stringlengths 75
87.2k
| question
stringlengths 11
135
| answers
sequence |
---|---|---|---|---|
1,908 | 850,651 | หม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ เทวกุล หม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ เทวกุล (5 ธันวาคม พ.ศ. 2441 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517) หรือ หม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ กิติยากร เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล มีพระขนิษฐาและพระเชษฐาร่วมพระมารดา 11 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าเกียรติกำจร กิติยากร (7 กันยายน 2439–18 กุมภาพันธ์ 2445) - หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร (18 มกราคม 2440–14 สิงหาคม 2511) สมรสกับหม่อมพิณ หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาส รพีพัฒน์ และ หม่อมเจ้าหญิงจีริกา กิติยากร - หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร (4 มกราคม 2441–11 กุมภาพันธ์ 2496) (ได้รับสถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เมื่อ 5 พฤษภาคม 2495 สมรสกับหม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์ - หม่อมเจ้ามาโนทย์มานพ กิติยากร (24 มกราคม 2443–24 สิงหาคม 2444) - หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร (15 มีนาคม 2444–28 มกราคม 2510) สมรสกับหม่อมราชวงศ์วิจิตรโฉม ชยางกูร - หม่อมเจ้าหญิงพิบูลย์เบญจางค์ กิติยากร (13 พฤศจิกายน 2445–27 เมษายน 2512) สมรสกับ หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ (พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์) - หม่อมเจ้าหญิงกัลยางค์สมบัติ กิติยากร (28 มีนาคม 2447–4 กุมภาพันธ์ 2485) สมรสกับ หม่อมเจ้ามุรธาภิเศก โสณกุล - หม่อมเจ้าหญิงจิตรบรรจง กิติยากร (28 มกราคม 2449–29 ตุลาคม 2487) ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อเสกสมรสกับหม่อมราชวงศ์นักษัตร ลดาวัลย์ - หม่อมเจ้าหญิงทรงอัปษร กิติยากร (22 กรกฎาคม 2450–28 มีนาคม 2531) สมรสกับหม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ - หม่อมเจ้าหญิงสรัทจันทร์ กิติยากร (26 ธันวาคม 2451–30 กันยายน 2466) - หม่อมเจ้าพุฒ กิติยากร พระชนม์ 11 เดือน (8 กุมภาพันธ์ 2454–26 ธันวาคม 2454) สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 สิริอายุ การนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ไปพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุวัดหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2519พระโอรส-ธิดา พระโอรส-ธิดา. หม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ เษกสมรสกับ หม่อมเจ้ามรุพรพันธุ์ เทวกุล และ หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 มีบุตร-ธิดาได้แก่- หม่อมเจ้ามรุพรพันธุ์ เทวกุล- หม่อมราชวงศ์มรุต เทวกุล สมรสกับ อุไร พู่เรือหงส์- หม่อมหลวงหญิงอัจโรบล เทวกุล - หม่อมราชวงศ์กมลิกา เทวกุล - หม่อมราชวงศ์นิศารัตน์ เทวกุล - หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล- หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล สมรสกับ ขวัญตา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา- หม่อมหลวงหญิงอาภาวดี เทวกุล - หม่อมหลวงหญิงขวัญกมล เทวกุล - หม่อมหลวงหญิงรดีเทพ เทวกุล
| หม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ เทวกุล สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"28"
],
"answer_begin_position": [
1633
],
"answer_end_position": [
1635
]
} |
853 | 287,943 | หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ เป็นธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมเจิม สนธิรัตน์พระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2458 เป็นธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมเจิม สนธิรัตน์ มีพระเชษฐา พระเชษฐภคินี พระอนุชา พระขนิษฐาร่วมพระบิดาหลายพระองค์ แต่ร่วมพระมารดา ดังนี้- หม่อมเจ้าบันลุศิริสาณต์ ดิศกุล (พ.ศ. 2441-2455) - หม่อมเจ้าอัปภัศราภา ดิศกุล (พ.ศ. 2446-2524) เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าอนันตนรไชย เทวกุล - หม่อมเจ้านิพัทธ์พันธุดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2448-2509) เสกสมรสกับ หม่อมรำไพ กันตามระ - หม่อมเจ้ารัชมาลินี ดิศกุล (พ.ศ. 2451-2528) เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าธัญญลักษณ์ ศุขสวัสดิ์ - หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2455-2518) เสกสมรสกับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง - หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2466-2546) เสกสมรสกับ หม่อมอรพินท์ อินทรทูตชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล เสกสมรสกับหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีโอรส-ธิดา 3 คน1. หม่อมราชวงศ์จักรรถ จิตรพงศ์ (2487 - ) สมรสกับ หม่อมราชวงศ์พิศพัฒน์ รัชนี 2. หม่อมราชวงศ์กัลยา ติงศภัทิย์ (2492 - ) อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. หม่อมราชวงศ์เฉลิมลักษณ์ จันทรเสน (2498 - 2543) หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ ถึงชีพตักษัยเมื่อพ.ศ. 2544 สิริรวมพระชันษา 85 ปี
| หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ เป็นธิดาในสมเด็จพระองค์ใด | {
"answer": [
"สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ"
],
"answer_begin_position": [
192
],
"answer_end_position": [
259
]
} |
854 | 287,943 | หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ เป็นธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมเจิม สนธิรัตน์พระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2458 เป็นธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมเจิม สนธิรัตน์ มีพระเชษฐา พระเชษฐภคินี พระอนุชา พระขนิษฐาร่วมพระบิดาหลายพระองค์ แต่ร่วมพระมารดา ดังนี้- หม่อมเจ้าบันลุศิริสาณต์ ดิศกุล (พ.ศ. 2441-2455) - หม่อมเจ้าอัปภัศราภา ดิศกุล (พ.ศ. 2446-2524) เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าอนันตนรไชย เทวกุล - หม่อมเจ้านิพัทธ์พันธุดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2448-2509) เสกสมรสกับ หม่อมรำไพ กันตามระ - หม่อมเจ้ารัชมาลินี ดิศกุล (พ.ศ. 2451-2528) เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าธัญญลักษณ์ ศุขสวัสดิ์ - หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2455-2518) เสกสมรสกับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง - หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2466-2546) เสกสมรสกับ หม่อมอรพินท์ อินทรทูตชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล เสกสมรสกับหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีโอรส-ธิดา 3 คน1. หม่อมราชวงศ์จักรรถ จิตรพงศ์ (2487 - ) สมรสกับ หม่อมราชวงศ์พิศพัฒน์ รัชนี 2. หม่อมราชวงศ์กัลยา ติงศภัทิย์ (2492 - ) อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. หม่อมราชวงศ์เฉลิมลักษณ์ จันทรเสน (2498 - 2543) หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ ถึงชีพตักษัยเมื่อพ.ศ. 2544 สิริรวมพระชันษา 85 ปี
| หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ พระโอรสในสมเด็จพระองค์ใด | {
"answer": [
"สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์"
],
"answer_begin_position": [
1198
],
"answer_end_position": [
1264
]
} |
1,888 | 287,943 | หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ เป็นธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมเจิม สนธิรัตน์พระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2458 เป็นธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมเจิม สนธิรัตน์ มีพระเชษฐา พระเชษฐภคินี พระอนุชา พระขนิษฐาร่วมพระบิดาหลายพระองค์ แต่ร่วมพระมารดา ดังนี้- หม่อมเจ้าบันลุศิริสาณต์ ดิศกุล (พ.ศ. 2441-2455) - หม่อมเจ้าอัปภัศราภา ดิศกุล (พ.ศ. 2446-2524) เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าอนันตนรไชย เทวกุล - หม่อมเจ้านิพัทธ์พันธุดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2448-2509) เสกสมรสกับ หม่อมรำไพ กันตามระ - หม่อมเจ้ารัชมาลินี ดิศกุล (พ.ศ. 2451-2528) เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าธัญญลักษณ์ ศุขสวัสดิ์ - หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2455-2518) เสกสมรสกับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง - หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2466-2546) เสกสมรสกับ หม่อมอรพินท์ อินทรทูตชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล เสกสมรสกับหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีโอรส-ธิดา 3 คน1. หม่อมราชวงศ์จักรรถ จิตรพงศ์ (2487 - ) สมรสกับ หม่อมราชวงศ์พิศพัฒน์ รัชนี 2. หม่อมราชวงศ์กัลยา ติงศภัทิย์ (2492 - ) อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. หม่อมราชวงศ์เฉลิมลักษณ์ จันทรเสน (2498 - 2543) หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ ถึงชีพตักษัยเมื่อพ.ศ. 2544 สิริรวมพระชันษา 85 ปี
| มารดาของหม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมเจิม สนธิรัตน์"
],
"answer_begin_position": [
270
],
"answer_end_position": [
289
]
} |
1,889 | 287,943 | หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ เป็นธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมเจิม สนธิรัตน์พระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2458 เป็นธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมเจิม สนธิรัตน์ มีพระเชษฐา พระเชษฐภคินี พระอนุชา พระขนิษฐาร่วมพระบิดาหลายพระองค์ แต่ร่วมพระมารดา ดังนี้- หม่อมเจ้าบันลุศิริสาณต์ ดิศกุล (พ.ศ. 2441-2455) - หม่อมเจ้าอัปภัศราภา ดิศกุล (พ.ศ. 2446-2524) เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าอนันตนรไชย เทวกุล - หม่อมเจ้านิพัทธ์พันธุดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2448-2509) เสกสมรสกับ หม่อมรำไพ กันตามระ - หม่อมเจ้ารัชมาลินี ดิศกุล (พ.ศ. 2451-2528) เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าธัญญลักษณ์ ศุขสวัสดิ์ - หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2455-2518) เสกสมรสกับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง - หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (พ.ศ. 2466-2546) เสกสมรสกับ หม่อมอรพินท์ อินทรทูตชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล เสกสมรสกับหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีโอรส-ธิดา 3 คน1. หม่อมราชวงศ์จักรรถ จิตรพงศ์ (2487 - ) สมรสกับ หม่อมราชวงศ์พิศพัฒน์ รัชนี 2. หม่อมราชวงศ์กัลยา ติงศภัทิย์ (2492 - ) อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. หม่อมราชวงศ์เฉลิมลักษณ์ จันทรเสน (2498 - 2543) หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์ ถึงชีพตักษัยเมื่อพ.ศ. 2544 สิริรวมพระชันษา 85 ปี
| หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล เสกสมรสกับใคร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์"
],
"answer_begin_position": [
1164
],
"answer_end_position": [
1188
]
} |
858 | 45,127 | หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร (15 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 28 มกราคม พ.ศ. 2510) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยบางขวางแล้ว ก็ทรงศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ จบหลักสูตรโรงเรียนนายร้อยทหารบก รับราชการทหารบก ประจำกรมจเรทหารบก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๖ ทรงเป็นผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ทหารที่โรงเรียนเสนาธิการทหาร กระทรวงกลาโหม ทรงเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนการปืนกลสำหรับนายทหาร ที่จังหวัดสระบุรี จากนั้นเข้าประจำกรมทหารมหาดเล็ก และกรมจเรทหารราบ ตามลำดับ หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ ได้รับพระราชทานยศพันตรี ประจำกรมเสนาธิการทหารบก ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ไปศึกษาต่อโรงเรียนเสนาธิการทหาร ที่กรุงปารีส แต่ยังไม่ทันจบก็เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทรงถูกปลดประจำการ และต้องเดินทางกลับประเทศไทย หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทรงเป็นอาจารย์พิเศษที่คณะอักษรศาสตร์ และคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และทรงดำรงตำแหน่งนายกสมาคมฝรั่งเศส หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร ทรงเป็นนักร้องประจำวงลายคราม ทรงเป็นผู้แปลหนังสือ แนวรบด้านตะวันตก เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง (All Quiet on The Western Front) จากผลงานประพันธ์ภาษาเยอรมันของ เอริค มาเรีย เรอมาร์ค (Erich Maria Remarque) ไว้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๒ หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร เสกสมรสกับ หม่อมราชวงศ์วิจิตรโฉม ชยางกูร (๒๒ มีนาคม ๒๔๕๔ - ๑๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔) เมื่อวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๗ มีโอรส-ธิดา ๓ คน คือ- หม่อมราชวงศ์เกียรติคุณ กิติยากร (๒๓ มิถุนายน ๒๔๗๘ - ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗) อดีตผู้อำนวยการศูนย์พานิชยกรรม นครลอสแอนเจลิส เคยสมรสกับอาภัสรา หงสกุล นางงามจักรวาล เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ มีบุตรคือ หม่อมหลวงรุ่งคุณ กิติยากร - หม่อมราชวงศ์สฤษดิคุณ กิติยากร (๑๑ สิงหาคม ๒๔๘๐ - ๒๑ กันยายน ๒๕๕๔) อดีตประธานกรรมการ บริษัท เชลล์ ประเทศไทย และกรรมการธนาคารกสิกรไทย สมรสกับ หม่อมราชวงศ์เดือนเด่น สวัสดิวัฒน์ (กิติยากร) - หม่อมราชวงศ์สุจิตคุณ กิติยากร (ท่านผู้หญิงสุจิตคุณ สารสิน) (๑๒ พฤศจิกายน ๒๔๘๑ - ) สมรสกับ อาสา สารสิน ราชเลขาธิการ
| หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอะไร | {
"answer": [
"โรงเรียนราชวิทยาลัย"
],
"answer_begin_position": [
365
],
"answer_end_position": [
384
]
} |
859 | 45,127 | หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร (15 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 28 มกราคม พ.ศ. 2510) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยบางขวางแล้ว ก็ทรงศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ จบหลักสูตรโรงเรียนนายร้อยทหารบก รับราชการทหารบก ประจำกรมจเรทหารบก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๖ ทรงเป็นผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ทหารที่โรงเรียนเสนาธิการทหาร กระทรวงกลาโหม ทรงเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนการปืนกลสำหรับนายทหาร ที่จังหวัดสระบุรี จากนั้นเข้าประจำกรมทหารมหาดเล็ก และกรมจเรทหารราบ ตามลำดับ หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ ได้รับพระราชทานยศพันตรี ประจำกรมเสนาธิการทหารบก ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ไปศึกษาต่อโรงเรียนเสนาธิการทหาร ที่กรุงปารีส แต่ยังไม่ทันจบก็เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทรงถูกปลดประจำการ และต้องเดินทางกลับประเทศไทย หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทรงเป็นอาจารย์พิเศษที่คณะอักษรศาสตร์ และคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และทรงดำรงตำแหน่งนายกสมาคมฝรั่งเศส หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร ทรงเป็นนักร้องประจำวงลายคราม ทรงเป็นผู้แปลหนังสือ แนวรบด้านตะวันตก เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง (All Quiet on The Western Front) จากผลงานประพันธ์ภาษาเยอรมันของ เอริค มาเรีย เรอมาร์ค (Erich Maria Remarque) ไว้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๒ หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร เสกสมรสกับ หม่อมราชวงศ์วิจิตรโฉม ชยางกูร (๒๒ มีนาคม ๒๔๕๔ - ๑๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔) เมื่อวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๗ มีโอรส-ธิดา ๓ คน คือ- หม่อมราชวงศ์เกียรติคุณ กิติยากร (๒๓ มิถุนายน ๒๔๗๘ - ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗) อดีตผู้อำนวยการศูนย์พานิชยกรรม นครลอสแอนเจลิส เคยสมรสกับอาภัสรา หงสกุล นางงามจักรวาล เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ มีบุตรคือ หม่อมหลวงรุ่งคุณ กิติยากร - หม่อมราชวงศ์สฤษดิคุณ กิติยากร (๑๑ สิงหาคม ๒๔๘๐ - ๒๑ กันยายน ๒๕๕๔) อดีตประธานกรรมการ บริษัท เชลล์ ประเทศไทย และกรรมการธนาคารกสิกรไทย สมรสกับ หม่อมราชวงศ์เดือนเด่น สวัสดิวัฒน์ (กิติยากร) - หม่อมราชวงศ์สุจิตคุณ กิติยากร (ท่านผู้หญิงสุจิตคุณ สารสิน) (๑๒ พฤศจิกายน ๒๔๘๑ - ) สมรสกับ อาสา สารสิน ราชเลขาธิการ
| หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร ทรงเป็นนักร้องประจำวงอะไร | {
"answer": [
"วงลายคราม"
],
"answer_begin_position": [
1141
],
"answer_end_position": [
1150
]
} |
860 | 610,087 | หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ พลโท หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ (16 ตุลาคม พ.ศ. 2455 - 15 สิงหาคม พ.ศ. 2514) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ (โสณกุล) และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2455 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ มีพระอนุชาร่วมพระบิดาและพระมารดา 1 พระองค์ ดังนี้1. หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ (9 มกราคม พ.ศ. 2449 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2506) นอกจากนี้ พระเชษฐภคินีและพระเชษฐาร่วมพระบิดา แต่ต่างพระมารดา 4 พระองค์ ดังนี้1. หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508) 2. หม่อมเจ้านิวาศสวัสดี จิรประวัติ (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 - 28 มีนาคม พ.ศ. 2519) 3. หม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 - 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483) 4. หม่อมเจ้าหญิง ไม่ปรากฏพระนาม หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ ประสูติที่กรุงโคเปนเฮเกน ได้รับการศึกษาตามพระฐานะในพระนคร แม่จะมีพระพลามัยค่อนข้างอ่อน แต่อาศัยท่านหญิงมารดาเป็นผู้สนพระทัยในการเลี้ยงเด็ก จึงประคับประคองตลอดมาได้ จนมีพระชันษาสมควรจึงส่งไปเรียนที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ แล้วไปเรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ แล้วต่อไปจึงได้ไปเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยในเดนมาร์ก เรียนสำเร็จกลับเข้ามาทำงานเป็นหลักฐานในบริษัทค้าขายต่างๆ เช่น ที่บริษัทบอร์เนียว บี.โอ.เอ.ซี. บริษัทการบินไทย และบริษัทการบิน พี.เอ.เอ. บรรดาผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระองค์ต่างเห็นเหมือนกันว่า หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ทำงานเด็ดเดี่ยวไม่มีย่อท้อ แม้ในการงานที่มิใช่อาชีพ เช่นงานของสโมสรโรตารี่ ได้ตั้งใจทำงานด้วยความเข้มแข็งและเที่ยงธรรมทุกด้าน หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2514 พระชันษา 59 ปีเสกสมรส เสกสมรส. หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ เสกสมรสกับ หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล- หม่อมราชวงศ์หญิงสุรภี จิรประวัติ สมรสกับ หม่อมราชวงศ์วุฒิสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์- หม่อมหลวงหญิงเสาวรส สวัสดิวัตน์ - หม่อมหลวงหญิงกุลภา สวัสดิวัตน์เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. สืบราชตระกูล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพงศาวลี
| หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ เสกสมรสกับหม่อมองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล"
],
"answer_begin_position": [
1923
],
"answer_end_position": [
1956
]
} |
1,701 | 610,087 | หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ พลโท หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ (16 ตุลาคม พ.ศ. 2455 - 15 สิงหาคม พ.ศ. 2514) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ (โสณกุล) และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2455 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกับหม่อมเจ้าสุมนมาลย์ จิรประวัติ หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ มีพระอนุชาร่วมพระบิดาและพระมารดา 1 พระองค์ ดังนี้1. หม่อมเจ้านิทัศนาธร จิรประวัติ (9 มกราคม พ.ศ. 2449 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2506) นอกจากนี้ พระเชษฐภคินีและพระเชษฐาร่วมพระบิดา แต่ต่างพระมารดา 4 พระองค์ ดังนี้1. หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508) 2. หม่อมเจ้านิวาศสวัสดี จิรประวัติ (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 - 28 มีนาคม พ.ศ. 2519) 3. หม่อมเจ้าประสบศรี จิรประวัติ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 - 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483) 4. หม่อมเจ้าหญิง ไม่ปรากฏพระนาม หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ ประสูติที่กรุงโคเปนเฮเกน ได้รับการศึกษาตามพระฐานะในพระนคร แม่จะมีพระพลามัยค่อนข้างอ่อน แต่อาศัยท่านหญิงมารดาเป็นผู้สนพระทัยในการเลี้ยงเด็ก จึงประคับประคองตลอดมาได้ จนมีพระชันษาสมควรจึงส่งไปเรียนที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ แล้วไปเรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ แล้วต่อไปจึงได้ไปเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยในเดนมาร์ก เรียนสำเร็จกลับเข้ามาทำงานเป็นหลักฐานในบริษัทค้าขายต่างๆ เช่น ที่บริษัทบอร์เนียว บี.โอ.เอ.ซี. บริษัทการบินไทย และบริษัทการบิน พี.เอ.เอ. บรรดาผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระองค์ต่างเห็นเหมือนกันว่า หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ทำงานเด็ดเดี่ยวไม่มีย่อท้อ แม้ในการงานที่มิใช่อาชีพ เช่นงานของสโมสรโรตารี่ ได้ตั้งใจทำงานด้วยความเข้มแข็งและเที่ยงธรรมทุกด้าน หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2514 พระชันษา 59 ปีเสกสมรส เสกสมรส. หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ เสกสมรสกับ หม่อมราชวงศ์กุลปราโมทย์ สวัสดิกุล- หม่อมราชวงศ์หญิงสุรภี จิรประวัติ สมรสกับ หม่อมราชวงศ์วุฒิสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์- หม่อมหลวงหญิงเสาวรส สวัสดิวัตน์ - หม่อมหลวงหญิงกุลภา สวัสดิวัตน์เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. สืบราชตระกูล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพงศาวลี
| หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"16"
],
"answer_begin_position": [
470
],
"answer_end_position": [
472
]
} |
863 | 116,956 | หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ พลโท หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ กับหม่อมหวน จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2449 โดยเพราะนาม "คัสตาวัส" นี้ มาจากภาษาสวีเดนว่า Gustavus เป็นพระนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานให้ เพื่อเป็นเกียรติแก่สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ในวโรกาสที่เจ้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก พระราชโอรส เสด็จเยือนประเทศสยาม หม่อมเจ้าคัสตาวัสทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกในปี พ.ศ. 2464 สอบไล่ได้ชั้นประถม 5 จากนั้นในปี พ.ศ. 2465 เสด็จไปทรงศึกษาวิชาทหารที่ประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส เสด็จกลับประเทศไทยเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2475 เข้าประจำการกองบังคับการทหารปืนใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ทรงดำรงตำแหน่งเจ้ากรมการพาหนะทหารบก พ.ศ. 2488 ทรงเป็นผู้บังคับการโรงเรียนเทคนิคทหารบก พ.ศ. 2490 ทรงเป็นหัวหน้าแผนกศึกษาโรงเรียนนายร้อยทหารบก พ.ศ. 2491 มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้เป็นทูตฝ่ายทหารบกและทหารอากาศประจำสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2504 ทรงเป็นผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหาร ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศสวีเดน เดนมาร์ก และนอร์เวย์ ระหว่าง พ.ศ. 2505 - 2510 หม่อมเจ้า คัสตาวัส จักรพันธุ์ เสกสมรสกับหม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด รพีพัฒน์ มีโอรส-ธิดา 3 คน คือ- หม่อมราชวงศ์กทลี สุนทรสิงคาล สมรสกับ พันตำรวจเอกวสิฐ สุนทรสิงคาล - หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน สมรสกับ อานันท์ ปันยารชุน - หม่อมราชวงศ์ตราจักร จักรพันธุ์ สมรสกับ อรวรรณ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา (ตันตยาวนารถ) หม่อมเจ้า คัสตาวัส จักรพันธุ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526เครื่องราชอิสริยาภรณ์
| หม่อมเจ้า คัสตาวัส จักรพันธุ์ เสกสมรสกับหม่อมเจ้าพระองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด รพีพัฒน์"
],
"answer_begin_position": [
1257
],
"answer_end_position": [
1286
]
} |
864 | 116,956 | หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ พลโท หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ กับหม่อมหวน จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2449 โดยเพราะนาม "คัสตาวัส" นี้ มาจากภาษาสวีเดนว่า Gustavus เป็นพระนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานให้ เพื่อเป็นเกียรติแก่สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ในวโรกาสที่เจ้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก พระราชโอรส เสด็จเยือนประเทศสยาม หม่อมเจ้าคัสตาวัสทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกในปี พ.ศ. 2464 สอบไล่ได้ชั้นประถม 5 จากนั้นในปี พ.ศ. 2465 เสด็จไปทรงศึกษาวิชาทหารที่ประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส เสด็จกลับประเทศไทยเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2475 เข้าประจำการกองบังคับการทหารปืนใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ทรงดำรงตำแหน่งเจ้ากรมการพาหนะทหารบก พ.ศ. 2488 ทรงเป็นผู้บังคับการโรงเรียนเทคนิคทหารบก พ.ศ. 2490 ทรงเป็นหัวหน้าแผนกศึกษาโรงเรียนนายร้อยทหารบก พ.ศ. 2491 มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้เป็นทูตฝ่ายทหารบกและทหารอากาศประจำสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2504 ทรงเป็นผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหาร ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศสวีเดน เดนมาร์ก และนอร์เวย์ ระหว่าง พ.ศ. 2505 - 2510 หม่อมเจ้า คัสตาวัส จักรพันธุ์ เสกสมรสกับหม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด รพีพัฒน์ มีโอรส-ธิดา 3 คน คือ- หม่อมราชวงศ์กทลี สุนทรสิงคาล สมรสกับ พันตำรวจเอกวสิฐ สุนทรสิงคาล - หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน สมรสกับ อานันท์ ปันยารชุน - หม่อมราชวงศ์ตราจักร จักรพันธุ์ สมรสกับ อรวรรณ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา (ตันตยาวนารถ) หม่อมเจ้า คัสตาวัส จักรพันธุ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526เครื่องราชอิสริยาภรณ์
| หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"อานันท์ ปันยารชุน"
],
"answer_begin_position": [
1412
],
"answer_end_position": [
1429
]
} |
1,898 | 116,956 | หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ พลโท หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ กับหม่อมหวน จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2449 โดยเพราะนาม "คัสตาวัส" นี้ มาจากภาษาสวีเดนว่า Gustavus เป็นพระนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานให้ เพื่อเป็นเกียรติแก่สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ในวโรกาสที่เจ้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก พระราชโอรส เสด็จเยือนประเทศสยาม หม่อมเจ้าคัสตาวัสทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกในปี พ.ศ. 2464 สอบไล่ได้ชั้นประถม 5 จากนั้นในปี พ.ศ. 2465 เสด็จไปทรงศึกษาวิชาทหารที่ประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส เสด็จกลับประเทศไทยเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2475 เข้าประจำการกองบังคับการทหารปืนใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ทรงดำรงตำแหน่งเจ้ากรมการพาหนะทหารบก พ.ศ. 2488 ทรงเป็นผู้บังคับการโรงเรียนเทคนิคทหารบก พ.ศ. 2490 ทรงเป็นหัวหน้าแผนกศึกษาโรงเรียนนายร้อยทหารบก พ.ศ. 2491 มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้เป็นทูตฝ่ายทหารบกและทหารอากาศประจำสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2504 ทรงเป็นผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหาร ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศสวีเดน เดนมาร์ก และนอร์เวย์ ระหว่าง พ.ศ. 2505 - 2510 หม่อมเจ้า คัสตาวัส จักรพันธุ์ เสกสมรสกับหม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด รพีพัฒน์ มีโอรส-ธิดา 3 คน คือ- หม่อมราชวงศ์กทลี สุนทรสิงคาล สมรสกับ พันตำรวจเอกวสิฐ สุนทรสิงคาล - หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน สมรสกับ อานันท์ ปันยารชุน - หม่อมราชวงศ์ตราจักร จักรพันธุ์ สมรสกับ อรวรรณ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา (ตันตยาวนารถ) หม่อมเจ้า คัสตาวัส จักรพันธุ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526เครื่องราชอิสริยาภรณ์
| พระบิดาของพลโท หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์"
],
"answer_begin_position": [
179
],
"answer_end_position": [
243
]
} |
1,899 | 116,956 | หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ พลโท หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ กับหม่อมหวน จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2449 โดยเพราะนาม "คัสตาวัส" นี้ มาจากภาษาสวีเดนว่า Gustavus เป็นพระนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานให้ เพื่อเป็นเกียรติแก่สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ในวโรกาสที่เจ้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก พระราชโอรส เสด็จเยือนประเทศสยาม หม่อมเจ้าคัสตาวัสทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกในปี พ.ศ. 2464 สอบไล่ได้ชั้นประถม 5 จากนั้นในปี พ.ศ. 2465 เสด็จไปทรงศึกษาวิชาทหารที่ประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส เสด็จกลับประเทศไทยเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2475 เข้าประจำการกองบังคับการทหารปืนใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ทรงดำรงตำแหน่งเจ้ากรมการพาหนะทหารบก พ.ศ. 2488 ทรงเป็นผู้บังคับการโรงเรียนเทคนิคทหารบก พ.ศ. 2490 ทรงเป็นหัวหน้าแผนกศึกษาโรงเรียนนายร้อยทหารบก พ.ศ. 2491 มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้เป็นทูตฝ่ายทหารบกและทหารอากาศประจำสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2504 ทรงเป็นผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหาร ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศสวีเดน เดนมาร์ก และนอร์เวย์ ระหว่าง พ.ศ. 2505 - 2510 หม่อมเจ้า คัสตาวัส จักรพันธุ์ เสกสมรสกับหม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด รพีพัฒน์ มีโอรส-ธิดา 3 คน คือ- หม่อมราชวงศ์กทลี สุนทรสิงคาล สมรสกับ พันตำรวจเอกวสิฐ สุนทรสิงคาล - หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน สมรสกับ อานันท์ ปันยารชุน - หม่อมราชวงศ์ตราจักร จักรพันธุ์ สมรสกับ อรวรรณ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา (ตันตยาวนารถ) หม่อมเจ้า คัสตาวัส จักรพันธุ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526เครื่องราชอิสริยาภรณ์
| พลโท หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"30"
],
"answer_begin_position": [
295
],
"answer_end_position": [
297
]
} |
865 | 194,880 | หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล (3 สิงหาคม พ.ศ. 2429 — 23 กันยายน พ.ศ. 2521) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติในหม่อมนวม ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม โรจนดิศ) มีพระนามลำลองว่า "หญิงใหญ่" เมื่อทรงพระเยาว์ทรงเข้าไปอยู่ในพระราชสำนักของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี และมีความสามารถในการทำอาหารเป็นอย่างดี ด้วยความที่เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในกรมพระยาดำรงราชานุภาพ จึงทรงมีหน้าที่ดูแลวังวรดิศ และประกอบพระกรณียกิจแทนพระบิดาขณะที่ไม่ได้ทรงอยู่ในพระนคร นอกจากนี้หม่อมเจ้าจงจิตรถนอมยังมีศักดิ์เป็นหลานสาวของเจ้าจอมมารดาชุ่มผู้เป็นย่า เมื่อนับจากบรรพบุรุษฝ่ายมารดาของเจ้าจอมมารดาชุ่ม ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปลี้ภัยที่ปีนัง ระหว่าง พ.ศ. 2476 ถึง 2485 หม่อมเจ้าหญิงจงจิตรถนอมทรงประทับอยู่ที่เรือนไม้ของเจ้าจอมมารดาชุ่มภายในวังวรดิศ พร้อมกับหม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2521 ชันษา 92 ปีลำดับสาแหรกเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2474 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) ฝ่ายใน
| หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล มีศักดิ์เป็นหลานสาวของเจ้าจอมองค์ใด | {
"answer": [
"เจ้าจอมมารดาชุ่ม"
],
"answer_begin_position": [
688
],
"answer_end_position": [
704
]
} |
1,650 | 194,880 | หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล (3 สิงหาคม พ.ศ. 2429 — 23 กันยายน พ.ศ. 2521) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติในหม่อมนวม ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม โรจนดิศ) มีพระนามลำลองว่า "หญิงใหญ่" เมื่อทรงพระเยาว์ทรงเข้าไปอยู่ในพระราชสำนักของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี และมีความสามารถในการทำอาหารเป็นอย่างดี ด้วยความที่เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในกรมพระยาดำรงราชานุภาพ จึงทรงมีหน้าที่ดูแลวังวรดิศ และประกอบพระกรณียกิจแทนพระบิดาขณะที่ไม่ได้ทรงอยู่ในพระนคร นอกจากนี้หม่อมเจ้าจงจิตรถนอมยังมีศักดิ์เป็นหลานสาวของเจ้าจอมมารดาชุ่มผู้เป็นย่า เมื่อนับจากบรรพบุรุษฝ่ายมารดาของเจ้าจอมมารดาชุ่ม ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปลี้ภัยที่ปีนัง ระหว่าง พ.ศ. 2476 ถึง 2485 หม่อมเจ้าหญิงจงจิตรถนอมทรงประทับอยู่ที่เรือนไม้ของเจ้าจอมมารดาชุ่มภายในวังวรดิศ พร้อมกับหม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2521 ชันษา 92 ปีลำดับสาแหรกเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2474 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) ฝ่ายใน
| หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"23"
],
"answer_begin_position": [
1030
],
"answer_end_position": [
1032
]
} |
1,787 | 194,880 | หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล (3 สิงหาคม พ.ศ. 2429 — 23 กันยายน พ.ศ. 2521) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติในหม่อมนวม ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม โรจนดิศ) มีพระนามลำลองว่า "หญิงใหญ่" เมื่อทรงพระเยาว์ทรงเข้าไปอยู่ในพระราชสำนักของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี และมีความสามารถในการทำอาหารเป็นอย่างดี ด้วยความที่เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในกรมพระยาดำรงราชานุภาพ จึงทรงมีหน้าที่ดูแลวังวรดิศ และประกอบพระกรณียกิจแทนพระบิดาขณะที่ไม่ได้ทรงอยู่ในพระนคร นอกจากนี้หม่อมเจ้าจงจิตรถนอมยังมีศักดิ์เป็นหลานสาวของเจ้าจอมมารดาชุ่มผู้เป็นย่า เมื่อนับจากบรรพบุรุษฝ่ายมารดาของเจ้าจอมมารดาชุ่ม ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปลี้ภัยที่ปีนัง ระหว่าง พ.ศ. 2476 ถึง 2485 หม่อมเจ้าหญิงจงจิตรถนอมทรงประทับอยู่ที่เรือนไม้ของเจ้าจอมมารดาชุ่มภายในวังวรดิศ พร้อมกับหม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2521 ชันษา 92 ปีลำดับสาแหรกเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2474 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) ฝ่ายใน
| พระมารดาของหม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล หรือ หญิงใหญ่ มีนามว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมนวม ดิศกุล ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
290
],
"answer_end_position": [
314
]
} |
1,788 | 194,880 | หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล (3 สิงหาคม พ.ศ. 2429 — 23 กันยายน พ.ศ. 2521) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติในหม่อมนวม ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม โรจนดิศ) มีพระนามลำลองว่า "หญิงใหญ่" เมื่อทรงพระเยาว์ทรงเข้าไปอยู่ในพระราชสำนักของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี และมีความสามารถในการทำอาหารเป็นอย่างดี ด้วยความที่เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในกรมพระยาดำรงราชานุภาพ จึงทรงมีหน้าที่ดูแลวังวรดิศ และประกอบพระกรณียกิจแทนพระบิดาขณะที่ไม่ได้ทรงอยู่ในพระนคร นอกจากนี้หม่อมเจ้าจงจิตรถนอมยังมีศักดิ์เป็นหลานสาวของเจ้าจอมมารดาชุ่มผู้เป็นย่า เมื่อนับจากบรรพบุรุษฝ่ายมารดาของเจ้าจอมมารดาชุ่ม ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปลี้ภัยที่ปีนัง ระหว่าง พ.ศ. 2476 ถึง 2485 หม่อมเจ้าหญิงจงจิตรถนอมทรงประทับอยู่ที่เรือนไม้ของเจ้าจอมมารดาชุ่มภายในวังวรดิศ พร้อมกับหม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2521 ชันษา 92 ปีลำดับสาแหรกเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2474 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) ฝ่ายใน
| หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"23"
],
"answer_begin_position": [
1030
],
"answer_end_position": [
1032
]
} |
866 | 574,014 | หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร (10 มกราคม พ.ศ. 2476) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 14 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ประสูติเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2476 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา (บุญยมาลิก) และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ทรงมีเชษฐาและเชษฐภคินี ร่วมอุทร 2 องค์ คือ- หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร (30 เมษายน พ.ศ. 2467) - หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง ชยางกูร (1 มิถุนายน พ.ศ. 2473)กรณียกิจ กรณียกิจ. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ได้ทรงปฏิบัติกรณียกิจในฐานะที่ทรงเป็นส่วนหนึ่งของราชสกุลชยางกูร อาทิ- เมื่อวันอาทิตย์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2558 หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช และสมาชิกราชสกุลชยางกูร เป็นเจ้าภาพในการสวดพระอภิธรรมพระศพสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) ณ ตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร- เมื่อวันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สมาชิกราชสกุลชยางกูร โดยมี หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช และหม่อมจรุงใจ ชยางกูร ณ อยุธยา ร่วมเป็นเจ้าภาพในการบำเพ็ญกุศลถวายพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวังชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช เสกสมรสกับ หม่อมจรุงใจ ชยางกูร ณ อยุธยา มีธิดา 3 คน คือ- หม่อมราชวงศ์ชฎาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2501) - หม่อมราชวงศ์มาลาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2502) สมรสกับพันตำรวจโทภิญโญ ใหญ่ไล้บาง มีบุตร 3 คน คือ- ร้อยตรี นายแพทย์อภิรม ใหญ่ไล้บาง - ฤทธิไชย ใหญ่ไล้บาง - กันตวัฒน์ ใหญ่ไล้บาง - หม่อมราชวงศ์จุฑาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2516) สมรสกับสุวัชชัย ปานพิพัฒน์ มีธิดา 1 คน คือ- อนัตตา ปานพิพัฒน์เกียรติยศเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช เสกสมรสกับหม่อมพระองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมจรุงใจ ชยางกูร ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
1548
],
"answer_end_position": [
1576
]
} |
867 | 574,014 | หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร (10 มกราคม พ.ศ. 2476) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 14 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ประสูติเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2476 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา (บุญยมาลิก) และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ทรงมีเชษฐาและเชษฐภคินี ร่วมอุทร 2 องค์ คือ- หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร (30 เมษายน พ.ศ. 2467) - หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง ชยางกูร (1 มิถุนายน พ.ศ. 2473)กรณียกิจ กรณียกิจ. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ได้ทรงปฏิบัติกรณียกิจในฐานะที่ทรงเป็นส่วนหนึ่งของราชสกุลชยางกูร อาทิ- เมื่อวันอาทิตย์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2558 หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช และสมาชิกราชสกุลชยางกูร เป็นเจ้าภาพในการสวดพระอภิธรรมพระศพสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) ณ ตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร- เมื่อวันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สมาชิกราชสกุลชยางกูร โดยมี หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช และหม่อมจรุงใจ ชยางกูร ณ อยุธยา ร่วมเป็นเจ้าภาพในการบำเพ็ญกุศลถวายพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวังชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช เสกสมรสกับ หม่อมจรุงใจ ชยางกูร ณ อยุธยา มีธิดา 3 คน คือ- หม่อมราชวงศ์ชฎาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2501) - หม่อมราชวงศ์มาลาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2502) สมรสกับพันตำรวจโทภิญโญ ใหญ่ไล้บาง มีบุตร 3 คน คือ- ร้อยตรี นายแพทย์อภิรม ใหญ่ไล้บาง - ฤทธิไชย ใหญ่ไล้บาง - กันตวัฒน์ ใหญ่ไล้บาง - หม่อมราชวงศ์จุฑาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2516) สมรสกับสุวัชชัย ปานพิพัฒน์ มีธิดา 1 คน คือ- อนัตตา ปานพิพัฒน์เกียรติยศเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| หม่อมราชวงศ์มาลาทิพย์ ชยางกูร สมรสกับใคร | {
"answer": [
"พันตำรวจโทภิญโญ ใหญ่ไล้บาง"
],
"answer_begin_position": [
1686
],
"answer_end_position": [
1712
]
} |
