question_id
int32 1
4k
| article_id
int32 665
954k
| context
stringlengths 75
87.2k
| question
stringlengths 11
135
| answers
sequence |
---|---|---|---|---|
1,653 | 211,448 | หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล พลตรี หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล (22 มกราคม พ.ศ. 2490) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 25 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจุลเจิม (ท่านชายใหม่) ประสูติเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2490 เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการกับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา (สุฤทธิ์) เป็นพระนัดดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และเป็นพระราชปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าจุลเจิม ทรงมีเชษฐา เชษฐภคินี และขนิษฐา ร่วมอุทร 4 องค์ คือ- มาลินีมงคล อมาตยกุล (ท่านหญิงหยอย; 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483) - ปัทมนรังษี เสนาณรงค์ (ท่านหญิงเม้า; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2484) - หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (ท่านชายมุ้ย; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) - หม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล (ท่านหญิงยุ้ย; 23 ตุลาคม พ.ศ. 2496) ทรงศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนวชิราวุธ และชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ก่อนจะได้รับการส่งไปศึกษาต่อจนจบมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียน Kemper Military School รัฐมิสซูรี ประเทศสหรัฐอเมริกา และทรงศึกษาต่อจนจบปริญญาตรีด้านวิศวกรรมไฟฟ้า จากมหาวิทยาลัย Western Pacific University (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัย California Miramar University) และหลักสูตรปริญญาโทด้านการจัดการกีฬาการทรงงานการทรงงาน. - ราชองครักษ์พิเศษรักษาพระองค์ ใน สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ - ประธานสโมสรฟุตบอลราชวิถีชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้าจุลเจิมเสกสมรส 2 ครั้ง ในครั้งแรกกับหม่อมศิริพร ยุคล ณ อยุธยา (เสนาลักษณ์) ซึ่งถึงแก่กรรมด้วยโรคมะเร็งเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 มีโอรส - ธิดา 2 คน คือ- หม่อมราชวงศ์รังษิพันธ์ ยุคล (คุณชายเหมา; 15 มีนาคม พ.ศ. 2518) - หม่อมราชวงศ์จันทรลัดดา ยุคล (คุณหญิงแอร์; 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520) ต่อมาได้เสกสมรสใหม่กับหม่อมอัญชลี ยุคล ณ อยุธยา (ขัติยสุรินทร์) ในปี พ.ศ. 2533 มีธิดา 2 คน คือ- หม่อมราชวงศ์แม้นนฤมาส ยุคล (คุณหญิงแม้น; 17 กันยายน พ.ศ. 2533) - หม่อมราชวงศ์จันทรนิภา ยุคล (คุณหญิงไหม; 3 มกราคม พ.ศ. 2535)พระเกียรติยศเครื่องราชอิสริยาภรณ์พระเกียรติยศ. เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2551 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เหรียญพิทักษ์เสรีชน (ส.ช.2) ประเภทที่ 2 - เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 (ภ.ป.ร.4)
| หม่อมเจ้าจุลเจิม หรือ ท่านชายใหม่ ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"22"
],
"answer_begin_position": [
389
],
"answer_end_position": [
391
]
} |
1,894 | 211,448 | หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล พลตรี หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล (22 มกราคม พ.ศ. 2490) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 25 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจุลเจิม (ท่านชายใหม่) ประสูติเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2490 เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการกับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา (สุฤทธิ์) เป็นพระนัดดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และเป็นพระราชปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าจุลเจิม ทรงมีเชษฐา เชษฐภคินี และขนิษฐา ร่วมอุทร 4 องค์ คือ- มาลินีมงคล อมาตยกุล (ท่านหญิงหยอย; 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483) - ปัทมนรังษี เสนาณรงค์ (ท่านหญิงเม้า; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2484) - หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (ท่านชายมุ้ย; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) - หม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล (ท่านหญิงยุ้ย; 23 ตุลาคม พ.ศ. 2496) ทรงศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนวชิราวุธ และชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ก่อนจะได้รับการส่งไปศึกษาต่อจนจบมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียน Kemper Military School รัฐมิสซูรี ประเทศสหรัฐอเมริกา และทรงศึกษาต่อจนจบปริญญาตรีด้านวิศวกรรมไฟฟ้า จากมหาวิทยาลัย Western Pacific University (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัย California Miramar University) และหลักสูตรปริญญาโทด้านการจัดการกีฬาการทรงงานการทรงงาน. - ราชองครักษ์พิเศษรักษาพระองค์ ใน สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ - ประธานสโมสรฟุตบอลราชวิถีชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้าจุลเจิมเสกสมรส 2 ครั้ง ในครั้งแรกกับหม่อมศิริพร ยุคล ณ อยุธยา (เสนาลักษณ์) ซึ่งถึงแก่กรรมด้วยโรคมะเร็งเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 มีโอรส - ธิดา 2 คน คือ- หม่อมราชวงศ์รังษิพันธ์ ยุคล (คุณชายเหมา; 15 มีนาคม พ.ศ. 2518) - หม่อมราชวงศ์จันทรลัดดา ยุคล (คุณหญิงแอร์; 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520) ต่อมาได้เสกสมรสใหม่กับหม่อมอัญชลี ยุคล ณ อยุธยา (ขัติยสุรินทร์) ในปี พ.ศ. 2533 มีธิดา 2 คน คือ- หม่อมราชวงศ์แม้นนฤมาส ยุคล (คุณหญิงแม้น; 17 กันยายน พ.ศ. 2533) - หม่อมราชวงศ์จันทรนิภา ยุคล (คุณหญิงไหม; 3 มกราคม พ.ศ. 2535)พระเกียรติยศเครื่องราชอิสริยาภรณ์พระเกียรติยศ. เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2551 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เหรียญพิทักษ์เสรีชน (ส.ช.2) ประเภทที่ 2 - เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 (ภ.ป.ร.4)
| หม่อมเจ้าจุลเจิม หรือ ท่านชายใหม่ ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"22"
],
"answer_begin_position": [
389
],
"answer_end_position": [
391
]
} |
1,895 | 211,448 | หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล พลตรี หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล (22 มกราคม พ.ศ. 2490) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 25 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าจุลเจิม (ท่านชายใหม่) ประสูติเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2490 เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการกับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา (สุฤทธิ์) เป็นพระนัดดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และเป็นพระราชปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าจุลเจิม ทรงมีเชษฐา เชษฐภคินี และขนิษฐา ร่วมอุทร 4 องค์ คือ- มาลินีมงคล อมาตยกุล (ท่านหญิงหยอย; 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483) - ปัทมนรังษี เสนาณรงค์ (ท่านหญิงเม้า; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2484) - หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (ท่านชายมุ้ย; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) - หม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล (ท่านหญิงยุ้ย; 23 ตุลาคม พ.