1,914 | 574,014 | หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร (10 มกราคม พ.ศ. 2476) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 14 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ประสูติเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2476 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา (บุญยมาลิก) และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ทรงมีเชษฐาและเชษฐภคินี ร่วมอุทร 2 องค์ คือ- หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร (30 เมษายน พ.ศ. 2467) - หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง ชยางกูร (1 มิถุนายน พ.ศ. 2473)กรณียกิจ กรณียกิจ. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ได้ทรงปฏิบัติกรณียกิจในฐานะที่ทรงเป็นส่วนหนึ่งของราชสกุลชยางกูร อาทิ- เมื่อวันอาทิตย์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2558 หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช และสมาชิกราชสกุลชยางกูร เป็นเจ้าภาพในการสวดพระอภิธรรมพระศพสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) ณ ตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร- เมื่อวันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สมาชิกราชสกุลชยางกูร โดยมี หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช และหม่อมจรุงใจ ชยางกูร ณ อยุธยา ร่วมเป็นเจ้าภาพในการบำเพ็ญกุศลถวายพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวังชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช เสกสมรสกับ หม่อมจรุงใจ ชยางกูร ณ อยุธยา มีธิดา 3 คน คือ- หม่อมราชวงศ์ชฎาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2501) - หม่อมราชวงศ์มาลาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2502) สมรสกับพันตำรวจโทภิญโญ ใหญ่ไล้บาง มีบุตร 3 คน คือ- ร้อยตรี นายแพทย์อภิรม ใหญ่ไล้บาง - ฤทธิไชย ใหญ่ไล้บาง - กันตวัฒน์ ใหญ่ไล้บาง - หม่อมราชวงศ์จุฑาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2516) สมรสกับสุวัชชัย ปานพิพัฒน์ มีธิดา 1 คน คือ- อนัตตา ปานพิพัฒน์เกียรติยศเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"10"
],
"answer_begin_position": [
417
],
"answer_end_position": [
419
]
} |
1,915 | 574,014 | หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร (10 มกราคม พ.ศ. 2476) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 14 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ประสูติเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2476 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา (บุญยมาลิก) และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ทรงมีเชษฐาและเชษฐภคินี ร่วมอุทร 2 องค์ คือ- หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร (30 เมษายน พ.ศ. 2467) - หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง ชยางกูร (1 มิถุนายน พ.ศ. 2473)กรณียกิจ กรณียกิจ. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ได้ทรงปฏิบัติกรณียกิจในฐานะที่ทรงเป็นส่วนหนึ่งของราชสกุลชยางกูร อาทิ- เมื่อวันอาทิตย์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2558 หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช และสมาชิกราชสกุลชยางกูร เป็นเจ้าภาพในการสวดพระอภิธรรมพระศพสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) ณ ตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร- เมื่อวันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สมาชิกราชสกุลชยางกูร โดยมี หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช และหม่อมจรุงใจ ชยางกูร ณ อยุธยา ร่วมเป็นเจ้าภาพในการบำเพ็ญกุศลถวายพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวังชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช เสกสมรสกับ หม่อมจรุงใจ ชยางกูร ณ อยุธยา มีธิดา 3 คน คือ- หม่อมราชวงศ์ชฎาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2501) - หม่อมราชวงศ์มาลาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2502) สมรสกับพันตำรวจโทภิญโญ ใหญ่ไล้บาง มีบุตร 3 คน คือ- ร้อยตรี นายแพทย์อภิรม ใหญ่ไล้บาง - ฤทธิไชย ใหญ่ไล้บาง - กันตวัฒน์ ใหญ่ไล้บาง - หม่อมราชวงศ์จุฑาทิพย์ ชยางกูร (พ.ศ. 2516) สมรสกับสุวัชชัย ปานพิพัฒน์ มีธิดา 1 คน คือ- อนัตตา ปานพิพัฒน์เกียรติยศเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| มารดาของหม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
259
],
"answer_end_position": [
289
]
} |
869 | 377,761 | หม่อมหลวงขาบ กุญชร พลโท หม่อมหลวงขาบ กุญชร (10 ตุลาคม พ.ศ. 2448-19 กันยายน พ.ศ. 2529) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (จอมพล ป. พิบูลสงคราม) และอดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงขาบ กุญชร หรือในอีกชื่อหนึ่งว่า หม่อมหลวงขาบมงคล เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2448 ในวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ (วังบ้านหม้อ) เป็นบุตรคนที่ 30 ของพันเอก เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) และหม่อมจันทร์ กุญชร ณ อยุธยา ได้รับประทานนาม "ขาบมงคล" จากพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย หม่อมหลวงขาบ สมรสครั้งแรกกับ นางสาวเทียบ ฤทธาคนี (2455-2511)ธิดานายพันโท พระยาทัพพสาธก์เสนา (นวม ฤทธาคนี)และคุณหญิงเนย มีบุตร-ธิดา รวม 6 คนคือ- ทวีวัฒน์ กุญชร ณ อยุธยา - พันตำรวจเอก (พิเศษ) วรวัฒน์ กุญชร ณ อยุธยา - อุรัชช์ ลอเรนส์ - พลโท วิวัฒน์ กุญชร ณ อยุธยา - กนิษฐา วิลสัน - เทียมแข จรูญโรจน์ ณ อยุธยา สมรสกับไชยา สุริยัน ภายหลังคุณเทียบ ถึงแก่กรรมแล้ว จึงได้สมรสอีกครั้งกับสินีนาฏ โพธิเวส นักแสดงอาวุโส มีบุตรสาว 3 คน คือ- เตือนใจ ดีเทศน์ - เพ็ญแข กุญชร ณ อยุธยา - พิมพ์แข กุญชร ณ อยุธยา นักแสดง หม่อมหลวงขาบ ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2529การศึกษา การศึกษา. หม่อมหลวงขาบ ได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนวัดหัวลำโพง ก่อนจะเข้าศึกษาต่อเป็นนักเรียนนายทหารบก ในปี พ.ศ. 2456 และได้รับทุนของกระทรวงกลาโหมให้ไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ แล้วกลับมารับราชการประจำที่ กองพันทหารที่ 2 กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์การทำงาน การทำงาน. หม่อมหลวงขาบ บรรจุเข้ารับราชการในยศ "ร้อยตรี" เมื่อปี พ.ศ. 2469 เป็นผู้มีความสามารถในด้านการทหาร จึงได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่เสนาธิการทหาร ทูตฝ่ายทหารประจำสหรัฐอเมริกา ปลัดกระทรวงกลาโหม อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ และในทางการเมืองยังเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์อีกด้วยเครื่องราชย์อิสริยาภรณ์เครื่องราชย์อิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2477 - เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ
| หม่อมหลวงขาบ กุญชร หรือในอีกชื่อหนึ่งเรียกว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมหลวงขาบมงคล"
],
"answer_begin_position": [
351
],
"answer_end_position": [
367
]
} |
1,685 | 377,761 | หม่อมหลวงขาบ กุญชร พลโท หม่อมหลวงขาบ กุญชร (10 ตุลาคม พ.ศ. 2448-19 กันยายน พ.ศ. 2529) อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (จอมพล ป. พิบูลสงคราม) และอดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงขาบ กุญชร หรือในอีกชื่อหนึ่งว่า หม่อมหลวงขาบมงคล เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2448 ในวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ (วังบ้านหม้อ) เป็นบุตรคนที่ 30 ของพันเอก เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) และหม่อมจันทร์ กุญชร ณ อยุธยา ได้รับประทานนาม "ขาบมงคล" จากพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย หม่อมหลวงขาบ สมรสครั้งแรกกับ นางสาวเทียบ ฤทธาคนี (2455-2511)ธิดานายพันโท พระยาทัพพสาธก์เสนา (นวม ฤทธาคนี)และคุณหญิงเนย มีบุตร-ธิดา รวม 6 คนคือ- ทวีวัฒน์ กุญชร ณ อยุธยา - พันตำรวจเอก (พิเศษ) วรวัฒน์ กุญชร ณ อยุธยา - อุรัชช์ ลอเรนส์ - พลโท วิวัฒน์ กุญชร ณ อยุธยา - กนิษฐา วิลสัน - เทียมแข จรูญโรจน์ ณ อยุธยา สมรสกับไชยา สุริยัน ภายหลังคุณเทียบ ถึงแก่กรรมแล้ว จึงได้สมรสอีกครั้งกับสินีนาฏ โพธิเวส นักแสดงอาวุโส มีบุตรสาว 3 คน คือ- เตือนใจ ดีเทศน์ - เพ็ญแข กุญชร ณ อยุธยา - พิมพ์แข กุญชร ณ อยุธยา นักแสดง หม่อมหลวงขาบ ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2529การศึกษา การศึกษา. หม่อมหลวงขาบ ได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนวัดหัวลำโพง ก่อนจะเข้าศึกษาต่อเป็นนักเรียนนายทหารบก ในปี พ.ศ. 2456 และได้รับทุนของกระทรวงกลาโหมให้ไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ แล้วกลับมารับราชการประจำที่ กองพันทหารที่ 2 กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์การทำงาน การทำงาน. หม่อมหลวงขาบ บรรจุเข้ารับราชการในยศ "ร้อยตรี" เมื่อปี พ.ศ. 2469 เป็นผู้มีความสามารถในด้านการทหาร จึงได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่เสนาธิการทหาร ทูตฝ่ายทหารประจำสหรัฐอเมริกา ปลัดกระทรวงกลาโหม อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ และในทางการเมืองยังเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์อีกด้วยเครื่องราชย์อิสริยาภรณ์เครื่องราชย์อิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2477 - เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ
| บิดาของนางสาวเทียบ ฤทธาคนี คือใคร | {
"answer": [
"นายพันโท พระยาทัพพสาธก์เสนา"
],
"answer_begin_position": [
721
],
"answer_end_position": [
748
]
} |
872 | 323,947 | หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ นักวิชาการทางการเกษตรชาวไทย ซึ่งมีผลงานทางการเกษตรมากมายและยังเป็นนักเขียนชาวไทย เป็นบุตรชายของหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ โอรสของพลตรี หม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่ และหม่อมลุดมิลา ทองใหญ่ ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตรในสมัยของจอมพลถนอม กิตติขจร กับ ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา มีพี่น้อง 4 คน คือ1. หม่อมหลวงประจักษศิลป ทองใหญ่ (2482-ปัจจุบัน) 2. หม่อมหลวงนีลนารา ชิโมมุระ (ทองใหญ่) 3. หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หม่อมหลวงสุนทรานี ทองใหญ่ หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ ได้เข้ารับการศึกษาในระดับปริญญาตรีที่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งในขณะนั้นบิดาของท่าน ได้ดำรงตำแหน่งรักษาการอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น จนในที่สุดก็สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถทางด้านการเกษตร เป็นนักวิชาการการเกษตร และเขียนหนังสือต่างๆมากมาย ยังมีรายงานการวิจัยต่างๆอีก อาทิเช่น การวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบความสามารถในการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังโดยใช้ ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยคอก ปัจจุบัน หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ ได้ถึงแก่กรรมแล้ว
| หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ ได้เข้ารับการศึกษาในระดับปริญญาตรีที่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอะไร | {
"answer": [
"มหาวิทยาลัยขอนแก่น"
],
"answer_begin_position": [
723
],
"answer_end_position": [
741
]
} |
1,681 | 323,947 | หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ นักวิชาการทางการเกษตรชาวไทย ซึ่งมีผลงานทางการเกษตรมากมายและยังเป็นนักเขียนชาวไทย เป็นบุตรชายของหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ โอรสของพลตรี หม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่ และหม่อมลุดมิลา ทองใหญ่ ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีกระทรวงเกษตรในสมัยของจอมพลถนอม กิตติขจร กับ ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา มีพี่น้อง 4 คน คือ1. หม่อมหลวงประจักษศิลป ทองใหญ่ (2482-ปัจจุบัน) 2. หม่อมหลวงนีลนารา ชิโมมุระ (ทองใหญ่) 3. หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หม่อมหลวงสุนทรานี ทองใหญ่ หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ ได้เข้ารับการศึกษาในระดับปริญญาตรีที่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งในขณะนั้นบิดาของท่าน ได้ดำรงตำแหน่งรักษาการอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น จนในที่สุดก็สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถทางด้านการเกษตร เป็นนักวิชาการการเกษตร และเขียนหนังสือต่างๆมากมาย ยังมีรายงานการวิจัยต่างๆอีก อาทิเช่น การวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบความสามารถในการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังโดยใช้ ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยคอก ปัจจุบัน หม่อมหลวงจักรานพคุณ ทองใหญ่ ได้ถึงแก่กรรมแล้ว
| พระบิดาของหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"พลตรี หม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่"
],
"answer_begin_position": [
288
],
"answer_end_position": [
320
]
} |
879 | 43,609 | หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ (26 มกราคม พ.ศ. 2466 - 7 เมษายน พ.ศ. 2549 ) อดีตราชเลขาธิการ และองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรมด้วยอาการไตวาย และหัวใจวาย เมื่อเวลา 01.53 น. วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549 ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สิริอายุ 83 ปีครอบครัว ครอบครัว. เป็นบุตรคนโตของอำมาตย์โท พระภูมิพิชัย (หม่อมราชวงศ์บุง ลดาวัลย์) อดีตเจ้าเมืองชัยภูมิ ลำพูน แม่ฮ่องสอน ปัตตานี และกำแพงเพชร (บุตรหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ กับหม่อมคลี่) และนางภูมิพิชัย (เนือง ลดาวัลย์ ณ อยุธยา ธิดาพันเอก พระยาไกรเพชรรัตนสงคราม (แฉ่ บุนนาค) ท.จ. กับคุณหญิงนิ่ม ไกรเพชรรัตนสงคราม ต.จ) โดยมีพี่น้องดังนี้- หม่อมหลวงนิรันดร ลดาวัลย์ (สมรสกับพิศมัย บุนนาค) - หม่อมหลวงภียยุพงศ์ ลดาวัลย์ (สมรสกับนายชูชีพ บุนนาค) - หม่อมหลวงขันทอง ลดาวัลย์ - หม่อมหลวงหิรัญญิกา วรรณเมธี (สมรสกับ นายแผน วรรณเมธี เลขาธิการสภากาชาดไทย) หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ สมรสกับหม่อมราชวงศ์บุษบา กิติยากร พระขนิษฐาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีธิดา 1 คน คือ- ดร. ท่านผู้หญิงสุธาวัลย์ เสถียรไทย (สมรสกับ ดร.สุรเกียรติ เสถียรไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ)การศึกษาการศึกษา. - พ.ศ. ? - มัธยมศึกษาปีที่ 6 จากวชิราวุธวิทยาลัย - พ.ศ. 2487 - นิติศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง - พ.ศ. 2497 - ประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขากฎหมายระหว่างประเทศมหาชน (Diplôme d'Études Supérieures de Droit International Public) จากมหาวิทยาลัยปารีส - พ.ศ. 2525 - นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงการทำงานการทำงาน. - พ.ศ. ? รองอธิบดีกรมพิธีการทูต - พ.ศ. 2511 รองราชเลขาธิการ - พ.ศ. 2512 - 2538 ราชเลขาธิการ - พ.ศ. 2538 - 2549 องคมนตรี - พ.ศ. 2538 - 2549 กรรมการบริหารมูลนิธิอานันทมหิดล - พ.ศ. 2538 - 2549 กรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลที่ 9 ชั้น 2 - เหรียญจักรพรรดิมาลา
| หม่อมหลวงนิรันดร ลดาวัลย์ สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"พิศมัย บุนนาค"
],
"answer_begin_position": [
720
],
"answer_end_position": [
733
]
} |
880 | 43,609 | หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ (26 มกราคม พ.ศ. 2466 - 7 เมษายน พ.ศ. 2549 ) อดีตราชเลขาธิการ และองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรมด้วยอาการไตวาย และหัวใจวาย เมื่อเวลา 01.53 น. วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2549 ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สิริอายุ 83 ปีครอบครัว ครอบครัว. เป็นบุตรคนโตของอำมาตย์โท พระภูมิพิชัย (หม่อมราชวงศ์บุง ลดาวัลย์) อดีตเจ้าเมืองชัยภูมิ ลำพูน แม่ฮ่องสอน ปัตตานี และกำแพงเพชร (บุตรหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ กับหม่อมคลี่) และนางภูมิพิชัย (เนือง ลดาวัลย์ ณ อยุธยา ธิดาพันเอก พระยาไกรเพชรรัตนสงคราม (แฉ่ บุนนาค) ท.จ. กับคุณหญิงนิ่ม ไกรเพชรรัตนสงคราม ต.จ) โดยมีพี่น้องดังนี้- หม่อมหลวงนิรันดร ลดาวัลย์ (สมรสกับพิศมัย บุนนาค) - หม่อมหลวงภียยุพงศ์ ลดาวัลย์ (สมรสกับนายชูชีพ บุนนาค) - หม่อมหลวงขันทอง ลดาวัลย์ - หม่อมหลวงหิรัญญิกา วรรณเมธี (สมรสกับ นายแผน วรรณเมธี เลขาธิการสภากาชาดไทย) หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ สมรสกับหม่อมราชวงศ์บุษบา กิติยากร พระขนิษฐาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีธิดา 1 คน คือ- ดร. ท่านผู้หญิงสุธาวัลย์ เสถียรไทย (สมรสกับ ดร.สุรเกียรติ เสถียรไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ)การศึกษาการศึกษา. - พ.ศ. ? - มัธยมศึกษาปีที่ 6 จากวชิราวุธวิทยาลัย - พ.ศ. 2487 - นิติศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง - พ.ศ. 2497 - ประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขากฎหมายระหว่างประเทศมหาชน (Diplôme d'Études Supérieures de Droit International Public) จากมหาวิทยาลัยปารีส - พ.ศ. 2525 - นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงการทำงานการทำงาน. - พ.ศ. ? รองอธิบดีกรมพิธีการทูต - พ.ศ. 2511 รองราชเลขาธิการ - พ.ศ. 2512 - 2538 ราชเลขาธิการ - พ.ศ. 2538 - 2549 องคมนตรี - พ.ศ. 2538 - 2549 กรรมการบริหารมูลนิธิอานันทมหิดล - พ.ศ. 2538 - 2549 กรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลที่ 9 ชั้น 2 - เหรียญจักรพรรดิมาลา
| หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ สมรสกับหม่อมราชวงศ์พระองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมราชวงศ์บุษบา กิติยากร"
],
"answer_begin_position": [
928
],
"answer_end_position": [
954
]
} |
881 | 605,142 | หม่อมหลวงนวลผ่อง เสนาณรงค์ ท่านผู้หญิงนวลผ่อง เสนาณรงค์ (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540) (นามเดิม:หม่อมหลวงนวลผ่อง สนิทวงศ์) เป็นธิดาของ พลตรี หม่อมสนิทวงศ์เสนี (หม่อมราชวงศ์ตัน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี นามเดิมของท่านผู้หญิง คือ หม่อมหลวงนวลผ่อง สนิทวงศ์ สมรสกับ พลเอกแสวง เสนาณรงค์ เมื่อปี พ.ศ. 2497 มีบุตร ธิดา รวม 3 คน คือ1. นางเพชรพริ้ง สารสิน 2. นางสาวพราวพร เสนาณรงค์ 3. นายแมนพงศ์ เสนาณรงค์ ท่านผู้หญิงนวลผ่อง ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อปี 2540 สิริอายุ 68 ปีเกียรติคุณ เกียรติคุณ. ท่านผู้หญิงนวลผ่อง ได้รับใช้ใต้เบื้องพระยุคลบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในตำแหน่งผู้อำนวยการกองหารายได้ สภากาชาดไทย ช่วยเหลืองานด้านอื่นๆ ของสภากาชาดไทย อาทิ เป็นกรรมการวางแผนและพัฒนา และกรรมการจัดการทรัพย์สิน ได้รับรางวัลบุคคลดีเด่นของชาติ ปี พ.ศ. 2539 สาขาเผยแพร่เกียรติภูมิของไทยจากสำนักงานคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ และเป็นนายกคนแรกของสมาคมศิษย์เซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ คอนแวนต์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายใน)
| ท่านผู้หญิงนวลผ่อง เสนาณรงค์ มีนามเดิมเรียกว่าหม่อมอะไร | {
"answer": [
"หม่อมหลวงนวลผ่อง สนิทวงศ์"
],
"answer_begin_position": [
218
],
"answer_end_position": [
243
]
} |
882 | 605,142 | หม่อมหลวงนวลผ่อง เสนาณรงค์ ท่านผู้หญิงนวลผ่อง เสนาณรงค์ (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540) (นามเดิม:หม่อมหลวงนวลผ่อง สนิทวงศ์) เป็นธิดาของ พลตรี หม่อมสนิทวงศ์เสนี (หม่อมราชวงศ์ตัน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี นามเดิมของท่านผู้หญิง คือ หม่อมหลวงนวลผ่อง สนิทวงศ์ สมรสกับ พลเอกแสวง เสนาณรงค์ เมื่อปี พ.ศ. 2497 มีบุตร ธิดา รวม 3 คน คือ1. นางเพชรพริ้ง สารสิน 2. นางสาวพราวพร เสนาณรงค์ 3. นายแมนพงศ์ เสนาณรงค์ ท่านผู้หญิงนวลผ่อง ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อปี 2540 สิริอายุ 68 ปีเกียรติคุณ เกียรติคุณ. ท่านผู้หญิงนวลผ่อง ได้รับใช้ใต้เบื้องพระยุคลบาทสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในตำแหน่งผู้อำนวยการกองหารายได้ สภากาชาดไทย ช่วยเหลืองานด้านอื่นๆ ของสภากาชาดไทย อาทิ เป็นกรรมการวางแผนและพัฒนา และกรรมการจัดการทรัพย์สิน ได้รับรางวัลบุคคลดีเด่นของชาติ ปี พ.ศ. 2539 สาขาเผยแพร่เกียรติภูมิของไทยจากสำนักงานคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ และเป็นนายกคนแรกของสมาคมศิษย์เซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ คอนแวนต์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายใน)
| หม่อมหลวงนวลผ่อง สนิทวงศ์ สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"พลเอกแสวง เสนาณรงค์"
],
"answer_begin_position": [
400
],
"answer_end_position": [
419
]
} |
883 | 170,752 | หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ ศาสตราจารย์พิเศษ หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2454 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2524) เดิมชื่อ หม่อมหลวงบุญเหลือ กุญชร เป็นนักเขียน และนักวิชาการภาษาไทย เป็นธิดาลำดับที่ 32 ของเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว. หลาน กุญชร) กับหม่อมนวล เกิดที่บ้านย่านคลองเตย ถนนสุนทรโกษา ซึ่งเป็นบ้านพักนอกเมืองของบิดา เป็นน้องสาวร่วมบิดากับหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ นักเขียนชาวไทย ที่มีนามปากกาว่า ดอกไม้สด จบชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์ และไปศึกษาต่อชั้นมัธยมที่ ปีนัง และประเทศอังกฤษ จากนั้นมาศึกษาต่อที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จบการศึกษาเมื่อ พ.ศ. 2479 แล้วเข้ารับราชการสอนหนังสือที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และเป็นอาจารย์สอนพิเศษภาษาอังกฤษที่คณะอักษรศาสตร์ และสอนภาษาไทยที่โรงเรียนมาแตร์เดอี จากนั้นไปศึกษาต่อปริญญาโทด้านการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมินนิโซตา สหรัฐอเมริกา และกลับมารับราชการ จนลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2513 ขณะดำรงตำแหน่งคณบดี คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตทับแก้ว และยังเคยดำรงตำแหน่งเป็นรองอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา วิทยาเขตบางแสน (ซึ่งปัจจุบันนี้เป็น มหาวิทยาลัยบูรพา) ระหว่าง พ.ศ. 2502-พ.ศ. 2503 หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ สมรสกับ นายแพทย์ชม เทพยสุวรรณ เมื่อ พ.ศ. 2503 ไม่มีบุตรและธิดา ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2524 อายุได้ 70 ปี ในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ที่ประชุมใหญ่องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ประกาศยกย่องหม่อมหลวงบุญเหลือเป็นบุคคลสำคัญของโลก เนื่องในโอกาสวันครบรอบ 100 ปีชาตกาล ในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ในฐานะที่เป็นผู้ที่มีผลงานดีเด่นด้านการศึกษา วัฒนธรรม ภาษาและวรรณคดี กรมส่งเสริมสถานภาพสตรี และการส่งเสริมสันติภาพ พร้อมกับบุคคลและเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของโลกอีก 97 รายการ
| หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ นักเขียนชาวไทย ที่มีนามปากกาว่าอะไร | {
"answer": [
"ดอกไม้สด"
],
"answer_begin_position": [
523
],
"answer_end_position": [
531
]
} |
884 | 170,752 | หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ ศาสตราจารย์พิเศษ หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2454 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2524) เดิมชื่อ หม่อมหลวงบุญเหลือ กุญชร เป็นนักเขียน และนักวิชาการภาษาไทย เป็นธิดาลำดับที่ 32 ของเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว. หลาน กุญชร) กับหม่อมนวล เกิดที่บ้านย่านคลองเตย ถนนสุนทรโกษา ซึ่งเป็นบ้านพักนอกเมืองของบิดา เป็นน้องสาวร่วมบิดากับหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ นักเขียนชาวไทย ที่มีนามปากกาว่า ดอกไม้สด จบชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์ และไปศึกษาต่อชั้นมัธยมที่ ปีนัง และประเทศอังกฤษ จากนั้นมาศึกษาต่อที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จบการศึกษาเมื่อ พ.ศ. 2479 แล้วเข้ารับราชการสอนหนังสือที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และเป็นอาจารย์สอนพิเศษภาษาอังกฤษที่คณะอักษรศาสตร์ และสอนภาษาไทยที่โรงเรียนมาแตร์เดอี จากนั้นไปศึกษาต่อปริญญาโทด้านการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมินนิโซตา สหรัฐอเมริกา และกลับมารับราชการ จนลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2513 ขณะดำรงตำแหน่งคณบดี คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตทับแก้ว และยังเคยดำรงตำแหน่งเป็นรองอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา วิทยาเขตบางแสน (ซึ่งปัจจุบันนี้เป็น มหาวิทยาลัยบูรพา) ระหว่าง พ.ศ. 2502-พ.ศ. 2503 หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ สมรสกับ นายแพทย์ชม เทพยสุวรรณ เมื่อ พ.ศ. 2503 ไม่มีบุตรและธิดา ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2524 อายุได้ 70 ปี ในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ที่ประชุมใหญ่องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ประกาศยกย่องหม่อมหลวงบุญเหลือเป็นบุคคลสำคัญของโลก เนื่องในโอกาสวันครบรอบ 100 ปีชาตกาล ในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ในฐานะที่เป็นผู้ที่มีผลงานดีเด่นด้านการศึกษา วัฒนธรรม ภาษาและวรรณคดี กรมส่งเสริมสถานภาพสตรี และการส่งเสริมสันติภาพ พร้อมกับบุคคลและเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของโลกอีก 97 รายการ
| หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"นายแพทย์ชม เทพยสุวรรณ"
],
"answer_begin_position": [
1217
],
"answer_end_position": [
1238
]
} |
885 | 33,263 | หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ (ราชสกุลเดิม: กุญชร; 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 — 17 มกราคม พ.ศ. 2506) เป็นนักเขียนหญิงชาวไทย เจ้าของนามปากกา ดอกไม้สด ภริยาของสุกิจ นิมมานเหมินท์ ราชบัณฑิตและนักการเมืองชาวไทย และเธอยังเป็นพี่สาวของหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ หรือนามปากกาว่า บุญเหลือ ซึ่งเป็นนักเขียนเช่นกันประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงบุปผาเป็นธิดาลำดับที่ 31 ของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) และหม่อมมาลัย เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 ที่วังบ้านหม้อ เป็นพี่สาวร่วมบิดากับหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ นักเขียนชาวไทยที่มีนามปากกาว่า บุญเหลือ เวลาต่อมามารดากับบิดาแยกทางกันเมื่อเธออายุ 4 ขวบ หม่อมเจ้าหญิงชมในกรมหลวงวงศาธิราชสนิทซึ่งมีศักดิ์เป็นอาของเจ้าพระยาเทเวศร์ฯ จึงได้ขอไปเลี้ยงในพระบรมมหาราชวัง ด้วยความที่หม่อมเจ้าหญิงชมเป็นผู้ยึดมั่นศรัทธาในพระพุทธศาสนา ส่งผลให้หม่อมหลวงบุปผาเป็นคนที่ยึดมั่นในพระพุทธศาสนาตั้งแต่เล็กๆ จนอายุ 13 ปี ท่านกลับมาอยู่บ้านและเข้าเรียนที่ โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ จนจบชั้นมัธยมปีที่ 8 ทางภาษาฝรั่งเศส ท่านเริ่มต้นอาชีพนักเขียน โดยเริ่มเขียนบทละคร "ดีฝ่อ" และเริ่มเขียนหนังสือในปี พ.ศ. 2472 เมื่ออายุ 20 ปี เรื่องแรก คือ "ศัตรูของเจ้าหล่อน" ลงพิมพ์ใน หนังสือพิมพ์ไทยเขษม ฉบับวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2472 งานเขียนของดอกไม้สดถือได้ว่าเป็นนิยายกึ่งพาฝันกึ่งสมจริงรุ่นบุกเบิก งานส่วนใหญ่ของท่านจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับชีวิตครอบครัว โดยเฉพาะเรื่องความรักและการหาคู่ของคนหนุ่มสาว ท่านเป็นนักเขียนรุ่นแรกๆที่ให้ความสำคัญกับตัวละครฝ่ายหญิงมาก ผลงานในระยะแรกของดอกไม้สดจะมีความเป็นโรมานซ์ แต่ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิตของท่านในฐานะที่เป็นราชตระกูลที่เคยใช้ชีวิตอยู่ในวัง นวนิยายของท่านจะมีลักษณะเรียลลิสติกมากขึ้น เช่นเรื่อง ผู้ดี ในปี พ.ศ. 2491 เธอมีผลงานเรื่องสั้นชุด "พลเมืองดี" ออกมา และในปี 2492 ท่านเขียนเรื่อง "วรรณกรรมชิ้นสุดท้าย" ได้เพียงสองบทก็ต้องหยุดไปเพราะปัญหาสุขภาพ ในปี พ.ศ. 2497 ท่านเดินทางไปรักษาตัวที่ประเทศออสเตรเลีย และสมรสกับศาสตราจารย์ สุกิจ นิมมานเหมินท์ (ผู้เขียน คนแซ่หลี) ในเดือนกันยายนปีเดียวกันที่ซานฟรานซิสโก ต่อมาปี พ.ศ. 2502 ติดตามสามีไปประเทศอินเดีย ซึ่งไปรับตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงนิวเดลี หม่อมหลวงบุปผาถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2506 ด้วยโรคหัวใจวาย ณ บ้านพักสถานเอกอัครราชทูตไทย กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ตลอดอายุขัย 57 ปี รวมแล้ว ดอกไม้สดมีผลงานนวนิยายทั้งสิ้น 12 เรื่อง, เรื่องสั้น 20 เรื่อง และนวนิยายที่เขียนไม่จบอีก 1 เรื่อง รวมพิมพ์เป็นเล่มทั้งสิ้น 14 เล่มผลงานสร้างชื่อเสียงผลงานสร้างชื่อเสียง. 1. ศัตรูของเจ้าหล่อน (2472) 2. นิจ (2472) 3. นันทวัน (2472) 4. ความผิดครั้งแรก (2473) 5. กรรมเก่า (2475) 6. สามชาย (2476) (เป็นหนังสืออ่านนอกเวลาเรียนอยู่สมัยหนึ่ง) 7. หนึ่งในร้อย (2477) (อยู่ใน หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน) 8. อุบัติเหตุ (2477) 9. ชัยชนะของหลวงนฤบาล (2478) 10. ผู้ดี (2480) (กระทรวงศึกษาธิการคัดเลือกเป็นหนังสืออ่านนอกเวลาชั้นมัธยมศึกษาถึงปัจจุบัน) 11. นี่แหละโลก (2483) (ได้รับรางวัลนวนิยายของชาวเอเชีย แล้วได้ตีพิมพ์เป็นภาษาญี่ปุ่น) 12. วรรณกรรมชิ้นสุดท้าย (2492) (แต่งไม่จบ) 13. บุษบาบรรณ (รวมเรื่องสั้น สมาคมนักประพันธ์ออสเตรเลียนำเรื่องสั้นชื่อ "พลเมืองดี" ไปตีพิมพ์ในหนังสือเล่มพิเศษ ชื่อ "SPAN" บางครั้งเรื่องนี้นำไปพิมพ์ในชุดพู่กลิ่น) 14. พู่กลิ่น (รวมเรื่องสั้น เดิมใช้ชื่อว่า "เรื่องย่อย")
| หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ นักเขียนชาวไทยที่มีนามปากกาว่าอะไร | {
"answer": [
"บุญเหลือ"
],
"answer_begin_position": [
694
],
"answer_end_position": [
702
]
} |
1,609 | 33,263 | หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ (ราชสกุลเดิม: กุญชร; 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 — 17 มกราคม พ.ศ. 2506) เป็นนักเขียนหญิงชาวไทย เจ้าของนามปากกา ดอกไม้สด ภริยาของสุกิจ นิมมานเหมินท์ ราชบัณฑิตและนักการเมืองชาวไทย และเธอยังเป็นพี่สาวของหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ หรือนามปากกาว่า บุญเหลือ ซึ่งเป็นนักเขียนเช่นกันประวัติ ประวัติ. หม่อมหลวงบุปผาเป็นธิดาลำดับที่ 31 ของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) และหม่อมมาลัย เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 ที่วังบ้านหม้อ เป็นพี่สาวร่วมบิดากับหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ นักเขียนชาวไทยที่มีนามปากกาว่า บุญเหลือ เวลาต่อมามารดากับบิดาแยกทางกันเมื่อเธออายุ 4 ขวบ หม่อมเจ้าหญิงชมในกรมหลวงวงศาธิราชสนิทซึ่งมีศักดิ์เป็นอาของเจ้าพระยาเทเวศร์ฯ จึงได้ขอไปเลี้ยงในพระบรมมหาราชวัง ด้วยความที่หม่อมเจ้าหญิงชมเป็นผู้ยึดมั่นศรัทธาในพระพุทธศาสนา ส่งผลให้หม่อมหลวงบุปผาเป็นคนที่ยึดมั่นในพระพุทธศาสนาตั้งแต่เล็กๆ จนอายุ 13 ปี ท่านกลับมาอยู่บ้านและเข้าเรียนที่ โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ จนจบชั้นมัธยมปีที่ 8 ทางภาษาฝรั่งเศส ท่านเริ่มต้นอาชีพนักเขียน โดยเริ่มเขียนบทละคร "ดีฝ่อ" และเริ่มเขียนหนังสือในปี พ.ศ. 2472 เมื่ออายุ 20 ปี เรื่องแรก คือ "ศัตรูของเจ้าหล่อน" ลงพิมพ์ใน หนังสือพิมพ์ไทยเขษม ฉบับวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2472 งานเขียนของดอกไม้สดถือได้ว่าเป็นนิยายกึ่งพาฝันกึ่งสมจริงรุ่นบุกเบิก งานส่วนใหญ่ของท่านจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับชีวิตครอบครัว โดยเฉพาะเรื่องความรักและการหาคู่ของคนหนุ่มสาว ท่านเป็นนักเขียนรุ่นแรกๆที่ให้ความสำคัญกับตัวละครฝ่ายหญิงมาก ผลงานในระยะแรกของดอกไม้สดจะมีความเป็นโรมานซ์ แต่ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิตของท่านในฐานะที่เป็นราชตระกูลที่เคยใช้ชีวิตอยู่ในวัง นวนิยายของท่านจะมีลักษณะเรียลลิสติกมากขึ้น เช่นเรื่อง ผู้ดี ในปี พ.ศ. 2491 เธอมีผลงานเรื่องสั้นชุด "พลเมืองดี" ออกมา และในปี 2492 ท่านเขียนเรื่อง "วรรณกรรมชิ้นสุดท้าย" ได้เพียงสองบทก็ต้องหยุดไปเพราะปัญหาสุขภาพ ในปี พ.ศ. 2497 ท่านเดินทางไปรักษาตัวที่ประเทศออสเตรเลีย และสมรสกับศาสตราจารย์ สุกิจ นิมมานเหมินท์ (ผู้เขียน คนแซ่หลี) ในเดือนกันยายนปีเดียวกันที่ซานฟรานซิสโก ต่อมาปี พ.ศ. 2502 ติดตามสามีไปประเทศอินเดีย ซึ่งไปรับตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงนิวเดลี หม่อมหลวงบุปผาถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2506 ด้วยโรคหัวใจวาย ณ บ้านพักสถานเอกอัครราชทูตไทย กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ตลอดอายุขัย 57 ปี รวมแล้ว ดอกไม้สดมีผลงานนวนิยายทั้งสิ้น 12 เรื่อง, เรื่องสั้น 20 เรื่อง และนวนิยายที่เขียนไม่จบอีก 1 เรื่อง รวมพิมพ์เป็นเล่มทั้งสิ้น 14 เล่มผลงานสร้างชื่อเสียงผลงานสร้างชื่อเสียง. 1. ศัตรูของเจ้าหล่อน (2472) 2. นิจ (2472) 3. นันทวัน (2472) 4. ความผิดครั้งแรก (2473) 5. กรรมเก่า (2475) 6. สามชาย (2476) (เป็นหนังสืออ่านนอกเวลาเรียนอยู่สมัยหนึ่ง) 7. หนึ่งในร้อย (2477) (อยู่ใน หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน) 8. อุบัติเหตุ (2477) 9. ชัยชนะของหลวงนฤบาล (2478) 10. ผู้ดี (2480) (กระทรวงศึกษาธิการคัดเลือกเป็นหนังสืออ่านนอกเวลาชั้นมัธยมศึกษาถึงปัจจุบัน) 11. นี่แหละโลก (2483) (ได้รับรางวัลนวนิยายของชาวเอเชีย แล้วได้ตีพิมพ์เป็นภาษาญี่ปุ่น) 12. วรรณกรรมชิ้นสุดท้าย (2492) (แต่งไม่จบ) 13. บุษบาบรรณ (รวมเรื่องสั้น สมาคมนักประพันธ์ออสเตรเลียนำเรื่องสั้นชื่อ "พลเมืองดี" ไปตีพิมพ์ในหนังสือเล่มพิเศษ ชื่อ "SPAN" บางครั้งเรื่องนี้นำไปพิมพ์ในชุดพู่กลิ่น) 14. พู่กลิ่น (รวมเรื่องสั้น เดิมใช้ชื่อว่า "เรื่องย่อย")
| หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"17"
],
"answer_begin_position": [
2197
],
"answer_end_position": [
2199
]
} |
888 | 44,666 | หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร ศาสตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (20 กันยายน 2472 - 15 พฤษภาคม 2530) พระเชษฐาองค์โตในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีชื่อเล่นว่า คุณชายกร๋อย เป็นบุตรคนโตของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร มีพี่น้อง 4 คน คือ หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร, สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนราชินี, โรงเรียนเซนต์คาเบรียล จากนั้นไปศึกษาวิชาแพทย์ศาสตร์ที่ประเทศอังกฤษ ที่ Guy's Hospital Medical School ได้รับประกาศนียบัตร MRCS. (Eng.)., LRCP. (Lond.) และ วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยลอนดอน ได้รับปริญญา MB., BS.(Lond.) หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ รับราชการเป็นอาจารย์แพทย์ในคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อ พ.ศ. 2503 ต่อมาจึงย้ายมาอยู่ที่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2512 ท่านเป็นศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคทรวงอกและหัวใจ ได้ค้นคว้าทดลองการผ่าตัดซ่อมลิ้นหัวใจในผู้ป่วยที่มีลิ้นหัวใจมัยตรัลรั่ว และค้นคว้าวิธีผ่าตัดรักษาโรคที่เกิดจากเนื้อเยื่อปิดกั้นเลือดในหลอดเลือดดำใหญ่จากส่วนท้องของร่างกายเข้าสู่หัวใจ (หลอดเลือด เวนา คาวา เส้นล่าง) โดยใช้เครื่องปอดและหัวใจเทียม เป็นคนแรก ได้รับเกียรติจากราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศอังกฤษ ให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ (Honorary Fellow (FRCS) (Eng.) (Hon.)) เมื่อ พ.ศ. 2524 หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร สมรสกับ ท่านผู้หญิงอรุณ กิติยากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) มีบุตรธิดา 2 คน คือ- หม่อมหลวงพลายชุมพล กิติยากร (สมรสกับ นางสาวอภิญญา สุวรรณวิหค) - หม่อมหลวงสิริณา กิติยากร (สมรสกับ นายปิยะ จิตตาลาน มีธิดา ชื่อ ธารา จิตตาลาน) หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 ที่ โรงพยาบาลรามาธิบดีเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2530 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - พ.ศ. 2519 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 - เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)ลำดับสาแหรก
| ศาสตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร มีชื่อเล่นว่าอะไร | {
"answer": [
"คุณชายกร๋อย"
],
"answer_begin_position": [
300
],
"answer_end_position": [
311
]
} |
1,613 | 44,666 | หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร ศาสตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (20 กันยายน 2472 - 15 พฤษภาคม 2530) พระเชษฐาองค์โตในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีชื่อเล่นว่า คุณชายกร๋อย เป็นบุตรคนโตของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร มีพี่น้อง 4 คน คือ หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร, สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนราชินี, โรงเรียนเซนต์คาเบรียล จากนั้นไปศึกษาวิชาแพทย์ศาสตร์ที่ประเทศอังกฤษ ที่ Guy's Hospital Medical School ได้รับประกาศนียบัตร MRCS. (Eng.)., LRCP. (Lond.) และ วิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยลอนดอน ได้รับปริญญา MB., BS.(Lond.) หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ รับราชการเป็นอาจารย์แพทย์ในคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อ พ.ศ. 2503 ต่อมาจึงย้ายมาอยู่ที่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2512 ท่านเป็นศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคทรวงอกและหัวใจ ได้ค้นคว้าทดลองการผ่าตัดซ่อมลิ้นหัวใจในผู้ป่วยที่มีลิ้นหัวใจมัยตรัลรั่ว และค้นคว้าวิธีผ่าตัดรักษาโรคที่เกิดจากเนื้อเยื่อปิดกั้นเลือดในหลอดเลือดดำใหญ่จากส่วนท้องของร่างกายเข้าสู่หัวใจ (หลอดเลือด เวนา คาวา เส้นล่าง) โดยใช้เครื่องปอดและหัวใจเทียม เป็นคนแรก ได้รับเกียรติจากราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศอังกฤษ ให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ (Honorary Fellow (FRCS) (Eng.) (Hon.)) เมื่อ พ.ศ. 2524 หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร สมรสกับ ท่านผู้หญิงอรุณ กิติยากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) มีบุตรธิดา 2 คน คือ- หม่อมหลวงพลายชุมพล กิติยากร (สมรสกับ นางสาวอภิญญา สุวรรณวิหค) - หม่อมหลวงสิริณา กิติยากร (สมรสกับ นายปิยะ จิตตาลาน มีธิดา ชื่อ ธารา จิตตาลาน) หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 ที่ โรงพยาบาลรามาธิบดีเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2530 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - พ.ศ. 2519 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 - เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)ลำดับสาแหรก
| หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"15"
],
"answer_begin_position": [
1785
],
"answer_end_position": [
1787
]
} |
893 | 824,997 | ฟุตบอลเมเนเจอร์ 2017 ฟุตบอลเมเนเจอร์ 2017 () เป็นเกมจำลองการบริหารทีมฟุตบอล พัฒนาโดยสปอตส์อินเตอร์แอ็คทีฟ และจัดจำหน่ายโดยเซก้า จำหน่ายเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016 ในระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์, โอเอสเทน และลินุกซ์
| เกมจำลองการบริหารทีมฟุตบอลหรือฟุตบอลเมเนเจอร์ 2017 พัฒนาโดยใคร | {
"answer": [
"สปอตส์อินเตอร์แอ็คทีฟ"
],
"answer_begin_position": [
179
],
"answer_end_position": [
200
]
} |
1,366 | 824,997 | ฟุตบอลเมเนเจอร์ 2017 ฟุตบอลเมเนเจอร์ 2017 () เป็นเกมจำลองการบริหารทีมฟุตบอล พัฒนาโดยสปอตส์อินเตอร์แอ็คทีฟ และจัดจำหน่ายโดยเซก้า จำหน่ายเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016 ในระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์, โอเอสเทน และลินุกซ์
| ฟุตบอลเมเนเจอร์ 2017 เป็นเกมจำลองการบริหารทีมฟุตบอล ออกจำหน่ายเมื่อใด | {
"answer": [
"วันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016"
],
"answer_begin_position": [
235
],
"answer_end_position": [
263
]
} |
894 | 616,563 | หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต (พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2553) เป็นผู้อำนวยการธนาคารออมสินคนที่ 7 ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2533ประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต เป็นบุตรของหม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัตกับหม่อมจรูญ จันทรทัต ณ อยุธยา เกิดเมื่อ พ.ศ. 2473 ในวัยเด็กท่านอยู่กับคุณตาคุณยายที่กรุงเทพฯ เรียนโรงเรียนประจำ มีโอกาสสอบชิงทุนได้ไปเรียนที่อังกฤษการทำงาน การทำงาน. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต เริ่มรับราชการที่กระทรวงการคลัง ประจำกองเงินตราต่างประเทศ เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 และรับราชการมาเรื่อยๆ จนกระทั่งเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 ได้เลื่อนเป็นหัวหน้าแผนกรัฐวิสาหกิจ กองควบคุมรายได้ ในปี พ.ศ. 2528 ได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการธนาคารออมสินคนที่ 7 ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2533 ต่อจากนายดุษฎี สวัสดิ์–ชูโตครอบครัว ครอบครัว. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต สมรสกับ โอนอ่อน จันทรฑัต ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ศิริวรรณ)- หม่อมหลวงจันทรจุฑา จันทรทัต สมรสกับ ศกลวรรณ ค้าเจริญ- ปิ่นจันทรา จันทรฑัต ณ อยุธยา - หม่อมหลวงจันทรขจร จันทรทัต
| หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"โอนอ่อน จันทรฑัต ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
992
],
"answer_end_position": [
1017
]
} |
1,704 | 616,563 | หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต (พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2553) เป็นผู้อำนวยการธนาคารออมสินคนที่ 7 ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2533ประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต เป็นบุตรของหม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัตกับหม่อมจรูญ จันทรทัต ณ อยุธยา เกิดเมื่อ พ.ศ. 2473 ในวัยเด็กท่านอยู่กับคุณตาคุณยายที่กรุงเทพฯ เรียนโรงเรียนประจำ มีโอกาสสอบชิงทุนได้ไปเรียนที่อังกฤษการทำงาน การทำงาน. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต เริ่มรับราชการที่กระทรวงการคลัง ประจำกองเงินตราต่างประเทศ เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 และรับราชการมาเรื่อยๆ จนกระทั่งเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 ได้เลื่อนเป็นหัวหน้าแผนกรัฐวิสาหกิจ กองควบคุมรายได้ ในปี พ.ศ. 2528 ได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการธนาคารออมสินคนที่ 7 ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2533 ต่อจากนายดุษฎี สวัสดิ์–ชูโตครอบครัว ครอบครัว. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต สมรสกับ โอนอ่อน จันทรฑัต ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ศิริวรรณ)- หม่อมหลวงจันทรจุฑา จันทรทัต สมรสกับ ศกลวรรณ ค้าเจริญ- ปิ่นจันทรา จันทรฑัต ณ อยุธยา - หม่อมหลวงจันทรขจร จันทรทัต