ศ. 2496) ทรงศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนวชิราวุธ และชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ก่อนจะได้รับการส่งไปศึกษาต่อจนจบมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียน Kemper Military School รัฐมิสซูรี ประเทศสหรัฐอเมริกา และทรงศึกษาต่อจนจบปริญญาตรีด้านวิศวกรรมไฟฟ้า จากมหาวิทยาลัย Western Pacific University (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัย California Miramar University) และหลักสูตรปริญญาโทด้านการจัดการกีฬาการทรงงานการทรงงาน. - ราชองครักษ์พิเศษรักษาพระองค์ ใน สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ - ประธานสโมสรฟุตบอลราชวิถีชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้าจุลเจิมเสกสมรส 2 ครั้ง ในครั้งแรกกับหม่อมศิริพร ยุคล ณ อยุธยา (เสนาลักษณ์) ซึ่งถึงแก่กรรมด้วยโรคมะเร็งเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 มีโอรส - ธิดา 2 คน คือ- หม่อมราชวงศ์รังษิพันธ์ ยุคล (คุณชายเหมา; 15 มีนาคม พ.ศ. 2518) - หม่อมราชวงศ์จันทรลัดดา ยุคล (คุณหญิงแอร์; 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520) ต่อมาได้เสกสมรสใหม่กับหม่อมอัญชลี ยุคล ณ อยุธยา (ขัติยสุรินทร์) ในปี พ.ศ. 2533 มีธิดา 2 คน คือ- หม่อมราชวงศ์แม้นนฤมาส ยุคล (คุณหญิงแม้น; 17 กันยายน พ.ศ. 2533) - หม่อมราชวงศ์จันทรนิภา ยุคล (คุณหญิงไหม; 3 มกราคม พ.ศ. 2535)พระเกียรติยศเครื่องราชอิสริยาภรณ์พระเกียรติยศ. เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2551 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เหรียญพิทักษ์เสรีชน (ส.ช.2) ประเภทที่ 2 - เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 (ภ.ป.ร.4)
| มารดาของพลตรี หม่อมเจ้าจุลเจิม ยุคล คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
225
],
"answer_end_position": [
248
]
} |
800 | 55,059 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ พลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ (3 กันยายน พ.ศ. 2386 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441) พระนามเดิม หม่อมเจ้าขจร มาลากุล อดีตผู้บัญชาการกรมทหารเรือระหว่าง 8 เมษายน พ.ศ. 2430 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441 และทรงเป็นผู้บัญชาการกรมทหารเรือในสงครามระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในกรณีพิพาท ร.ศ. 112อีกด้วย หม่อมเจ้าขจร เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ ประสูติแต่หม่อมกลีบ ต่อมาทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ ทรงเป็นผู้กำกับกรมช่างสิบหมู่ กรมพระคชบาล เป็นผู้ออกแบบสร้างพระที่นั่งคูหาคฤหาสน์ เป็นพลับพลาแบบจตุรมุข เพื่อเป็นที่ประทับในคราวเสด็จประพาสต้น เมื่อปี พ.ศ. 2433 ประดิษฐานอยู่ที่ถ้ำพระยานคร ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จมาทรงยกช่อฟ้าด้วยพระองค์เอง พระองค์รับราชการในหน้าที่ต่าง ๆ จนกระทั่ง ในปี พ.ศ. 2439 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรมมีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์พระโอรส-พระธิดา พระโอรส-พระธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ ทรงมีโอรส-ธิดา จำนวน 11 คน จากหม่อมจำนวน 8 คน หม่อมราชวงศ์ทั้ง 11 คน มีชื่อขึ้นต้นด้วย ป ปลา ตามพระนามกรมของพระองค์ เป็นอักษรพยางค์เดียวทั้งหมด- หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล (เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี) เกิดจากหม่อมเปี่ยม- หม่อมหลวง ปิ่น มาลากุล - หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล (เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี) เกิดจากหม่อมทับ- หม่อมหลวงเทียม มาลากุล (หลวงมาลากุลวิวัฒน์) เกิดจากเจ้าหญิงฟองแก้ว ณ เชียงใหม่ - หม่อมหลวง ปีกทิพย์ มาลากุล- นางสาวปนัดดา มาลากุล ณ อยุธยา - นาย ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา - พลเอก แป้ง มาลากุล ณ อยุธยา - คุณหญิงทิพยวดี ปราโมช ณ อยุธยา (สมรสกับ หม่อมหลวงเสรี ปราโมช) - นางทับทิม มาลากุล เลน- ซาร่า มาลากุล เลน - หม่อมหลวง ปุ่ม มาลากุล - หม่อมราชวงศ์หญิงแป้น มาลากุล เกิดจากหม่อมจับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง ปั้ม มาลากุล เกิดจากหม่อมทับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง แป้ม มาลากุล เกิดจากหม่อมจับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิงแป้ว มาลากุล เกิดจากหม่อมทับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง ปุย มาลากุล เกิดจากหม่อมเพิ่ม - หม่อมราชวงศ์โป้ย มาลากุล (พระยาเทวาธิราช) เกิดจากหม่อมสุ่น - หม่อมราชวงศ์โป๊ะ มาลากุล (พระยาชาติเดชอุดม) เกิดจากหม่อมกลิ่น - หม่อมราชวงศ์เปี๊ยะ มาลากุล เกิดจากหม่อมกลั่น - หม่อมราชวงศ์ปีก มาลากุล เกิดจากหม่อมอิน
| พระบิดาของพลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์"
],
"answer_begin_position": [
515
],
"answer_end_position": [
574
]
} |
801 | 55,059 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ พลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ (3 กันยายน พ.ศ. 2386 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441) พระนามเดิม หม่อมเจ้าขจร มาลากุล อดีตผู้บัญชาการกรมทหารเรือระหว่าง 8 เมษายน พ.ศ. 2430 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441 และทรงเป็นผู้บัญชาการกรมทหารเรือในสงครามระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในกรณีพิพาท ร.ศ. 112อีกด้วย หม่อมเจ้าขจร เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ ประสูติแต่หม่อมกลีบ ต่อมาทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ ทรงเป็นผู้กำกับกรมช่างสิบหมู่ กรมพระคชบาล เป็นผู้ออกแบบสร้างพระที่นั่งคูหาคฤหาสน์ เป็นพลับพลาแบบจตุรมุข เพื่อเป็นที่ประทับในคราวเสด็จประพาสต้น เมื่อปี พ.ศ. 2433 ประดิษฐานอยู่ที่ถ้ำพระยานคร ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จมาทรงยกช่อฟ้าด้วยพระองค์เอง พระองค์รับราชการในหน้าที่ต่าง ๆ จนกระทั่ง ในปี พ.ศ. 2439 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรมมีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์พระโอรส-พระธิดา พระโอรส-พระธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ ทรงมีโอรส-ธิดา จำนวน 11 คน จากหม่อมจำนวน 8 คน หม่อมราชวงศ์ทั้ง 11 คน มีชื่อขึ้นต้นด้วย ป ปลา ตามพระนามกรมของพระองค์ เป็นอักษรพยางค์เดียวทั้งหมด- หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล (เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี) เกิดจากหม่อมเปี่ยม- หม่อมหลวง ปิ่น มาลากุล - หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล (เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี) เกิดจากหม่อมทับ- หม่อมหลวงเทียม มาลากุล (หลวงมาลากุลวิวัฒน์) เกิดจากเจ้าหญิงฟองแก้ว ณ เชียงใหม่ - หม่อมหลวง ปีกทิพย์ มาลากุล- นางสาวปนัดดา มาลากุล ณ อยุธยา - นาย ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา - พลเอก แป้ง มาลากุล ณ อยุธยา - คุณหญิงทิพยวดี ปราโมช ณ อยุธยา (สมรสกับ หม่อมหลวงเสรี ปราโมช) - นางทับทิม มาลากุล เลน- ซาร่า มาลากุล เลน - หม่อมหลวง ปุ่ม มาลากุล - หม่อมราชวงศ์หญิงแป้น มาลากุล เกิดจากหม่อมจับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง ปั้ม มาลากุล เกิดจากหม่อมทับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง แป้ม มาลากุล เกิดจากหม่อมจับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิงแป้ว มาลากุล เกิดจากหม่อมทับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง ปุย มาลากุล เกิดจากหม่อมเพิ่ม - หม่อมราชวงศ์โป้ย มาลากุล (พระยาเทวาธิราช) เกิดจากหม่อมสุ่น - หม่อมราชวงศ์โป๊ะ มาลากุล (พระยาชาติเดชอุดม) เกิดจากหม่อมกลิ่น - หม่อมราชวงศ์เปี๊ยะ มาลากุล เกิดจากหม่อมกลั่น - หม่อมราชวงศ์ปีก มาลากุล เกิดจากหม่อมอิน
| หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล หรือ เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี เกิดจากหม่อมองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมเปี่ยม"
],
"answer_begin_position": [
1457
],
"answer_end_position": [
1468
]
} |
1,831 | 55,059 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ พลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ (3 กันยายน พ.ศ. 2386 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441) พระนามเดิม หม่อมเจ้าขจร มาลากุล อดีตผู้บัญชาการกรมทหารเรือระหว่าง 8 เมษายน พ.ศ. 2430 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441 และทรงเป็นผู้บัญชาการกรมทหารเรือในสงครามระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในกรณีพิพาท ร.ศ. 112อีกด้วย หม่อมเจ้าขจร เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ ประสูติแต่หม่อมกลีบ ต่อมาทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ ทรงเป็นผู้กำกับกรมช่างสิบหมู่ กรมพระคชบาล เป็นผู้ออกแบบสร้างพระที่นั่งคูหาคฤหาสน์ เป็นพลับพลาแบบจตุรมุข เพื่อเป็นที่ประทับในคราวเสด็จประพาสต้น เมื่อปี พ.ศ. 2433 ประดิษฐานอยู่ที่ถ้ำพระยานคร ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จมาทรงยกช่อฟ้าด้วยพระองค์เอง พระองค์รับราชการในหน้าที่ต่าง ๆ จนกระทั่ง ในปี พ.ศ. 2439 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรมมีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์พระโอรส-พระธิดา พระโอรส-พระธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ ทรงมีโอรส-ธิดา จำนวน 11 คน จากหม่อมจำนวน 8 คน หม่อมราชวงศ์ทั้ง 11 คน มีชื่อขึ้นต้นด้วย ป ปลา ตามพระนามกรมของพระองค์ เป็นอักษรพยางค์เดียวทั้งหมด- หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล (เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี) เกิดจากหม่อมเปี่ยม- หม่อมหลวง ปิ่น มาลากุล - หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล (เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี) เกิดจากหม่อมทับ- หม่อมหลวงเทียม มาลากุล (หลวงมาลากุลวิวัฒน์) เกิดจากเจ้าหญิงฟองแก้ว ณ เชียงใหม่ - หม่อมหลวง ปีกทิพย์ มาลากุล- นางสาวปนัดดา มาลากุล ณ อยุธยา - นาย ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา - พลเอก แป้ง มาลากุล ณ อยุธยา - คุณหญิงทิพยวดี ปราโมช ณ อยุธยา (สมรสกับ หม่อมหลวงเสรี ปราโมช) - นางทับทิม มาลากุล เลน- ซาร่า มาลากุล เลน - หม่อมหลวง ปุ่ม มาลากุล - หม่อมราชวงศ์หญิงแป้น มาลากุล เกิดจากหม่อมจับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง ปั้ม มาลากุล เกิดจากหม่อมทับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง แป้ม มาลากุล เกิดจากหม่อมจับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิงแป้ว มาลากุล เกิดจากหม่อมทับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง ปุย มาลากุล เกิดจากหม่อมเพิ่ม - หม่อมราชวงศ์โป้ย มาลากุล (พระยาเทวาธิราช) เกิดจากหม่อมสุ่น - หม่อมราชวงศ์โป๊ะ มาลากุล (พระยาชาติเดชอุดม) เกิดจากหม่อมกลิ่น - หม่อมราชวงศ์เปี๊ยะ มาลากุล เกิดจากหม่อมกลั่น - หม่อมราชวงศ์ปีก มาลากุล เกิดจากหม่อมอิน
| พลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าขจร มาลากุล"
],
"answer_begin_position": [
304
],
"answer_end_position": [
324
]
} |
1,832 | 55,059 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ พลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ (3 กันยายน พ.ศ. 2386 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441) พระนามเดิม หม่อมเจ้าขจร มาลากุล อดีตผู้บัญชาการกรมทหารเรือระหว่าง 8 เมษายน พ.ศ. 2430 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441 และทรงเป็นผู้บัญชาการกรมทหารเรือในสงครามระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในกรณีพิพาท ร.ศ. 112อีกด้วย หม่อมเจ้าขจร เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ ประสูติแต่หม่อมกลีบ ต่อมาทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ ทรงเป็นผู้กำกับกรมช่างสิบหมู่ กรมพระคชบาล เป็นผู้ออกแบบสร้างพระที่นั่งคูหาคฤหาสน์ เป็นพลับพลาแบบจตุรมุข เพื่อเป็นที่ประทับในคราวเสด็จประพาสต้น เมื่อปี พ.ศ. 2433 ประดิษฐานอยู่ที่ถ้ำพระยานคร ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จมาทรงยกช่อฟ้าด้วยพระองค์เอง พระองค์รับราชการในหน้าที่ต่าง ๆ จนกระทั่ง ในปี พ.