| บิดาของหม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต"
],
"answer_begin_position": [
353
],
"answer_end_position": [
387
]
} |
1,872 | 616,563 | หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต (พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2553) เป็นผู้อำนวยการธนาคารออมสินคนที่ 7 ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2533ประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต เป็นบุตรของหม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัตกับหม่อมจรูญ จันทรทัต ณ อยุธยา เกิดเมื่อ พ.ศ. 2473 ในวัยเด็กท่านอยู่กับคุณตาคุณยายที่กรุงเทพฯ เรียนโรงเรียนประจำ มีโอกาสสอบชิงทุนได้ไปเรียนที่อังกฤษการทำงาน การทำงาน. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต เริ่มรับราชการที่กระทรวงการคลัง ประจำกองเงินตราต่างประเทศ เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 และรับราชการมาเรื่อยๆ จนกระทั่งเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 ได้เลื่อนเป็นหัวหน้าแผนกรัฐวิสาหกิจ กองควบคุมรายได้ ในปี พ.ศ. 2528 ได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการธนาคารออมสินคนที่ 7 ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2533 ต่อจากนายดุษฎี สวัสดิ์–ชูโตครอบครัว ครอบครัว. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต สมรสกับ โอนอ่อน จันทรฑัต ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ศิริวรรณ)- หม่อมหลวงจันทรจุฑา จันทรทัต สมรสกับ ศกลวรรณ ค้าเจริญ- ปิ่นจันทรา จันทรฑัต ณ อยุธยา - หม่อมหลวงจันทรขจร จันทรทัต
| บิดาของหม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต คือผู้ใด | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัต"
],
"answer_begin_position": [
353
],
"answer_end_position": [
387
]
} |
1,873 | 616,563 | หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต (พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2553) เป็นผู้อำนวยการธนาคารออมสินคนที่ 7 ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2533ประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต เป็นบุตรของหม่อมเจ้าจันทรศิริปริวัตร จันทรทัตกับหม่อมจรูญ จันทรทัต ณ อยุธยา เกิดเมื่อ พ.ศ. 2473 ในวัยเด็กท่านอยู่กับคุณตาคุณยายที่กรุงเทพฯ เรียนโรงเรียนประจำ มีโอกาสสอบชิงทุนได้ไปเรียนที่อังกฤษการทำงาน การทำงาน. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต เริ่มรับราชการที่กระทรวงการคลัง ประจำกองเงินตราต่างประเทศ เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 และรับราชการมาเรื่อยๆ จนกระทั่งเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 ได้เลื่อนเป็นหัวหน้าแผนกรัฐวิสาหกิจ กองควบคุมรายได้ ในปี พ.ศ. 2528 ได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการธนาคารออมสินคนที่ 7 ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2533 ต่อจากนายดุษฎี สวัสดิ์–ชูโตครอบครัว ครอบครัว. หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต สมรสกับ โอนอ่อน จันทรฑัต ณ อยุธยา (สกุลเดิม:ศิริวรรณ)- หม่อมหลวงจันทรจุฑา จันทรทัต สมรสกับ ศกลวรรณ ค้าเจริญ- ปิ่นจันทรา จันทรฑัต ณ อยุธยา - หม่อมหลวงจันทรขจร จันทรทัต
| หม่อมราชวงศ์จันทร์แรมศิริโชค จันทรทัต สมรสกับใคร | {
"answer": [
"โอนอ่อน จันทรฑัต ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
992
],
"answer_end_position": [
1017
]
} |
897 | 40,396 | หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ (25 กันยายน 2490 - ) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีวเคมี และชีวเคมีศึกษา มีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับโปรตีนและเอนไซม์ และเน้นการสอนและการวิจัยทางด้านนี้มาตลอดระยะเวลากว่า 35 ปี เป็นผู้ก่อตั้งชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อ ปี พ.ศ. 2548 ศาสตราจารย์ ดร. หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร เป็นโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานต์มณี (บริพัตร) และหม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์ สมรสกับหม่อมราชวงศ์พร้อมฉัตร วุฒิชัย ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรและหม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย มีบุตรสาวสองคน คือ ม.ล. ศศิภา สวัสดิวัตน์ โลว์ และ ม.ล. จันทราภา สวัสดิวัตน์ประวัติการศึกษา ประวัติ. การศึกษา. ศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ศึกษาที่ประเทศอังกฤษ ตั้งแต่อายุ 6 ขวบ โดยสำเร็จการศึกษาระดับประถม ที่โรงเรียน Cheam School และระดับมัธยมที่โรงเรียน Rugby School จากนั้นได้รับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขาชีวเคมี จาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2511 ได้รับปริญญาโท สาขาชีวเคมี และปริญญาเอก สาขาอณูชีววิทยา จาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปี พ.ศ. 2515 โดยทำงานวิจัยกับนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล Dr. César Milstein ที่ MRC Laboratory of Molecular Biologyประวัติการทำงาน ประวัติการทำงาน. ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. 2515 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในปี พ.ศ. 2518 รองศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. 2521 และศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. 2525 เคยปฏิบัติงานวิจัยที่ University of Texas Medical Branch ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่าง ปี พ.ศ. 2519-2520 ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ระดับ 11 ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตำแหน่งหน้าที่อื่นๆ- พ.ศ. 2523 - 2527 - หัวหน้าภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2538 - 2540 - รองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2540 - 2542 - รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน - หัวหน้าห้องปฏิบัติการชีวเคมี สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ - พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน - หัวหน้าหน่วยวิจัยโครงสร้างและการทำงานของโปรตีน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - 2550 - คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - 2550 - กรรมการสภา มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน - กรรมการสภา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ - พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน - นายกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรต่างๆ ของประเทศไทย- พ.ศ. 2528 - 2530 - ประธานสาขาชีวเคมี สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2528 - 2530 - บรรณาธิการวารสารของ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2534 - 2541 - กรรมการสาขาเกษตรและชีววิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - พ.ศ. 2528 - ปัจจุบัน - กรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี - พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน - กรรมการมูลนิธิไทย-เคมบริดจ์ - พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน - สมาชิก บัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน - บรรณาธิการวารสาร ScienceAsia ของ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน - กรรมการสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรระดับนานาชาติ- พ.ศ. 2522 - 2525 - Member, Coordinating Committee, Asian Network of Biological Science - พ.ศ. 2523 - 2529 - Treasurer, Federation of Asian and Oceanian Biochemists (FAOB) - พ.ศ. 2533 - 2535 - President, Federation of Asian and Oceanian Biochemists (FAOB) - พ.ศ. 2539 - 2545 - Member, Committee on Symposia, International Union of Biochemistry and Molecular Biology (IUBMB) - พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน - Thai Delegate to International Union of Biochemistry and Molecular Biology (IUBMB) - พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน - Member, Governing Council Asia-Pacific International Molecular Biology Network - พ.ศ. 2544 - 2548 - Membership Committee for Biochemistry and Biophysics, Third World Academy of Science (TWAS) - พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน - Editorial Board, Molecules and Cells, Korean Society of Molecular and Cellular Biology - พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน - Member, Health Committee, European Action on Global Life Sciences (EAGLES) - พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน - Council Member, Asian and Oceanic Human Proteome Organization (AOHUPO)เกียรติคุณและรางวัลเกียรติคุณและรางวัล. - พ.ศ. 2525 - ได้รับพระราชทานรางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย - พ.ศ. 2537 - Honorary Member, Federation of Asian and Oceanian Biochemists and Molecular Biologists (FAOBMB) - พ.ศ. 2538 - Honorary Member, Philippine Society for Biochemistry and Molecular Biology - พ.ศ. 2539 - Elected Fellow, Third World Academy of Science (TWAS) - พ.ศ. 2540 - สมาชิกก่อตั้งบัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย - พ.ศ. 2540 - รางวัลนักวิจัยดีเด่นของทบวงมหาวิทยาลัย สาขาอาจารย์หรือนักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา ที่มีผลงานวิจัยและพัฒนาที่มีผลในการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา - พ.ศ. 2541 - Member, Asia Pacific International Molecular Biology Network - พ.ศ. 2544 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สาขาชีวเคมี) - พ.ศ. 2545 - รางวัล นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ของ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2546 - รางวัล นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ของ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - พ.ศ. 2546 - รางวัลอาจารย์ดีเด่น ของสภาอาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2547 - รางวัลอาจารย์ตัวอย่าง ของสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2547 - รางวัลอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากที่ประชุมประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) - พ.ศ. 2547 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สาขาวิทยาการโปรตีน) - พ.ศ. 2548 - ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา สาขาวิทยาศาสตร์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2536 - มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2541 - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)ผลงานด้านการวิจัย ผลงานด้านการวิจัย. ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ทำงานวิจัยเกี่ยวกับโครงสร้างและการทำงานของโปรตีนและเอนไซม์ มาเป็นเวลากว่า 35 ปี ได้ศึกษาโปรตีนชนิดต่างๆ ของร่างกายหลายชนิด ดังต่อไปนี้- พ.ศ. 2512 - 2519 - ศึกษาโปรตีนอิมมูโนโกลบูลิน ซึ่งเป็นโปรตีนภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาภายในร่างกาย จึงเป็นโปรตีนที่มีลักษณะโครงสร้างที่พิเศษ โดยมีส่วนหนึ่งของโครงสร้างที่เป็นพื้นฐานทำหน้าที่ส่วนรวม และส่วนที่มีความจำเพาะเพื่อให้สามารถจับกับสารต่างๆ ได้- พ.ศ. 2515 - 2529 - ศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ที่มีความจำเพาะต่อระบบสืบพันธุ์ของเพศชาย ซึ่งเป็นโปรตีนที่มีคุณสมบัติและโครงสร้างแตกต่างจากโปรตีนชนิดเดียวกันที่พบในอวัยวะอื่นๆ จึงเป็นที่น่าสนใจว่าจะสามารถยับยั้งโปรตีนเหล่านี้ได้โดยไม่มีผลต่อโปรตีนของเนื้อเยื่ออื่นหรือไม่ ทั้งนี้ เพื่อหาแนวทางคุมกำเนิดในเพศชาย โปรตีนที่ศึกษาได้แก่ sperm protamine, testis-specific histone, testis-specific lactate dehydrogenase isozyme X และ plasma acidic protease เป็นต้น เพื่อทำให้เข้าใจโครงสร้างและหน้าที่การทำงานของโปรตีนเหล่านั้น- พ.ศ. 2527 - 2548 - ศึกษาโครงสร้างของฮีโมโกลบินผิดปกติซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคเลือด รวมทั้งศึกษาการผ่าเหล่าที่ทำให้เกิดความผิดปกตินี้ และได้ค้นพบฮีโมโกลบินผิดปกติชนิดใหม่อีกหลายชนิดที่ยังไม่เคยมีผู้พบมาก่อนในประเทศไทย เช่น Hb-Lepore-Washington-Boston, Hb J Buda, Hb G Coushatta และ Hb Queens เป็นต้น ทำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่และโครงสร้างของฮีโมโกลบินที่ผิดปกติ และอาการของคนไข้ สามารถวินิจฉัยโรคได้อย่างชัดเจนขึ้น และสามารถให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง- พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน - ศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ในโรคความผิดปกติของกระบวนการเมตาบอลิสม (Inborn errors of metabolism) ซึ่งพบในเด็กไทย และหากไม่ได้รับการรักษาทันท่วงที อาจก่อให้เกิดอาการปัญญาอ่อน ความผิดปกติของกระดูก ฯลฯ ได้ การศึกษาจึงมุ่งเน้นที่จะเข้าใจถึงพื้นฐานระดับโมเลกุลของโรคทางพันธุกรรม เพื่อจะได้นำไปประยุกต์ใช้ในการถ่ายทอดความรู้แก่ผู้ป่วย และช่วยในการบำบัดรักษา ตลอดจนวินิจฉัยโรค- พ.ศ. 2536 - ปัจจุบัน - ศึกษาโครงสร้างการทำงานของเอนไซม์ไกลโคซิเดสและสารจำพวกไกลโคไซด์ ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสลายและการสร้างคาร์โบไฮเดรท โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารจำพวกโอลิโกแซคคาไรด์ ที่มีความสำคัญต่อการทำงานต่างๆ ของเซลล์ ได้ค้นพบเอนไซม์จำพวกนี้ชนิดใหม่หลายชนิดจากเมล็ดพืชพื้นเมืองของไทย ที่มีประโยชน์สามารถนำมาใช้ในการสังเคราะห์โอลิโกแซคคาไรด์และไกลโคไซด์ได้ เช่น เอนไซม์จาก พะยูง ถ่อน มะเขือพวง กระเจี๊ยบ ฉนวน ลั่นทม มันสำปะหลัง และ ข้าว เป็นต้น- พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน - การพัฒนาเทคนิคด้านโปรตีโอมิกส์ในการวิจัยโรคมะเร็ง เป็นการศึกษาโปรตีนผิดปกติที่พบในโรคมะเร็งชนิดต่างๆ โดยใช้เทคนิคโปรตีโอมิกส์ (proteomics) วิเคราะห์หาโปรตีนที่น่าจะมีความสำคัญหรือมีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็งชนิดต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการตรวจวินิจฉัยในระยะเริ่มแรกและแนวทางติดตามผลการรักษา ตลอดจนหาวิธีการรักษาโรคมะเร็งที่ได้ผลดียิ่งขึ้น ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ได้สร้างกลุ่มทีมวิจัยทางด้านโปรตีนและเอนไซม์ที่เข้มแข็งขึ้นในประเทศไทย ทั้งที่ มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ เพื่อมุ่งขยายงานวิจัยทางด้านนี้ให้กว้างขวางขึ้น โดยเน้นศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ที่มีประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ และที่เกี่ยวข้องกับโรคในมนุษย์ ศึกษาความสัมพันธ์ของโครงสร้างและการทำงานของโปรตีนและเอนไซม์ชนิดต่างๆ เช่น เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างอนุพันธ์ของเพนนิซิลินที่มีศักยภาพในการนำไปใช้เป็นยารักษาโรค ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของโปรตีนในโรคต่างๆ รวมทั้งการประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติในการรักษาโรคมะเร็งและการหายของแผล ศึกษาการประยุกต์ใช้โปรตีนและเอนไซม์ทางเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น โปรตีนและเอนไซม์ย่อยโปรตีนในไหมเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมผ้าไหมไทย การแยกสกัดเอนไซม์นาริจีเนสจากแหล่งในประเทศไทย สำหรับใช้ในอุตสาหกรรมผลิตน้ำผลไม้เพื่อกำจัดรสขมในน้ำผลไม้ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้ให้ความสนใจด้านการเรียนการสอน และทำการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอนทางด้านชีวเคมีด้วย งานวิจัยเหล่านี้ ได้ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติกว่า 120 เรื่อง และจะก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในเรื่องของกลไกการทำงานของโปรตีนและความสัมพันธ์กับโครงสร้าง ซึ่งจะนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ทั้งด้านการแพทย์ อุตสาหกรรม และการรักษาสิ่งแวดล้อมต่อไปในอนาคตเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นจตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ฝ่ายพลเรือน) (ร.ด.ม.(ศ)) - เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)ลำดับพงศาวลี
| ศาสตราจารย์ ดร. หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร เป็นโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์ใด | {
"answer": [
"พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานต์มณี (บริพัตร) และหม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์"
],
"answer_begin_position": [
500
],
"answer_end_position": [
586
]
} |
1,612 | 40,396 | หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ (25 กันยายน 2490 - ) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีวเคมี และชีวเคมีศึกษา มีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับโปรตีนและเอนไซม์ และเน้นการสอนและการวิจัยทางด้านนี้มาตลอดระยะเวลากว่า 35 ปี เป็นผู้ก่อตั้งชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อ ปี พ.ศ. 2548 ศาสตราจารย์ ดร. หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร เป็นโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานต์มณี (บริพัตร) และหม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์ สมรสกับหม่อมราชวงศ์พร้อมฉัตร วุฒิชัย ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรและหม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย มีบุตรสาวสองคน คือ ม.ล. ศศิภา สวัสดิวัตน์ โลว์ และ ม.ล. จันทราภา สวัสดิวัตน์ประวัติการศึกษา ประวัติ. การศึกษา. ศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ศึกษาที่ประเทศอังกฤษ ตั้งแต่อายุ 6 ขวบ โดยสำเร็จการศึกษาระดับประถม ที่โรงเรียน Cheam School และระดับมัธยมที่โรงเรียน Rugby School จากนั้นได้รับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขาชีวเคมี จาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2511 ได้รับปริญญาโท สาขาชีวเคมี และปริญญาเอก สาขาอณูชีววิทยา จาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปี พ.ศ. 2515 โดยทำงานวิจัยกับนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล Dr. César Milstein ที่ MRC Laboratory of Molecular Biologyประวัติการทำงาน ประวัติการทำงาน. ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. 2515 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในปี พ.ศ. 2518 รองศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. 2521 และศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. 2525 เคยปฏิบัติงานวิจัยที่ University of Texas Medical Branch ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่าง ปี พ.ศ. 2519-2520 ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ระดับ 11 ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตำแหน่งหน้าที่อื่นๆ- พ.ศ. 2523 - 2527 - หัวหน้าภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2538 - 2540 - รองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2540 - 2542 - รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน - หัวหน้าห้องปฏิบัติการชีวเคมี สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ - พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน - หัวหน้าหน่วยวิจัยโครงสร้างและการทำงานของโปรตีน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - 2550 - คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - 2550 - กรรมการสภา มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน - กรรมการสภา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ - พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน - นายกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรต่างๆ ของประเทศไทย- พ.ศ. 2528 - 2530 - ประธานสาขาชีวเคมี สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2528 - 2530 - บรรณาธิการวารสารของ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2534 - 2541 - กรรมการสาขาเกษตรและชีววิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - พ.ศ. 2528 - ปัจจุบัน - กรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี - พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน - กรรมการมูลนิธิไทย-เคมบริดจ์ - พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน - สมาชิก บัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน - บรรณาธิการวารสาร ScienceAsia ของ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน - กรรมการสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรระดับนานาชาติ- พ.ศ. 2522 - 2525 - Member, Coordinating Committee, Asian Network of Biological Science - พ.ศ. 2523 - 2529 - Treasurer, Federation of Asian and Oceanian Biochemists (FAOB) - พ.ศ. 2533 - 2535 - President, Federation of Asian and Oceanian Biochemists (FAOB) - พ.ศ. 2539 - 2545 - Member, Committee on Symposia, International Union of Biochemistry and Molecular Biology (IUBMB) - พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน - Thai Delegate to International Union of Biochemistry and Molecular Biology (IUBMB) - พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน - Member, Governing Council Asia-Pacific International Molecular Biology Network - พ.ศ. 2544 - 2548 - Membership Committee for Biochemistry and Biophysics, Third World Academy of Science (TWAS) - พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน - Editorial Board, Molecules and Cells, Korean Society of Molecular and Cellular Biology - พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน - Member, Health Committee, European Action on Global Life Sciences (EAGLES) - พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน - Council Member, Asian and Oceanic Human Proteome Organization (AOHUPO)เกียรติคุณและรางวัลเกียรติคุณและรางวัล. - พ.ศ. 2525 - ได้รับพระราชทานรางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย - พ.ศ. 2537 - Honorary Member, Federation of Asian and Oceanian Biochemists and Molecular Biologists (FAOBMB) - พ.ศ. 2538 - Honorary Member, Philippine Society for Biochemistry and Molecular Biology - พ.ศ. 2539 - Elected Fellow, Third World Academy of Science (TWAS) - พ.ศ. 2540 - สมาชิกก่อตั้งบัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย - พ.ศ. 2540 - รางวัลนักวิจัยดีเด่นของทบวงมหาวิทยาลัย สาขาอาจารย์หรือนักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา ที่มีผลงานวิจัยและพัฒนาที่มีผลในการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา - พ.ศ. 2541 - Member, Asia Pacific International Molecular Biology Network - พ.ศ. 2544 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สาขาชีวเคมี) - พ.ศ. 2545 - รางวัล นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ของ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2546 - รางวัล นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ของ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - พ.ศ. 2546 - รางวัลอาจารย์ดีเด่น ของสภาอาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2547 - รางวัลอาจารย์ตัวอย่าง ของสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2547 - รางวัลอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากที่ประชุมประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) - พ.ศ. 2547 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สาขาวิทยาการโปรตีน) - พ.ศ. 2548 - ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา สาขาวิทยาศาสตร์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2536 - มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2541 - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)ผลงานด้านการวิจัย ผลงานด้านการวิจัย. ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ทำงานวิจัยเกี่ยวกับโครงสร้างและการทำงานของโปรตีนและเอนไซม์ มาเป็นเวลากว่า 35 ปี ได้ศึกษาโปรตีนชนิดต่างๆ ของร่างกายหลายชนิด ดังต่อไปนี้- พ.ศ. 2512 - 2519 - ศึกษาโปรตีนอิมมูโนโกลบูลิน ซึ่งเป็นโปรตีนภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาภายในร่างกาย จึงเป็นโปรตีนที่มีลักษณะโครงสร้างที่พิเศษ โดยมีส่วนหนึ่งของโครงสร้างที่เป็นพื้นฐานทำหน้าที่ส่วนรวม และส่วนที่มีความจำเพาะเพื่อให้สามารถจับกับสารต่างๆ ได้- พ.ศ. 2515 - 2529 - ศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ที่มีความจำเพาะต่อระบบสืบพันธุ์ของเพศชาย ซึ่งเป็นโปรตีนที่มีคุณสมบัติและโครงสร้างแตกต่างจากโปรตีนชนิดเดียวกันที่พบในอวัยวะอื่นๆ จึงเป็นที่น่าสนใจว่าจะสามารถยับยั้งโปรตีนเหล่านี้ได้โดยไม่มีผลต่อโปรตีนของเนื้อเยื่ออื่นหรือไม่ ทั้งนี้ เพื่อหาแนวทางคุมกำเนิดในเพศชาย โปรตีนที่ศึกษาได้แก่ sperm protamine, testis-specific histone, testis-specific lactate dehydrogenase isozyme X และ plasma acidic protease เป็นต้น เพื่อทำให้เข้าใจโครงสร้างและหน้าที่การทำงานของโปรตีนเหล่านั้น- พ.ศ. 2527 - 2548 - ศึกษาโครงสร้างของฮีโมโกลบินผิดปกติซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคเลือด รวมทั้งศึกษาการผ่าเหล่าที่ทำให้เกิดความผิดปกตินี้ และได้ค้นพบฮีโมโกลบินผิดปกติชนิดใหม่อีกหลายชนิดที่ยังไม่เคยมีผู้พบมาก่อนในประเทศไทย เช่น Hb-Lepore-Washington-Boston, Hb J Buda, Hb G Coushatta และ Hb Queens เป็นต้น ทำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่และโครงสร้างของฮีโมโกลบินที่ผิดปกติ และอาการของคนไข้ สามารถวินิจฉัยโรคได้อย่างชัดเจนขึ้น และสามารถให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง- พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน - ศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ในโรคความผิดปกติของกระบวนการเมตาบอลิสม (Inborn errors of metabolism) ซึ่งพบในเด็กไทย และหากไม่ได้รับการรักษาทันท่วงที อาจก่อให้เกิดอาการปัญญาอ่อน ความผิดปกติของกระดูก ฯลฯ ได้ การศึกษาจึงมุ่งเน้นที่จะเข้าใจถึงพื้นฐานระดับโมเลกุลของโรคทางพันธุกรรม เพื่อจะได้นำไปประยุกต์ใช้ในการถ่ายทอดความรู้แก่ผู้ป่วย และช่วยในการบำบัดรักษา ตลอดจนวินิจฉัยโรค- พ.ศ. 2536 - ปัจจุบัน - ศึกษาโครงสร้างการทำงานของเอนไซม์ไกลโคซิเดสและสารจำพวกไกลโคไซด์ ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสลายและการสร้างคาร์โบไฮเดรท โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารจำพวกโอลิโกแซคคาไรด์ ที่มีความสำคัญต่อการทำงานต่างๆ ของเซลล์ ได้ค้นพบเอนไซม์จำพวกนี้ชนิดใหม่หลายชนิดจากเมล็ดพืชพื้นเมืองของไทย ที่มีประโยชน์สามารถนำมาใช้ในการสังเคราะห์โอลิโกแซคคาไรด์และไกลโคไซด์ได้ เช่น เอนไซม์จาก พะยูง ถ่อน มะเขือพวง กระเจี๊ยบ ฉนวน ลั่นทม มันสำปะหลัง และ ข้าว เป็นต้น- พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน - การพัฒนาเทคนิคด้านโปรตีโอมิกส์ในการวิจัยโรคมะเร็ง เป็นการศึกษาโปรตีนผิดปกติที่พบในโรคมะเร็งชนิดต่างๆ โดยใช้เทคนิคโปรตีโอมิกส์ (proteomics) วิเคราะห์หาโปรตีนที่น่าจะมีความสำคัญหรือมีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็งชนิดต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการตรวจวินิจฉัยในระยะเริ่มแรกและแนวทางติดตามผลการรักษา ตลอดจนหาวิธีการรักษาโรคมะเร็งที่ได้ผลดียิ่งขึ้น ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ได้สร้างกลุ่มทีมวิจัยทางด้านโปรตีนและเอนไซม์ที่เข้มแข็งขึ้นในประเทศไทย ทั้งที่ มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ เพื่อมุ่งขยายงานวิจัยทางด้านนี้ให้กว้างขวางขึ้น โดยเน้นศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ที่มีประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ และที่เกี่ยวข้องกับโรคในมนุษย์ ศึกษาความสัมพันธ์ของโครงสร้างและการทำงานของโปรตีนและเอนไซม์ชนิดต่างๆ เช่น เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างอนุพันธ์ของเพนนิซิลินที่มีศักยภาพในการนำไปใช้เป็นยารักษาโรค ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของโปรตีนในโรคต่างๆ รวมทั้งการประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติในการรักษาโรคมะเร็งและการหายของแผล ศึกษาการประยุกต์ใช้โปรตีนและเอนไซม์ทางเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น โปรตีนและเอนไซม์ย่อยโปรตีนในไหมเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมผ้าไหมไทย การแยกสกัดเอนไซม์นาริจีเนสจากแหล่งในประเทศไทย สำหรับใช้ในอุตสาหกรรมผลิตน้ำผลไม้เพื่อกำจัดรสขมในน้ำผลไม้ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้ให้ความสนใจด้านการเรียนการสอน และทำการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอนทางด้านชีวเคมีด้วย งานวิจัยเหล่านี้ ได้ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติกว่า 120 เรื่อง และจะก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในเรื่องของกลไกการทำงานของโปรตีนและความสัมพันธ์กับโครงสร้าง ซึ่งจะนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ทั้งด้านการแพทย์ อุตสาหกรรม และการรักษาสิ่งแวดล้อมต่อไปในอนาคตเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นจตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ฝ่ายพลเรือน) (ร.ด.ม.(ศ)) - เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)ลำดับพงศาวลี
| ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอะไร | {
"answer": [
"มหิดล"
],
"answer_begin_position": [
1432
],
"answer_end_position": [
1437
]
} |
1,869 | 40,396 | หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ (25 กันยายน 2490 - ) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีวเคมี และชีวเคมีศึกษา มีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับโปรตีนและเอนไซม์ และเน้นการสอนและการวิจัยทางด้านนี้มาตลอดระยะเวลากว่า 35 ปี เป็นผู้ก่อตั้งชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อ ปี พ.ศ. 2548 ศาสตราจารย์ ดร. หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร เป็นโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานต์มณี (บริพัตร) และหม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์ สมรสกับหม่อมราชวงศ์พร้อมฉัตร วุฒิชัย ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรและหม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย มีบุตรสาวสองคน คือ ม.ล. ศศิภา สวัสดิวัตน์ โลว์ และ ม.ล. จันทราภา สวัสดิวัตน์ประวัติการศึกษา ประวัติ. การศึกษา. ศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ศึกษาที่ประเทศอังกฤษ ตั้งแต่อายุ 6 ขวบ โดยสำเร็จการศึกษาระดับประถม ที่โรงเรียน Cheam School และระดับมัธยมที่โรงเรียน Rugby School จากนั้นได้รับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขาชีวเคมี จาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2511 ได้รับปริญญาโท สาขาชีวเคมี และปริญญาเอก สาขาอณูชีววิทยา จาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปี พ.ศ. 2515 โดยทำงานวิจัยกับนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล Dr. César Milstein ที่ MRC Laboratory of Molecular Biologyประวัติการทำงาน ประวัติการทำงาน. ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. 2515 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในปี พ.ศ. 2518 รองศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. 2521 และศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. 2525 เคยปฏิบัติงานวิจัยที่ University of Texas Medical Branch ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่าง ปี พ.ศ. 2519-2520 ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ระดับ 11 ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตำแหน่งหน้าที่อื่นๆ- พ.ศ. 2523 - 2527 - หัวหน้าภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2538 - 2540 - รองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2540 - 2542 - รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน - หัวหน้าห้องปฏิบัติการชีวเคมี สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ - พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน - หัวหน้าหน่วยวิจัยโครงสร้างและการทำงานของโปรตีน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - 2550 - คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - 2550 - กรรมการสภา มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน - กรรมการสภา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ - พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน - นายกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรต่างๆ ของประเทศไทย- พ.ศ. 2528 - 2530 - ประธานสาขาชีวเคมี สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2528 - 2530 - บรรณาธิการวารสารของ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2534 - 2541 - กรรมการสาขาเกษตรและชีววิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - พ.ศ. 2528 - ปัจจุบัน - กรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี - พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน - กรรมการมูลนิธิไทย-เคมบริดจ์ - พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน - สมาชิก บัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน - บรรณาธิการวารสาร ScienceAsia ของ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน - กรรมการสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรระดับนานาชาติ- พ.ศ. 2522 - 2525 - Member, Coordinating Committee, Asian Network of Biological Science - พ.ศ. 2523 - 2529 - Treasurer, Federation of Asian and Oceanian Biochemists (FAOB) - พ.ศ. 2533 - 2535 - President, Federation of Asian and Oceanian Biochemists (FAOB) - พ.ศ. 2539 - 2545 - Member, Committee on Symposia, International Union of Biochemistry and Molecular Biology (IUBMB) - พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน - Thai Delegate to International Union of Biochemistry and Molecular Biology (IUBMB) - พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน - Member, Governing Council Asia-Pacific International Molecular Biology Network - พ.ศ. 2544 - 2548 - Membership Committee for Biochemistry and Biophysics, Third World Academy of Science (TWAS) - พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน - Editorial Board, Molecules and Cells, Korean Society of Molecular and Cellular Biology - พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน - Member, Health Committee, European Action on Global Life Sciences (EAGLES) - พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน - Council Member, Asian and Oceanic Human Proteome Organization (AOHUPO)เกียรติคุณและรางวัลเกียรติคุณและรางวัล. - พ.ศ. 2525 - ได้รับพระราชทานรางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย - พ.ศ. 2537 - Honorary Member, Federation of Asian and Oceanian Biochemists and Molecular Biologists (FAOBMB) - พ.ศ. 2538 - Honorary Member, Philippine Society for Biochemistry and Molecular Biology - พ.ศ. 2539 - Elected Fellow, Third World Academy of Science (TWAS) - พ.ศ. 2540 - สมาชิกก่อตั้งบัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย - พ.ศ. 2540 - รางวัลนักวิจัยดีเด่นของทบวงมหาวิทยาลัย สาขาอาจารย์หรือนักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา ที่มีผลงานวิจัยและพัฒนาที่มีผลในการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา - พ.ศ. 2541 - Member, Asia Pacific International Molecular Biology Network - พ.ศ. 2544 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สาขาชีวเคมี) - พ.ศ. 2545 - รางวัล นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ของ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2546 - รางวัล นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ของ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - พ.ศ. 2546 - รางวัลอาจารย์ดีเด่น ของสภาอาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2547 - รางวัลอาจารย์ตัวอย่าง ของสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2547 - รางวัลอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากที่ประชุมประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) - พ.ศ. 2547 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สาขาวิทยาการโปรตีน) - พ.ศ. 2548 - ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา สาขาวิทยาศาสตร์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2536 - มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2541 - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)ผลงานด้านการวิจัย ผลงานด้านการวิจัย. ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ทำงานวิจัยเกี่ยวกับโครงสร้างและการทำงานของโปรตีนและเอนไซม์ มาเป็นเวลากว่า 35 ปี ได้ศึกษาโปรตีนชนิดต่างๆ ของร่างกายหลายชนิด ดังต่อไปนี้- พ.ศ. 2512 - 2519 - ศึกษาโปรตีนอิมมูโนโกลบูลิน ซึ่งเป็นโปรตีนภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาภายในร่างกาย จึงเป็นโปรตีนที่มีลักษณะโครงสร้างที่พิเศษ โดยมีส่วนหนึ่งของโครงสร้างที่เป็นพื้นฐานทำหน้าที่ส่วนรวม และส่วนที่มีความจำเพาะเพื่อให้สามารถจับกับสารต่างๆ ได้- พ.ศ. 2515 - 2529 - ศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ที่มีความจำเพาะต่อระบบสืบพันธุ์ของเพศชาย ซึ่งเป็นโปรตีนที่มีคุณสมบัติและโครงสร้างแตกต่างจากโปรตีนชนิดเดียวกันที่พบในอวัยวะอื่นๆ จึงเป็นที่น่าสนใจว่าจะสามารถยับยั้งโปรตีนเหล่านี้ได้โดยไม่มีผลต่อโปรตีนของเนื้อเยื่ออื่นหรือไม่ ทั้งนี้ เพื่อหาแนวทางคุมกำเนิดในเพศชาย โปรตีนที่ศึกษาได้แก่ sperm protamine, testis-specific histone, testis-specific lactate dehydrogenase isozyme X และ plasma acidic protease เป็นต้น เพื่อทำให้เข้าใจโครงสร้างและหน้าที่การทำงานของโปรตีนเหล่านั้น- พ.ศ. 2527 - 2548 - ศึกษาโครงสร้างของฮีโมโกลบินผิดปกติซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคเลือด รวมทั้งศึกษาการผ่าเหล่าที่ทำให้เกิดความผิดปกตินี้ และได้ค้นพบฮีโมโกลบินผิดปกติชนิดใหม่อีกหลายชนิดที่ยังไม่เคยมีผู้พบมาก่อนในประเทศไทย เช่น Hb-Lepore-Washington-Boston, Hb J Buda, Hb G Coushatta และ Hb Queens เป็นต้น ทำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่และโครงสร้างของฮีโมโกลบินที่ผิดปกติ และอาการของคนไข้ สามารถวินิจฉัยโรคได้อย่างชัดเจนขึ้น และสามารถให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง- พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน - ศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ในโรคความผิดปกติของกระบวนการเมตาบอลิสม (Inborn errors of metabolism) ซึ่งพบในเด็กไทย และหากไม่ได้รับการรักษาทันท่วงที อาจก่อให้เกิดอาการปัญญาอ่อน ความผิดปกติของกระดูก ฯลฯ ได้ การศึกษาจึงมุ่งเน้นที่จะเข้าใจถึงพื้นฐานระดับโมเลกุลของโรคทางพันธุกรรม เพื่อจะได้นำไปประยุกต์ใช้ในการถ่ายทอดความรู้แก่ผู้ป่วย และช่วยในการบำบัดรักษา ตลอดจนวินิจฉัยโรค- พ.ศ. 2536 - ปัจจุบัน - ศึกษาโครงสร้างการทำงานของเอนไซม์ไกลโคซิเดสและสารจำพวกไกลโคไซด์ ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสลายและการสร้างคาร์โบไฮเดรท โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารจำพวกโอลิโกแซคคาไรด์ ที่มีความสำคัญต่อการทำงานต่างๆ ของเซลล์ ได้ค้นพบเอนไซม์จำพวกนี้ชนิดใหม่หลายชนิดจากเมล็ดพืชพื้นเมืองของไทย ที่มีประโยชน์สามารถนำมาใช้ในการสังเคราะห์โอลิโกแซคคาไรด์และไกลโคไซด์ได้ เช่น เอนไซม์จาก พะยูง ถ่อน มะเขือพวง กระเจี๊ยบ ฉนวน ลั่นทม มันสำปะหลัง และ ข้าว เป็นต้น- พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน - การพัฒนาเทคนิคด้านโปรตีโอมิกส์ในการวิจัยโรคมะเร็ง เป็นการศึกษาโปรตีนผิดปกติที่พบในโรคมะเร็งชนิดต่างๆ โดยใช้เทคนิคโปรตีโอมิกส์ (proteomics) วิเคราะห์หาโปรตีนที่น่าจะมีความสำคัญหรือมีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็งชนิดต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการตรวจวินิจฉัยในระยะเริ่มแรกและแนวทางติดตามผลการรักษา ตลอดจนหาวิธีการรักษาโรคมะเร็งที่ได้ผลดียิ่งขึ้น ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ได้สร้างกลุ่มทีมวิจัยทางด้านโปรตีนและเอนไซม์ที่เข้มแข็งขึ้นในประเทศไทย ทั้งที่ มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ เพื่อมุ่งขยายงานวิจัยทางด้านนี้ให้กว้างขวางขึ้น โดยเน้นศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ที่มีประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ และที่เกี่ยวข้องกับโรคในมนุษย์ ศึกษาความสัมพันธ์ของโครงสร้างและการทำงานของโปรตีนและเอนไซม์ชนิดต่างๆ เช่น เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างอนุพันธ์ของเพนนิซิลินที่มีศักยภาพในการนำไปใช้เป็นยารักษาโรค ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของโปรตีนในโรคต่างๆ รวมทั้งการประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติในการรักษาโรคมะเร็งและการหายของแผล ศึกษาการประยุกต์ใช้โปรตีนและเอนไซม์ทางเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น โปรตีนและเอนไซม์ย่อยโปรตีนในไหมเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมผ้าไหมไทย การแยกสกัดเอนไซม์นาริจีเนสจากแหล่งในประเทศไทย สำหรับใช้ในอุตสาหกรรมผลิตน้ำผลไม้เพื่อกำจัดรสขมในน้ำผลไม้ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้ให้ความสนใจด้านการเรียนการสอน และทำการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอนทางด้านชีวเคมีด้วย งานวิจัยเหล่านี้ ได้ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติกว่า 120 เรื่อง และจะก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในเรื่องของกลไกการทำงานของโปรตีนและความสัมพันธ์กับโครงสร้าง ซึ่งจะนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ทั้งด้านการแพทย์ อุตสาหกรรม และการรักษาสิ่งแวดล้อมต่อไปในอนาคตเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นจตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ฝ่ายพลเรือน) (ร.ด.ม.(ศ)) - เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)ลำดับพงศาวลี
| ศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"หม่อมราชวงศ์พร้อมฉัตร วุฒิชัย"
],
"answer_begin_position": [
594
],
"answer_end_position": [
623
]
} |
1,870 | 40,396 | หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ (25 กันยายน 2490 - ) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีวเคมี และชีวเคมีศึกษา มีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับโปรตีนและเอนไซม์ และเน้นการสอนและการวิจัยทางด้านนี้มาตลอดระยะเวลากว่า 35 ปี เป็นผู้ก่อตั้งชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อ ปี พ.ศ. 2548 ศาสตราจารย์ ดร. หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร เป็นโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานต์มณี (บริพัตร) และหม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์ สมรสกับหม่อมราชวงศ์พร้อมฉัตร วุฒิชัย ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรและหม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย มีบุตรสาวสองคน คือ ม.ล. ศศิภา สวัสดิวัตน์ โลว์ และ ม.ล. จันทราภา สวัสดิวัตน์ประวัติการศึกษา ประวัติ. การศึกษา. ศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ศึกษาที่ประเทศอังกฤษ ตั้งแต่อายุ 6 ขวบ โดยสำเร็จการศึกษาระดับประถม ที่โรงเรียน Cheam School และระดับมัธยมที่โรงเรียน Rugby School จากนั้นได้รับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขาชีวเคมี จาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2511 ได้รับปริญญาโท สาขาชีวเคมี และปริญญาเอก สาขาอณูชีววิทยา จาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปี พ.ศ. 2515 โดยทำงานวิจัยกับนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล Dr. César Milstein ที่ MRC Laboratory of Molecular Biologyประวัติการทำงาน ประวัติการทำงาน. ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. 2515 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในปี พ.ศ. 2518 รองศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. 2521 และศาสตราจารย์ในปี พ.ศ. 2525 เคยปฏิบัติงานวิจัยที่ University of Texas Medical Branch ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่าง ปี พ.ศ. 2519-2520 ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ระดับ 11 ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตำแหน่งหน้าที่อื่นๆ- พ.ศ. 2523 - 2527 - หัวหน้าภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2538 - 2540 - รองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2540 - 2542 - รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน - หัวหน้าห้องปฏิบัติการชีวเคมี สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ - พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน - หัวหน้าหน่วยวิจัยโครงสร้างและการทำงานของโปรตีน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - 2550 - คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - 2550 - กรรมการสภา มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน - กรรมการสภา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ - พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน - นายกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรต่างๆ ของประเทศไทย- พ.ศ. 2528 - 2530 - ประธานสาขาชีวเคมี สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2528 - 2530 - บรรณาธิการวารสารของ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2534 - 2541 - กรรมการสาขาเกษตรและชีววิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - พ.ศ. 2528 - ปัจจุบัน - กรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี - พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน - กรรมการมูลนิธิไทย-เคมบริดจ์ - พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน - สมาชิก บัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน - บรรณาธิการวารสาร ScienceAsia ของ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน - กรรมการสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรระดับนานาชาติ- พ.ศ. 2522 - 2525 - Member, Coordinating Committee, Asian Network of Biological Science - พ.ศ. 2523 - 2529 - Treasurer, Federation of Asian and Oceanian Biochemists (FAOB) - พ.ศ. 2533 - 2535 - President, Federation of Asian and Oceanian Biochemists (FAOB) - พ.ศ. 2539 - 2545 - Member, Committee on Symposia, International Union of Biochemistry and Molecular Biology (IUBMB) - พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน - Thai Delegate to International Union of Biochemistry and Molecular Biology (IUBMB) - พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน - Member, Governing Council Asia-Pacific International Molecular Biology Network - พ.ศ. 2544 - 2548 - Membership Committee for Biochemistry and Biophysics, Third World Academy of Science (TWAS) - พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน - Editorial Board, Molecules and Cells, Korean Society of Molecular and Cellular Biology - พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน - Member, Health Committee, European Action on Global Life Sciences (EAGLES) - พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน - Council Member, Asian and Oceanic Human Proteome Organization (AOHUPO)เกียรติคุณและรางวัลเกียรติคุณและรางวัล. - พ.ศ. 2525 - ได้รับพระราชทานรางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการวิจัย - พ.ศ. 2537 - Honorary Member, Federation of Asian and Oceanian Biochemists and Molecular Biologists (FAOBMB) - พ.ศ. 2538 - Honorary Member, Philippine Society for Biochemistry and Molecular Biology - พ.ศ. 2539 - Elected Fellow, Third World Academy of Science (TWAS) - พ.ศ. 2540 - สมาชิกก่อตั้งบัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย - พ.ศ. 2540 - รางวัลนักวิจัยดีเด่นของทบวงมหาวิทยาลัย สาขาอาจารย์หรือนักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา ที่มีผลงานวิจัยและพัฒนาที่มีผลในการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา - พ.ศ. 2541 - Member, Asia Pacific International Molecular Biology Network - พ.ศ. 2544 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สาขาชีวเคมี) - พ.ศ. 2545 - รางวัล นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ของ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2546 - รางวัล นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ของ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ - พ.ศ. 2546 - รางวัลอาจารย์ดีเด่น ของสภาอาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2547 - รางวัลอาจารย์ตัวอย่าง ของสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2547 - รางวัลอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากที่ประชุมประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) - พ.ศ. 2547 - เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สาขาวิทยาการโปรตีน) - พ.ศ. 2548 - ได้รับพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา สาขาวิทยาศาสตร์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2536 - มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2541 - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)ผลงานด้านการวิจัย ผลงานด้านการวิจัย. ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ทำงานวิจัยเกี่ยวกับโครงสร้างและการทำงานของโปรตีนและเอนไซม์ มาเป็นเวลากว่า 35 ปี ได้ศึกษาโปรตีนชนิดต่างๆ ของร่างกายหลายชนิด ดังต่อไปนี้- พ.ศ. 2512 - 2519 - ศึกษาโปรตีนอิมมูโนโกลบูลิน ซึ่งเป็นโปรตีนภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาภายในร่างกาย จึงเป็นโปรตีนที่มีลักษณะโครงสร้างที่พิเศษ โดยมีส่วนหนึ่งของโครงสร้างที่เป็นพื้นฐานทำหน้าที่ส่วนรวม และส่วนที่มีความจำเพาะเพื่อให้สามารถจับกับสารต่างๆ ได้- พ.ศ. 2515 - 2529 - ศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ที่มีความจำเพาะต่อระบบสืบพันธุ์ของเพศชาย ซึ่งเป็นโปรตีนที่มีคุณสมบัติและโครงสร้างแตกต่างจากโปรตีนชนิดเดียวกันที่พบในอวัยวะอื่นๆ จึงเป็นที่น่าสนใจว่าจะสามารถยับยั้งโปรตีนเหล่านี้ได้โดยไม่มีผลต่อโปรตีนของเนื้อเยื่ออื่นหรือไม่ ทั้งนี้ เพื่อหาแนวทางคุมกำเนิดในเพศชาย โปรตีนที่ศึกษาได้แก่ sperm protamine, testis-specific histone, testis-specific lactate dehydrogenase isozyme X และ plasma acidic protease เป็นต้น เพื่อทำให้เข้าใจโครงสร้างและหน้าที่การทำงานของโปรตีนเหล่านั้น- พ.ศ. 2527 - 2548 - ศึกษาโครงสร้างของฮีโมโกลบินผิดปกติซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคเลือด รวมทั้งศึกษาการผ่าเหล่าที่ทำให้เกิดความผิดปกตินี้ และได้ค้นพบฮีโมโกลบินผิดปกติชนิดใหม่อีกหลายชนิดที่ยังไม่เคยมีผู้พบมาก่อนในประเทศไทย เช่น Hb-Lepore-Washington-Boston, Hb J Buda, Hb G Coushatta และ Hb Queens เป็นต้น ทำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่และโครงสร้างของฮีโมโกลบินที่ผิดปกติ และอาการของคนไข้ สามารถวินิจฉัยโรคได้อย่างชัดเจนขึ้น และสามารถให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง- พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน - ศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ในโรคความผิดปกติของกระบวนการเมตาบอลิสม (Inborn errors of metabolism) ซึ่งพบในเด็กไทย และหากไม่ได้รับการรักษาทันท่วงที อาจก่อให้เกิดอาการปัญญาอ่อน ความผิดปกติของกระดูก ฯลฯ ได้ การศึกษาจึงมุ่งเน้นที่จะเข้าใจถึงพื้นฐานระดับโมเลกุลของโรคทางพันธุกรรม เพื่อจะได้นำไปประยุกต์ใช้ในการถ่ายทอดความรู้แก่ผู้ป่วย และช่วยในการบำบัดรักษา ตลอดจนวินิจฉัยโรค- พ.ศ. 2536 - ปัจจุบัน - ศึกษาโครงสร้างการทำงานของเอนไซม์ไกลโคซิเดสและสารจำพวกไกลโคไซด์ ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสลายและการสร้างคาร์โบไฮเดรท โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารจำพวกโอลิโกแซคคาไรด์ ที่มีความสำคัญต่อการทำงานต่างๆ ของเซลล์ ได้ค้นพบเอนไซม์จำพวกนี้ชนิดใหม่หลายชนิดจากเมล็ดพืชพื้นเมืองของไทย ที่มีประโยชน์สามารถนำมาใช้ในการสังเคราะห์โอลิโกแซคคาไรด์และไกลโคไซด์ได้ เช่น เอนไซม์จาก พะยูง ถ่อน มะเขือพวง กระเจี๊ยบ ฉนวน ลั่นทม มันสำปะหลัง และ ข้าว เป็นต้น- พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน - การพัฒนาเทคนิคด้านโปรตีโอมิกส์ในการวิจัยโรคมะเร็ง เป็นการศึกษาโปรตีนผิดปกติที่พบในโรคมะเร็งชนิดต่างๆ โดยใช้เทคนิคโปรตีโอมิกส์ (proteomics) วิเคราะห์หาโปรตีนที่น่าจะมีความสำคัญหรือมีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็งชนิดต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการตรวจวินิจฉัยในระยะเริ่มแรกและแนวทางติดตามผลการรักษา ตลอดจนหาวิธีการรักษาโรคมะเร็งที่ได้ผลดียิ่งขึ้น ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ได้สร้างกลุ่มทีมวิจัยทางด้านโปรตีนและเอนไซม์ที่เข้มแข็งขึ้นในประเทศไทย ทั้งที่ มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ เพื่อมุ่งขยายงานวิจัยทางด้านนี้ให้กว้างขวางขึ้น โดยเน้นศึกษาโปรตีนและเอนไซม์ที่มีประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ทางเทคโนโลยีชีวภาพ และที่เกี่ยวข้องกับโรคในมนุษย์ ศึกษาความสัมพันธ์ของโครงสร้างและการทำงานของโปรตีนและเอนไซม์ชนิดต่างๆ เช่น เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างอนุพันธ์ของเพนนิซิลินที่มีศักยภาพในการนำไปใช้เป็นยารักษาโรค ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของโปรตีนในโรคต่างๆ รวมทั้งการประยุกต์ใช้สารสกัดจากธรรมชาติในการรักษาโรคมะเร็งและการหายของแผล ศึกษาการประยุกต์ใช้โปรตีนและเอนไซม์ทางเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น โปรตีนและเอนไซม์ย่อยโปรตีนในไหมเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมผ้าไหมไทย การแยกสกัดเอนไซม์นาริจีเนสจากแหล่งในประเทศไทย สำหรับใช้ในอุตสาหกรรมผลิตน้ำผลไม้เพื่อกำจัดรสขมในน้ำผลไม้ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้ให้ความสนใจด้านการเรียนการสอน และทำการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอนทางด้านชีวเคมีด้วย งานวิจัยเหล่านี้ ได้ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติกว่า 120 เรื่อง และจะก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในเรื่องของกลไกการทำงานของโปรตีนและความสัมพันธ์กับโครงสร้าง ซึ่งจะนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ทั้งด้านการแพทย์ อุตสาหกรรม และการรักษาสิ่งแวดล้อมต่อไปในอนาคตเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นจตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ฝ่ายพลเรือน) (ร.ด.ม.(ศ)) - เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)ลำดับพงศาวลี
| มารดาของศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ มีนามว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าอรชุนชิษณุ สวัสดิวัตน์"
],
"answer_begin_position": [
555
],
"answer_end_position": [
586
]
} |
898 | 594,113 | หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช เป็นหม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ หม่อมราชวงศ์ดวงใจเป็นธิดาของเป็นหม่อมเจ้าสุทัศน์ และเป็นนัดดาในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ ต่อมาในเสกสมรสกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ พระโอรส/ธิดา 7 พระองค์ ได้แก่- หม่อมเจ้าหญิงเมาฬี - หม่อมเจ้าหญิงฉวีวาด (หม่อมในกรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร และ อ้างตัวว่าเป็นพระราชเทวีในสมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ที่ 2 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา) - หม่อมเจ้าชายจำรูญ - หม่อมเจ้าหญิงคอยท่า - หม่อมเจ้าหญิงโอษฐอ่อน - หม่อมเจ้าหญิงรำมะแข - หม่อมเจ้าชายคำรบ (พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ)
| หม่อมราชวงศ์ดวงใจเป็นธิดาของหม่อมองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าสุทัศน์"
],
"answer_begin_position": [
249
],
"answer_end_position": [
265
]
} |
899 | 594,113 | หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช เป็นหม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ หม่อมราชวงศ์ดวงใจเป็นธิดาของเป็นหม่อมเจ้าสุทัศน์ และเป็นนัดดาในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ ต่อมาในเสกสมรสกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ พระโอรส/ธิดา 7 พระองค์ ได้แก่- หม่อมเจ้าหญิงเมาฬี - หม่อมเจ้าหญิงฉวีวาด (หม่อมในกรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร และ อ้างตัวว่าเป็นพระราชเทวีในสมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ที่ 2 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา) - หม่อมเจ้าชายจำรูญ - หม่อมเจ้าหญิงคอยท่า - หม่อมเจ้าหญิงโอษฐอ่อน - หม่อมเจ้าหญิงรำมะแข - หม่อมเจ้าชายคำรบ (พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ)
| หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช เป็นหม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์ใด | {
"answer": [
"พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ"
],
"answer_begin_position": [
160
],
"answer_end_position": [
216
]
} |
1,746 | 594,113 | หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช เป็นหม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ หม่อมราชวงศ์ดวงใจเป็นธิดาของเป็นหม่อมเจ้าสุทัศน์ และเป็นนัดดาในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ ต่อมาในเสกสมรสกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ พระโอรส/ธิดา 7 พระองค์ ได้แก่- หม่อมเจ้าหญิงเมาฬี - หม่อมเจ้าหญิงฉวีวาด (หม่อมในกรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร และ อ้างตัวว่าเป็นพระราชเทวีในสมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ที่ 2 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา) - หม่อมเจ้าชายจำรูญ - หม่อมเจ้าหญิงคอยท่า - หม่อมเจ้าหญิงโอษฐอ่อน - หม่อมเจ้าหญิงรำมะแข - หม่อมเจ้าชายคำรบ (พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ)
| พระบิดาของหม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช มีนามว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าสุทัศน์"
],
"answer_begin_position": [
249
],
"answer_end_position": [
265
]
} |
1,747 | 594,113 | หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช เป็นหม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ หม่อมราชวงศ์ดวงใจเป็นธิดาของเป็นหม่อมเจ้าสุทัศน์ และเป็นนัดดาในสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ ต่อมาในเสกสมรสกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ พระโอรส/ธิดา 7 พระองค์ ได้แก่- หม่อมเจ้าหญิงเมาฬี - หม่อมเจ้าหญิงฉวีวาด (หม่อมในกรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร และ อ้างตัวว่าเป็นพระราชเทวีในสมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ที่ 2 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา) - หม่อมเจ้าชายจำรูญ - หม่อมเจ้าหญิงคอยท่า - หม่อมเจ้าหญิงโอษฐอ่อน - หม่อมเจ้าหญิงรำมะแข - หม่อมเจ้าชายคำรบ (พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ)
| หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช เสกสมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ"
],
"answer_begin_position": [
160
],
"answer_end_position": [
216
]
} |
900 | 211,284 | หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช ซึ่งเป็นพระโอรสพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯกรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย และหม่อมระวี จุฑาธุช ณ อยุธยา (ไกยานนท์) ประสูติแด่ หม่อมแพเมลา สมี จุฑาธุช ณ อยุธยา(Pamela Smee, สมรส 10 มิถุนายน 2493) ชาวอังกฤษ หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2496 โดยมีนามลำลองว่าคุณชายนิโคลัส คุณชายมีน้องสาว 1 คน คือ หม่อมราชวงศ์ดารา จุฑาธุช ปัจจุบันคุณชาย เปิดบริษัทเกี่ยวกับการตกแต่งอินทีเรียดีไซน์อยู่ที่ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ คุณชายนิโคลัส มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Dilok (มาจากชื่อไทยว่า ดิลก) Nicholas เป็นชื่อกลาง และเป็นชื่อลำลองในภาษาไทย แตกต่างจากภาษาไทยที่ใช้ชื่อว่า วรานนท์ ซึ่งเป็นชื่อกลาง โดยนาม ดิลก วรานนท์ เป็นนามที่ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ผ่านสำนักราชเลขาธิการ ให้คุณชายใช้ชื่อในบัตรประชาชนว่า ดิลก วรานนท์ และใช้นามสกุลว่า จุฑาธุช ดังมีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Dilok Nicholas Chudadhuj เพื่อง่ายต่อการออกเสียงในภาษาอังกฤษ และคุณชายนิโคลัส ยังตั้งชื่อบุตรชายตามชื่อในภาษาอังกฤษของตนเองว่า ดิลก นิโคลัส อีกด้วย หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช มีศักดิ์เป็นพระนัดดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย และมีศักดิ์เป็นพระราชปนัดดาใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ (พระพันปีหลวง ในรัชกาลที่ ๖และ ๗)ครอบครัว ครอบครัว. หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช สมรสกับ นางเจน บิชอฟ จุฑาธุช ณ อยุธยา Jane Bishop [26 AUG 1950 - ] มีบุตรธิดา 2 คน คือ- หม่อมหลวงดิลก นิโคลัส จุฑาธุช Mom Luang Dilok Nicholas Chudadhuj (14 JAN 1983 - ] - หม่อมหลวงแคทอรีน จุฑาธุช Mom Luang Katharine Chudadhuj [16 JUL 1984 - ] และต่อมา หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช ได้สมรสใหม่กับ นางจุฬาลักษณา วรานนท์ จุฑาธุช ณ อยุธยา หรือคุณอนุรีย์ เจริญวงศ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - ประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.)
| หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช เป็นโอรสในพระวรวงศ์เธอ พระองค์ใด | {
"answer": [
"พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช"
],
"answer_begin_position": [
181
],
"answer_end_position": [
216
]
} |
1,652 | 211,284 | หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช ซึ่งเป็นพระโอรสพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯกรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย และหม่อมระวี จุฑาธุช ณ อยุธยา (ไกยานนท์) ประสูติแด่ หม่อมแพเมลา สมี จุฑาธุช ณ อยุธยา(Pamela Smee, สมรส 10 มิถุนายน 2493) ชาวอังกฤษ หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2496 โดยมีนามลำลองว่าคุณชายนิโคลัส คุณชายมีน้องสาว 1 คน คือ หม่อมราชวงศ์ดารา จุฑาธุช ปัจจุบันคุณชาย เปิดบริษัทเกี่ยวกับการตกแต่งอินทีเรียดีไซน์อยู่ที่ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ คุณชายนิโคลัส มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Dilok (มาจากชื่อไทยว่า ดิลก) Nicholas เป็นชื่อกลาง และเป็นชื่อลำลองในภาษาไทย แตกต่างจากภาษาไทยที่ใช้ชื่อว่า วรานนท์ ซึ่งเป็นชื่อกลาง โดยนาม ดิลก วรานนท์ เป็นนามที่ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ผ่านสำนักราชเลขาธิการ ให้คุณชายใช้ชื่อในบัตรประชาชนว่า ดิลก วรานนท์ และใช้นามสกุลว่า จุฑาธุช ดังมีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Dilok Nicholas Chudadhuj เพื่อง่ายต่อการออกเสียงในภาษาอังกฤษ และคุณชายนิโคลัส ยังตั้งชื่อบุตรชายตามชื่อในภาษาอังกฤษของตนเองว่า ดิลก นิโคลัส อีกด้วย หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช มีศักดิ์เป็นพระนัดดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย และมีศักดิ์เป็นพระราชปนัดดาใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ (พระพันปีหลวง ในรัชกาลที่ ๖และ ๗)ครอบครัว ครอบครัว. หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช สมรสกับ นางเจน บิชอฟ จุฑาธุช ณ อยุธยา Jane Bishop [26 AUG 1950 - ] มีบุตรธิดา 2 คน คือ- หม่อมหลวงดิลก นิโคลัส จุฑาธุช Mom Luang Dilok Nicholas Chudadhuj (14 JAN 1983 - ] - หม่อมหลวงแคทอรีน จุฑาธุช Mom Luang Katharine Chudadhuj [16 JUL 1984 - ] และต่อมา หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช ได้สมรสใหม่กับ นางจุฬาลักษณา วรานนท์ จุฑาธุช ณ อยุธยา หรือคุณอนุรีย์ เจริญวงศ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - ประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.)
| หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"14"
],
"answer_begin_position": [
483
],
"answer_end_position": [
485
]
} |
901 | 34,446 | หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ [นะ-ริด-สา] (เกิด: 2 สิงหาคม พ.ศ. 2499) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ กับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา (Elisabeth Hunter; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) และเป็นพระนัดดาในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ หม่อมราชวงศ์นริศราสมรสครั้งแรกกับคุณแอลเลน เลวี่ มีบุตรชาย 1 คนคือ จุลจักร จักรพงษ์ หรือ "เล็ก" หรือ "ฮิวโก้" และสมรสครั้งที่สองกับกอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ ทอมสัน (กี้, บุตรชายของ หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ ทอมสัน กับ แกรี ทอมสัน) มีบุตรชายอีก 1 คนคือภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ หรือ "กู้"ประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์นริศรา เกิดที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ตั้งชื่อโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ตามพระนามของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เธอใช้ชีวิตวัยเด็กส่วนใหญ่ในบ้านหลังใหญ่บนเนินเขา ณ มณฑลคอร์นวอลล์ เขตชนบทของอังกฤษ แต่ก็กลับกรุงเทพๆ อยู่บ่อยครั้งศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนจิตรลดา รุ่นเดียวกับสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในวัยเด็กท่านติดตาม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ไปมา ระหว่างประเทศไทย กับประเทศอังกฤษ บ่อยครั้ง แต่เมื่ออายุได้ 7 ขวบ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ก็สิ้นพระชนม์ด้วยโรคมะเร็ง และไม่กี่ปีหม่อมเอลิสะเบธ ก็ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคมะเร็งเช่นกัน จึงย้ายไปอยู่กับน้าที่ค่อนข้างเอียงซ้ายและไม่ชอบความเป็น “เจ้า” จึงสบประมาทว่า ชีวิตนี้คงไม่เอาไหน ต่อมาเมื่ออายุ 18 ปีจึงออกจากบ้านน้า ขณะนั้นไม่มีอะไรติดตัวมาเลย โดยทำงานเลี้ยงด้วยลำแข้งตัวเอง ทำงานเสิร์ฟอาหาร จากนั้นเรียนชั้นมัธยมที่คอร์นวอลล์และเรียนระดับอุดมศึกษาด้านภาษาจีน และเปลี่ยนเป็นสาขาประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาจนจบปริญญาบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 1 จาก Courtauld Institute จากนั้นจึงมาเป็นอาจารย์สอนวิชาประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร และสอนภาษาอังกฤษที่โรงเรียนจิตรลดา ได้ทำงานกับทหารในโครงการป้องกันตัวเองตามชายแดน ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับเงินสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ทางด้านชีวิตส่วนตัวสมรสครั้งแรกกับ แอลเลน เลวี่ ด้วยวัยแตกต่างกันมากกว่า 20 ปี ต้องแยกทางกันในที่สุด โดยมีลูกชายด้วยกัน 1 คน คือ จุลจักร จักรพงษ์ หรือ ฮิวโก้ อดีตดาราและนักร้อง จากนั้นแต่งงานกับกี้-กอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ บุตรชาย หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ ซึ่งต่างเป็นลูกครึ่งที่มีรสนิยมและการใช้ชีวิตคล้ายกัน โดยมีบุตรชายคือ กู้-ภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ เธอและครอบครัวใช้ชีวิตไป-มาระหว่างไทยและอังกฤษ ปัจจุบันท่านใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในประเทศอังกฤษ เป็นประธานมูลนิธิโลกสีเขียว เป็นประธานกรรมการสำนักพิมพ์ริเวอร์บุ๊คส์ ซึ่งเป็นสำนักพิมพ์ที่เน้นพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย อีกทั้งในปัจจุบันก็ได้เปิดวังจักรพงษ์เป็นโรงแรมหรูขนาดเล็กชื่อว่าจักรพงษ์วิลล่าแอนด์ไดน์นิ่ง โดยมีคุณไพศาลย์ เปี่ยมเมตตาวัฒน์เป็นผู้ดูแลงานทั้งหมดกิจกรรมทางสังคม กิจกรรมทางสังคม. หม่อมราชวงศ์นริศราเป็นผู้ใส่ใจกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนมานาน เธอเป็นประธานผู้ก่อตั้งมูลนิธิโลกสีเขียว หม่อมราชวงศ์นริศรา เป็นหนึ่งในผู้ได้รับเชิญให้เป็นผู้ถือคบเพลิงโอลิมปิก ในพิธีวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก 2008 ช่วงเดินทางผ่านประเทศไทย ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2551 ในฐานะประธานมูลนิธิโลกสีเขียว ที่มีบทบาทในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แต่หลังเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในทิเบต ซึ่งมีผู้เสียชีวิตหลายสิบรายในลาซา ทิเบต ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551 หม่อมราชวงศ์นริศรา ได้ประกาศถอนตัวจากการเป็นผู้ถือคบเพลงดังกล่าว เพื่อเป็นการประท้วงการละเมิดสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลจีนผลงาน ผลงาน. ผลงานประพันธ์ เช่น หนังสือแคทยาและเจ้าฟ้าสยาม พจนานุกรมอังกฤษ-ไทย ทำร่วมกับ Oxford University Press และทีมงานจากศูนย์การแปลจุฬาฯ ,"ถึงลูกชายเล็ก" ซึ่งเป็นพระราชหัตถเลขารัชกาลที่ 5 ถึงทูลกระหม่อมปู่เกียรติคุณเกียรติคุณ. - ตึกนริศรา จักรพงษ์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.)
| หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ สมรสครั้งแรกกับผู้ใด | {
"answer": [
"คุณแอลเลน เลวี่"
],
"answer_begin_position": [
469
],
"answer_end_position": [
484
]
} |
902 | 34,446 | หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ [นะ-ริด-สา] (เกิด: 2 สิงหาคม พ.ศ. 2499) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ กับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา (Elisabeth Hunter; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) และเป็นพระนัดดาในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ หม่อมราชวงศ์นริศราสมรสครั้งแรกกับคุณแอลเลน เลวี่ มีบุตรชาย 1 คนคือ จุลจักร จักรพงษ์ หรือ "เล็ก" หรือ "ฮิวโก้" และสมรสครั้งที่สองกับกอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ ทอมสัน (กี้, บุตรชายของ หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ ทอมสัน กับ แกรี ทอมสัน) มีบุตรชายอีก 1 คนคือภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ หรือ "กู้"ประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์นริศรา เกิดที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ตั้งชื่อโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ตามพระนามของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เธอใช้ชีวิตวัยเด็กส่วนใหญ่ในบ้านหลังใหญ่บนเนินเขา ณ มณฑลคอร์นวอลล์ เขตชนบทของอังกฤษ แต่ก็กลับกรุงเทพๆ อยู่บ่อยครั้งศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนจิตรลดา รุ่นเดียวกับสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในวัยเด็กท่านติดตาม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ไปมา ระหว่างประเทศไทย กับประเทศอังกฤษ บ่อยครั้ง แต่เมื่ออายุได้ 7 ขวบ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ก็สิ้นพระชนม์ด้วยโรคมะเร็ง และไม่กี่ปีหม่อมเอลิสะเบธ ก็ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคมะเร็งเช่นกัน จึงย้ายไปอยู่กับน้าที่ค่อนข้างเอียงซ้ายและไม่ชอบความเป็น “เจ้า” จึงสบประมาทว่า ชีวิตนี้คงไม่เอาไหน ต่อมาเมื่ออายุ 18 ปีจึงออกจากบ้านน้า ขณะนั้นไม่มีอะไรติดตัวมาเลย โดยทำงานเลี้ยงด้วยลำแข้งตัวเอง ทำงานเสิร์ฟอาหาร จากนั้นเรียนชั้นมัธยมที่คอร์นวอลล์และเรียนระดับอุดมศึกษาด้านภาษาจีน และเปลี่ยนเป็นสาขาประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาจนจบปริญญาบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 1 จาก Courtauld Institute จากนั้นจึงมาเป็นอาจารย์สอนวิชาประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร และสอนภาษาอังกฤษที่โรงเรียนจิตรลดา ได้ทำงานกับทหารในโครงการป้องกันตัวเองตามชายแดน ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับเงินสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ทางด้านชีวิตส่วนตัวสมรสครั้งแรกกับ แอลเลน เลวี่ ด้วยวัยแตกต่างกันมากกว่า 20 ปี ต้องแยกทางกันในที่สุด โดยมีลูกชายด้วยกัน 1 คน คือ จุลจักร จักรพงษ์ หรือ ฮิวโก้ อดีตดาราและนักร้อง จากนั้นแต่งงานกับกี้-กอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ บุตรชาย หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ ซึ่งต่างเป็นลูกครึ่งที่มีรสนิยมและการใช้ชีวิตคล้ายกัน โดยมีบุตรชายคือ กู้-ภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ เธอและครอบครัวใช้ชีวิตไป-มาระหว่างไทยและอังกฤษ ปัจจุบันท่านใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในประเทศอังกฤษ เป็นประธานมูลนิธิโลกสีเขียว เป็นประธานกรรมการสำนักพิมพ์ริเวอร์บุ๊คส์ ซึ่งเป็นสำนักพิมพ์ที่เน้นพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย อีกทั้งในปัจจุบันก็ได้เปิดวังจักรพงษ์เป็นโรงแรมหรูขนาดเล็กชื่อว่าจักรพงษ์วิลล่าแอนด์ไดน์นิ่ง โดยมีคุณไพศาลย์ เปี่ยมเมตตาวัฒน์เป็นผู้ดูแลงานทั้งหมดกิจกรรมทางสังคม กิจกรรมทางสังคม. หม่อมราชวงศ์นริศราเป็นผู้ใส่ใจกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนมานาน เธอเป็นประธานผู้ก่อตั้งมูลนิธิโลกสีเขียว หม่อมราชวงศ์นริศรา เป็นหนึ่งในผู้ได้รับเชิญให้เป็นผู้ถือคบเพลิงโอลิมปิก ในพิธีวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก 2008 ช่วงเดินทางผ่านประเทศไทย ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2551 ในฐานะประธานมูลนิธิโลกสีเขียว ที่มีบทบาทในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แต่หลังเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในทิเบต ซึ่งมีผู้เสียชีวิตหลายสิบรายในลาซา ทิเบต ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551 หม่อมราชวงศ์นริศรา ได้ประกาศถอนตัวจากการเป็นผู้ถือคบเพลงดังกล่าว เพื่อเป็นการประท้วงการละเมิดสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลจีนผลงาน ผลงาน. ผลงานประพันธ์ เช่น หนังสือแคทยาและเจ้าฟ้าสยาม พจนานุกรมอังกฤษ-ไทย ทำร่วมกับ Oxford University Press และทีมงานจากศูนย์การแปลจุฬาฯ ,"ถึงลูกชายเล็ก" ซึ่งเป็นพระราชหัตถเลขารัชกาลที่ 5 ถึงทูลกระหม่อมปู่เกียรติคุณเกียรติคุณ. - ตึกนริศรา จักรพงษ์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.)
| กี้ กอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ บุตรชายของหม่อมองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์"
],
"answer_begin_position": [
2205
],
"answer_end_position": [
2238
]
} |
1,921 | 34,446 | หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ [นะ-ริด-สา] (เกิด: 2 สิงหาคม พ.ศ. 2499) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ กับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา (Elisabeth Hunter; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) และเป็นพระนัดดาในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ หม่อมราชวงศ์นริศราสมรสครั้งแรกกับคุณแอลเลน เลวี่ มีบุตรชาย 1 คนคือ จุลจักร จักรพงษ์ หรือ "เล็ก" หรือ "ฮิวโก้" และสมรสครั้งที่สองกับกอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ ทอมสัน (กี้, บุตรชายของ หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ ทอมสัน กับ แกรี ทอมสัน) มีบุตรชายอีก 1 คนคือภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ หรือ "กู้"ประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์นริศรา เกิดที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ตั้งชื่อโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ตามพระนามของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เธอใช้ชีวิตวัยเด็กส่วนใหญ่ในบ้านหลังใหญ่บนเนินเขา ณ มณฑลคอร์นวอลล์ เขตชนบทของอังกฤษ แต่ก็กลับกรุงเทพๆ อยู่บ่อยครั้งศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนจิตรลดา รุ่นเดียวกับสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในวัยเด็กท่านติดตาม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ไปมา ระหว่างประเทศไทย กับประเทศอังกฤษ บ่อยครั้ง แต่เมื่ออายุได้ 7 ขวบ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ก็สิ้นพระชนม์ด้วยโรคมะเร็ง และไม่กี่ปีหม่อมเอลิสะเบธ ก็ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคมะเร็งเช่นกัน จึงย้ายไปอยู่กับน้าที่ค่อนข้างเอียงซ้ายและไม่ชอบความเป็น “เจ้า” จึงสบประมาทว่า ชีวิตนี้คงไม่เอาไหน ต่อมาเมื่ออายุ 18 ปีจึงออกจากบ้านน้า ขณะนั้นไม่มีอะไรติดตัวมาเลย โดยทำงานเลี้ยงด้วยลำแข้งตัวเอง ทำงานเสิร์ฟอาหาร จากนั้นเรียนชั้นมัธยมที่คอร์นวอลล์และเรียนระดับอุดมศึกษาด้านภาษาจีน และเปลี่ยนเป็นสาขาประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาจนจบปริญญาบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 1 จาก Courtauld Institute จากนั้นจึงมาเป็นอาจารย์สอนวิชาประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร และสอนภาษาอังกฤษที่โรงเรียนจิตรลดา ได้ทำงานกับทหารในโครงการป้องกันตัวเองตามชายแดน ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับเงินสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ทางด้านชีวิตส่วนตัวสมรสครั้งแรกกับ แอลเลน เลวี่ ด้วยวัยแตกต่างกันมากกว่า 20 ปี ต้องแยกทางกันในที่สุด โดยมีลูกชายด้วยกัน 1 คน คือ จุลจักร จักรพงษ์ หรือ ฮิวโก้ อดีตดาราและนักร้อง จากนั้นแต่งงานกับกี้-กอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ บุตรชาย หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ ซึ่งต่างเป็นลูกครึ่งที่มีรสนิยมและการใช้ชีวิตคล้ายกัน โดยมีบุตรชายคือ กู้-ภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ เธอและครอบครัวใช้ชีวิตไป-มาระหว่างไทยและอังกฤษ ปัจจุบันท่านใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในประเทศอังกฤษ เป็นประธานมูลนิธิโลกสีเขียว เป็นประธานกรรมการสำนักพิมพ์ริเวอร์บุ๊คส์ ซึ่งเป็นสำนักพิมพ์ที่เน้นพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย อีกทั้งในปัจจุบันก็ได้เปิดวังจักรพงษ์เป็นโรงแรมหรูขนาดเล็กชื่อว่าจักรพงษ์วิลล่าแอนด์ไดน์นิ่ง โดยมีคุณไพศาลย์ เปี่ยมเมตตาวัฒน์เป็นผู้ดูแลงานทั้งหมดกิจกรรมทางสังคม กิจกรรมทางสังคม. หม่อมราชวงศ์นริศราเป็นผู้ใส่ใจกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนมานาน เธอเป็นประธานผู้ก่อตั้งมูลนิธิโลกสีเขียว หม่อมราชวงศ์นริศรา เป็นหนึ่งในผู้ได้รับเชิญให้เป็นผู้ถือคบเพลิงโอลิมปิก ในพิธีวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก 2008 ช่วงเดินทางผ่านประเทศไทย ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2551 ในฐานะประธานมูลนิธิโลกสีเขียว ที่มีบทบาทในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แต่หลังเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในทิเบต ซึ่งมีผู้เสียชีวิตหลายสิบรายในลาซา ทิเบต ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551 หม่อมราชวงศ์นริศรา ได้ประกาศถอนตัวจากการเป็นผู้ถือคบเพลงดังกล่าว เพื่อเป็นการประท้วงการละเมิดสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลจีนผลงาน ผลงาน. ผลงานประพันธ์ เช่น หนังสือแคทยาและเจ้าฟ้าสยาม พจนานุกรมอังกฤษ-ไทย ทำร่วมกับ Oxford University Press และทีมงานจากศูนย์การแปลจุฬาฯ ,"ถึงลูกชายเล็ก" ซึ่งเป็นพระราชหัตถเลขารัชกาลที่ 5 ถึงทูลกระหม่อมปู่เกียรติคุณเกียรติคุณ. - ตึกนริศรา จักรพงษ์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.)
| พระบิดาของหม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ คือใคร | {
"answer": [
"พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์"
],
"answer_begin_position": [
209
],
"answer_end_position": [
248
]
} |
1,922 | 34,446 | หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ [นะ-ริด-สา] (เกิด: 2 สิงหาคม พ.ศ. 2499) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ กับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา (Elisabeth Hunter; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) และเป็นพระนัดดาในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ หม่อมราชวงศ์นริศราสมรสครั้งแรกกับคุณแอลเลน เลวี่ มีบุตรชาย 1 คนคือ จุลจักร จักรพงษ์ หรือ "เล็ก" หรือ "ฮิวโก้" และสมรสครั้งที่สองกับกอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ ทอมสัน (กี้, บุตรชายของ หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ ทอมสัน กับ แกรี ทอมสัน) มีบุตรชายอีก 1 คนคือภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ หรือ "กู้"ประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์นริศรา เกิดที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ตั้งชื่อโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ตามพระนามของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เธอใช้ชีวิตวัยเด็กส่วนใหญ่ในบ้านหลังใหญ่บนเนินเขา ณ มณฑลคอร์นวอลล์ เขตชนบทของอังกฤษ แต่ก็กลับกรุงเทพๆ อยู่บ่อยครั้งศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนจิตรลดา รุ่นเดียวกับสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในวัยเด็กท่านติดตาม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ไปมา ระหว่างประเทศไทย กับประเทศอังกฤษ บ่อยครั้ง แต่เมื่ออายุได้ 7 ขวบ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ก็สิ้นพระชนม์ด้วยโรคมะเร็ง และไม่กี่ปีหม่อมเอลิสะเบธ ก็ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคมะเร็งเช่นกัน จึงย้ายไปอยู่กับน้าที่ค่อนข้างเอียงซ้ายและไม่ชอบความเป็น “เจ้า” จึงสบประมาทว่า ชีวิตนี้คงไม่เอาไหน ต่อมาเมื่ออายุ 18 ปีจึงออกจากบ้านน้า ขณะนั้นไม่มีอะไรติดตัวมาเลย โดยทำงานเลี้ยงด้วยลำแข้งตัวเอง ทำงานเสิร์ฟอาหาร จากนั้นเรียนชั้นมัธยมที่คอร์นวอลล์และเรียนระดับอุดมศึกษาด้านภาษาจีน และเปลี่ยนเป็นสาขาประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาจนจบปริญญาบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 1 จาก Courtauld Institute จากนั้นจึงมาเป็นอาจารย์สอนวิชาประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร และสอนภาษาอังกฤษที่โรงเรียนจิตรลดา ได้ทำงานกับทหารในโครงการป้องกันตัวเองตามชายแดน ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับเงินสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา ทางด้านชีวิตส่วนตัวสมรสครั้งแรกกับ แอลเลน เลวี่ ด้วยวัยแตกต่างกันมากกว่า 20 ปี ต้องแยกทางกันในที่สุด โดยมีลูกชายด้วยกัน 1 คน คือ จุลจักร จักรพงษ์ หรือ ฮิวโก้ อดีตดาราและนักร้อง จากนั้นแต่งงานกับกี้-กอสวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ บุตรชาย หม่อมราชวงศ์สายสวัสดี สวัสดิวัตน์ ซึ่งต่างเป็นลูกครึ่งที่มีรสนิยมและการใช้ชีวิตคล้ายกัน โดยมีบุตรชายคือ กู้-ภูวสวัสดิ์ จักรพงษ์ เธอและครอบครัวใช้ชีวิตไป-มาระหว่างไทยและอังกฤษ ปัจจุบันท่านใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในประเทศอังกฤษ เป็นประธานมูลนิธิโลกสีเขียว เป็นประธานกรรมการสำนักพิมพ์ริเวอร์บุ๊คส์ ซึ่งเป็นสำนักพิมพ์ที่เน้นพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย อีกทั้งในปัจจุบันก็ได้เปิดวังจักรพงษ์เป็นโรงแรมหรูขนาดเล็กชื่อว่าจักรพงษ์วิลล่าแอนด์ไดน์นิ่ง โดยมีคุณไพศาลย์ เปี่ยมเมตตาวัฒน์เป็นผู้ดูแลงานทั้งหมดกิจกรรมทางสังคม กิจกรรมทางสังคม. หม่อมราชวงศ์นริศราเป็นผู้ใส่ใจกับปัญหาสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนมานาน เธอเป็นประธานผู้ก่อตั้งมูลนิธิโลกสีเขียว หม่อมราชวงศ์นริศรา เป็นหนึ่งในผู้ได้รับเชิญให้เป็นผู้ถือคบเพลิงโอลิมปิก ในพิธีวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก 2008 ช่วงเดินทางผ่านประเทศไทย ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2551 ในฐานะประธานมูลนิธิโลกสีเขียว ที่มีบทบาทในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แต่หลังเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในทิเบต ซึ่งมีผู้เสียชีวิตหลายสิบรายในลาซา ทิเบต ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551 หม่อมราชวงศ์นริศรา ได้ประกาศถอนตัวจากการเป็นผู้ถือคบเพลงดังกล่าว เพื่อเป็นการประท้วงการละเมิดสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลจีนผลงาน ผลงาน. ผลงานประพันธ์ เช่น หนังสือแคทยาและเจ้าฟ้าสยาม พจนานุกรมอังกฤษ-ไทย ทำร่วมกับ Oxford University Press และทีมงานจากศูนย์การแปลจุฬาฯ ,"ถึงลูกชายเล็ก" ซึ่งเป็นพระราชหัตถเลขารัชกาลที่ 5 ถึงทูลกระหม่อมปู่เกียรติคุณเกียรติคุณ. - ตึกนริศรา จักรพงษ์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินีเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.)
| หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ สมรสครั้งแรกกับใคร | {
"answer": [
"คุณแอลเลน เลวี่"
],
"answer_begin_position": [
469
],
"answer_end_position": [
484
]
} |
903 | 52,044 | หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน (21 เมษายน พ.ศ. 2451 — 11 เมษายน พ.ศ. 2491) นักเขียนชาวไทย อดีตนายเรืออากาศที่ต้องโทษในคดีกบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 ผู้มีผลงานเขียนวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลตั้งแต่ในช่วงที่ถูกจองจำในเรือนจำกลางบางขวางประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน เป็นโอรสของหม่อมเจ้าธำรงวรวัฒน์ นวรัตน และพระนัดดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเนาวรัตน์ กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ ได้รับการอบรมแบบทหารภายใต้พระบารมีของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ภายหลังจบโรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้ย้ายไปเป็นนักบินขับไล่ประจำการ ณ สนามบินโคกกระเทียม เมื่ออายุ 25 ปี ขณะดำรงยศนายเรืออากาศโท ต้องออกจากราชการด้วยกรณีศาลพิเศษ พ.ศ. 2476 พิพากษาให้จำคุก 9 ปี ในคดีกบฏบวรเดช ในระหว่างต้องโทษได้เริ่มศึกษาการเมืองโดยการอ่านตำราจากต่างประเทศของผู้ร่วมชะตากรรมในเรือนจำกลางบางขวาง และเขียนหนังสือขึ้น เริ่มเขียนตำราด้วยลายมือลงในสมุด ลักลอบเวียนกันอ่านในหมู่นักโทษการเมืองในชื่อวารสาร “น้ำเงินแท้” และเริ่มวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลบ้าง ก่อนที่นักโทษด้วยกันจะขอร้องให้เลิกเพราะกลัวถูกจับได้และจะถูกเพิ่มโทษ แต่ก็ยังคงเขียนต่อไปจนถืงกับส่งบทความออกมาลงหนังสือพิมพ์ภายนอก หลังถูกจองจำอยู่ 5 จึงปีได้รับพระราชทานอภัยโทษ เมื่อเป็นพ้นโทษแล้วได้เขียนเป็นหนังสือเล่มแรกชื่อ “พรรคการเมืองสยามและต่างประเทศ” แต่ถูกสันติบาลยึดไปจากโรงพิมพ์ทั้งหมดก่อนวางตลาด เพราะการมีพรรคการเมืองในสมัยนั้นเป็นเรื่องผิดกฎหมาย ทำให้เป็นอิสระอยู่ได้ไม่นานก็ถูกสันติบาลจับกุมตัวในข้อหาพยายามล้มล้างรัฐบาล จากสาเหตุที่สันติบาลไปค้นวังพระองค์เจ้าหญิงศิริรัตน์บุษบง พระธิดาองค์ใหญ่ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต แล้วเจอหนังสือกราบทูลของ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ด้วยสำนึกในพระกรุณาของสมเด็จพระบิดาของพระองค์หญิง ที่ได้ชุบเลี้ยงตนมาว่า เมื่อออกจากที่คุมขังมาเป็นอิสระ โอกาสที่จะเอาตัวออกรองฉลองพระบาทคงมีบ้าง ซึ่งสันติบาลตีความว่า โอกาสดังกล่าวคือ โอกาสที่จะคิดแก้แค้นรัฐบาล ในที่สุดศาลพิเศษ พ.ศ. 2481 ได้ตัดสินโทษ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล ว่าเป็นกบฏและให้จำคุกตลอดชีวิต ขณะถูกจองจำอยู่นั้น ได้ลอบแต่งหนังสือ "เมืองนิมิตร" ขึ้น โดยให้ชื่อในขณะนั้นว่า “ความฝันของนักอุดมคติ” ต้นฉบับเป็นภาษาอังกฤษ และตกถึงมือสันติบาลอีก ซึ่งมีผลทำให้ถึงกับต้องโทษเนรเทศไปอยู่เกาะเต่าถึง 3 ปี รัฐบาลใหม่ของ นายควง อภัยวงศ์ จึงได้ประกาศพระราชกฤษฎีกาในปี พ.ศ. 2488 พระราชทานนิรโทษกรรมให้กลับเข้าในราชการรับบำเหน็จบำนาญสังกัด บก.ทอ. ตามเดิม ในปี พ.ศ. 2490 ได้ทำการสมรสกับ คุณหญิงบรรจบพันธุ์ (สังขดุลย์) นวรัตน ณ อยุธยา (น้องสาวของพลเรือเอกจิตต์ สังขดุลย์ อดีตทหารผ่านศึกยุทธนาวีเกาะช้าง) แต่เนื่องจากสังขารที่กรอบเกรียมจากวัณโรคและมาเลเรียครั้งทนทุกข์ทรมานอยู่ ณ เกาะเต่า ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ได้สิ้นอายุขัยลงต่อหน้ามารดาและภริยา เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2491 ก่อนที่ หม่อมหลวงชัยนิมิตร นวรัตน บุตรชายคนเดียวจะเกิดเพียง 45 วัน เท่านั้น สิริรวมอายุได้ 39 ปี 11 เดือน 20 วันงานประพันธ์ งานประพันธ์. ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน มีผลงานที่ได้ประพันธ์ขึ้นและตีพิมพ์สู่บรรณพิภพ นอกจาก “พรรคการเมืองสยามและต่างประเทศ” ที่หลุดรอดจากการทำลายของสันติบาลหลงเหลืออยู่เล่มหนึ่งในห้องหนังสือหายากของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยังมี “ชีวิตแห่งการกบฏสองครั้ง” และ “ความฝันของนักอุดมคติ” หรือในอีกชื่อหนึ่งว่า “เมืองนิมิตร” ซึ่งได้รับคัดเลือกเป็น 1 ในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน และ 1 ใน 88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย นอกจากนั้น ต้นฉบับภาษาอังกฤษชื่อ The Emerald’s Cleavage ได้รับการแปลโดย ศ. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ หลังจากถึงแก่กรรมแล้ว 26 ปี และตีพิมพ์ขึ้นในชื่อ ‘’รอยร้าวของมรกต’’ งานประพันธ์ของ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในภาษาอังกฤษและภาษาญี่ปุ่น เพื่อเผยแพร่อุดมคติของคนไทยคนหนึ่งไปทั่วโลก ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน เป็นเจ้าของประโยคอมตะที่ยังทรงความหมายอย่างยิ่งต่อการเมืองไทย ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคตว่า
| หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน เป็นโอรสของหม่อมเจ้าพระองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าธำรงวรวัฒน์ นวรัตน"
],
"answer_begin_position": [
409
],
"answer_end_position": [
436
]
} |
1,616 | 52,044 | หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน (21 เมษายน พ.ศ. 2451 — 11 เมษายน พ.ศ. 2491) นักเขียนชาวไทย อดีตนายเรืออากาศที่ต้องโทษในคดีกบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 ผู้มีผลงานเขียนวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลตั้งแต่ในช่วงที่ถูกจองจำในเรือนจำกลางบางขวางประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน เป็นโอรสของหม่อมเจ้าธำรงวรวัฒน์ นวรัตน และพระนัดดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเนาวรัตน์ กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ ได้รับการอบรมแบบทหารภายใต้พระบารมีของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ภายหลังจบโรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้ย้ายไปเป็นนักบินขับไล่ประจำการ ณ สนามบินโคกกระเทียม เมื่ออายุ 25 ปี ขณะดำรงยศนายเรืออากาศโท ต้องออกจากราชการด้วยกรณีศาลพิเศษ พ.ศ. 2476 พิพากษาให้จำคุก 9 ปี ในคดีกบฏบวรเดช ในระหว่างต้องโทษได้เริ่มศึกษาการเมืองโดยการอ่านตำราจากต่างประเทศของผู้ร่วมชะตากรรมในเรือนจำกลางบางขวาง และเขียนหนังสือขึ้น เริ่มเขียนตำราด้วยลายมือลงในสมุด ลักลอบเวียนกันอ่านในหมู่นักโทษการเมืองในชื่อวารสาร “น้ำเงินแท้” และเริ่มวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลบ้าง ก่อนที่นักโทษด้วยกันจะขอร้องให้เลิกเพราะกลัวถูกจับได้และจะถูกเพิ่มโทษ แต่ก็ยังคงเขียนต่อไปจนถืงกับส่งบทความออกมาลงหนังสือพิมพ์ภายนอก หลังถูกจองจำอยู่ 5 จึงปีได้รับพระราชทานอภัยโทษ เมื่อเป็นพ้นโทษแล้วได้เขียนเป็นหนังสือเล่มแรกชื่อ “พรรคการเมืองสยามและต่างประเทศ” แต่ถูกสันติบาลยึดไปจากโรงพิมพ์ทั้งหมดก่อนวางตลาด เพราะการมีพรรคการเมืองในสมัยนั้นเป็นเรื่องผิดกฎหมาย ทำให้เป็นอิสระอยู่ได้ไม่นานก็ถูกสันติบาลจับกุมตัวในข้อหาพยายามล้มล้างรัฐบาล จากสาเหตุที่สันติบาลไปค้นวังพระองค์เจ้าหญิงศิริรัตน์บุษบง พระธิดาองค์ใหญ่ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต แล้วเจอหนังสือกราบทูลของ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ด้วยสำนึกในพระกรุณาของสมเด็จพระบิดาของพระองค์หญิง ที่ได้ชุบเลี้ยงตนมาว่า เมื่อออกจากที่คุมขังมาเป็นอิสระ โอกาสที่จะเอาตัวออกรองฉลองพระบาทคงมีบ้าง ซึ่งสันติบาลตีความว่า โอกาสดังกล่าวคือ โอกาสที่จะคิดแก้แค้นรัฐบาล ในที่สุดศาลพิเศษ พ.ศ. 2481 ได้ตัดสินโทษ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล ว่าเป็นกบฏและให้จำคุกตลอดชีวิต ขณะถูกจองจำอยู่นั้น ได้ลอบแต่งหนังสือ "เมืองนิมิตร" ขึ้น โดยให้ชื่อในขณะนั้นว่า “ความฝันของนักอุดมคติ” ต้นฉบับเป็นภาษาอังกฤษ และตกถึงมือสันติบาลอีก ซึ่งมีผลทำให้ถึงกับต้องโทษเนรเทศไปอยู่เกาะเต่าถึง 3 ปี รัฐบาลใหม่ของ นายควง อภัยวงศ์ จึงได้ประกาศพระราชกฤษฎีกาในปี พ.ศ. 2488 พระราชทานนิรโทษกรรมให้กลับเข้าในราชการรับบำเหน็จบำนาญสังกัด บก.ทอ. ตามเดิม ในปี พ.ศ. 2490 ได้ทำการสมรสกับ คุณหญิงบรรจบพันธุ์ (สังขดุลย์) นวรัตน ณ อยุธยา (น้องสาวของพลเรือเอกจิตต์ สังขดุลย์ อดีตทหารผ่านศึกยุทธนาวีเกาะช้าง) แต่เนื่องจากสังขารที่กรอบเกรียมจากวัณโรคและมาเลเรียครั้งทนทุกข์ทรมานอยู่ ณ เกาะเต่า ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ได้สิ้นอายุขัยลงต่อหน้ามารดาและภริยา เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2491 ก่อนที่ หม่อมหลวงชัยนิมิตร นวรัตน บุตรชายคนเดียวจะเกิดเพียง 45 วัน เท่านั้น สิริรวมอายุได้ 39 ปี 11 เดือน 20 วันงานประพันธ์ งานประพันธ์. ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน มีผลงานที่ได้ประพันธ์ขึ้นและตีพิมพ์สู่บรรณพิภพ นอกจาก “พรรคการเมืองสยามและต่างประเทศ” ที่หลุดรอดจากการทำลายของสันติบาลหลงเหลืออยู่เล่มหนึ่งในห้องหนังสือหายากของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยังมี “ชีวิตแห่งการกบฏสองครั้ง” และ “ความฝันของนักอุดมคติ” หรือในอีกชื่อหนึ่งว่า “เมืองนิมิตร” ซึ่งได้รับคัดเลือกเป็น 1 ในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน และ 1 ใน 88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย นอกจากนั้น ต้นฉบับภาษาอังกฤษชื่อ The Emerald’s Cleavage ได้รับการแปลโดย ศ. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ หลังจากถึงแก่กรรมแล้ว 26 ปี และตีพิมพ์ขึ้นในชื่อ ‘’รอยร้าวของมรกต’’ งานประพันธ์ของ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในภาษาอังกฤษและภาษาญี่ปุ่น เพื่อเผยแพร่อุดมคติของคนไทยคนหนึ่งไปทั่วโลก ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน เป็นเจ้าของประโยคอมตะที่ยังทรงความหมายอย่างยิ่งต่อการเมืองไทย ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคตว่า
| ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ได้สิ้นอายุขัยลงต่อหน้ามารดาและภริยา เมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"11"
],
"answer_begin_position": [
2640
],
"answer_end_position": [
2642
]
} |
1,919 | 52,044 | หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน (21 เมษายน พ.ศ. 2451 — 11 เมษายน พ.ศ. 2491) นักเขียนชาวไทย อดีตนายเรืออากาศที่ต้องโทษในคดีกบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 ผู้มีผลงานเขียนวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลตั้งแต่ในช่วงที่ถูกจองจำในเรือนจำกลางบางขวางประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน เป็นโอรสของหม่อมเจ้าธำรงวรวัฒน์ นวรัตน และพระนัดดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเนาวรัตน์ กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ ได้รับการอบรมแบบทหารภายใต้พระบารมีของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ภายหลังจบโรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้ย้ายไปเป็นนักบินขับไล่ประจำการ ณ สนามบินโคกกระเทียม เมื่ออายุ 25 ปี ขณะดำรงยศนายเรืออากาศโท ต้องออกจากราชการด้วยกรณีศาลพิเศษ พ.ศ. 2476 พิพากษาให้จำคุก 9 ปี ในคดีกบฏบวรเดช ในระหว่างต้องโทษได้เริ่มศึกษาการเมืองโดยการอ่านตำราจากต่างประเทศของผู้ร่วมชะตากรรมในเรือนจำกลางบางขวาง และเขียนหนังสือขึ้น เริ่มเขียนตำราด้วยลายมือลงในสมุด ลักลอบเวียนกันอ่านในหมู่นักโทษการเมืองในชื่อวารสาร “น้ำเงินแท้” และเริ่มวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลบ้าง ก่อนที่นักโทษด้วยกันจะขอร้องให้เลิกเพราะกลัวถูกจับได้และจะถูกเพิ่มโทษ แต่ก็ยังคงเขียนต่อไปจนถืงกับส่งบทความออกมาลงหนังสือพิมพ์ภายนอก หลังถูกจองจำอยู่ 5 จึงปีได้รับพระราชทานอภัยโทษ เมื่อเป็นพ้นโทษแล้วได้เขียนเป็นหนังสือเล่มแรกชื่อ “พรรคการเมืองสยามและต่างประเทศ” แต่ถูกสันติบาลยึดไปจากโรงพิมพ์ทั้งหมดก่อนวางตลาด เพราะการมีพรรคการเมืองในสมัยนั้นเป็นเรื่องผิดกฎหมาย ทำให้เป็นอิสระอยู่ได้ไม่นานก็ถูกสันติบาลจับกุมตัวในข้อหาพยายามล้มล้างรัฐบาล จากสาเหตุที่สันติบาลไปค้นวังพระองค์เจ้าหญิงศิริรัตน์บุษบง พระธิดาองค์ใหญ่ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต แล้วเจอหนังสือกราบทูลของ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ด้วยสำนึกในพระกรุณาของสมเด็จพระบิดาของพระองค์หญิง ที่ได้ชุบเลี้ยงตนมาว่า เมื่อออกจากที่คุมขังมาเป็นอิสระ โอกาสที่จะเอาตัวออกรองฉลองพระบาทคงมีบ้าง ซึ่งสันติบาลตีความว่า โอกาสดังกล่าวคือ โอกาสที่จะคิดแก้แค้นรัฐบาล ในที่สุดศาลพิเศษ พ.ศ. 2481 ได้ตัดสินโทษ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล ว่าเป็นกบฏและให้จำคุกตลอดชีวิต ขณะถูกจองจำอยู่นั้น ได้ลอบแต่งหนังสือ "เมืองนิมิตร" ขึ้น โดยให้ชื่อในขณะนั้นว่า “ความฝันของนักอุดมคติ” ต้นฉบับเป็นภาษาอังกฤษ และตกถึงมือสันติบาลอีก ซึ่งมีผลทำให้ถึงกับต้องโทษเนรเทศไปอยู่เกาะเต่าถึง 3 ปี รัฐบาลใหม่ของ นายควง อภัยวงศ์ จึงได้ประกาศพระราชกฤษฎีกาในปี พ.ศ. 2488 พระราชทานนิรโทษกรรมให้กลับเข้าในราชการรับบำเหน็จบำนาญสังกัด บก.ทอ. ตามเดิม ในปี พ.ศ. 2490 ได้ทำการสมรสกับ คุณหญิงบรรจบพันธุ์ (สังขดุลย์) นวรัตน ณ อยุธยา (น้องสาวของพลเรือเอกจิตต์ สังขดุลย์ อดีตทหารผ่านศึกยุทธนาวีเกาะช้าง) แต่เนื่องจากสังขารที่กรอบเกรียมจากวัณโรคและมาเลเรียครั้งทนทุกข์ทรมานอยู่ ณ เกาะเต่า ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ได้สิ้นอายุขัยลงต่อหน้ามารดาและภริยา เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2491 ก่อนที่ หม่อมหลวงชัยนิมิตร นวรัตน บุตรชายคนเดียวจะเกิดเพียง 45 วัน เท่านั้น สิริรวมอายุได้ 39 ปี 11 เดือน 20 วันงานประพันธ์ งานประพันธ์. ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน มีผลงานที่ได้ประพันธ์ขึ้นและตีพิมพ์สู่บรรณพิภพ นอกจาก “พรรคการเมืองสยามและต่างประเทศ” ที่หลุดรอดจากการทำลายของสันติบาลหลงเหลืออยู่เล่มหนึ่งในห้องหนังสือหายากของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยังมี “ชีวิตแห่งการกบฏสองครั้ง” และ “ความฝันของนักอุดมคติ” หรือในอีกชื่อหนึ่งว่า “เมืองนิมิตร” ซึ่งได้รับคัดเลือกเป็น 1 ในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน และ 1 ใน 88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย นอกจากนั้น ต้นฉบับภาษาอังกฤษชื่อ The Emerald’s Cleavage ได้รับการแปลโดย ศ. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ หลังจากถึงแก่กรรมแล้ว 26 ปี และตีพิมพ์ขึ้นในชื่อ ‘’รอยร้าวของมรกต’’ งานประพันธ์ของ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในภาษาอังกฤษและภาษาญี่ปุ่น เพื่อเผยแพร่อุดมคติของคนไทยคนหนึ่งไปทั่วโลก ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน เป็นเจ้าของประโยคอมตะที่ยังทรงความหมายอย่างยิ่งต่อการเมืองไทย ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคตว่า
| บิดาของหม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าธำรงวรวัฒน์ นวรัตน"
],
"answer_begin_position": [
409
],
"answer_end_position": [
436
]
} |
1,920 | 52,044 | หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน (21 เมษายน พ.ศ. 2451 — 11 เมษายน พ.ศ. 2491) นักเขียนชาวไทย อดีตนายเรืออากาศที่ต้องโทษในคดีกบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 ผู้มีผลงานเขียนวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลตั้งแต่ในช่วงที่ถูกจองจำในเรือนจำกลางบางขวางประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน เป็นโอรสของหม่อมเจ้าธำรงวรวัฒน์ นวรัตน และพระนัดดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเนาวรัตน์ กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ ได้รับการอบรมแบบทหารภายใต้พระบารมีของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ภายหลังจบโรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้ย้ายไปเป็นนักบินขับไล่ประจำการ ณ สนามบินโคกกระเทียม เมื่ออายุ 25 ปี ขณะดำรงยศนายเรืออากาศโท ต้องออกจากราชการด้วยกรณีศาลพิเศษ พ.ศ. 2476 พิพากษาให้จำคุก 9 ปี ในคดีกบฏบวรเดช ในระหว่างต้องโทษได้เริ่มศึกษาการเมืองโดยการอ่านตำราจากต่างประเทศของผู้ร่วมชะตากรรมในเรือนจำกลางบางขวาง และเขียนหนังสือขึ้น เริ่มเขียนตำราด้วยลายมือลงในสมุด ลักลอบเวียนกันอ่านในหมู่นักโทษการเมืองในชื่อวารสาร “น้ำเงินแท้” และเริ่มวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลบ้าง ก่อนที่นักโทษด้วยกันจะขอร้องให้เลิกเพราะกลัวถูกจับได้และจะถูกเพิ่มโทษ แต่ก็ยังคงเขียนต่อไปจนถืงกับส่งบทความออกมาลงหนังสือพิมพ์ภายนอก หลังถูกจองจำอยู่ 5 จึงปีได้รับพระราชทานอภัยโทษ เมื่อเป็นพ้นโทษแล้วได้เขียนเป็นหนังสือเล่มแรกชื่อ “พรรคการเมืองสยามและต่างประเทศ” แต่ถูกสันติบาลยึดไปจากโรงพิมพ์ทั้งหมดก่อนวางตลาด เพราะการมีพรรคการเมืองในสมัยนั้นเป็นเรื่องผิดกฎหมาย ทำให้เป็นอิสระอยู่ได้ไม่นานก็ถูกสันติบาลจับกุมตัวในข้อหาพยายามล้มล้างรัฐบาล จากสาเหตุที่สันติบาลไปค้นวังพระองค์เจ้าหญิงศิริรัตน์บุษบง พระธิดาองค์ใหญ่ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต แล้วเจอหนังสือกราบทูลของ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ด้วยสำนึกในพระกรุณาของสมเด็จพระบิดาของพระองค์หญิง ที่ได้ชุบเลี้ยงตนมาว่า เมื่อออกจากที่คุมขังมาเป็นอิสระ โอกาสที่จะเอาตัวออกรองฉลองพระบาทคงมีบ้าง ซึ่งสันติบาลตีความว่า โอกาสดังกล่าวคือ โอกาสที่จะคิดแก้แค้นรัฐบาล ในที่สุดศาลพิเศษ พ.ศ. 2481 ได้ตัดสินโทษ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล ว่าเป็นกบฏและให้จำคุกตลอดชีวิต ขณะถูกจองจำอยู่นั้น ได้ลอบแต่งหนังสือ "เมืองนิมิตร" ขึ้น โดยให้ชื่อในขณะนั้นว่า “ความฝันของนักอุดมคติ” ต้นฉบับเป็นภาษาอังกฤษ และตกถึงมือสันติบาลอีก ซึ่งมีผลทำให้ถึงกับต้องโทษเนรเทศไปอยู่เกาะเต่าถึง 3 ปี รัฐบาลใหม่ของ นายควง อภัยวงศ์ จึงได้ประกาศพระราชกฤษฎีกาในปี พ.ศ. 2488 พระราชทานนิรโทษกรรมให้กลับเข้าในราชการรับบำเหน็จบำนาญสังกัด บก.ทอ. ตามเดิม ในปี พ.ศ. 2490 ได้ทำการสมรสกับ คุณหญิงบรรจบพันธุ์ (สังขดุลย์) นวรัตน ณ อยุธยา (น้องสาวของพลเรือเอกจิตต์ สังขดุลย์ อดีตทหารผ่านศึกยุทธนาวีเกาะช้าง) แต่เนื่องจากสังขารที่กรอบเกรียมจากวัณโรคและมาเลเรียครั้งทนทุกข์ทรมานอยู่ ณ เกาะเต่า ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ได้สิ้นอายุขัยลงต่อหน้ามารดาและภริยา เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2491 ก่อนที่ หม่อมหลวงชัยนิมิตร นวรัตน บุตรชายคนเดียวจะเกิดเพียง 45 วัน เท่านั้น สิริรวมอายุได้ 39 ปี 11 เดือน 20 วันงานประพันธ์ งานประพันธ์. ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน มีผลงานที่ได้ประพันธ์ขึ้นและตีพิมพ์สู่บรรณพิภพ นอกจาก “พรรคการเมืองสยามและต่างประเทศ” ที่หลุดรอดจากการทำลายของสันติบาลหลงเหลืออยู่เล่มหนึ่งในห้องหนังสือหายากของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยังมี “ชีวิตแห่งการกบฏสองครั้ง” และ “ความฝันของนักอุดมคติ” หรือในอีกชื่อหนึ่งว่า “เมืองนิมิตร” ซึ่งได้รับคัดเลือกเป็น 1 ในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน และ 1 ใน 88 หนังสือดีวิทยาศาสตร์ไทย นอกจากนั้น ต้นฉบับภาษาอังกฤษชื่อ The Emerald’s Cleavage ได้รับการแปลโดย ศ. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ หลังจากถึงแก่กรรมแล้ว 26 ปี และตีพิมพ์ขึ้นในชื่อ ‘’รอยร้าวของมรกต’’ งานประพันธ์ของ ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในภาษาอังกฤษและภาษาญี่ปุ่น เพื่อเผยแพร่อุดมคติของคนไทยคนหนึ่งไปทั่วโลก ม.ร.ว. นิมิตรมงคล นวรัตน เป็นเจ้าของประโยคอมตะที่ยังทรงความหมายอย่างยิ่งต่อการเมืองไทย ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคตว่า
| หม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน ได้สมรสกับใคร | {
"answer": [
"คุณหญิงบรรจบพันธุ์"
],
"answer_begin_position": [
2366
],
"answer_end_position": [
2384
]
} |
904 | 407,314 | หม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ คุณข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และประจำสำนักพระราชวังพิเศษ สำนักพระราชวัง อดีตรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการประวัติ ประวัติ. ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์บุตรี กฤดากร เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2485 เป็นธิดาคนเดียวของพลโทหม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากรและหม่อมหลวงต่อ ชุมสาย ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้สมรสกับนายมีชัย วีระไวทยะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน มีบุตรสาว 1 คน คือ- นางสุจิมา วีระไวทยะ (แสงชัยวุฒิกุล) ในวัยเยาว์ท่านผู้หญิงบุตรี ได้รับการส่งตัวไปอยู่ใน ถวายตัวเป็นข้าหลวงรุ่นเยาว์ใน พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในขณะประทับอยู่ที่เมืองไบรตัน ประเทศอังกฤษ ซึ่ง หม่อมหลวงต่อ ชุมสาย มารดาของท่านผู้หญิงก็เป็นข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ซึ่งพระนางเจ้าสุวัทนาก็ทรงชุบเลี้ยงและให้ได้รับการศึกษาจากโรงเรียนชั้นดี ในประเทศอังกฤษ โดยบรรดาข้าหลวงรุ่นเยาว์นี้ จะมีหน้าที่เป็นพระสหายของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชธิดาพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 6 ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชกระแสทูลชวนให้ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร ท่านผู้หญิงบุตรี ได้ทูลขอพระราชาทานพระอนุญาตจากพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ขอศึกษาต่อที่อังกฤษ ซึ่งพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ก็พระราชทานพระอนุญาตตามนั้น เมื่อกลับเมืองไทย ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้กลับมาถวายงานรับใช้ใต้ฝ่าพระบาทพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี เรื่อยมาจนพระนางเจ้าสุวัทนาฯ สิ้นพระชนม์ในปี 2528 จึงถวายงานรับใช้สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ต่อมา ท่านผู้หญิงเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะองคมนตรี และเป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ต่อจากคุณหญิงสัตยวดี จารุดุล พระขนิษฐาในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ปัจจุบัน ท่านผู้หญิงดำรงตำแหน่งรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการ ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ และทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2538 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2534 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2541 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ฝ่ายใน (ท.จ.ว.) - พ.ศ. 2535 - เหรียญจักรพรรดิมาลา - พ.ศ. 2555 - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ ๑ - พ.ศ. 2520 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๙ ชั้น ๓ (ภ.ป.ร. ๓) - พ.ศ. 2528 - เหรียญราชรุจิ ทอง รัชกาลที่ ๙ (ร.จ.ท.๙)
| ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ คุณข้าหลวงในพระนางเจ้า พระองค์ใด | {
"answer": [
"พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี"
],
"answer_begin_position": [
169
],
"answer_end_position": [
199
]
} |
905 | 407,314 | หม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ คุณข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และประจำสำนักพระราชวังพิเศษ สำนักพระราชวัง อดีตรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการประวัติ ประวัติ. ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์บุตรี กฤดากร เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2485 เป็นธิดาคนเดียวของพลโทหม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากรและหม่อมหลวงต่อ ชุมสาย ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้สมรสกับนายมีชัย วีระไวทยะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน มีบุตรสาว 1 คน คือ- นางสุจิมา วีระไวทยะ (แสงชัยวุฒิกุล) ในวัยเยาว์ท่านผู้หญิงบุตรี ได้รับการส่งตัวไปอยู่ใน ถวายตัวเป็นข้าหลวงรุ่นเยาว์ใน พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในขณะประทับอยู่ที่เมืองไบรตัน ประเทศอังกฤษ ซึ่ง หม่อมหลวงต่อ ชุมสาย มารดาของท่านผู้หญิงก็เป็นข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ซึ่งพระนางเจ้าสุวัทนาก็ทรงชุบเลี้ยงและให้ได้รับการศึกษาจากโรงเรียนชั้นดี ในประเทศอังกฤษ โดยบรรดาข้าหลวงรุ่นเยาว์นี้ จะมีหน้าที่เป็นพระสหายของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชธิดาพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 6 ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชกระแสทูลชวนให้ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร ท่านผู้หญิงบุตรี ได้ทูลขอพระราชาทานพระอนุญาตจากพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ขอศึกษาต่อที่อังกฤษ ซึ่งพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ก็พระราชทานพระอนุญาตตามนั้น เมื่อกลับเมืองไทย ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้กลับมาถวายงานรับใช้ใต้ฝ่าพระบาทพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี เรื่อยมาจนพระนางเจ้าสุวัทนาฯ สิ้นพระชนม์ในปี 2528 จึงถวายงานรับใช้สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ต่อมา ท่านผู้หญิงเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะองคมนตรี และเป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ต่อจากคุณหญิงสัตยวดี จารุดุล พระขนิษฐาในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ปัจจุบัน ท่านผู้หญิงดำรงตำแหน่งรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการ ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ และทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2538 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2534 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2541 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ฝ่ายใน (ท.จ.ว.) - พ.ศ. 2535 - เหรียญจักรพรรดิมาลา - พ.ศ. 2555 - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ ๑ - พ.ศ. 2520 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๙ ชั้น ๓ (ภ.ป.ร. ๓) - พ.ศ. 2528 - เหรียญราชรุจิ ทอง รัชกาลที่ ๙ (ร.จ.ท.๙)
| ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"นายมีชัย วีระไวทยะ"
],
"answer_begin_position": [
584
],
"answer_end_position": [
602
]
} |
1,916 | 407,314 | หม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ คุณข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และประจำสำนักพระราชวังพิเศษ สำนักพระราชวัง อดีตรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการประวัติ ประวัติ. ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์บุตรี กฤดากร เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2485 เป็นธิดาคนเดียวของพลโทหม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากรและหม่อมหลวงต่อ ชุมสาย ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้สมรสกับนายมีชัย วีระไวทยะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน มีบุตรสาว 1 คน คือ- นางสุจิมา วีระไวทยะ (แสงชัยวุฒิกุล) ในวัยเยาว์ท่านผู้หญิงบุตรี ได้รับการส่งตัวไปอยู่ใน ถวายตัวเป็นข้าหลวงรุ่นเยาว์ใน พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในขณะประทับอยู่ที่เมืองไบรตัน ประเทศอังกฤษ ซึ่ง หม่อมหลวงต่อ ชุมสาย มารดาของท่านผู้หญิงก็เป็นข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ซึ่งพระนางเจ้าสุวัทนาก็ทรงชุบเลี้ยงและให้ได้รับการศึกษาจากโรงเรียนชั้นดี ในประเทศอังกฤษ โดยบรรดาข้าหลวงรุ่นเยาว์นี้ จะมีหน้าที่เป็นพระสหายของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชธิดาพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 6 ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชกระแสทูลชวนให้ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร ท่านผู้หญิงบุตรี ได้ทูลขอพระราชาทานพระอนุญาตจากพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ขอศึกษาต่อที่อังกฤษ ซึ่งพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ก็พระราชทานพระอนุญาตตามนั้น เมื่อกลับเมืองไทย ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้กลับมาถวายงานรับใช้ใต้ฝ่าพระบาทพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี เรื่อยมาจนพระนางเจ้าสุวัทนาฯ สิ้นพระชนม์ในปี 2528 จึงถวายงานรับใช้สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ต่อมา ท่านผู้หญิงเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะองคมนตรี และเป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ต่อจากคุณหญิงสัตยวดี จารุดุล พระขนิษฐาในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ปัจจุบัน ท่านผู้หญิงดำรงตำแหน่งรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการ ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ และทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2538 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2534 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2541 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ฝ่ายใน (ท.จ.ว.) - พ.ศ. 2535 - เหรียญจักรพรรดิมาลา - พ.ศ. 2555 - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ ๑ - พ.ศ. 2520 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๙ ชั้น ๓ (ภ.ป.ร. ๓) - พ.ศ. 2528 - เหรียญราชรุจิ ทอง รัชกาลที่ ๙ (ร.จ.ท.๙)
| ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ มีนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมราชวงศ์บุตรี กฤดากร"
],
"answer_begin_position": [
419
],
"answer_end_position": [
443
]
} |
1,917 | 407,314 | หม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ คุณข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และประจำสำนักพระราชวังพิเศษ สำนักพระราชวัง อดีตรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการประวัติ ประวัติ. ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์บุตรี กฤดากร เกิดเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2485 เป็นธิดาคนเดียวของพลโทหม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากรและหม่อมหลวงต่อ ชุมสาย ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้สมรสกับนายมีชัย วีระไวทยะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน มีบุตรสาว 1 คน คือ- นางสุจิมา วีระไวทยะ (แสงชัยวุฒิกุล) ในวัยเยาว์ท่านผู้หญิงบุตรี ได้รับการส่งตัวไปอยู่ใน ถวายตัวเป็นข้าหลวงรุ่นเยาว์ใน พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในขณะประทับอยู่ที่เมืองไบรตัน ประเทศอังกฤษ ซึ่ง หม่อมหลวงต่อ ชุมสาย มารดาของท่านผู้หญิงก็เป็นข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ซึ่งพระนางเจ้าสุวัทนาก็ทรงชุบเลี้ยงและให้ได้รับการศึกษาจากโรงเรียนชั้นดี ในประเทศอังกฤษ โดยบรรดาข้าหลวงรุ่นเยาว์นี้ จะมีหน้าที่เป็นพระสหายของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชธิดาพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 6 ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชกระแสทูลชวนให้ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร ท่านผู้หญิงบุตรี ได้ทูลขอพระราชาทานพระอนุญาตจากพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ขอศึกษาต่อที่อังกฤษ ซึ่งพระนางเจ้าสุวัทนาฯ ก็พระราชทานพระอนุญาตตามนั้น เมื่อกลับเมืองไทย ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้กลับมาถวายงานรับใช้ใต้ฝ่าพระบาทพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี เรื่อยมาจนพระนางเจ้าสุวัทนาฯ สิ้นพระชนม์ในปี 2528 จึงถวายงานรับใช้สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ต่อมา ท่านผู้หญิงเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะองคมนตรี และเป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ต่อจากคุณหญิงสัตยวดี จารุดุล พระขนิษฐาในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ปัจจุบัน ท่านผู้หญิงดำรงตำแหน่งรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการ ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก มหาวชิรมงกุฎ และทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2538 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2534 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2541 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ฝ่ายใน (ท.จ.ว.) - พ.ศ. 2535 - เหรียญจักรพรรดิมาลา - พ.ศ. 2555 - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ ๑ - พ.ศ. 2520 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๙ ชั้น ๓ (ภ.ป.ร. ๓) - พ.ศ. 2528 - เหรียญราชรุจิ ทอง รัชกาลที่ ๙ (ร.จ.ท.๙)
| ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"นายมีชัย วีระไวทยะ"
],
"answer_begin_position": [
584
],
"answer_end_position": [
602
]
} |
906 | 43,615 | หม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์ ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์บุษบา กิติยากร; 2 สิงหาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร และเป็นพระขนิษฐาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถประวัติ ประวัติ. ท่านผู้หญิงบุษบาเกิดที่สหรัฐอเมริกา เป็นพระธิดาของหม่อมเจ้านักขัตรมงคล (ภายหลังได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น พลเอกพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ) กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร (สกุลเดิม: สนิทวงศ์) ขณะที่พระบิดารับราชการกระทรวงการต่างประเทศ ประจำสถานเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงวอชิงตัน สำเร็จศึกษาจากโรงเรียนราชินี และโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ เช่นเดียวกับสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ก่อนจะตามเสด็จพระบิดาไปศึกษาต่อที่ยุโรปสมรส สมรส. ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ มีธิดา 1 คน กับ หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ คือ ท่านผู้หญิง ดร.สุธาวัลย์ เสถียรไทย ภริยาของศาสตราจารย์ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และกระทรวงการต่างประเทศ ปัจจุบันท่านผู้หญิงบุษบาสมรสกับนาวาเอก สุรยุทธ์ สธนพงศ์ ร.น.เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2) - เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 12 สิงหาคม 2535 - เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 12 สิงหาคม 2547ลำดับสาแหรก
| ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ มีชื่อเดิมเรียกว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมราชวงศ์บุษบา กิติยากร"
],
"answer_begin_position": [
159
],
"answer_end_position": [
185
]
} |
907 | 43,615 | หม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์ ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์บุษบา กิติยากร; 2 สิงหาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร และเป็นพระขนิษฐาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถประวัติ ประวัติ. ท่านผู้หญิงบุษบาเกิดที่สหรัฐอเมริกา เป็นพระธิดาของหม่อมเจ้านักขัตรมงคล (ภายหลังได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น พลเอกพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ) กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร (สกุลเดิม: สนิทวงศ์) ขณะที่พระบิดารับราชการกระทรวงการต่างประเทศ ประจำสถานเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงวอชิงตัน สำเร็จศึกษาจากโรงเรียนราชินี และโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ เช่นเดียวกับสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ก่อนจะตามเสด็จพระบิดาไปศึกษาต่อที่ยุโรปสมรส สมรส. ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ มีธิดา 1 คน กับ หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ คือ ท่านผู้หญิง ดร.สุธาวัลย์ เสถียรไทย ภริยาของศาสตราจารย์ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และกระทรวงการต่างประเทศ ปัจจุบันท่านผู้หญิงบุษบาสมรสกับนาวาเอก สุรยุทธ์ สธนพงศ์ ร.น.เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2) - เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 12 สิงหาคม 2535 - เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 12 สิงหาคม 2547ลำดับสาแหรก
| ท่านผู้หญิง ดร.สุธาวัลย์ เสถียรไทย เป็นภริยาของใคร | {
"answer": [
"ศาสตราจารย์ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย"
],
"answer_begin_position": [
932
],
"answer_end_position": [
968
]
} |
908 | 702,185 | หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ ท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ (นามเดิม : หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ ทองแถม) (17 พฤษภาคม 2467 - 26 เมษายน 2560,อายุ 92 ปี) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าพันธ์สิหิงค์ ทองใหญ่ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม มีพี่น้องร่วมบิดา-มารดา 4 คน ดังนี้1. ท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ สมรสกับ นายพ่วง สุวรรณรัฐ 2. หม่อมราชวงศ์หญิงจามิกร มณีสิงห์ สมรสกับ นายมงคล มณีสิงห์ 3. หม่อมราชวงศ์จารุพันธุ์ ทองแถม สมรสกับ นางประสม ทองแถม 4. หม่อมราชวงศ์หญิงทรงสุวรรณ วิชัยธนพัฒน์ สมรสกับ พลเรือตรี อุทัย วิชัยธนพัฒน์ ท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ สมรสกับนายพ่วง สุวรรณรัฐ (11 กรกฎาคม 2454 - 10 พฤศจิกายน 2543,อายุ 89 ปี) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยและปลัดกระทรวงมหาดไทย มีบุตร คือ1. ท่านผู้หญิงพรรณวดี จุฑารัตนกุล นางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ สมรสกับ นายจเร จุฑารัตนกุล อดีตปลัดกระทรวงพาณิชย์ 2. นางพิยดา สุวรรณรัฐ ประกอบอาชีพอิสระ สมรสกับนายเฮนริค แลงเฟลด์ 3. นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี สมรสกับท่านผู้หญิงทัศนียา สุวรรณรัฐ (โฆวินทะ) 4. นางภราไดย สุวรรณรัฐ สมรสกับ นายทินกร หิรัญพฤกษ์ ซึ่งมีลูกชายเป็นดารานักแสดงหนุ่มชื่อดัง "ภูริ หิรัญพฤกษ์" 5. นายพระนาย สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย ซึ่งรับราชการในสายมหาดไทยเคยเป็นผู้ว่าราชการหลายจังหวัด และผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ผอ.ศอ.บต.)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.)พงศาวลี
| ท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"นายพ่วง สุวรรณรัฐ"
],
"answer_begin_position": [
577
],
"answer_end_position": [
594
]
} |
909 | 702,185 | หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ ท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ (นามเดิม : หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ ทองแถม) (17 พฤษภาคม 2467 - 26 เมษายน 2560,อายุ 92 ปี) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าพันธ์สิหิงค์ ทองใหญ่ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม มีพี่น้องร่วมบิดา-มารดา 4 คน ดังนี้1. ท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ สมรสกับ นายพ่วง สุวรรณรัฐ 2. หม่อมราชวงศ์หญิงจามิกร มณีสิงห์ สมรสกับ นายมงคล มณีสิงห์ 3. หม่อมราชวงศ์จารุพันธุ์ ทองแถม สมรสกับ นางประสม ทองแถม 4. หม่อมราชวงศ์หญิงทรงสุวรรณ วิชัยธนพัฒน์ สมรสกับ พลเรือตรี อุทัย วิชัยธนพัฒน์ ท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ สมรสกับนายพ่วง สุวรรณรัฐ (11 กรกฎาคม 2454 - 10 พฤศจิกายน 2543,อายุ 89 ปี) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยและปลัดกระทรวงมหาดไทย มีบุตร คือ1. ท่านผู้หญิงพรรณวดี จุฑารัตนกุล นางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ สมรสกับ นายจเร จุฑารัตนกุล อดีตปลัดกระทรวงพาณิชย์ 2. นางพิยดา สุวรรณรัฐ ประกอบอาชีพอิสระ สมรสกับนายเฮนริค แลงเฟลด์ 3. นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี สมรสกับท่านผู้หญิงทัศนียา สุวรรณรัฐ (โฆวินทะ) 4. นางภราไดย สุวรรณรัฐ สมรสกับ นายทินกร หิรัญพฤกษ์ ซึ่งมีลูกชายเป็นดารานักแสดงหนุ่มชื่อดัง "ภูริ หิรัญพฤกษ์" 5. นายพระนาย สุวรรณรัฐ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย ซึ่งรับราชการในสายมหาดไทยเคยเป็นผู้ว่าราชการหลายจังหวัด และผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ผอ.ศอ.บต.)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.)พงศาวลี
| หม่อมราชวงศ์หญิงทรงสุวรรณ วิชัยธนพัฒน์ สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"พลเรือตรี อุทัย วิชัยธนพัฒน์"
],
"answer_begin_position": [
762
],
"answer_end_position": [
790
]
} |
910 | 357,236 | วัดกระชงคาราม วัดกระชงคาราม เป็นวัดของคณะสงฆ์เถรวาท สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านหลุม อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย วัดกระชงคาราม มีประวัติการก่อสร้างเมื่อ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2521 โดยได้รับการบริจาคที่ดินจากนายสุวัฒน์ สิงหบุระอุดม วัดได้รับการตั้งชื่อตามหมู่บ้านที่ตั้ง มีพื้นสร้างวัดมีเนื้อที่ 15 ไร่ 1 งาน 42 ตารางวาศาสนสถานศาสนสถาน. - อุโบสถ - ศาลาการเปรียญ - ฌาปนสถาน/ศาลาคู่เมรุ - กุฏิที่พำนักสงฆ์ลำดับเจ้าอาวาสลำดับเจ้าอาวาส. - พระครูวรธรรโมทัย (สุนทร ป.ธ.๔, พธ.บ.)แหล่งข้อมูลเกี่ยวข้องแหล่งข้อมูลเกี่ยวข้อง. - สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด
| ใครเป็นผู้บริจาคที่ดินสร้างวัดกระชงคารามซึ่งตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านหลุม อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย | {
"answer": [
"นายสุวัฒน์ สิงหบุระอุดม"
],
"answer_begin_position": [
293
],
"answer_end_position": [
316
]
} |
1,524 | 357,236 | วัดกระชงคาราม วัดกระชงคาราม เป็นวัดของคณะสงฆ์เถรวาท สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านหลุม อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย วัดกระชงคาราม มีประวัติการก่อสร้างเมื่อ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2521 โดยได้รับการบริจาคที่ดินจากนายสุวัฒน์ สิงหบุระอุดม วัดได้รับการตั้งชื่อตามหมู่บ้านที่ตั้ง มีพื้นสร้างวัดมีเนื้อที่ 15 ไร่ 1 งาน 42 ตารางวาศาสนสถานศาสนสถาน. - อุโบสถ - ศาลาการเปรียญ - ฌาปนสถาน/ศาลาคู่เมรุ - กุฏิที่พำนักสงฆ์ลำดับเจ้าอาวาสลำดับเจ้าอาวาส. - พระครูวรธรรโมทัย (สุนทร ป.ธ.๔, พธ.บ.)แหล่งข้อมูลเกี่ยวข้องแหล่งข้อมูลเกี่ยวข้อง. - สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด
| วัดกระชงคารามตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านหลุม อำเภอเมือง ในจังหวัดอะไร | {
"answer": [
"สุโขทัย"
],
"answer_begin_position": [
197
],
"answer_end_position": [
204
]
} |
911 | 243,735 | วัดกระดังงา วัดกระดังงาเป็นวัดที่เก่าแก่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นวัดที่มีความรุ่งเรืองมากวัดหนึ่งในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง คือ พระครูกันตสีลาภิวัฒน์ เปี้ยน กันตสีโล อดีตเจ้าอาวาส พระครูกันตสีลาภิวัฒน์ ได้สร้างอุโบสถที่สวยงามภายในมีภาพวาดที่สวยงามมาก หาชมได้ยาก และได้สร้าง ศาลาการเปรียญ หอฉัน กุฏิเจ้าอาวาส หอพักสงฆ์หลังใหญ่และเล็ก เมรุ ศาลาปรายทางซุ้มประตู้กำแพง และซื้อที่ดินเพิ่มอีกประมาณยี่สิบกว่าไร และได้เก็บรวบรวมเครื่องถ้วย เครื่องใช้ ของโบราณ อีกมากมาย
| วัดกระดังงาในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นวัดที่เก่าแก่มีมาตั้งแต่สมัยใด | {
"answer": [
"สมัยกรุงศรีอยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
137
],
"answer_end_position": [
154
]
} |
1,481 | 243,735 | วัดกระดังงา วัดกระดังงาเป็นวัดที่เก่าแก่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นวัดที่มีความรุ่งเรืองมากวัดหนึ่งในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง คือ พระครูกันตสีลาภิวัฒน์ เปี้ยน กันตสีโล อดีตเจ้าอาวาส พระครูกันตสีลาภิวัฒน์ ได้สร้างอุโบสถที่สวยงามภายในมีภาพวาดที่สวยงามมาก หาชมได้ยาก และได้สร้าง ศาลาการเปรียญ หอฉัน กุฏิเจ้าอาวาส หอพักสงฆ์หลังใหญ่และเล็ก เมรุ ศาลาปรายทางซุ้มประตู้กำแพง และซื้อที่ดินเพิ่มอีกประมาณยี่สิบกว่าไร และได้เก็บรวบรวมเครื่องถ้วย เครื่องใช้ ของโบราณ อีกมากมาย
| วัดกระดังงาเป็นวัดหนึ่งในอำเภอขนอม จังหวัดอะไร | {
"answer": [
"นครศรีธรรมราช"
],
"answer_begin_position": [
210
],
"answer_end_position": [
223
]
} |
912 | 873,751 | วัดกระโดงทอง ตั้งอยู่เลขที่ ๑ บ้านปลายนา หมู่ที่ ๗ ต.บ้านโพธิ์ อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกายประวัติวัดกระโดงทอง ประวัติวัดกระโดงทอง. ตั้งอยู่เลขที่ ๑ บ้านปลายนา หมู่ที่ ๗ ต.บ้านโพธิ์ อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๒๕ ไร่ ๔๓ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือและทิศใต้ ติดต่อกับทางสาธารณะทิศ ตะวันออกและตะวันตก ติดต่อกับแม่น้ำน้อย มีที่ธรณีสงฆ์ จำนวน ๑ แปลง เนื่อที่ ๒๓ ไร่ ๒ งาน ๓๒ ตารางวา โฉนดเลขที่ ๘๒๑๗ พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำโอบล้อมทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตกลำดับการปกครองของอดีตเจ้าอาวาส ลำดับการปกครองของอดีตเจ้าอาวาส. เท่าที่หลักฐานปรากฏ วัดกระโดงทองมีเจ้าอาวาสวัด รวมถึงรูปปัจจุบันด้วย มี ๑๐ รูป อดีตเจ้าอาวาส มี ๙ รูป ๑. พระอาจารย์ช้าง ๒. พระอาจารย์แก่น ๓. พระอาจารย์ฟัก ๔. พระอาจารย์พวง ๕. พระอาจารย์มาก ๖. พระครูอุดมสมาจารย์ ๗. พระครูชื้น จนทสุวณโณ ๘. พระครูวิบูลย์ธรรมศาสตร์ ๙. พระครูพิลาศธรรมานุกูล ๑๐.พระครูวัชรสุวรรณากร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันปูชนียวัตถุ ปูชนียวัตถุ. มีพระประธานในอุโบสถ และหลวงปู่พระพุทธเกษร ประดิษฐานอยู่ในพระปรางค์ วัดกระโดงทอง สร้างขึ้นประมาณ พ.ศ. ๒๔๐๐ เล่ากันว่าพ่อค้าสำเภา ได้มาดำเนินการจัดสร้างโดยใช้เสากระโดงเรือปักหมายไว้เป็นสัญลักษณ์ ระยะแรกเรียก วัด "เสากระโดงทอง" ต่อมา คำว่าเสาหายไป คงเหลือเป็นนามวัดว่า "วัดกระโดงทอง" ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลัง วันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๓ศาสนสถาน ศาสนสถาน. สิ่งปลูกสร้าง ที่เป็นอาคารเสนาสนะต่าง ๆ เช่น - อุโบสถ กว้าง ๘ ยาว ๑๘ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓ ก่ออิฐ ถือปูน - ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๔ เมตร ยาว ๒๒ เมตร สร้าง พ.ศ. ๒๔๙๖ - หอฉันท์ กว้าง ๙ เมตร ยาว ๑๕ เมตร - หอสวดมนต์ กว่าง ๑๐ เมตร ยาว ๑๕ เมตร - กุฎิสงฆ์ จำนวน ๑๗ หลังเจ้าอาวาส
| วัดกระโดงทอง. ตั้งอยู่เลขที่ ๑ บ้านปลายนา หมู่ที่ ๗ ต.บ้านโพธิ์ อ.เสนา จังหวัดอะไร | {
"answer": [
"จ.พระนครศรีอยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
295
],
"answer_end_position": [
312
]
} |
1,578 | 873,751 | วัดกระโดงทอง ตั้งอยู่เลขที่ ๑ บ้านปลายนา หมู่ที่ ๗ ต.บ้านโพธิ์ อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกายประวัติวัดกระโดงทอง ประวัติวัดกระโดงทอง. ตั้งอยู่เลขที่ ๑ บ้านปลายนา หมู่ที่ ๗ ต.บ้านโพธิ์ อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๒๕ ไร่ ๔๓ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือและทิศใต้ ติดต่อกับทางสาธารณะทิศ ตะวันออกและตะวันตก ติดต่อกับแม่น้ำน้อย มีที่ธรณีสงฆ์ จำนวน ๑ แปลง เนื่อที่ ๒๓ ไร่ ๒ งาน ๓๒ ตารางวา โฉนดเลขที่ ๘๒๑๗ พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำโอบล้อมทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตกลำดับการปกครองของอดีตเจ้าอาวาส ลำดับการปกครองของอดีตเจ้าอาวาส. เท่าที่หลักฐานปรากฏ วัดกระโดงทองมีเจ้าอาวาสวัด รวมถึงรูปปัจจุบันด้วย มี ๑๐ รูป อดีตเจ้าอาวาส มี ๙ รูป ๑. พระอาจารย์ช้าง ๒. พระอาจารย์แก่น ๓. พระอาจารย์ฟัก ๔. พระอาจารย์พวง ๕. พระอาจารย์มาก ๖. พระครูอุดมสมาจารย์ ๗. พระครูชื้น จนทสุวณโณ ๘. พระครูวิบูลย์ธรรมศาสตร์ ๙. พระครูพิลาศธรรมานุกูล ๑๐.พระครูวัชรสุวรรณากร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันปูชนียวัตถุ ปูชนียวัตถุ. มีพระประธานในอุโบสถ และหลวงปู่พระพุทธเกษร ประดิษฐานอยู่ในพระปรางค์ วัดกระโดงทอง สร้างขึ้นประมาณ พ.ศ. ๒๔๐๐ เล่ากันว่าพ่อค้าสำเภา ได้มาดำเนินการจัดสร้างโดยใช้เสากระโดงเรือปักหมายไว้เป็นสัญลักษณ์ ระยะแรกเรียก วัด "เสากระโดงทอง" ต่อมา คำว่าเสาหายไป คงเหลือเป็นนามวัดว่า "วัดกระโดงทอง" ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลัง วันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๓ศาสนสถาน ศาสนสถาน. สิ่งปลูกสร้าง ที่เป็นอาคารเสนาสนะต่าง ๆ เช่น - อุโบสถ กว้าง ๘ ยาว ๑๘ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓ ก่ออิฐ ถือปูน - ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๔ เมตร ยาว ๒๒ เมตร สร้าง พ.ศ. ๒๔๙๖ - หอฉันท์ กว้าง ๙ เมตร ยาว ๑๕ เมตร - หอสวดมนต์ กว่าง ๑๐ เมตร ยาว ๑๕ เมตร - กุฎิสงฆ์ จำนวน ๑๗ หลังเจ้าอาวาส
| วัดกระโดงทอง ตั้งอยู่เลขที่ ๑ บ้านปลายนา หมู่ที่ ๗ ต.บ้านโพธิ์ อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา สร้างขึ้นประมาณ พ.ศ.ใด | {
"answer": [
"๒๔๐๐"
],
"answer_begin_position": [
1132
],
"answer_end_position": [
1136
]
} |
913 | 376,891 | วัดกองดิน วัดกองดิน เป็นวัดราษฏร์ในนิกายเถรวาท ตั้งอยู่ที่ ตำบลกองดิน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย อยู่ในเขตปกครองการคณะสงฆ์ อำเภอแกลง จังหวัดระยองโดยมี พระครูสุนทรเขมาภินันท์ เป็นเจ้าอาวาส ตามประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลกองดิน และองค์การบริหารส่วนตำบลกองดิน ได้ระบุไว้ว่า วัดกองดินนี้ เป็นสถานที่หยุดพักทัพตำดินปืนของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และมีพระประธานประจำในอุโบสถ มีพระนามว่า พระพุทธภัทรปิยปกาศิต หรือรู้จักกันโดยทั่วไปว่า หลวงพ่อปิยปกาศิตประวัติ ประวัติ. ตามรายงานลงวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2442 (ร.ศ. 118) มีการระบุชื่อของวัด ณ สถานที่แห่งนี้ว่า "วัดคงคาจืด" ภายหลังวัดคงคาจืดได้ทรุดโทรม ยากแก่การบูรณปฏิสังขรณ์ ประชาชนในพื้นที่จึงได้ทำการย้าย สร้างวัดขึ้นมาใหม่ และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "วัดกองดิน" ปัจจุบันวัดกองดิน ตั้งอยู่ในตำแหน่งจุดกึ่งกลางของพื้นที่ 4 จังหวัด (ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, ตราด)หลักฐานการตั้งวัดหลักฐานการตั้งวัด. 1. ได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัด ในปี พ.ศ. 2495 2. อุโบสถได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ขนาดกว้าง 24 เมตร ยาว 42 เมตร และได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2533พระพุทธภัทรปิยปกาศิตพุทธลักษณะ พระพุทธภัทรปิยปกาศิต. พุทธลักษณะ. หลวงพ่อปิยปกาศิต เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยเชียงแสน สิงห์หนึ่ง มีลักษณะที่สำคัญคือ ขัดสมาธิเพชร พระชงฆ์ขวาทับพระชงฆ์ซ้าย พระหัตถ์ขวาวางบนหัวเข่า พระหัตถ์ซ้ายวางอยู่บนพระเพลา พระพักตร์กลม พระโอษฐ์ยิ้ม ขมวดพระเกศาใหญ่ พระรัศมี (เกศ) เป็นดอกบัวตูม พระวรกายอวบอ้วน ชายสังฆาฏิสั้นเหนือพระถัน ประดิษฐาน อยู่ในอุโบสถวัดกองดิน จังหวัดระยอง
| วัดกองดิน ตั้งอยู่ที่ตำบลกองดิน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง เป็นวัดราษฏร์ในนิกายใด | {
"answer": [
"นิกายเถรวาท"
],
"answer_begin_position": [
119
],
"answer_end_position": [
130
]
} |
1,529 | 376,891 | วัดกองดิน วัดกองดิน เป็นวัดราษฏร์ในนิกายเถรวาท ตั้งอยู่ที่ ตำบลกองดิน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย อยู่ในเขตปกครองการคณะสงฆ์ อำเภอแกลง จังหวัดระยองโดยมี พระครูสุนทรเขมาภินันท์ เป็นเจ้าอาวาส ตามประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลกองดิน และองค์การบริหารส่วนตำบลกองดิน ได้ระบุไว้ว่า วัดกองดินนี้ เป็นสถานที่หยุดพักทัพตำดินปืนของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และมีพระประธานประจำในอุโบสถ มีพระนามว่า พระพุทธภัทรปิยปกาศิต หรือรู้จักกันโดยทั่วไปว่า หลวงพ่อปิยปกาศิตประวัติ ประวัติ. ตามรายงานลงวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2442 (ร.ศ. 118) มีการระบุชื่อของวัด ณ สถานที่แห่งนี้ว่า "วัดคงคาจืด" ภายหลังวัดคงคาจืดได้ทรุดโทรม ยากแก่การบูรณปฏิสังขรณ์ ประชาชนในพื้นที่จึงได้ทำการย้าย สร้างวัดขึ้นมาใหม่ และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "วัดกองดิน" ปัจจุบันวัดกองดิน ตั้งอยู่ในตำแหน่งจุดกึ่งกลางของพื้นที่ 4 จังหวัด (ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, ตราด)หลักฐานการตั้งวัดหลักฐานการตั้งวัด. 1. ได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัด ในปี พ.ศ. 2495 2. อุโบสถได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ขนาดกว้าง 24 เมตร ยาว 42 เมตร และได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2533พระพุทธภัทรปิยปกาศิตพุทธลักษณะ พระพุทธภัทรปิยปกาศิต. พุทธลักษณะ. หลวงพ่อปิยปกาศิต เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยเชียงแสน สิงห์หนึ่ง มีลักษณะที่สำคัญคือ ขัดสมาธิเพชร พระชงฆ์ขวาทับพระชงฆ์ซ้าย พระหัตถ์ขวาวางบนหัวเข่า พระหัตถ์ซ้ายวางอยู่บนพระเพลา พระพักตร์กลม พระโอษฐ์ยิ้ม ขมวดพระเกศาใหญ่ พระรัศมี (เกศ) เป็นดอกบัวตูม พระวรกายอวบอ้วน ชายสังฆาฏิสั้นเหนือพระถัน ประดิษฐาน อยู่ในอุโบสถวัดกองดิน จังหวัดระยอง
| อุโบสถของวัดกองดิน ตั้งอยู่ที่ตำบลกองดิน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"5"
],
"answer_begin_position": [
1036
],
"answer_end_position": [
1037
]
} |
914 | 33,817 | วังจักรพงษ์ วังจักรพงษ์ หรือ บ้านจักรพงษ์ ตั้งอยู่ที่ถนนมหาราช เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ติดกับโรงเรียนราชินี เคยเป็นตำหนักส่วนพระองค์ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ต่อมาตกเป็นของทายาทคือ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ ปัจจุบันวังจักรพงษ์เป็นที่ตั้งของสำนักพิมพ์ริเวอร์บุ๊ค จักรพงษ์วิลล่า และมูลนิธิโลกสีเขียวประวัติ ประวัติ. จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ โปรดให้สร้างวังจักรพงษ์ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2452 เพื่อประทานให้เป็นวังที่ประทับของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ตลอดจนใช้เป็นที่ประทับพักผ่อนรับรองพระอาคันตุกะ และเป็นท่าเรือส่วนพระองค์ นอกเหนือจากวังที่ประทับ คือ วังปารุสกวัน โดยเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถฯ จะทรงเรียกบ้านหลังนี้ว่า วังท่าเตียน ต่อมาในปี พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ใช้เป็นที่ประทับชั่วคราวของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา เมื่อครั้งทรงสำเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษ รวมถึงช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง คณะราษฎรได้ยึดวังปารุสก์เป็นกองบัญชาการ ก็มีการแปรพระราชฐานมาประทับอยู่ที่วังนี้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2481 เมื่อพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์เสด็จกลับจากการศึกษาที่ประเทศอังกฤษ พร้อมหม่อมอาลิซาเบท ผู้เป็นชายา จึงเปลี่ยนชื่อวังนี้เป็น วังจักรพงษ์ และปรับปรุงเป็นที่ประทับสืบมา เมื่อพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2506 วังจักรพงษ์จึงตกเป็นของทายาทเพียงคนเดียวของราชสกุลจักรพงษ์ คือ หม่อมราชวงศ์หญิงนริศรา จักรพงษ์สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม. วังจักรพงษ์ สร้างขึ้นตามแบบสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก เป็นอาคารตึกสไตล์อิตาเลียนวิลล่า สร้างโดยสถาปนิกชาวอังกฤษชื่อโปรเฟสเซอร์ เอ็ดเวิร์ด ฮีลี ซึ่งเป็นผู้ออกแบบสถานทูตอังกฤษ ที่ถนนวิทยุ ตอนหน้ามี 2 ชั้น ปีกซ้ายตอนในก่อสูงขึ้นเป็น 3 ชั้น และมีหอสูงหลังคาทรงโดม อีกชั้นหนึ่ง มีมุขที่ตอนกลางอาคารเพียงมุขเดียว บริเวณผนังมุข ก่อเป็นเสานูนประดับ ลวดลายปูนปั้นบริเวณหัวเสาชั้น 2 และใกล้ฐานชั้นล่าง ส่วนที่เป็นหอสูงเป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ด้านล่างตรงห้องนั่งเล่นจะทำเป็นกระจกทรงโค้งเพื่อให้สามารถมองเห็นบรรยากาศริมแม่น้ำเจ้าพระยาได้เต็มตา ปัจจุบันวังจักรพงษ์ ยังเป็นที่พำนักของ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ ซึ่งใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในประเทศอังกฤษกับบุตรชายคนเล็ก ส่วนบุตรชายคนโต "ฮิวโก้" จุลจักร จักรพงษ์ พักอยู่ที่เรือนไม้สองชั้นใกล้สระน้ำในบริเวณวัง ส่วนหน้าวังที่ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา จัดเป็นโรงแรมขนาด 3 ห้องพัก ชื่อว่า "จักรพงษ์วิลล่า"
| สถาปนิกชาวอังกฤษที่สร้างวังจักรพงษ์ คือใคร | {
"answer": [
"โปรเฟสเซอร์ เอ็ดเวิร์ด ฮีลี"
],
"answer_begin_position": [
1619
],
"answer_end_position": [
1646
]
} |
915 | 33,817 | วังจักรพงษ์ วังจักรพงษ์ หรือ บ้านจักรพงษ์ ตั้งอยู่ที่ถนนมหาราช เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ติดกับโรงเรียนราชินี เคยเป็นตำหนักส่วนพระองค์ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ต่อมาตกเป็นของทายาทคือ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ ปัจจุบันวังจักรพงษ์เป็นที่ตั้งของสำนักพิมพ์ริเวอร์บุ๊ค จักรพงษ์วิลล่า และมูลนิธิโลกสีเขียวประวัติ ประวัติ. จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ โปรดให้สร้างวังจักรพงษ์ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2452 เพื่อประทานให้เป็นวังที่ประทับของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ตลอดจนใช้เป็นที่ประทับพักผ่อนรับรองพระอาคันตุกะ และเป็นท่าเรือส่วนพระองค์ นอกเหนือจากวังที่ประทับ คือ วังปารุสกวัน โดยเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถฯ จะทรงเรียกบ้านหลังนี้ว่า วังท่าเตียน ต่อมาในปี พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ใช้เป็นที่ประทับชั่วคราวของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา เมื่อครั้งทรงสำเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษ รวมถึงช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง คณะราษฎรได้ยึดวังปารุสก์เป็นกองบัญชาการ ก็มีการแปรพระราชฐานมาประทับอยู่ที่วังนี้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2481 เมื่อพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์เสด็จกลับจากการศึกษาที่ประเทศอังกฤษ พร้อมหม่อมอาลิซาเบท ผู้เป็นชายา จึงเปลี่ยนชื่อวังนี้เป็น วังจักรพงษ์ และปรับปรุงเป็นที่ประทับสืบมา เมื่อพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2506 วังจักรพงษ์จึงตกเป็นของทายาทเพียงคนเดียวของราชสกุลจักรพงษ์ คือ หม่อมราชวงศ์หญิงนริศรา จักรพงษ์สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม. วังจักรพงษ์ สร้างขึ้นตามแบบสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก เป็นอาคารตึกสไตล์อิตาเลียนวิลล่า สร้างโดยสถาปนิกชาวอังกฤษชื่อโปรเฟสเซอร์ เอ็ดเวิร์ด ฮีลี ซึ่งเป็นผู้ออกแบบสถานทูตอังกฤษ ที่ถนนวิทยุ ตอนหน้ามี 2 ชั้น ปีกซ้ายตอนในก่อสูงขึ้นเป็น 3 ชั้น และมีหอสูงหลังคาทรงโดม อีกชั้นหนึ่ง มีมุขที่ตอนกลางอาคารเพียงมุขเดียว บริเวณผนังมุข ก่อเป็นเสานูนประดับ ลวดลายปูนปั้นบริเวณหัวเสาชั้น 2 และใกล้ฐานชั้นล่าง ส่วนที่เป็นหอสูงเป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ด้านล่างตรงห้องนั่งเล่นจะทำเป็นกระจกทรงโค้งเพื่อให้สามารถมองเห็นบรรยากาศริมแม่น้ำเจ้าพระยาได้เต็มตา ปัจจุบันวังจักรพงษ์ ยังเป็นที่พำนักของ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ ซึ่งใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในประเทศอังกฤษกับบุตรชายคนเล็ก ส่วนบุตรชายคนโต "ฮิวโก้" จุลจักร จักรพงษ์ พักอยู่ที่เรือนไม้สองชั้นใกล้สระน้ำในบริเวณวัง ส่วนหน้าวังที่ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา จัดเป็นโรงแรมขนาด 3 ห้องพัก ชื่อว่า "จักรพงษ์วิลล่า"
| ใครเป็นผู้สร้างวังจักรพงษ์ | {
"answer": [
"จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ"
],
"answer_begin_position": [
417
],
"answer_end_position": [
492
]
} |
916 | 140,790 | สมพล ปิยะพงศ์สิริ สมพล ปิยะพงศ์สิริ ชื่อเล่น ไก่ เกิดเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2512 ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนที่ย่านเยาวราช กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาระดับประถมจากโรงเรียนเผยอิง มัธยมจากโรงเรียนทวีธาภิเศก โดยเรียนสาขาภาษาเยอรมัน ระหว่างเรียนได้ทุนเรียนดีให้ไปศึกษาต่อที่ประเทศเยอรมนีอยู่ระยะหนึ่งด้วย จากนั้นจึงเข้าศึกษาต่อคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นเดียวกับ "ครูลิลลี่" กิจมาโนชญ์ โรจนทรัพย์ มีชื่อเสียงมาจากการเคยเล่นมิวสิกวีดีโอของ ธเนศ วรากุลนุเคราะห์ ในเพลง รักน้องคนเดียว และรวมทั้งเป็นดีเจในเครือของแกรมมี่ โดยมีบุคลิกเฮฮา เจ้าสำราญ มีมุกตลกชอบอำอยู่เสมอ ๆ จากนั้นจึงได้เป็นพิธีกรรายการเกมโชว์ในเครือของแกรมมี่อีกหลายรายการ เช่น เกมฮอตเพลงฮิต, เกมวัดดวง เซียนโอเกะ, คอซองเกม เป็นต้น นอกจากนั้นยังเคยออกอัลบั้มเพลงมา 2 ชุด ชื่อ เหล่าเจ๊กหงี กับ แมงยุ่ง และแสดงภาพยนตร์เรื่อง ยังไงก็รัก ในปี พ.ศ. 2550ผลงานละครผลงาน. ละคร. - คฤหาสน์ที่ไม่ธรรมดา (2536) ช่อง 5 - ยามเมื่อลมพัดหวน (2536) ช่อง 5 รับบทเป็น วิชัย - ฉลุย (2541) ช่อง 3 - นังเหมียวย้อมสี (2545) ช่อง 3 - รักริทึ่ม ช่อง 5 - ปัญญาชนก้นครัว (2555) ช่อง 3 - ดาวเกี้ยวเดือน (2556) ช่อง 3 - รักสุดฤทธิ์ (2556) ช่อง 3 (รับเชิญ) - ร้ายรักพยัคฆ์กังฟู (2557) ช่อง 3รายการวิทยุรายการวิทยุ. - ไก่คุ้ยตุ่ยเขี่ยมิวสิกวีดีโอมิวสิกวีดีโอ. - รักน้องคนเดียว (ธเนศ วรากุลนุเคราะห์) - ผู้หญิงใจร้าย (ใหม่ เจริญปุระ)อัลบั้มเพลงอัลบั้มเพลง. - เหล่า เจ็ก หงี (2542) - แมงยุ่ง (2545) - ไชน่าก๊วน (ร่วมงานกับไชน่าดอลล์) (2543)พิธีกรพิธีกร. - เพลงต่อเพลง (ช่อง 5) คู่กับ ไตรภพ ลิมปพัทธ์ - บันทึกหัวกะทิ (ช่อง 5) - "จู๊กบ็อกซ์เกม Jukebox Game (ช่อง 3, ไอทีวี) คู่กับ ตุ๊ก ญาณี จงวิสุทธิ์ - เพื่อนกันวันเสาร์ (ช่อง 5) - เซียนสมองเพชร (ช่อง 5) คู่กับ อ้อม สุนิสา สุขบุญสังข์ - เกมฮอตเพลงฮิต (ช่อง 7) - กาเม่โชว์ (ช่อง 9) คู่กับ โจ้ อัครพล ธนะวิทวิลาศ - เกมวัดดวง (ช่อง 5) คู่กับ โจ้ - อัครพล ธนะวิทวิลาศ และ น้าเน็ก - เกตุเสพย์สวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา - FIRST STAGE SHOW (ช่อง 5) คู่กับ แอม เสาวลักษณ์ ลีละบุตร - คอซองเกม (ช่อง 3, ช่อง 5) คู่กับ ตุ๊ยตุ่ย พุทธชาด พงศ์สุชาติ - เซียนโอเกะ (ช่อง 7) - แสบซนคนซ่า (ช่อง 3) - คริส ดิลิเวอรี่ (ช่อง 5) - คันปาก (ช่อง 7) - ศึกน้ำผึ้งพระจันทร์ (ช่อง 5) - กิ๊กดู๋ สงครามเพลง (ช่อง 7) - "อ.ต.ก. เอฟเวอรี่ติง กู๊ด (Green Channel) - เค้าว่ากันว่า (WorkpointTV) - เกมดาราชาลาล่า สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 เคเบิลทีวีของอาร์เอส - อโรคา ปาร์ตี้ 2014 (ช่อง 5) - โสภาพลาซ่า (2 มีนาคม 2558 - 30 กันยายน 2558) ช่อง 7 HD - น้ำผึ้งพระจันทร์ (ช่อง 3 SD) - บิ๊กเฮง ดาราท้าดวง สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 เคเบิลทีวีของอาร์เอส - เก้ง กวาง บ่าง ชะนี (ช่อง 3 HD) - "เจ๋อกันวันเสาร์ (ช่อง วัน HD) คู่กับ อ้น ศรีพรรณ ชื่นชมบูรณ์ - "Re-Master Thailand (ช่อง วัน HD) - "Crazy Market ตลาดสัมผัส (ช่อง พีพีทีวี HD)ภาพยนตร์ภาพยนตร์. - สติแตกสุดขั้วโลก - ยังไงก็รัก - มายเบสต์บอดีการ์ดโฆษณาโฆษณา. - เครือข่ายโทรศัพท์มือถือ 1800 Digital By Worldphone - โทรศัพท์มือถือ Nokia - เครือข่ายโทรศัพท์มือถือ CELLULAR 900 - มิสทีนโฆษกโฆษณา โฆษกโฆษณา. นีสมนีท๊อบนีอ้น
| สมพล ปิยะพงศ์สิริ มีชื่อเล่นว่าอะไร | {
"answer": [
"ไก่"
],
"answer_begin_position": [
137
],
"answer_end_position": [
140
]
} |
917 | 116,292 | สมการกำลังสอง ในทางคณิตศาสตร์ สมการกำลังสอง (สมการควอดราติก) คือสมการของพหุนามตัวแปรเดียวที่มีดีกรีเท่ากับ 2 รูปแบบทั่วไปของสมการกำลังสองคือ เมื่อ a ≠ 0 (ถ้า a = 0 สมการนี้จะกลายเป็นสมการเชิงเส้น) ซึ่ง a, b อาจเรียกว่าเป็นสัมประสิทธิ์ของ x, x ตามลำดับ ส่วน c คือสัมประสิทธิ์คงตัว บางครั้งเรียกว่าพจน์อิสระหรือพจน์คงตัว ฟังก์ชันของสมการกำลังสองสามารถวาดกราฟบนระบบพิกัดคาร์ทีเซียนได้รูปเส้นโค้งพาราโบลาสูตรกำลังสอง สูตรกำลังสอง. สมการกำลังสองใดๆ ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนจริง (หรือจำนวนเชิงซ้อน) จะมีรากของสมการ 2 คำตอบเสมอ ซึ่งอาจจะเท่ากันก็ได้ โดยที่รากของสมการสามารถเป็นได้ทั้งจำนวนจริงหรือจำนวนเชิงซ้อน สามารถคำนวณได้จากสูตร ซึ่งเครื่องหมายบวกและลบเป็นการแทนความหมายของทั้งสองคำตอบ ได้แก่ ดังนั้นค่าของสมการจะเท่ากับฟิวชั่นของสมการดิสคริมิแนนต์ ดิสคริมิแนนต์. จากสูตรด้านบน นิพจน์ที่อยู่ภายใต้เครื่องหมายรากที่สอง จะเรียกว่า ดิสคริมิแนนต์ (discriminant) ของสมการกำลังสอง ดิสคริมิแนนต์เป็นตัวบ่งบอกว่าสมการกำลังสองจะมีคำตอบของสมการเป็นประเภทใดประเภทหนึ่ง ดังต่อไปนี้- ถ้าดิสคริมิแนนต์เป็นค่าบวก ดังนั้นจะมีรากของสมการ 2 ค่าที่แตกต่างกัน และเป็นจำนวนจริงทั้งคู่ สำหรับกรณีที่สัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม และดิสคริมิแนนต์เป็นกำลังสองสมบูรณ์ ดังนั้นรากของสมการจะเป็นจำนวนตรรกยะ ส่วนในกรณีอื่นจะเป็นจำนวนอตรรกยะ - ถ้าดิสคริมิแนนต์เป็นศูนย์ ดังนั้นจะมีรากของสมการ 2 ค่าที่เท่ากัน (หรือมีเพียงค่าเดียว) และเป็นจำนวนจริง รากของสมการนี้จะมีค่าเท่ากับ- formula_4 - ถ้าดิสคริมิแนนต์เป็นค่าลบ จะไม่มีคำตอบเป็นจำนวนจริง แต่จะเป็นจำนวนเชิงซ้อน 2 จำนวนที่ต่างกัน ซึ่งเป็นสังยุคของกันและกัน นั่นคือ- formula_5 เมื่อ formula_6 คือหน่วยจินตภาพที่นิยามโดย formula_7การแยกตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ. พจน์ formula_8 จะเรียกว่าเป็นตัวประกอบของพหุนาม formula_9 ก็ต่อเมื่อ r เป็นคำตอบของสมการกำลังสอง formula_10 ซึ่งจากสูตรกำลังสอง สามารถแยกตัวประกอบของพหุนามได้เป็น ในกรณีพิเศษ เมื่อรากของสมการกำลังสองมีเพียงค่าเดียว (คือคำตอบทั้งสองเท่ากัน) พหุนามกำลังสองจะสามารถแยกตัวประกอบได้เป็น
| ฟังก์ชันของสมการกำลังสองสามารถวาดกราฟบนระบบพิกัดคาร์ทีเซียนได้รูปเส้นโค้งอะไร | {
"answer": [
"พาราโบลา"
],
"answer_begin_position": [
480
],
"answer_end_position": [
488
]
} |
918 | 44,975 | พระราชวังจันทน์ พระราชวังจันทน์ ตั้งอยู่ติดกับ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ 3 ถนนวังจันทน์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เป็นที่ตั้งศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในอดีตยังเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ปัจจุบัน กรมศิลปากร ได้เข้ามาทำการบูรณะค้นหาแนวเขตพระราชวังจันทน์ ระยะที่ 1 เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้วประวัติ ประวัติ. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) เป็นพระราชโอรสใน พระยาเลอไท พระมหากษัตริย์องค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์พระร่วง ของอาณาจักรสุโขทัย ทรงครองกรุงสุโขทัยระหว่าง พ.ศ. 1890 - พ.ศ. 1904 ทรงขึ้นครองสิริราชสมบัติ เป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์ที่ 6 ของราชวงศ์พระร่วง พระมหาธรรมราชาที่ 1 เสด็จครองราชสมบัติ กรุงสุโขทัย ณ เมืองพิษณุโลก และทรงครองเมืองพิษณุโลกระหว่าง พ.ศ. 1905 - พ.ศ. 1912 เป็นเวลา 7 ปี พระองค์ทรงสร้างพระราชวังจันทร์บนเนินดินบนฝั่งตะวันตกของแม่น้ำน่าน และสันนิษฐานว่าเคยเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ไทยมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย จนถึงอยุธยา เมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาทรงย้ายราชธานีมาอยู่ที่เมืองพิษณุโลกใน พ.ศ. 2006 ทรงใช้พระราชวังจันทร์เป็นที่ประทับตลอด เชื่อว่ามีการก่อสร้างเพิ่มเติมในสมัยพระองค์ด้วย จากนั้นพระราชวังจันทน์ก็มักจะเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราชของกรุงศรีอยุธยาในสมัยต่อๆมาจนถึงสมัยของสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชทรงให้สมเด็จพระนเรศวรเสด็จไปประทับอยู่ ณ ที่นั่น จากนั้นก็ไม่ปรากฏว่ามีเชื้อพระวงศ์พระองค์ใดไปอยู่ที่พระราชวังจันทน์อีกการค้นพบ การค้นพบ. ภายหลังพระราชวังจันทน์ได้ร้างลงและไม่มีใครสนใจอีก จนกระทั่งปรากฏหลักฐานในจดหมายเหตุระยะทางไปพิษณุโลกของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เสด็จตรวจราชการเมืองพิษณุโลก ใน พ.ศ. 2444 โปรดให้ขุนศรเทพบาล สำรวจจังหวัดจัดทำผังพระราชวังจันทน์ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสังเวยเทพารักษ์ วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2444 มีพระราชหัตถเลขาไว้ว่า มีซากพระราชวังก่อด้วยอิฐ สูงพ้นดิน 2-3 ศอกเศษ มีพระที่นั่งคล้ายพระที่นั่งจันทรพิศาล ในพระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี มีกำแพงวัง 2 ชั้น มีสระสองพี่น้องอยู่นอกกำแพงวัง ภายหลังปรักหักพังเป็นป่ารกในสงครามอะแซหวุ่นกี้ตีเมืองพิษณุโลกการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน การขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน. ใน พ.ศ. 2475 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ได้ย้ายมาจากบริเวณ วัดนางพญา มาตั้งในพื้นที่พระราชวังจันทน์ จึงมีการปรับพื้นที่ก่อสร้างอาคารสถานที่ต่างๆ มาเป็นลำดับ ใน พ.ศ. 2535 โรงเรียนจะก่อสร้างอาคารเรียน 4 ชั้นที่บริเวณสนามบาสเกตบอลใกล้ต้นโพธิ์ใหญ่ ขณะที่คนงานก่อสร้างขุดหลุมเสาฐานรากได้พบซากอิฐเก่า กรมศิลปากรจึงได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 มีพื้นที่ 128 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา ตามหนังสือ ที่ ศธ 07/4954 เพื่อให้กรมศิลปากรเข้ามาบูรณะพระราชวังจันทน์เป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ โรงเรียนจึงต้องจัดหาสถานที่แห่งใหม่ เพื่อเตรียมการย้ายโรงเรียนเป็นครั้งที่ 3 ออกไปยังสถานที่แห่งใหม่ต่อไปการย้ายโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม การย้ายโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม. พ.ศ. 2548 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ทั้งหมดได้ย้ายออกจากเขตพระราชวังจันทน์ไปบริเวณบึงแก่งใหญ่จนแล้วเสร็จ เริ่มรื้อถอนอาคารเรียนในเขตพระราชวังจันทน์ออกทั้งหมด และปรับปรุงภูมิทัศน์ เพื่อดำเนินการบูรณะพระราชวังจันทน์ต่อไป
| พระมหาธรรมราชาที่ 1 หรือ ลิไท เป็นพระราชโอรสในพระยาองค์ใด | {
"answer": [
"พระยาเลอไท พระมหากษัตริย์องค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์พระร่วง"
],
"answer_begin_position": [
480
],
"answer_end_position": [
533
]
} |
919 | 44,975 | พระราชวังจันทน์ พระราชวังจันทน์ ตั้งอยู่ติดกับ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ 3 ถนนวังจันทน์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เป็นที่ตั้งศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในอดีตยังเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ปัจจุบัน กรมศิลปากร ได้เข้ามาทำการบูรณะค้นหาแนวเขตพระราชวังจันทน์ ระยะที่ 1 เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้วประวัติ ประวัติ. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) เป็นพระราชโอรสใน พระยาเลอไท พระมหากษัตริย์องค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์พระร่วง ของอาณาจักรสุโขทัย ทรงครองกรุงสุโขทัยระหว่าง พ.ศ. 1890 - พ.ศ. 1904 ทรงขึ้นครองสิริราชสมบัติ เป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์ที่ 6 ของราชวงศ์พระร่วง พระมหาธรรมราชาที่ 1 เสด็จครองราชสมบัติ กรุงสุโขทัย ณ เมืองพิษณุโลก และทรงครองเมืองพิษณุโลกระหว่าง พ.ศ. 1905 - พ.ศ. 1912 เป็นเวลา 7 ปี พระองค์ทรงสร้างพระราชวังจันทร์บนเนินดินบนฝั่งตะวันตกของแม่น้ำน่าน และสันนิษฐานว่าเคยเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ไทยมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย จนถึงอยุธยา เมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาทรงย้ายราชธานีมาอยู่ที่เมืองพิษณุโลกใน พ.ศ. 2006 ทรงใช้พระราชวังจันทร์เป็นที่ประทับตลอด เชื่อว่ามีการก่อสร้างเพิ่มเติมในสมัยพระองค์ด้วย จากนั้นพระราชวังจันทน์ก็มักจะเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราชของกรุงศรีอยุธยาในสมัยต่อๆมาจนถึงสมัยของสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชทรงให้สมเด็จพระนเรศวรเสด็จไปประทับอยู่ ณ ที่นั่น จากนั้นก็ไม่ปรากฏว่ามีเชื้อพระวงศ์พระองค์ใดไปอยู่ที่พระราชวังจันทน์อีกการค้นพบ การค้นพบ. ภายหลังพระราชวังจันทน์ได้ร้างลงและไม่มีใครสนใจอีก จนกระทั่งปรากฏหลักฐานในจดหมายเหตุระยะทางไปพิษณุโลกของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เสด็จตรวจราชการเมืองพิษณุโลก ใน พ.ศ. 2444 โปรดให้ขุนศรเทพบาล สำรวจจังหวัดจัดทำผังพระราชวังจันทน์ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสังเวยเทพารักษ์ วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2444 มีพระราชหัตถเลขาไว้ว่า มีซากพระราชวังก่อด้วยอิฐ สูงพ้นดิน 2-3 ศอกเศษ มีพระที่นั่งคล้ายพระที่นั่งจันทรพิศาล ในพระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี มีกำแพงวัง 2 ชั้น มีสระสองพี่น้องอยู่นอกกำแพงวัง ภายหลังปรักหักพังเป็นป่ารกในสงครามอะแซหวุ่นกี้ตีเมืองพิษณุโลกการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน การขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน. ใน พ.ศ. 2475 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ได้ย้ายมาจากบริเวณ วัดนางพญา มาตั้งในพื้นที่พระราชวังจันทน์ จึงมีการปรับพื้นที่ก่อสร้างอาคารสถานที่ต่างๆ มาเป็นลำดับ ใน พ.ศ. 2535 โรงเรียนจะก่อสร้างอาคารเรียน 4 ชั้นที่บริเวณสนามบาสเกตบอลใกล้ต้นโพธิ์ใหญ่ ขณะที่คนงานก่อสร้างขุดหลุมเสาฐานรากได้พบซากอิฐเก่า กรมศิลปากรจึงได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 มีพื้นที่ 128 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา ตามหนังสือ ที่ ศธ 07/4954 เพื่อให้กรมศิลปากรเข้ามาบูรณะพระราชวังจันทน์เป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ โรงเรียนจึงต้องจัดหาสถานที่แห่งใหม่ เพื่อเตรียมการย้ายโรงเรียนเป็นครั้งที่ 3 ออกไปยังสถานที่แห่งใหม่ต่อไปการย้ายโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม การย้ายโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม. พ.ศ. 2548 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ทั้งหมดได้ย้ายออกจากเขตพระราชวังจันทน์ไปบริเวณบึงแก่งใหญ่จนแล้วเสร็จ เริ่มรื้อถอนอาคารเรียนในเขตพระราชวังจันทน์ออกทั้งหมด และปรับปรุงภูมิทัศน์ เพื่อดำเนินการบูรณะพระราชวังจันทน์ต่อไป
| พระมหากษัตริย์พระองค์ใด ทรงสร้างพระราชวังจันทร์ในจังหวัดพิษณุโลก | {
"answer": [
"พระมหาธรรมราชาที่ 1"
],
"answer_begin_position": [
676
],
"answer_end_position": [
695
]
} |
920 | 207,574 | พระราชวังกัมโพชธานี พระราชวังกัมโพชธานี (; ) พระราชวังแห่งเมืองหงสาวดี (พะโค) ของพระเจ้าบุเรงนอง เป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่สมพระเกียรติ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของพระมหาธาตุเจดีย์ชเวมอดอ (พระธาตุมุเตา) สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2109 ซึ่งเป็นปีที่ 15 ของการครองราชย์ของพระองค์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่พระองค์เรืองอำนาจสูงสุด พระองค์ตัดสินพระทัยเผาพระราชวังเก่าไปเนื่องจากมีการกบฏ พระราชวังกัมโพชธานีสร้างขึ้นโดยใช้แรงงานจากประเทศราชต่าง ๆ และพระองค์โปรดให้ใช้ชื่อประตูต่าง ๆ ทั้งหมด 20 ประตู ตามชื่อของแรงงานประเทศราชที่สร้าง เช่น ประตูทางตอนเหนือปรากฏชื่อ ประตูโยเดีย (อยุธยา) ประตูตอนใต้ชื่อ ประตูเชียงใหม่ อีกทั้งยังมีพระตำหนักของพระสุพรรณกัลยา องค์ประกันที่ตกเป็นเชลยและกลายเป็นมเหสีองค์หนึ่งของพระองค์ด้วย พระราชวังกัมโพชธานีถูกเผาจนเหลือแต่เพียงซาก หลังจากการสวรรคตของพระเจ้าบุเรงนอง ด้วยกบฏยะไข่ พร้อม ๆ กับอาณาจักรตองอูที่เคยเรืองอำนาจเสื่อมลง จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2533 รัฐบาลพม่าได้ขุดค้นพบซากของพระราชวังที่เหลือเพียงแค่ตอไม้ที่โผล่พ้นดินออกมาเท่านั้น และได้มีการเร่งสร้างพระราชวังจำลององค์ใหม่ขึ้นมา ฉาบด้วยสีทองทั้งหลัง ทั้งที่พื้นดินบริเวณโดยรอบได้ขุดพบโบราณวัตถุต่าง ๆ มากมาย ซึ่งเชื่อว่ายังมีอยู่อีกจำนวนมากที่ยังไม่ถูกขุดขึ้นมา แต่ได้ถูกทางการสร้างพระราชวังทับลงไปแล้ว แต่ซากไม้ที่ใช้สร้างพระราชวังแต่ครั้งอดีตที่ยังหลงเหลืออยู่ได้ถูกจัดแสดง ซึ่งไม้แต่ละท่อนมีตัวอักษรจารึกอยู่ว่าเป็นผลงานของเมืองใด ภายในพระราชวัง มีพระราชบัลลังก์ที่มีชื่อว่า "บัลลังก์ภุมรินทร์" หรือ "บัลลังก์ผึ้ง" ซึ่งสร้างขึ้นมาจากคติเรื่องจักรวาลตามความเชื่อของศาสนาฮินดู ปัจจุบัน พระราชวังกัมโพชธานีเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของหงสาวดีและประเทศพม่า
| พระราชวังกัมโพชธานีเป็นพระราชวังแห่งเมืองอะไร | {
"answer": [
"เมืองหงสาวดี"
],
"answer_begin_position": [
152
],
"answer_end_position": [
164
]
} |
923 | 207,574 | พระราชวังกัมโพชธานี พระราชวังกัมโพชธานี (; ) พระราชวังแห่งเมืองหงสาวดี (พะโค) ของพระเจ้าบุเรงนอง เป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่สมพระเกียรติ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของพระมหาธาตุเจดีย์ชเวมอดอ (พระธาตุมุเตา) สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2109 ซึ่งเป็นปีที่ 15 ของการครองราชย์ของพระองค์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่พระองค์เรืองอำนาจสูงสุด พระองค์ตัดสินพระทัยเผาพระราชวังเก่าไปเนื่องจากมีการกบฏ พระราชวังกัมโพชธานีสร้างขึ้นโดยใช้แรงงานจากประเทศราชต่าง ๆ และพระองค์โปรดให้ใช้ชื่อประตูต่าง ๆ ทั้งหมด 20 ประตู ตามชื่อของแรงงานประเทศราชที่สร้าง เช่น ประตูทางตอนเหนือปรากฏชื่อ ประตูโยเดีย (อยุธยา) ประตูตอนใต้ชื่อ ประตูเชียงใหม่ อีกทั้งยังมีพระตำหนักของพระสุพรรณกัลยา องค์ประกันที่ตกเป็นเชลยและกลายเป็นมเหสีองค์หนึ่งของพระองค์ด้วย พระราชวังกัมโพชธานีถูกเผาจนเหลือแต่เพียงซาก หลังจากการสวรรคตของพระเจ้าบุเรงนอง ด้วยกบฏยะไข่ พร้อม ๆ กับอาณาจักรตองอูที่เคยเรืองอำนาจเสื่อมลง จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2533 รัฐบาลพม่าได้ขุดค้นพบซากของพระราชวังที่เหลือเพียงแค่ตอไม้ที่โผล่พ้นดินออกมาเท่านั้น และได้มีการเร่งสร้างพระราชวังจำลององค์ใหม่ขึ้นมา ฉาบด้วยสีทองทั้งหลัง ทั้งที่พื้นดินบริเวณโดยรอบได้ขุดพบโบราณวัตถุต่าง ๆ มากมาย ซึ่งเชื่อว่ายังมีอยู่อีกจำนวนมากที่ยังไม่ถูกขุดขึ้นมา แต่ได้ถูกทางการสร้างพระราชวังทับลงไปแล้ว แต่ซากไม้ที่ใช้สร้างพระราชวังแต่ครั้งอดีตที่ยังหลงเหลืออยู่ได้ถูกจัดแสดง ซึ่งไม้แต่ละท่อนมีตัวอักษรจารึกอยู่ว่าเป็นผลงานของเมืองใด ภายในพระราชวัง มีพระราชบัลลังก์ที่มีชื่อว่า "บัลลังก์ภุมรินทร์" หรือ "บัลลังก์ผึ้ง" ซึ่งสร้างขึ้นมาจากคติเรื่องจักรวาลตามความเชื่อของศาสนาฮินดู ปัจจุบัน พระราชวังกัมโพชธานีเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของหงสาวดีและประเทศพม่า
| ซากที่หลงเหลือจากพระราชวังกัมโพชธานี คือพระราชบัลลังก์ที่มีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"บัลลังก์ภุมรินทร์"
],
"answer_begin_position": [
1431
],
"answer_end_position": [
1448
]
} |
921 | 422,621 | สม จาตุศรีพิทักษ์ ศาสตราจารย์ สม จาตุศรีพิทักษ์ (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2483 ) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ สมาชิกวุฒิสภา อดีตผู้บริหารบริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ธนาคารสยาม (เดิมคือ ธนาคารเอเชียทรัสต์) และกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย เป็นพี่ชายของสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ สมเป็นชาวไทยเชื้อสายจีน จบการศึกษาจากโรงเรียนเผยอิง โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข จบปริญญาตรีสาขาบัญชีจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากนั้นเข้าทำงานที่บริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ต่อมาจึงสอบได้ทุนฟูลไบรท์ไปศึกษาต่อปริญญาโทบริหารธุรกิจ และปริญญาเอกบริหารธุรกิจด้านการเงิน จากสเตตยูนิเวอร์ซิตีออฟนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา และกลับเข้าทำงานที่บริษัทเดิมจนได้รับตำแหน่ง กรรมการและกรรมการบริหาร ในบริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ จากนั้นได้เข้าสู่วงการธนาคารจากการเข้ารับตำแหน่งกรรมการบริหารธนาคารสยาม และเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย เมื่อ พ.ศ. 2530 ได้รับการแต่งตั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เมื่อ พ.ศ. 2540 ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ในปี พ.ศ. 2557 ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติบุตรชายของเขา นายณัฐพร จาตุศรีพิทักษ์ ยังดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อภิรดี ตันตราภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์
| บุตรชายของศาสตราจารย์ สม จาตุศรีพิทักษ์ มีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"นายณัฐพร จาตุศรีพิทักษ์"
],
"answer_begin_position": [
1095
],
"answer_end_position": [
1118
]
} |
922 | 422,621 | สม จาตุศรีพิทักษ์ ศาสตราจารย์ สม จาตุศรีพิทักษ์ (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2483 ) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ สมาชิกวุฒิสภา อดีตผู้บริหารบริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ธนาคารสยาม (เดิมคือ ธนาคารเอเชียทรัสต์) และกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย เป็นพี่ชายของสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ สมเป็นชาวไทยเชื้อสายจีน จบการศึกษาจากโรงเรียนเผยอิง โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข จบปริญญาตรีสาขาบัญชีจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากนั้นเข้าทำงานที่บริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ต่อมาจึงสอบได้ทุนฟูลไบรท์ไปศึกษาต่อปริญญาโทบริหารธุรกิจ และปริญญาเอกบริหารธุรกิจด้านการเงิน จากสเตตยูนิเวอร์ซิตีออฟนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา และกลับเข้าทำงานที่บริษัทเดิมจนได้รับตำแหน่ง กรรมการและกรรมการบริหาร ในบริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ จากนั้นได้เข้าสู่วงการธนาคารจากการเข้ารับตำแหน่งกรรมการบริหารธนาคารสยาม และเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย เมื่อ พ.ศ. 2530 ได้รับการแต่งตั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เมื่อ พ.ศ. 2540 ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ในปี พ.ศ. 2557 ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติบุตรชายของเขา นายณัฐพร จาตุศรีพิทักษ์ ยังดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อภิรดี ตันตราภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์
| ศาสตราจารย์ สม จาตุศรีพิทักษ์เคยดำรงตำแหน่งใดในบริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ | {
"answer": [
"ผู้บริหาร"
],
"answer_begin_position": [
219
],
"answer_end_position": [
228
]
} |
924 | 281,332 | พระราชวังกาแซร์ตา พระราชวังกาแซร์ตา (; ) เป็นอดีตพระราชวังที่ประทับของพระมหากษัตริย์แห่งเนเปิลส์แห่งราชวงศ์บูร์บง ที่ตั้งอยู่ที่เมืองกาแซร์ตาในประเทศอิตาลี พระราชวังกาแซร์ตาเป็นหนึ่งในพระราชวังแบบบาโรกที่ใหญ่ที่สุดที่สร้างขึ้นในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 18 “พระราชวังกาแซร์ตา” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี ค.ศ. 1997 ในฐานะที่ "งานชิ้นเลิศของยุคบาโรก ที่ใช้ทุกสิ่งทุกอย่างในการสร้างความลวงตาและพหุทัศน์ทางสถาปัตยกรรม" การก่อสร้างพระราชวังกาแซร์ตาเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1752 สำหรับพระเจ้าชาลส์ที่ 7 แห่งเนเปิลส์ ผู้ทรงทำงานอย่างใกล้ชิดกับสถาปนิกลุยจี วันวีเตลลี เมื่อทอดพระเนตรเห็นแบบจำลองสำหรับพระราชวัง พระเจ้าชาลส์ก็ทรงเต็มตื้นไปด้วยพระอารมณ์ "ที่ฉีกพระหทัยจากพระอุระ" แต่พระองค์ก็มิได้มีโอกาสที่จะได้บรรทมในพระราชวังแม้แต่เพียงคืนเดียว พระเจ้าชาลส์ทรงสละราชสมบัติในปี ค.ศ. 1759 เพื่อไปเป็นพระมหากษัตริย์สเปน โครงการดำเนินต่อมาโดยพระราชโอรสองค์ที่สามและผู้ครองเนเปิลส์ต่อมาพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 แห่งเนเปิลส์
| พระราชวังกาแซร์ตา ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี ค.ศ. ใด | {
"answer": [
"ปี ค.ศ. 1997"
],
"answer_begin_position": [
416
],
"answer_end_position": [
428
]
} |
926 | 281,332 | พระราชวังกาแซร์ตา พระราชวังกาแซร์ตา (; ) เป็นอดีตพระราชวังที่ประทับของพระมหากษัตริย์แห่งเนเปิลส์แห่งราชวงศ์บูร์บง ที่ตั้งอยู่ที่เมืองกาแซร์ตาในประเทศอิตาลี พระราชวังกาแซร์ตาเป็นหนึ่งในพระราชวังแบบบาโรกที่ใหญ่ที่สุดที่สร้างขึ้นในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 18 “พระราชวังกาแซร์ตา” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี ค.ศ. 1997 ในฐานะที่ "งานชิ้นเลิศของยุคบาโรก ที่ใช้ทุกสิ่งทุกอย่างในการสร้างความลวงตาและพหุทัศน์ทางสถาปัตยกรรม" การก่อสร้างพระราชวังกาแซร์ตาเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1752 สำหรับพระเจ้าชาลส์ที่ 7 แห่งเนเปิลส์ ผู้ทรงทำงานอย่างใกล้ชิดกับสถาปนิกลุยจี วันวีเตลลี เมื่อทอดพระเนตรเห็นแบบจำลองสำหรับพระราชวัง พระเจ้าชาลส์ก็ทรงเต็มตื้นไปด้วยพระอารมณ์ "ที่ฉีกพระหทัยจากพระอุระ" แต่พระองค์ก็มิได้มีโอกาสที่จะได้บรรทมในพระราชวังแม้แต่เพียงคืนเดียว พระเจ้าชาลส์ทรงสละราชสมบัติในปี ค.ศ. 1759 เพื่อไปเป็นพระมหากษัตริย์สเปน โครงการดำเนินต่อมาโดยพระราชโอรสองค์ที่สามและผู้ครองเนเปิลส์ต่อมาพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 แห่งเนเปิลส์
| พระเจ้าชาลส์ทรงสละราชสมบัติ เพื่อไปเป็นกษัตริย์ของประเทศอะไร | {
"answer": [
"พระมหากษัตริย์สเปน"
],
"answer_begin_position": [
900
],
"answer_end_position": [
918
]
} |
925 | 835,075 | สมการชเรอดิงเงอร์ ในวิชากลศาสตร์ควอนตัม สมการชเรอดิงเงอร์ เป็นสมการทางคณิตศาสตร์ที่ใช้อธิบายระบบทางฟิสิกส์ ที่เป็นผลจากปรากฏการณ์ควอนตัม เช่น ทวิภาคของคลื่นและอนุภาค สมการชเรอดิงเงอร์เป็นสมการที่สำคัญในการศึกษาระบบทางกลศาสตร์ควอนตัม ซึ่งแอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (Erwin Schrödinger) นักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย ได้ค้นพบ "สมการชเรอดิงเงอร์" ในปี พ.ศ. 2468 และถูกตีพิมพ์ในปีต่อมา จากการค้นพบสมการชเรอดิงเงอร์ ทำให้แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี พ.ศ. 2476 สมการนี้เป็นสมการเชิงอนุพันธ์ย่อยหรือที่รู้จักกันว่าสมการคลื่น โดยสามารถแก้สมการชเรอดิงเงอร์เพื่อหาพฤติกรรมการเคลื่อนที่ของคลื่นได้ ในกลศาสตร์ดั้งเดิม กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันโดยเฉพาะกฎข้อที่สอง จะสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของอนุภาคโดยแสดงให้เห็นถึงตำแหน่ง ความเร็ว และความเร่งของอนุภาคที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา โดยใช้สมการการเคลื่อนที่ในการทำนายการเคลื่อนที่ของอนุภาคในระบบ แต่ในกลศาสตร์ควอนตัม พฤติกรรมของอนุภาคจะถูกอธิบายโดยฟังก์ชันคลื่น ดังนั้นเราจึงสามารถแก้สมการชเรอดิงเงอร์เพื่อหาผลเฉลยออกมาเป็นฟังก์ชันคลื่น โดยสมการชเรอดิงเงอร์นี้เป็นการอธิบายธรรมชาติในระดับจุลภาค สมการชเรอดิงเงอร์แบ่งออกได้เป็นสมการชเรอดิงเงอร์ที่ขึ้นกับเวลา และสมการชเรอดิงเงอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลาสมการสมการชเรอดิงเงอร์ที่ขึ้นกับเวลา สมการ. สมการชเรอดิงเงอร์ที่ขึ้นกับเวลา. โดยที่ สัญลักษณ์ แสดงถึง อนุพันธ์ย่อยเทียบกับเวลาสมการชเรอดิงเงอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา สมการชเรอดิงเงอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา. สมการนี้เป็นการเขียนให้อยู่ในรูปตัวดำเนินการฮามิลโทเนียน ซึ่งจะเรียกสมการนี้ว่าสมการEigenvalue ที่มีค่าคงตัว เป็น Eigenvalue และมี เป็น Eigen function ซึ่งสมการชเรอดิงเงอร์จะใช้ในการแก้ปัญหาการเคลื่อนที่ของอนุภาคในศักย์แบบ 1 มิติ เช่น ศักย์แบบขั้นบันได กำแพงศักย์ บ่อศักย์แบบอนันต์ บ่อศักย์แบบลึกจำกัด เป็นต้น ซึ่งจะพบว่ามีบางส่วนที่แตกต่างจากการใช้วิธีการทางกลศาสตร์ดั้งเดิมแก้ปัญหาอย่างชัดเจนสมการชเรอดิงเงอร์ของอะตอมไฮโดรเจน สมการชเรอดิงเงอร์ของอะตอมไฮโดรเจน. ผลเฉลยของสมการชโรดิงเจอร์ ออร์บิทัลของอะตอมคล้ายไฮโดรเจนเป็นไอเกนฟังก์ชันของตัวดำเนินการโมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอน 1 ตัว ในแกน z (L) ออบิทัลของอะตอมคล้ายไฮโดรเจน(hydrogen-like atom) สามารถหาได้จากเลขควอนตัมหลัก n เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม l และเลขควอนตัมแม่เหล็ก m พลังงานเฉพาะของอะตอมมีค่าขึ้นกับค่า n เท่านั้น เราจึงต้องบวกเลขควอนตัมการหมุน m = ±½ สำหรับในออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานเท่ากันของอะตอมคล้ายไฮโดรเจน ค่า n, l, m and s จะมีค่าเฉพาะที่เปลี่ยนไปตามระดับพลังงาน การวิเคราะห์สมการชโรดิงเจอร์ของอะตอมที่มีอิเล็กตรอนมากกว่าหนึ่งตัวนั้นเป็นไปได้ยาก เนื่องจากมีแรงคูลอมบ์ระหว่างอิเล็กตรอนเข้ามาเกี่ยวข้องกับการคำนวณ เราจึงต้องใช้วิธีเชิงตัวเลข (Numerical method) มาช่วยคำนวณ เพื่อหาฟังก์ชันคลื่นหรือสมบัติทางควอนตัมอื่น ๆ ดังนั้นเราจึงใช้แบบจำลองของอะตอมคล้ายไฮโดรเจนในการแก้ปัญหา จากกฎของคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้าเป็นดังสมการ เมื่อ- ε คือ ค่าสภาพยอมของสุญญากาศ, - Z คือ เลขอะตอม (จำนวนโปรตอนในนิวเคลียส), - e คือ ประจุของอิเล็กตรอน, - r คือ ระยะห่างระหว่างอิเล็กตรอนและนิวเคลียส ดังนั้นจะได้สมการคลื่น (ในพิกัดทรงกลม) เป็น โดย formula_3 คือ ฮาร์มอนิกส์ทรงกลม จะได้สมการชโรดิงเจอร์ โดย formula_5 คือ มวลลดทอน
| แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี พ.ศ.อะไร | {
"answer": [
"2476"
],
"answer_begin_position": [
553
],
"answer_end_position": [
557
]
} |
927 | 269,725 | พระราชวังช็องบอร์ พระราชวังช็องบอร์ () เป็นวังที่ตั้งอยู่ที่บนฝั่งแม่น้ำลัวร์ในช็องบอร์ในจังหวัดลัวเรแชร์ ประเทศฝรั่งเศส พระราชวังช็องบอร์เป็นวังที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดวังหนึ่งในโลกจากลักษณะสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยาที่เป็นเอกลักษณ์ของสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะผสานระหว่างการก่อสร้างแบบยุคกลางของฝรั่งเศสกับสถาปัตยกรรมคลาสสิกของอิตาลี พระราชวังช็องบอร์สร้างโดยพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศสสำหรับเป็นที่ประทับที่ตั้งอยู่ไม่ไกลจากโกลด โรอ็อง พระสนมเคาน์เทสส์แห่งตูรี ภรรยาของฌูว์เลียง เคานต์แห่งแกลร์มง ซึ่งเป็นตระกูลสำคัญตระกูลหนึ่งของฝรั่งเศส ที่พำนักอยู่ที่วังมุยด์ที่ตั้งอยู่ไม่ไกลนัก ตราอาร์มของโคลดใช้ตกแต่งพระราชวัง ช็องบอร์เป็นพระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาวังต่าง ๆ ในลุ่มแม่น้ำลัวร์ แต่เดิมเป็นเพียงตำหนักล่าสัตว์ของพระเจ้าฟร็องซัว ผู้ทรงมีที่ประทับอยู่ที่พระราชวังบลัวและพระราชวังอ็องบวซ กล่าวกันว่าช็องบอร์เดิมออกแบบโดยโดเมนีโก ดา กอร์โตนา ผู้ที่มีจำลองไม้ที่มีอายุยืนพอที่จะให้อ็องเดร เฟลีเบียงวาดในคริสต์ศตวรรษที่ 16 แต่นักเขียนบางท่านกล่าวว่าผู้มีส่วนสำคัญในการออกแบบคือสถาปนิกยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวฝรั่งเศสฟีลีแบร์ เดอลอร์ม ในระยะยี่สิบปีของการก่อสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1519 และ ค.ศ. 1547 โครงสร้างช็องบอร์ก็เปลี่ยนไปจากที่ออกแบบไว้เป็นอันมาก โดยมี Pierre Nepveu เป็นผู้ควบคุมดูแลการก่อสร้าง ในปี ค.ศ. 1913 มาร์แซล แรมงเสนอว่า เลโอนาร์โด ดา วินชี ผู้เป็นแขกของพระเจ้าฟร็องซัวที่ Clos Lucé ไม่ไกลจากอ็องบวซเป็นผู้มีส่วนในการออกแบบ ที่สะท้อนให้เห็นในแผนสำหรับวังโรโมรองแตงที่ดา วินชีเตรียมสำหรับพระราชมารดาของพระเจ้าฟร็องซัว และความสนใจในการออกแบบลักษณะการก่อสร้างแบบช็องบอร์ และบันไดกลางที่เป็นบันไดเวียนสองวงซ้อน แต่ข้อเสนอนี้ก็ยังไม่เป็นที่เห็นพ้องกันโดยทั่วไป เมื่อสร้างใกล้เสร็จ พระเจ้าฟร็องซัวก็ทรงเป็นเจ้าภาพจัดงานเพื่อแสดงความโอ่อ่าของพระราชวัง ต่อคู่อริเก่าสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
| พระราชวังช็องบอร์ ในประเทศฝรั่งเศส ใครเป็นผู้สร้าง | {
"answer": [
"พระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส"
],
"answer_begin_position": [
453
],
"answer_end_position": [
486
]
} |
928 | 269,725 | พระราชวังช็องบอร์ พระราชวังช็องบอร์ () เป็นวังที่ตั้งอยู่ที่บนฝั่งแม่น้ำลัวร์ในช็องบอร์ในจังหวัดลัวเรแชร์ ประเทศฝรั่งเศส พระราชวังช็องบอร์เป็นวังที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดวังหนึ่งในโลกจากลักษณะสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยาที่เป็นเอกลักษณ์ของสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะผสานระหว่างการก่อสร้างแบบยุคกลางของฝรั่งเศสกับสถาปัตยกรรมคลาสสิกของอิตาลี พระราชวังช็องบอร์สร้างโดยพระเจ้าฟร็องซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศสสำหรับเป็นที่ประทับที่ตั้งอยู่ไม่ไกลจากโกลด โรอ็อง พระสนมเคาน์เทสส์แห่งตูรี ภรรยาของฌูว์เลียง เคานต์แห่งแกลร์มง ซึ่งเป็นตระกูลสำคัญตระกูลหนึ่งของฝรั่งเศส ที่พำนักอยู่ที่วังมุยด์ที่ตั้งอยู่ไม่ไกลนัก ตราอาร์มของโคลดใช้ตกแต่งพระราชวัง ช็องบอร์เป็นพระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาวังต่าง ๆ ในลุ่มแม่น้ำลัวร์ แต่เดิมเป็นเพียงตำหนักล่าสัตว์ของพระเจ้าฟร็องซัว ผู้ทรงมีที่ประทับอยู่ที่พระราชวังบลัวและพระราชวังอ็องบวซ กล่าวกันว่าช็องบอร์เดิมออกแบบโดยโดเมนีโก ดา กอร์โตนา ผู้ที่มีจำลองไม้ที่มีอายุยืนพอที่จะให้อ็องเดร เฟลีเบียงวาดในคริสต์ศตวรรษที่ 16 แต่นักเขียนบางท่านกล่าวว่าผู้มีส่วนสำคัญในการออกแบบคือสถาปนิกยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวฝรั่งเศสฟีลีแบร์ เดอลอร์ม ในระยะยี่สิบปีของการก่อสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1519 และ ค.ศ. 1547 โครงสร้างช็องบอร์ก็เปลี่ยนไปจากที่ออกแบบไว้เป็นอันมาก โดยมี Pierre Nepveu เป็นผู้ควบคุมดูแลการก่อสร้าง ในปี ค.ศ. 1913 มาร์แซล แรมงเสนอว่า เลโอนาร์โด ดา วินชี ผู้เป็นแขกของพระเจ้าฟร็องซัวที่ Clos Lucé ไม่ไกลจากอ็องบวซเป็นผู้มีส่วนในการออกแบบ ที่สะท้อนให้เห็นในแผนสำหรับวังโรโมรองแตงที่ดา วินชีเตรียมสำหรับพระราชมารดาของพระเจ้าฟร็องซัว และความสนใจในการออกแบบลักษณะการก่อสร้างแบบช็องบอร์ และบันไดกลางที่เป็นบันไดเวียนสองวงซ้อน แต่ข้อเสนอนี้ก็ยังไม่เป็นที่เห็นพ้องกันโดยทั่วไป เมื่อสร้างใกล้เสร็จ พระเจ้าฟร็องซัวก็ทรงเป็นเจ้าภาพจัดงานเพื่อแสดงความโอ่อ่าของพระราชวัง ต่อคู่อริเก่าสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
| สมัยพระเจ้าฟร็องซัวใช้พระราชวังช็องบอร์ เป็นตำหนักสำหรับทำอะไร | {
"answer": [
"ตำหนักล่าสัตว์"
],
"answer_begin_position": [
803
],
"answer_end_position": [
817
]
} |
929 | 219,829 | พระราชวังชังกย็อง ชังกย็องกุง หรือ พระราชวังชังกย็อง เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังที่สำคัญที่สุดของเกาหลี ปัจจุบันตั้งอยู่ในโซล ประเทศเกาหลีใต้ เดิมเป็นพระราชวังฤดูร้อนของกษัตริย์ราชวงศ์โครยอ กระทั่งพระเจ้าเซจงมหาราชมีดำริที่จะสร้างพระราชวังถวายแก่พระราชบิดาคือ พระเจ้าแทจง ต่อมาในปี พ.ศ. 2026 ในรัชสมัยพระเจ้าซองจง โปรดให้บูรณะซ่อมแซมและขยายอาณาเขตของพระราชวัง ระหว่างยุคล่าอาณานิคมของญี่ปุ่น พวกญี่ปุ่นได้สร้างสวนสัตว์ สวนสาธารณะ และพิพิธภัณฑ์ไว้ที่นี่ จนในปี พ.ศ. 2526 ได้มีการย้ายสวนสัตว์และสวนสาธารณะออกไปเหลือแค่พิพิธภัณฑ์เท่านั้นสิ่งก่อสร้างสิ่งก่อสร้าง. - ฮงฮวามุน (ประตูหลัก) เชื่อกันว่าสร้างในรัชสมัยพระเจ้าซองจงเมื่อปี ค.ศ. 1484 (พ.ศ. 2027) ถูกไฟไหม้ไปคราวการรุกรานเกาหลีของฮิเดโยชิเมื่อปี ค.ศ. 1592 (พ.ศ. 2035) รัชสมัยพระเจ้าซอนโจ และถูกสร้างขึ้นใหม่อีกครั้งในปี ค.ศ. 1616 (พ.ศ. 2159) ระหว่างรัชสมัยขององค์ชายควางแฮกุน - อกช็องกโย (สะพาน) สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1483 (พ.ศ. 2026) มีความกว้างทั้งหมด 6.6 เมตร และมีความยาวทั้งสิ้น 9.9 เมตรและ รองรับด้วยเสารูปโค้ง 2 ต้น - กย็องชุนจ็อน สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1483 ถูกทำลายในปี ค.ศ. 1592 สร้างขึ้นใหม่อีกครั้งในปี ค.ศ. 1616 แต่ก็เกิดไฟไหม้ขึ้นอีกในปี ค.ศ. 1830 และได้สร้างขึ้นใหม่เมื่อปี ค.ศ. 1834 พระเจ้าจองโจและ พระเจ้าฮอนจงก็ประสูติ ณ พระตำหนักนี้ - ฯลฯสมุดภาพ
| พระราชวังชังกย็อง เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังที่สำคัญที่สุดของเกาหลี ปัจจุบันตั้งอยู่ในโซล ประเทศอะไร | {
"answer": [
"ประเทศเกาหลีใต้"
],
"answer_begin_position": [
214
],
"answer_end_position": [
229
]
} |
2,530 | 219,829 | พระราชวังชังกย็อง ชังกย็องกุง หรือ พระราชวังชังกย็อง เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังที่สำคัญที่สุดของเกาหลี ปัจจุบันตั้งอยู่ในโซล ประเทศเกาหลีใต้ เดิมเป็นพระราชวังฤดูร้อนของกษัตริย์ราชวงศ์โครยอ กระทั่งพระเจ้าเซจงมหาราชมีดำริที่จะสร้างพระราชวังถวายแก่พระราชบิดาคือ พระเจ้าแทจง ต่อมาในปี พ.ศ. 2026 ในรัชสมัยพระเจ้าซองจง โปรดให้บูรณะซ่อมแซมและขยายอาณาเขตของพระราชวัง ระหว่างยุคล่าอาณานิคมของญี่ปุ่น พวกญี่ปุ่นได้สร้างสวนสัตว์ สวนสาธารณะ และพิพิธภัณฑ์ไว้ที่นี่ จนในปี พ.ศ. 2526 ได้มีการย้ายสวนสัตว์และสวนสาธารณะออกไปเหลือแค่พิพิธภัณฑ์เท่านั้นสิ่งก่อสร้างสิ่งก่อสร้าง. - ฮงฮวามุน (ประตูหลัก) เชื่อกันว่าสร้างในรัชสมัยพระเจ้าซองจงเมื่อปี ค.ศ. 1484 (พ.ศ. 2027) ถูกไฟไหม้ไปคราวการรุกรานเกาหลีของฮิเดโยชิเมื่อปี ค.ศ. 1592 (พ.ศ. 2035) รัชสมัยพระเจ้าซอนโจ และถูกสร้างขึ้นใหม่อีกครั้งในปี ค.ศ. 1616 (พ.ศ. 2159) ระหว่างรัชสมัยขององค์ชายควางแฮกุน - อกช็องกโย (สะพาน) สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1483 (พ.ศ. 2026) มีความกว้างทั้งหมด 6.6 เมตร และมีความยาวทั้งสิ้น 9.9 เมตรและ รองรับด้วยเสารูปโค้ง 2 ต้น - กย็องชุนจ็อน สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1483 ถูกทำลายในปี ค.ศ. 1592 สร้างขึ้นใหม่อีกครั้งในปี ค.ศ. 1616 แต่ก็เกิดไฟไหม้ขึ้นอีกในปี ค.ศ. 1830 และได้สร้างขึ้นใหม่เมื่อปี ค.ศ. 1834 พระเจ้าจองโจและ พระเจ้าฮอนจงก็ประสูติ ณ พระตำหนักนี้ - ฯลฯสมุดภาพ
| สวนสัตว์และสวนสาธารณะได้ย้ายออกจากพระราชวังชังกย็องกุงหรือพระราชวังชังกย็อง ในปี พ.ศ. ใด | {
"answer": [
"พ.ศ. 2526"
],
"answer_begin_position": [
548
],
"answer_end_position": [
557
]
} |
930 | 10,582 | พระราชวังดุสิต พระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่เสด็จประทับชั่วคราว เนื่องจากภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับนั้น ประกอบด้วย พระราชมณเฑียร หมู่พระตำหนัก หมู่เรือนในเขตพระราชฐานชั้นใน และหมู่เรือนข้าราชบริพาร ปลูกสร้างอยู่กันอย่างแออัด ปิดทางลม ทำให้ที่ประทับร้อนจัด ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระประชวรกันเสมอ ต่อมา จึงสร้างขึ้นเพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับถาวรจนตลอดรัชกาล โดยได้สร้างแล้วเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวประวัติ ประวัติ. พระราชวังดุสิตเป็นพระราชวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ภายหลังเสด็จกลับจากการประพาสยุโรปครั้งที่ 1 พระองค์มีพระราชดำริว่า พระบรมมหาราชวัง ในฤดูร้อนจะร้อนจัดเพราะมีตึกบังอยู่โดยรอบทำให้ขวางทางลม รวมทั้ง พระองค์โปรดพระราชดำเนินด้วยพระบาทในระยะทางหนึ่งพอสมควรแก่พระกำลัง ถ้าประทับอยู่บนพระที่นั่งไม่ได้เสด็จพระราชดำเนินแห่งใดหลายเดือนก็ไม่ใคร่ทรงสบาย นอกจากนี้ นายแพทย์ประจำพระองค์ได้กราบบังคมทูลว่า ในพระบรมมหาราชวังซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับมาแต่เดิมไม่ถูกสุขลักษณะ ทำให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระประชวรกันเสมอ เมื่อปี พ.ศ. 2441 พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรพื้นที่สวนและทุ่งนาบริเวณทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระบรมมหาราชวังแล้วทรงพอพระราชหฤทัย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ซื้อที่ดินระหว่างคลองผดุงกรุงเกษมจนถึงคลองสามเสนด้วยเงินพระคลังข้างที่อันเป็นพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ พระราชทานชื่อตำบลแห่งนี้ว่า "สวนดุสิต" และโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพลับพลาขึ้นเป็นที่เสด็จประทับแรมชั่วคราวและให้เรียกที่ประทับแห่งนี้ว่า “วังสวนดุสิต” เมื่อมีการขยายพระนครไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนสามเสน ถนนราชดำเนินใน ถนนราชดำเนินนอก และโปรดให้รื้อพระที่นั่งมันธาตุรัตนโรจน์ที่เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี มาสร้างที่วังสวนดุสิตและพระราชทานนามว่า "พระที่นั่งวิมานเมฆ" โดยโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงกำกับการออกแบบและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการเฉลิมพระที่นั่งวิมานเมฆ เมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. 2445 พร้อมกันนี้ พระองค์ยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือนไทยหมู่หนึ่ง พระราชทานนามว่า "เรือนต้น" เพื่อใช้เป็นที่เสด็จให้ประชาชนที่พระองค์ได้ทรงรู้จักเมื่อครั้งเสด็จประพาสต้นมาเฝ้า เมื่อมีการสร้างที่ประทับถาวรขึ้นและเสด็จมาประทับบ่อยครั้ง จึงมีพระราชดำริที่จะสร้างพระที่นั่งต่าง ๆ ขึ้นเพื่อใช้ประกอบพระราชพิธีได้เช่นเดียวกับพระบรมมหาราชวัง จึงโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเปลี่ยนนามวังสวนดุสิตเป็น "พระราชวังสวนดุสิต" นอกจากสร้างพระที่นั่งต่าง ๆ ขึ้นในพระราชวังสวนดุสิตแล้ว ยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสวนและพระตำหนักพระราชทานให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระอัครมเหสี พระราชเทวี พระอัครชายา พระราชชายา เจ้าจอม และพระธิดา ยังมีสวนอีกมากมายได้แก่ สวนสี่ฤดู สวนหงส์ สวนบัว สวนฝรั่งกังไส สวนนกไม้ สวนม้าสน สวนผักชีเข้ม สวนญี่ปุ่น สวนวิลันดา และสวนโป๊ยเซียน และโปรดเกล้าฯ ให้จัดระเบียบพระราชวังดุสิตเป็นเขตพระราชฐาน ฝ่ายหน้า ฝ่ายใน อย่างถาวร ต่อมาเมื่อเสด็จกลับจากประพาสทวีปยุโรปเป็นครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2451 โปรดเกล้าฯ ให้ขยายเขตพระราชฐานด้านหลังพระราชวังสวนดุสิต เป็นเขตพระราชอุทยานส่วนพระองค์ พร้อมทั้งเป็นที่ประทับถาวรของพระราชธิดา เจ้าจอมมารดา ที่อยู่ของเจ้าจอมและข้าราชบริพารในพระองค์ เมื่อเสด็จสวรรคตแล้ว พระราชอุทยานนี้พระราชทานนามว่า "สวนสุนันทา" พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประทับที่พระราชวังแห่งนี้จนกระทั่งเสด็จสวรรคตที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ซึ่งเป็นพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระราชวังสวนดุสิต ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เรียกพระราชวังสวนดุสิตว่า "พระราชวังดุสิต" และโปรดให้สร้างสวนจิตรลดาในบริเวณระหว่างพระราชวังดุสิตกับวังพญาไท เพื่อเป็นที่เสด็จประพาสและประทับแรม และสร้างพระตำหนักขึ้นหลังหนึ่ง พระราชทานนามว่า พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ซึ่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ผนวกสวนจิตรลดาเข้าเป็นส่วนหนึ่งของพระราชวังดุสิต พระราชวังดุสิตได้เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาจนถึงรัชกาลปัจจุบัน แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลงบางส่วนเป็นที่ทำการของรัฐบาล ยังคงเหลือเพียงส่วนหนึ่งที่เป็นเขตพระราชวังที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คือ บริเวณพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน และที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ในส่วนของพระที่นั่งอัมพรสถานสถานที่ภายในพระราชวังดุสิตพระที่นั่งพระที่นั่งวิมานเมฆ สถานที่ภายในพระราชวังดุสิต. พระที่นั่ง. พระที่นั่งวิมานเมฆ. เป็นพระที่นั่งที่สร้างด้วยไม้สักทองที่ใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นพระที่นั่งถาวรองค์แรกในพระราชวังดุสิต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้รื้อพระที่นั่งมันธาตุรัตนโรจน์ ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นที่เกาะสีชังเมื่อ พ.ศ. 2435 แต่ยังสร้างไม่เสร็จสมบูรณ์ โดยโปรดเกล้าฯ ให้พระราชโยธาเทพ (กร หงสกุล ต่อมาเป็นพระยาราชสงคราม) เป็นนายงานรื้อพระที่นั่งมันธาตุรัตนโรจน์จากเกาะสีชังมาสร้างในสวนดุสิต และพระราชทานนามว่า "พระที่นั่งวิมานเมฆ" และทรงวางศิลาฤกษ์พระที่นั่งเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2443 โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงกำกับการออกแบบ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการเฉลิมพระที่นั่งวิมานเมฆ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ 2445 โดยองค์พระที่นั่งมีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบวิกตอเรีย ได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมยุโรป ผสมกับไทยประยุกต์ องค์พระที่นั่งเป็นรูปอักษรตัวแอล (L) ในภาษาอังกฤษ ยาวด้านละ 60 เมตร สูง 20 เมตร เป็นอาคาร 3 ชั้น ยกเว้นตรงส่วนที่ประทับซึ่งมีรูปร่างเป็นแปดเหลี่ยม มี 4 ชั้น ชั้นล่างสุดก่ออิฐ ถือปูน ชั้นถัดขึ้นไปสร้างด้วยไม้สักทองทั้งหมดทาด้วยสีครีมอ่อนหลังคาสีแดง และหลังคาเป็นทรงไทยประยุกต์ มีลวดลายตามหน้าต่าง และช่องลมซึ่งฉลุเป็นลายที่เรียกว่าขนมปังขิง ภายในแบ่งออกเป็นห้องชุดต่าง ๆ 5 ชุดได้แก่- ห้องสีฟ้าเป็นที่ประทับในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง - ห้องงาช้างเป็นที่ประทับในสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี - ห้องชมพูเป็นที่ประทับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา - ห้องเขียวเป็นที่พำนักของเจ้าจอมก๊กออ - และห้องสีลูกพีช (ชมพูอมส้ม) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาประทับที่พระที่นั่งวิมานเมฆใน พ.ศ. 2468 แต่เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชายาได้เสด็จไปประทับที่พระตำหนักสวนนกไม้ซึ่งเดิมเป็นพระตำหนักที่ประทับในสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพระที่นั่งวิมานเมฆจึงไม่มีเจ้านายพระองค์ใดเสด็จมาประทับอีก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 พ.ศ. 2525 ซึ่งเป็นปีที่ฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงขอพระบรมราชานุญาตบูรณะพระที่นั่งวิมานเมฆ เพื่อจัดเป็นพิพิธภัณฑ์ส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันพระที่นั่งวิมานเมฆเป็นเขตพระราชฐานในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันพระที่นั่งอภิเศกดุสิต พระที่นั่งอภิเศกดุสิต. เป็นพระที่นั่งองค์แรก ๆ ที่สร้างขึ้นในเขตพระราชวังดุสิต เป็นพระที่นั่งชั้นเดียว ประดับไปด้วยสร้างด้วยไม้เป็นส่วนมาก มีลวดลายฉลุไม้เรียกว่า ลายบุหงา มีการประดับกระจกสี และลวดลายปูนปั้นที่หน้าบัน เป็นศิลปะแบบมัวร์ จึงทำให้พระที่นั่งองค์นี้งดงามมาก พระที่นั่งองค์นี้ตั้งอยู่ทางตะวันออกของพระที่นั่งวิมานเมฆ สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากพระองค์ได้เสด็จกลับมาจากการประพาสยุโรปครั้งที่ 1 เพื่อใช้เป็นท้องพระโรง และสถานที่พระราชทานเลี้ยง สำหรับพระราชวังดุสิต และใช้เป็นสถานที่สำหรับพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการ ในงานประจำปีสวนดุสิตพระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งอนันตสมาคม. เป็นพระที่นั่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นทางทิศตะวันออกของพระที่นั่งอัมพรสถาน เพื่อใช้เป็นสถานที่เสด็จออกมหาสมาคม พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางศิลาฤกษ์ในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451 พร้อมทั้งพระราชทานชื่อพระที่นั่งว่า พระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งเป็นชื่อพระที่นั่งองค์หนึ่งภายในพระอภิเนาว์นิเวศน์ พระบรมมหาราชวังที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ด้วยสภาพที่ทรุดโทรมยากแก่การบูรณะจึงได้รื้อลง พระที่นั่งหลังนี้ออกแบบโดยมาริโอ ตามานโญ โดยมีเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เป็นแม่กองจัดการก่อสร้าง และมี พระยาประชากรกิจวิจารณ์ (โอ อมาตยกุล) เป็นผู้ช่วย แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าได้เสด็จสวรรคตก่อนที่พระที่นั่งจะสร้างเสร็จสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินการก่อสร้างพระที่นั่งต่อไปจนเสร็จสมบูรณ์เมื่อปี พ.ศ. 2458 โดยใช้ระยะเวลาก่อสร้างทั้งสิ้น 8 ปี ใช้งบประมาณประมาณ 15 ล้านบาท องค์พระที่นั้นมีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบนีโอเรอเนสซองส์ และนีโอคลาสสิก โดยตกแต่งพระที่นั่งด้วยหินอ่อน ซึ่งสั่งมาจากเมืองคารารา ประเทศอิตาลี โดยมีจุดเด่น คือ มีหลังคาโดมคลาสสิกของโรมอยู่ตรงกลาง และมีโดมเล็กๆโดยรอบอีก 6 โดม รวมทั้งสิ้นมี 7 โดม โดยโดมทั้งหมดทำขึ้นจากทองแดง ขนาดขององค์พระที่นั่งฯ ส่วนกว้างประมาณได้ 49.50 เมตร ยาว 112.50 เมตร และสูง 49.50 เมตร ภายในพระที่นั่ง บนเพดานโดมมีภาพเขียนเฟรสโก เขียนบนปูนเปียก ซึ่งภาพจะติดทนกว่าภาพที่เขียนบนปูนแห้ง (ภาพจิตรกรรมไทยนิยมเขียนแบบปูนแห้ง) เกี่ยวกับ พระราชกรณียกิจที่สำคัญ ของพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 1-6 จำนวน 6 ภาพ โดยฝีมือเขียนภาพของ นายซี รีโกลีและศาสตราจารย์กาลิเลโอ กินีพระที่นั่งอัมพรสถาน พระที่นั่งอัมพรสถาน. เป็นพระที่นั่งองค์แรกและองค์ประธานของหมู่พระที่นั่งอัมพรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้นายซันเดรสกีเป็นสถาปนิก มีพระสถิตนิมานการ (ม.ร.ว. ชิด อิศรศักดิ์)เป็นแม่กอง ตัวอาคารเป็นรูปตัว H มีสถาปัตยกรรมแบบวิลล่าในชนบทของยุโรป ลักษณะเด่นอยู่ตรงที่มุขด้านหน้า ๒ ข้างซึ่งทำเป็นผนังโค้งเรียงซ้อนกัน ๓ ชั้น ชั้นนอกเป็นระเบียงหุ้มพื้นที่ภายในผนังตกแต่งด้วยลายปูนปั้นรูปดอกไม้และใบไม้ประยุกต์เข้ากับรูปทรงเลขาคณิตขอบบนประตูหน้าต่างเป็นลวดลายแถบยาวรูปพรรณพฤกษาในแบบสีปูนเปียกคาดรอบตึก นอกจากนี้ยังมีราวระเบียงและลูกกรงที่ทำจากโลหะเป็นลายเลขาคณิตประกอบดอกไม้และโลหะผนังภายในอาคารตกแต่งด้วยลายปูนปั้นและการเขียนสีปูนแห้งลายพรรณพฤกษาและปักษาซึ่งวาดโดย ซีซาร์เร เฟร์โร ศิลปินชาวอิตาเลียน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต ณ ห้องพระบรรทมชั้น 3 ที่พระที่นั่งองค์นี้ ในสมัยรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ก็เสด็จมาประทับที่พระที่นั่งอัมพรสถานแต่ประทับที่บริเวณชั้น 2 เพราะถือว่าชั้น 3 เป็นที่ประทับส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 เสด็จมาประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถานเมื่อครั้งเสด็จนิวัติพระนคร และพระที่นั่งองค์นี้เป็นสถานที่เสด็จพระราชสมภพของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลปัจจุบัน สถานที่เสด็จพระราชสมภพของทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปี พ.ศ. 2542 สมเด็จพระเจ้าหัวรัชกาลปัจจุบันเมื่อครั้งพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงโปรดให้มีการบูรณะพระที่นั่งอัมพรสถานเพื่อเป็นที่ประทับตราบจนถึงปัจจุบันพระที่นั่งอุดรภาค พระที่นั่งอุดรภาค. เป็นหนึ่งในพระที่นั่งในหมู่พระที่นั่งอัมพร สร้างขึ้นบริเวณทางทิศเหนือของพระที่นั่งอัมพรสถานโดยมีสะพานเหล็กหล่อเชื่อมองค์พระที่นั่งทั้ง 2 เข้าด้วยกัน เป็นที่ประทับในสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีและ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทรพระที่นั่งประจิมภาค พระที่นั่งประจิมภาค. เป็นหนึ่งในพระที่นั่งในหมู่พระที่นั่งอัมพรสถาน สร้างบริเวณด้านหลังปีกทางทิศเหนือของพระที่นั่งอัมพรสถานติดกับคลองเม่งเส็ง เป็นที่ประทับของพระอรรคชายาเธอ กรมขุนสุทธาสินีนาฎ กับ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ามาลีนีนพดารา และสมเด็จฯ เจ้าฟ้านิภานภดล รวมทั้งเจ้าจอมก๊กออ มีลักษณะเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสี่เหลี่ยมผืนผ้า สูง 2 ชั้น ด้านที่ติดกับคลองเม่งเส็จทำเป็นระเบียงไม้ยืดลงไปในคลอง ปัจจุบันพระที่นั่งประจิมภาคถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของพระที่นั่งอัมพรสถานพระที่นั่งราชฤทธิ์รุ่งโรจน์ พระที่นั่งราชฤทธิ์รุ่งโรจน์. เป็นหนึ่งในพระที่นั่งในหมู่พระที่นั่งอัมพร เดิมเป็นเพียงตำหนัก เป็นที่ประทับในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงยกฐานะให้เป็นพระตำหนัก แต่ทว่าในแผนที่พระราชวังดุสิตในสมัยรัชกาลที่ 7 ระบุว่าพระที่นั่งราชฤทธิ์รุ่งโรจน์ จึงสันนิษฐษฯว่ามีการยกขึ้นเป็นพระที่นั่งในสมัยรัชกาลที่ 7 แต่ยังไม่สามารถหาเอกสารมาอ้างอิงเพิ่มเติมได้พระที่นั่งนิยมทัศนาณ พระที่นั่งนิยมทัศนาณ. เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นบริเวณเขามอทางทิศใต้ของพระที่นั่งอนันตสมาคม มีลักษณะเป็นหอคอย 8 เหลี่ยมหลังคายอดโดม พระที่นั่งองค์นี้ถูกรื้อลงในสมัยรัชกาลที่ 8พระที่นั่งสัตลาภิรมย์ พระที่นั่งสัตลาภิรมย์. เป็นพระที่นั่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2447 เพื่อเป็นที่ประทับเสวยพระกายาหาร ทรงโปรดให้ สมเด็จกรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ เป็นผู้ออกแบบและดูแลการก่อสร้างมีลีลักษณะเป็นศาลาไทย อยู่ทางทิศตะวันออกของพระที่นั่งอัมพรสถาน ในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงโปรด ให้ลดฐานะและเปลี่ยนชื่อเป็น ศาลาวรสภาภิรมย์ ปัจจุบันยังคงอยู่ในพระราชวังดุสิตพระที่นั่งราชฤดี พระที่นั่งราชฤดี. เป็นพระที่นั่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 4472 เพื่อเป็นที่ประทับเสวยพระกายาหาร ทรงโปรดให้ สมเด็จกรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ เป็นผู้ออกแบบและดูแลการก่อสร้างมีลีลักษณะเป็นศาลาไทยอยู่ทางทิศตะวันออกของพระที่นั่งอัมพรสถาน ในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงโปรด ให้ลดฐานะและเปลี่ยนชื่อเป็น ศาลาสำราญมุขมาตย์ และถูกย้ายไปพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครในสมัยรัชกาลที่ 7 ตราบจนปัจจุบันพระตำหนักพระตำหนัก. - พระตำหนักเรือนต้น - พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน - พระตำหนักสวนหงส์ - พระตำหนักสวนสี่ฤดู - พระตำหนักนกไม้ - พระตำหนักสวนบัวตำหนักตำหนัก. - ตำหนักสวนไม้สามอย่าง - ตำหนักสวนเขาไม้ - ตำหนักสวนหนังสือเล็กและสวนหนังสือใหญ่ - ตำหนักสวนบ๋วยไผ่ - ตำหนักสวนภาพผู้หญิง - ตำหนักสวนพุดตานเบญจมาศ - ตำหนักสวนพุดตาน - ตำหนักสวนม้าสน - ตำหนักสวนผักชีเข้ม - ตำหนักสวนฝรั่งกังไส - ตำหนักสวนญี่ปุ่น - ตำหนักสวนวิลันดา - ตำหนักสวนโป๊ยเซียน - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าวรเสรฐสุดา - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวดี - ตำหนักพระองค์เจ้านารีรัตนาและพระองค์เจ้าประดิษฐาสารี - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาณีรัตนกัญญา - ตำหนักและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจนากร - สวนสุนันทาอาคารต่างๆอาคารต่างๆ. - เรือนเจ้าจอมมารดาวาด - โรงช้างต้น - สำนักราชเลขาธิการ - ทิมดาบ - เรือนยอดบรมมังคลานุสรณีย์
| พระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยใด | {
"answer": [
"พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"
],
"answer_begin_position": [
169
],
"answer_end_position": [
206
]
} |
931 | 10,582 | พระราชวังดุสิต พระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่เสด็จประทับชั่วคราว เนื่องจากภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับนั้น ประกอบด้วย พระราชมณเฑียร หมู่พระตำหนัก หมู่เรือนในเขตพระราชฐานชั้นใน และหมู่เรือนข้าราชบริพาร ปลูกสร้างอยู่กันอย่างแออัด ปิดทางลม ทำให้ที่ประทับร้อนจัด ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระประชวรกันเสมอ ต่อมา จึงสร้างขึ้นเพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับถาวรจนตลอดรัชกาล โดยได้สร้างแล้วเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวประวัติ ประวัติ. พระราชวังดุสิตเป็นพระราชวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ภายหลังเสด็จกลับจากการประพาสยุโรปครั้งที่ 1 พระองค์มีพระราชดำริว่า พระบรมมหาราชวัง ในฤดูร้อนจะร้อนจัดเพราะมีตึกบังอยู่โดยรอบทำให้ขวางทางลม รวมทั้ง พระองค์โปรดพระราชดำเนินด้วยพระบาทในระยะทางหนึ่งพอสมควรแก่พระกำลัง ถ้าประทับอยู่บนพระที่นั่งไม่ได้เสด็จพระราชดำเนินแห่งใดหลายเดือนก็ไม่ใคร่ทรงสบาย นอกจากนี้ นายแพทย์ประจำพระองค์ได้กราบบังคมทูลว่า ในพระบรมมหาราชวังซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับมาแต่เดิมไม่ถูกสุขลักษณะ ทำให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระประชวรกันเสมอ เมื่อปี พ.ศ. 2441 พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรพื้นที่สวนและทุ่งนาบริเวณทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระบรมมหาราชวังแล้วทรงพอพระราชหฤทัย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ซื้อที่ดินระหว่างคลองผดุงกรุงเกษมจนถึงคลองสามเสนด้วยเงินพระคลังข้างที่อันเป็นพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ พระราชทานชื่อตำบลแห่งนี้ว่า "สวนดุสิต" และโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพลับพลาขึ้นเป็นที่เสด็จประทับแรมชั่วคราวและให้เรียกที่ประทับแห่งนี้ว่า “วังสวนดุสิต” เมื่อมีการขยายพระนครไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนสามเสน ถนนราชดำเนินใน ถนนราชดำเนินนอก และโปรดให้รื้อพระที่นั่งมันธาตุรัตนโรจน์ที่เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี มาสร้างที่วังสวนดุสิตและพระราชทานนามว่า "พระที่นั่งวิมานเมฆ" โดยโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงกำกับการออกแบบและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการเฉลิมพระที่นั่งวิมานเมฆ เมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. 2445 พร้อมกันนี้ พระองค์ยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือนไทยหมู่หนึ่ง พระราชทานนามว่า "เรือนต้น" เพื่อใช้เป็นที่เสด็จให้ประชาชนที่พระองค์ได้ทรงรู้จักเมื่อครั้งเสด็จประพาสต้นมาเฝ้า เมื่อมีการสร้างที่ประทับถาวรขึ้นและเสด็จมาประทับบ่อยครั้ง จึงมีพระราชดำริที่จะสร้างพระที่นั่งต่าง ๆ ขึ้นเพื่อใช้ประกอบพระราชพิธีได้เช่นเดียวกับพระบรมมหาราชวัง จึงโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเปลี่ยนนามวังสวนดุสิตเป็น "พระราชวังสวนดุสิต" นอกจากสร้างพระที่นั่งต่าง ๆ ขึ้นในพระราชวังสวนดุสิตแล้ว ยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสวนและพระตำหนักพระราชทานให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระอัครมเหสี พระราชเทวี พระอัครชายา พระราชชายา เจ้าจอม และพระธิดา ยังมีสวนอีกมากมายได้แก่ สวนสี่ฤดู สวนหงส์ สวนบัว สวนฝรั่งกังไส สวนนกไม้ สวนม้าสน สวนผักชีเข้ม สวนญี่ปุ่น สวนวิลันดา และสวนโป๊ยเซียน และโปรดเกล้าฯ ให้จัดระเบียบพระราชวังดุสิตเป็นเขตพระราชฐาน ฝ่ายหน้า ฝ่ายใน อย่างถาวร ต่อมาเมื่อเสด็จกลับจากประพาสทวีปยุโรปเป็นครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2451 โปรดเกล้าฯ ให้ขยายเขตพระราชฐานด้านหลังพระราชวังสวนดุสิต เป็นเขตพระราชอุทยานส่วนพระองค์ พร้อมทั้งเป็นที่ประทับถาวรของพระราชธิดา เจ้าจอมมารดา ที่อยู่ของเจ้าจอมและข้าราชบริพารในพระองค์ เมื่อเสด็จสวรรคตแล้ว พระราชอุทยานนี้พระราชทานนามว่า "สวนสุนันทา" พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประทับที่พระราชวังแห่งนี้จนกระทั่งเสด็จสวรรคตที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ซึ่งเป็นพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระราชวังสวนดุสิต ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เรียกพระราชวังสวนดุสิตว่า "พระราชวังดุสิต" และโปรดให้สร้างสวนจิตรลดาในบริเวณระหว่างพระราชวังดุสิตกับวังพญาไท เพื่อเป็นที่เสด็จประพาสและประทับแรม และสร้างพระตำหนักขึ้นหลังหนึ่ง พระราชทานนามว่า พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ซึ่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ผนวกสวนจิตรลดาเข้าเป็นส่วนหนึ่งของพระราชวังดุสิต พระราชวังดุสิตได้เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาจนถึงรัชกาลปัจจุบัน แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลงบางส่วนเป็นที่ทำการของรัฐบาล ยังคงเหลือเพียงส่วนหนึ่งที่เป็นเขตพระราชวังที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คือ บริเวณพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน และที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ในส่วนของพระที่นั่งอัมพรสถานสถานที่ภายในพระราชวังดุสิตพระที่นั่งพระที่นั่งวิมานเมฆ สถานที่ภายในพระราชวังดุสิต. พระที่นั่ง. พระที่นั่งวิมานเมฆ. เป็นพระที่นั่งที่สร้างด้วยไม้สักทองที่ใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นพระที่นั่งถาวรองค์แรกในพระราชวังดุสิต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้รื้อพระที่นั่งมันธาตุรัตนโรจน์ ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นที่เกาะสีชังเมื่อ พ.ศ. 2435 แต่ยังสร้างไม่เสร็จสมบูรณ์ โดยโปรดเกล้าฯ ให้พระราชโยธาเทพ (กร หงสกุล ต่อมาเป็นพระยาราชสงคราม) เป็นนายงานรื้อพระที่นั่งมันธาตุรัตนโรจน์จากเกาะสีชังมาสร้างในสวนดุสิต และพระราชทานนามว่า "พระที่นั่งวิมานเมฆ" และทรงวางศิลาฤกษ์พระที่นั่งเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2443 โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงกำกับการออกแบบ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการเฉลิมพระที่นั่งวิมานเมฆ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ 2445 โดยองค์พระที่นั่งมีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบวิกตอเรีย ได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมยุโรป ผสมกับไทยประยุกต์ องค์พระที่นั่งเป็นรูปอักษรตัวแอล (L) ในภาษาอังกฤษ ยาวด้านละ 60 เมตร สูง 20 เมตร เป็นอาคาร 3 ชั้น ยกเว้นตรงส่วนที่ประทับซึ่งมีรูปร่างเป็นแปดเหลี่ยม มี 4 ชั้น ชั้นล่างสุดก่ออิฐ ถือปูน ชั้นถัดขึ้นไปสร้างด้วยไม้สักทองทั้งหมดทาด้วยสีครีมอ่อนหลังคาสีแดง และหลังคาเป็นทรงไทยประยุกต์ มีลวดลายตามหน้าต่าง และช่องลมซึ่งฉลุเป็นลายที่เรียกว่าขนมปังขิง ภายในแบ่งออกเป็นห้องชุดต่าง ๆ 5 ชุดได้แก่- ห้องสีฟ้าเป็นที่ประทับในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง - ห้องงาช้างเป็นที่ประทับในสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี - ห้องชมพูเป็นที่ประทับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา - ห้องเขียวเป็นที่พำนักของเจ้าจอมก๊กออ - และห้องสีลูกพีช (ชมพูอมส้ม) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาประทับที่พระที่นั่งวิมานเมฆใน พ.ศ. 2468 แต่เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชายาได้เสด็จไปประทับที่พระตำหนักสวนนกไม้ซึ่งเดิมเป็นพระตำหนักที่ประทับในสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพระที่นั่งวิมานเมฆจึงไม่มีเจ้านายพระองค์ใดเสด็จมาประทับอีก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 พ.ศ. 2525 ซึ่งเป็นปีที่ฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงขอพระบรมราชานุญาตบูรณะพระที่นั่งวิมานเมฆ เพื่อจัดเป็นพิพิธภัณฑ์ส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันพระที่นั่งวิมานเมฆเป็นเขตพระราชฐานในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันพระที่นั่งอภิเศกดุสิต พระที่นั่งอภิเศกดุสิต. เป็นพระที่นั่งองค์แรก ๆ ที่สร้างขึ้นในเขตพระราชวังดุสิต เป็นพระที่นั่งชั้นเดียว ประดับไปด้วยสร้างด้วยไม้เป็นส่วนมาก มีลวดลายฉลุไม้เรียกว่า ลายบุหงา มีการประดับกระจกสี และลวดลายปูนปั้นที่หน้าบัน เป็นศิลปะแบบมัวร์ จึงทำให้พระที่นั่งองค์นี้งดงามมาก พระที่นั่งองค์นี้ตั้งอยู่ทางตะวันออกของพระที่นั่งวิมานเมฆ สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากพระองค์ได้เสด็จกลับมาจากการประพาสยุโรปครั้งที่ 1 เพื่อใช้เป็นท้องพระโรง และสถานที่พระราชทานเลี้ยง สำหรับพระราชวังดุสิต และใช้เป็นสถานที่สำหรับพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการ ในงานประจำปีสวนดุสิตพระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งอนันตสมาคม. เป็นพระที่นั่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นทางทิศตะวันออกของพระที่นั่งอัมพรสถาน เพื่อใช้เป็นสถานที่เสด็จออกมหาสมาคม พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางศิลาฤกษ์ในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2451 พร้อมทั้งพระราชทานชื่อพระที่นั่งว่า พระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งเป็นชื่อพระที่นั่งองค์หนึ่งภายในพระอภิเนาว์นิเวศน์ พระบรมมหาราชวังที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ด้วยสภาพที่ทรุดโทรมยากแก่การบูรณะจึงได้รื้อลง พระที่นั่งหลังนี้ออกแบบโดยมาริโอ ตามานโญ โดยมีเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เป็นแม่กองจัดการก่อสร้าง และมี พระยาประชากรกิจวิจารณ์ (โอ อมาตยกุล) เป็นผู้ช่วย แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าได้เสด็จสวรรคตก่อนที่พระที่นั่งจะสร้างเสร็จสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินการก่อสร้างพระที่นั่งต่อไปจนเสร็จสมบูรณ์เมื่อปี พ.ศ. 2458 โดยใช้ระยะเวลาก่อสร้างทั้งสิ้น 8 ปี ใช้งบประมาณประมาณ 15 ล้านบาท องค์พระที่นั้นมีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบนีโอเรอเนสซองส์ และนีโอคลาสสิก โดยตกแต่งพระที่นั่งด้วยหินอ่อน ซึ่งสั่งมาจากเมืองคารารา ประเทศอิตาลี โดยมีจุดเด่น คือ มีหลังคาโดมคลาสสิกของโรมอยู่ตรงกลาง และมีโดมเล็กๆโดยรอบอีก 6 โดม รวมทั้งสิ้นมี 7 โดม โดยโดมทั้งหมดทำขึ้นจากทองแดง ขนาดขององค์พระที่นั่งฯ ส่วนกว้างประมาณได้ 49.50 เมตร ยาว 112.50 เมตร และสูง 49.50 เมตร ภายในพระที่นั่ง บนเพดานโดมมีภาพเขียนเฟรสโก เขียนบนปูนเปียก ซึ่งภาพจะติดทนกว่าภาพที่เขียนบนปูนแห้ง (ภาพจิตรกรรมไทยนิยมเขียนแบบปูนแห้ง) เกี่ยวกับ พระราชกรณียกิจที่สำคัญ ของพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 1-6 จำนวน 6 ภาพ โดยฝีมือเขียนภาพของ นายซี รีโกลีและศาสตราจารย์กาลิเลโอ กินีพระที่นั่งอัมพรสถาน พระที่นั่งอัมพรสถาน. เป็นพระที่นั่งองค์แรกและองค์ประธานของหมู่พระที่นั่งอัมพรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้นายซันเดรสกีเป็นสถาปนิก มีพระสถิตนิมานการ (ม.ร.ว. ชิด อิศรศักดิ์)เป็นแม่กอง ตัวอาคารเป็นรูปตัว H มีสถาปัตยกรรมแบบวิลล่าในชนบทของยุโรป ลักษณะเด่นอยู่ตรงที่มุขด้านหน้า ๒ ข้างซึ่งทำเป็นผนังโค้งเรียงซ้อนกัน ๓ ชั้น ชั้นนอกเป็นระเบียงหุ้มพื้นที่ภายในผนังตกแต่งด้วยลายปูนปั้นรูปดอกไม้และใบไม้ประยุกต์เข้ากับรูปทรงเลขาคณิตขอบบนประตูหน้าต่างเป็นลวดลายแถบยาวรูปพรรณพฤกษาในแบบสีปูนเปียกคาดรอบตึก นอกจากนี้ยังมีราวระเบียงและลูกกรงที่ทำจากโลหะเป็นลายเลขาคณิตประกอบดอกไม้และโลหะผนังภายในอาคารตกแต่งด้วยลายปูนปั้นและการเขียนสีปูนแห้งลายพรรณพฤกษาและปักษาซึ่งวาดโดย ซีซาร์เร เฟร์โร ศิลปินชาวอิตาเลียน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต ณ ห้องพระบรรทมชั้น 3 ที่พระที่นั่งองค์นี้ ในสมัยรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ก็เสด็จมาประทับที่พระที่นั่งอัมพรสถานแต่ประทับที่บริเวณชั้น 2 เพราะถือว่าชั้น 3 เป็นที่ประทับส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 เสด็จมาประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถานเมื่อครั้งเสด็จนิวัติพระนคร และพระที่นั่งองค์นี้เป็นสถานที่เสด็จพระราชสมภพของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลปัจจุบัน สถานที่เสด็จพระราชสมภพของทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปี พ.ศ. 2542 สมเด็จพระเจ้าหัวรัชกาลปัจจุบันเมื่อครั้งพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงโปรดให้มีการบูรณะพระที่นั่งอัมพรสถานเพื่อเป็นที่ประทับตราบจนถึงปัจจุบันพระที่นั่งอุดรภาค พระที่นั่งอุดรภาค. เป็นหนึ่งในพระที่นั่งในหมู่พระที่นั่งอัมพร สร้างขึ้นบริเวณทางทิศเหนือของพระที่นั่งอัมพรสถานโดยมีสะพานเหล็กหล่อเชื่อมองค์พระที่นั่งทั้ง 2 เข้าด้วยกัน เป็นที่ประทับในสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีและ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทรพระที่นั่งประจิมภาค พระที่นั่งประจิมภาค. เป็นหนึ่งในพระที่นั่งในหมู่พระที่นั่งอัมพรสถาน สร้างบริเวณด้านหลังปีกทางทิศเหนือของพระที่นั่งอัมพรสถานติดกับคลองเม่งเส็ง เป็นที่ประทับของพระอรรคชายาเธอ กรมขุนสุทธาสินีนาฎ กับ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ามาลีนีนพดารา และสมเด็จฯ เจ้าฟ้านิภานภดล รวมทั้งเจ้าจอมก๊กออ มีลักษณะเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสี่เหลี่ยมผืนผ้า สูง 2 ชั้น ด้านที่ติดกับคลองเม่งเส็จทำเป็นระเบียงไม้ยืดลงไปในคลอง ปัจจุบันพระที่นั่งประจิมภาคถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของพระที่นั่งอัมพรสถานพระที่นั่งราชฤทธิ์รุ่งโรจน์ พระที่นั่งราชฤทธิ์รุ่งโรจน์. เป็นหนึ่งในพระที่นั่งในหมู่พระที่นั่งอัมพร เดิมเป็นเพียงตำหนัก เป็นที่ประทับในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภช ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงยกฐานะให้เป็นพระตำหนัก แต่ทว่าในแผนที่พระราชวังดุสิตในสมัยรัชกาลที่ 7 ระบุว่าพระที่นั่งราชฤทธิ์รุ่งโรจน์ จึงสันนิษฐษฯว่ามีการยกขึ้นเป็นพระที่นั่งในสมัยรัชกาลที่ 7 แต่ยังไม่สามารถหาเอกสารมาอ้างอิงเพิ่มเติมได้พระที่นั่งนิยมทัศนาณ พระที่นั่งนิยมทัศนาณ. เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นบริเวณเขามอทางทิศใต้ของพระที่นั่งอนันตสมาคม มีลักษณะเป็นหอคอย 8 เหลี่ยมหลังคายอดโดม พระที่นั่งองค์นี้ถูกรื้อลงในสมัยรัชกาลที่ 8พระที่นั่งสัตลาภิรมย์ พระที่นั่งสัตลาภิรมย์. เป็นพระที่นั่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2447 เพื่อเป็นที่ประทับเสวยพระกายาหาร ทรงโปรดให้ สมเด็จกรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ เป็นผู้ออกแบบและดูแลการก่อสร้างมีลีลักษณะเป็นศาลาไทย อยู่ทางทิศตะวันออกของพระที่นั่งอัมพรสถาน ในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงโปรด ให้ลดฐานะและเปลี่ยนชื่อเป็น ศาลาวรสภาภิรมย์ ปัจจุบันยังคงอยู่ในพระราชวังดุสิตพระที่นั่งราชฤดี พระที่นั่งราชฤดี. เป็นพระที่นั่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 4472 เพื่อเป็นที่ประทับเสวยพระกายาหาร ทรงโปรดให้ สมเด็จกรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ เป็นผู้ออกแบบและดูแลการก่อสร้างมีลีลักษณะเป็นศาลาไทยอยู่ทางทิศตะวันออกของพระที่นั่งอัมพรสถาน ในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงโปรด ให้ลดฐานะและเปลี่ยนชื่อเป็น ศาลาสำราญมุขมาตย์ และถูกย้ายไปพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครในสมัยรัชกาลที่ 7 ตราบจนปัจจุบันพระตำหนักพระตำหนัก. - พระตำหนักเรือนต้น - พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน - พระตำหนักสวนหงส์ - พระตำหนักสวนสี่ฤดู - พระตำหนักนกไม้ - พระตำหนักสวนบัวตำหนักตำหนัก. - ตำหนักสวนไม้สามอย่าง - ตำหนักสวนเขาไม้ - ตำหนักสวนหนังสือเล็กและสวนหนังสือใหญ่ - ตำหนักสวนบ๋วยไผ่ - ตำหนักสวนภาพผู้หญิง - ตำหนักสวนพุดตานเบญจมาศ - ตำหนักสวนพุดตาน - ตำหนักสวนม้าสน - ตำหนักสวนผักชีเข้ม - ตำหนักสวนฝรั่งกังไส - ตำหนักสวนญี่ปุ่น - ตำหนักสวนวิลันดา - ตำหนักสวนโป๊ยเซียน - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าวรเสรฐสุดา - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวดี - ตำหนักพระองค์เจ้านารีรัตนาและพระองค์เจ้าประดิษฐาสารี - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาณีรัตนกัญญา - ตำหนักและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง - ตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจนากร - สวนสุนันทาอาคารต่างๆอาคารต่างๆ. - เรือนเจ้าจอมมารดาวาด - โรงช้างต้น - สำนักราชเลขาธิการ - ทิมดาบ - เรือนยอดบรมมังคลานุสรณีย์
| พระที่นั่งใดที่สร้างด้วยไม้สักทองที่ใหญ่ที่สุดในโลก | {
"answer": [
"พระที่นั่งวิมานเมฆ"
],
"answer_begin_position": [
4242
],
"answer_end_position": [
4260
]
} |
932 | 219,847 | พระราชวังท็อกซู ท็อกซูกุง หรือ พระราชวังท็อกซู เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังที่สำคัญที่สุดของราชวงศ์โชซ็อนและเกาหลี เดิมพระราชวังแห่งนี้เป็นที่ประทับขององค์ชายวอลซาน พระเชษฐาในพระเจ้าซองจงหรือองค์ชายชาซาน ระหว่างสงครามเจ็ดปี ที่นี่ได้กลายเป็นพระราชวังหลวง โดยพระเจ้าซอนโจเป็นกษัตริย์องค์แรกที่เสด็จมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้ และองค์ชายควางแฮกุนได้ทรงสวมมงกุฎที่นี่เมื่อ ค.ศ. 1608 (พ.ศ. 2151) และทรงเปลี่ยนชื่อพระราชวังแห่งนี้เป็น คย็อนกุนกุง (경운궁, 慶運宮) ในปี ค.ศ. 1611 (พ.ศ. 2154) หลังจากทางราชสำนักได้กลับไปสร้างพระราชวังชังด็อกขึ้นมาใหม่ในปี ค.ศ. 1618 (พ.ศ. 2161) พระราชวังแห่งนี้ก็ได้เป็นพระราชวังรองตลอด 270 ปี (ค.ศ. 1618-1888) และได้เปลี่ยนชื่อเป็น ซอกุง (พระราชวังตะวันตก) ต่อมาในปี ค.ศ. 1897 (พ.ศ. 2440) หลังจากเกิดวิกฤติการณ์ทางการเมืองแล้ว พระเจ้าโกจงได้ทรงลี้ภัยเข้าไปประทับในสถานทูตรัสเซีย หลังจากนั้นพระองค์ได้กลับมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้ และได้เปลี่ยนชื่อเป็นคย็อนกุนกุงอีกครั้ง หลังจากทรงย้ายกลับมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้แล้วโปรดให้มีการขยายและเพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวกในพระราชวัง หลังจากทรงสละราชสมบัติให้สมเด็จพระจักรพรรดิซุนจง พระราชโอรสก็ทรงประทับที่พระราชวังแห่งนี้และได้เปลี่ยนชื่อพระราชวังเป็น ท็อกซูกุง จนถึงทุกวันนี้ และมีเรื่องเล่าอ้างอิงว่าทรงอธิษฐานให้มีพระชนม์ชีพที่ยาวนานและทรงใช้พระชนม์ชีพที่เหลือประทับที่ ฮัมนย็องจ็อน โดยปัจจุบันนี้พระราชวังท็อกซูได้เป็นพิพิธภัณฑ์มีสวนป่าและมีพระบรมรูปพระเจ้าเซจงมหาราช
| พระราชวังท็อกซูเป็นหนึ่งในห้าพระราชวังที่สำคัญที่สุดของราชวงศ์โชซ็อนและเกาหลี กษัตริย์องค์แรกที่เสด็จมาประทับที่คือใคร | {
"answer": [
"พระเจ้าซอนโจ"
],
"answer_begin_position": [
343
],
"answer_end_position": [
355
]
} |
1,474 | 219,847 | พระราชวังท็อกซู ท็อกซูกุง หรือ พระราชวังท็อกซู เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังที่สำคัญที่สุดของราชวงศ์โชซ็อนและเกาหลี เดิมพระราชวังแห่งนี้เป็นที่ประทับขององค์ชายวอลซาน พระเชษฐาในพระเจ้าซองจงหรือองค์ชายชาซาน ระหว่างสงครามเจ็ดปี ที่นี่ได้กลายเป็นพระราชวังหลวง โดยพระเจ้าซอนโจเป็นกษัตริย์องค์แรกที่เสด็จมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้ และองค์ชายควางแฮกุนได้ทรงสวมมงกุฎที่นี่เมื่อ ค.ศ. 1608 (พ.ศ. 2151) และทรงเปลี่ยนชื่อพระราชวังแห่งนี้เป็น คย็อนกุนกุง (경운궁, 慶運宮) ในปี ค.ศ. 1611 (พ.ศ. 2154) หลังจากทางราชสำนักได้กลับไปสร้างพระราชวังชังด็อกขึ้นมาใหม่ในปี ค.ศ. 1618 (พ.ศ. 2161) พระราชวังแห่งนี้ก็ได้เป็นพระราชวังรองตลอด 270 ปี (ค.ศ. 1618-1888) และได้เปลี่ยนชื่อเป็น ซอกุง (พระราชวังตะวันตก) ต่อมาในปี ค.ศ. 1897 (พ.ศ. 2440) หลังจากเกิดวิกฤติการณ์ทางการเมืองแล้ว พระเจ้าโกจงได้ทรงลี้ภัยเข้าไปประทับในสถานทูตรัสเซีย หลังจากนั้นพระองค์ได้กลับมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้ และได้เปลี่ยนชื่อเป็นคย็อนกุนกุงอีกครั้ง หลังจากทรงย้ายกลับมาประทับที่พระราชวังแห่งนี้แล้วโปรดให้มีการขยายและเพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวกในพระราชวัง หลังจากทรงสละราชสมบัติให้สมเด็จพระจักรพรรดิซุนจง พระราชโอรสก็ทรงประทับที่พระราชวังแห่งนี้และได้เปลี่ยนชื่อพระราชวังเป็น ท็อกซูกุง จนถึงทุกวันนี้ และมีเรื่องเล่าอ้างอิงว่าทรงอธิษฐานให้มีพระชนม์ชีพที่ยาวนานและทรงใช้พระชนม์ชีพที่เหลือประทับที่ ฮัมนย็องจ็อน โดยปัจจุบันนี้พระราชวังท็อกซูได้เป็นพิพิธภัณฑ์มีสวนป่าและมีพระบรมรูปพระเจ้าเซจงมหาราช
| องค์ชายควางแฮกุนได้ทรงสวมมงกุฎที่พระราชวังท็อกซู เมื่อปี ค.ศ. ใด | {
"answer": [
"1608"
],
"answer_begin_position": [
460
],
"answer_end_position": [
464
]
} |
933 | 385,537 | พระราชวังนันทอุทยาน พระราชวังนันทอุทยาน เป็นพระราชวังที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น โดยทรงซื้อสวนในคลองมอญฝั่งเหนือสร้างพระราชวังขึ้น แล้วพระราชทานนามว่า วังนันทอุทยานใน พ.ศ. ๒๔๐๐ เพื่อเป็นที่เสด็จประพาสและเป็นที่ประทับของพระราชโอรสและพระราชธิดา เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ว เนื่องจากมีพระราชดำริว่าหาก พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระราชโอรสและพระราชธิดาของพระองค์อาจลำบาก แต่ปรากฏว่าพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตก่อนพระองค์ จึงไม่มีปัญหาดังที่ทรงพระราชดำริไว้ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้รื้อตำหนักฝ่ายในที่วังนันทอุทยานมาสร้างตำหนักที่วังพระเจ้าลูกยาเธอหลายพระองค์ ส่วนพระตำหนักที่ประทับและที่วังนันทอุทยานนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานแก่สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ พระราชโอรส เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระตำหนักในสวนนันทอุทยานให้เป็นโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษชื่อ โรงเรียนนันทอุทยาน และเมื่อโรงเรียนย้ายไปตั้งที่โรงเรียนสุนันทาลัย (ปัจจุบันคือโรงเรียนราชินี) จึงได้พระราชทานที่สวนนันทอุทยานให้เป็นที่ทำการของทหารเรือ ปัจจุบันเป็นที่ทำการส่วนหนึ่งของกองทัพเรือ.
| พระราชวังนันทอุทยาน เป็นพระราชวังที่กษัตริย์องค์ใดสร้างขึ้น | {
"answer": [
"พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว"
],
"answer_begin_position": [
150
],
"answer_end_position": [
184
]
} |
934 | 385,537 | พระราชวังนันทอุทยาน พระราชวังนันทอุทยาน เป็นพระราชวังที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น โดยทรงซื้อสวนในคลองมอญฝั่งเหนือสร้างพระราชวังขึ้น แล้วพระราชทานนามว่า วังนันทอุทยานใน พ.ศ. ๒๔๐๐ เพื่อเป็นที่เสด็จประพาสและเป็นที่ประทับของพระราชโอรสและพระราชธิดา เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ว เนื่องจากมีพระราชดำริว่าหาก พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระราชโอรสและพระราชธิดาของพระองค์อาจลำบาก แต่ปรากฏว่าพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตก่อนพระองค์ จึงไม่มีปัญหาดังที่ทรงพระราชดำริไว้ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้รื้อตำหนักฝ่ายในที่วังนันทอุทยานมาสร้างตำหนักที่วังพระเจ้าลูกยาเธอหลายพระองค์ ส่วนพระตำหนักที่ประทับและที่วังนันทอุทยานนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานแก่สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ พระราชโอรส เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระตำหนักในสวนนันทอุทยานให้เป็นโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษชื่อ โรงเรียนนันทอุทยาน และเมื่อโรงเรียนย้ายไปตั้งที่โรงเรียนสุนันทาลัย (ปัจจุบันคือโรงเรียนราชินี) จึงได้พระราชทานที่สวนนันทอุทยานให้เป็นที่ทำการของทหารเรือ ปัจจุบันเป็นที่ทำการส่วนหนึ่งของกองทัพเรือ.
| พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์"
],
"answer_begin_position": [
894
],
"answer_end_position": [
917
]
} |
935 | 228,593 | พินิจนคร พินิจนคร เป็นรายการสารประโยชน์ประเภทสารคดี ผลิตโดย บริษัท SANFAH television ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ทุกวันพุธเวลา 20.25 น. - 21.10 น.(เริ่มวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป ) (เคยออกอากาศทุกวันจันทร์เวลา 20.20 - 21.10 น.) มี นิธิ สมุทรโคจร เป็นพิธีกร และออกอากาศซ้ำในวันเสาร์เวลา 11.05 น. - 12.00 น. (ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์เป็นต้นไป - พฤษภาคม) ส่วนที่ออกอากาศตั้งแต่เดือนตุลาคมออกอากาศซ้ำในวันอาทิตย์เวลา 11.05 น. - 12.00 น. รายการพินิจนคร มีเนื้อหาเกี่ยวกับสถานที่ต่าง ๆ ในประเทศไทยและมาพินิจพิเคราะห์ให้เห็นว่าสถานที่เหล่านั้นมีความสำคัญกับคนไทยอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ของประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม ซึ่งควรค่าแก่การอนุรักษ์เอาไว้ โดยเริ่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 จนถึง 27 เมษายน พ.ศ. 2552 และจะกลับมาออกอากาศอีกครั้งตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2552 เป็นต้นไปทุกคืนวันจันทร์เวลา 21.10 - 22.00 น.และย้ายวันออกอากาศเป็นวันอังคาร เวลาเดิม ตั้งแต่วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2553 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2553ระยะเวลาในการออกอากาศ
| พิธีกรของรายการพินิจนครคือใคร | {
"answer": [
"นิธิ สมุทรโคจร"
],
"answer_begin_position": [
333
],
"answer_end_position": [
347
]
} |
936 | 48,891 | พิกซาร์ พิกซาร์แอนิเมชันสตูดิโอส์ () หรือ พิกซาร์ เป็นสตูดิโอสร้างคอมพิวเตอร์แอนิเมชันสัญชาติอเมริกัน ตั้งอยู่ที่เมืองเอเมอรีวิลล์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ พิกซาร์มีชื่อเสียงจากการสร้างภาพยนตร์แอนิเมชันแบบ 3 มิติ และเทคโนโลยีการสร้างภาพคอมพิวเตอร์ 3 มิติระดับสูง โดยมีซอฟต์แวร์ในการเรนเดอร์ที่มีชื่อเสียงคือ RenderMan บริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ได้เข้าซื้อกิจการของพิกซาร์เมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 2006 ด้วยวิธีแลกหุ้น การเข้าซื้อกิจการครั้งนี้มีมูลค่า 7.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ในปีเดียวกันประวัติภาพยนตร์
| พิกซาร์แอนิเมชันสตูดิโอส์ตั้งอยู่ที่รัฐใดในประเทศอเมริกา | {
"answer": [
"รัฐแคลิฟอร์เนีย"
],
"answer_begin_position": [
211
],
"answer_end_position": [
226
]
} |