ศ. 2439 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรมมีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์พระโอรส-พระธิดา พระโอรส-พระธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ ทรงมีโอรส-ธิดา จำนวน 11 คน จากหม่อมจำนวน 8 คน หม่อมราชวงศ์ทั้ง 11 คน มีชื่อขึ้นต้นด้วย ป ปลา ตามพระนามกรมของพระองค์ เป็นอักษรพยางค์เดียวทั้งหมด- หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล (เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี) เกิดจากหม่อมเปี่ยม- หม่อมหลวง ปิ่น มาลากุล - หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล (เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี) เกิดจากหม่อมทับ- หม่อมหลวงเทียม มาลากุล (หลวงมาลากุลวิวัฒน์) เกิดจากเจ้าหญิงฟองแก้ว ณ เชียงใหม่ - หม่อมหลวง ปีกทิพย์ มาลากุล- นางสาวปนัดดา มาลากุล ณ อยุธยา - นาย ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา - พลเอก แป้ง มาลากุล ณ อยุธยา - คุณหญิงทิพยวดี ปราโมช ณ อยุธยา (สมรสกับ หม่อมหลวงเสรี ปราโมช) - นางทับทิม มาลากุล เลน- ซาร่า มาลากุล เลน - หม่อมหลวง ปุ่ม มาลากุล - หม่อมราชวงศ์หญิงแป้น มาลากุล เกิดจากหม่อมจับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง ปั้ม มาลากุล เกิดจากหม่อมทับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง แป้ม มาลากุล เกิดจากหม่อมจับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิงแป้ว มาลากุล เกิดจากหม่อมทับ ถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 - หม่อมราชวงศ์หญิง ปุย มาลากุล เกิดจากหม่อมเพิ่ม - หม่อมราชวงศ์โป้ย มาลากุล (พระยาเทวาธิราช) เกิดจากหม่อมสุ่น - หม่อมราชวงศ์โป๊ะ มาลากุล (พระยาชาติเดชอุดม) เกิดจากหม่อมกลิ่น - หม่อมราชวงศ์เปี๊ยะ มาลากุล เกิดจากหม่อมกลั่น - หม่อมราชวงศ์ปีก มาลากุล เกิดจากหม่อมอิน
| พระบิดาของพลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์"
],
"answer_begin_position": [
515
],
"answer_end_position": [
574
]
} |
802 | 43,559 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ พลตำรวจเอก พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าคำรบ ปราโมช (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2482) พระโอรส ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ และหม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช ประสูติเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ ทรงเป็นทหารบก ทรงดำรงตำแหน่งแม่ทัพกองทัพน้อยที่ 2 (ปัจจุบันคือ กองทัพภาคที่ 3) ระหว่าง พ.ศ. 2454-2457 ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ จากนั้นทรงโอนย้ายไปดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจภูธร และ กรมตำรวจพระนครบาล ระหว่าง พ.ศ. 2458-2472 ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีบทบาทในการปรับปรุงกิจการตำรวจ โดยทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจ พระองค์แรก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2482 พระชันษา 67 ปี 9 เดือนบุตร-ธิดา บุตร-ธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีหม่อมทั้งหมด 3 ท่าน คือ หม่อมผาด (สกุลเดิม: ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา), หม่อมแดง (สกุลเดิม: บุนนาค) และหม่อมนุ่ม มีพระโอรส-ธิดาทั้งหมด 9 คน ได้แก่1. หม่อมผาด ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา) มีพระโอรส-ธิดา 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์ชาย ปราโมช (ช.) 2. หม่อมราชวงศ์ประณตน้อม ปราโมช (ญ.) 2. หม่อมแดง ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: บุนนาค) ธิดาเจ้าพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาธิบดี (แพ บุนนาค) กับอนุภริยาชื่อหม่อมแหวว (สกุลเดิม: บุรณศิริ)1. หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (ญ.) สมรสกับพระพินิจชนคดี (พินิจ อินทรทูต) 2. หม่อมราชวงศ์อุไรวรรณ ปราโมช (ญ.) 3. หม่อมราชวงศ์เล็ก ปราโมช (ญ.) 4. หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (ช.; พ.ศ. 2448-2540) สมรสกับท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ศาลิคุปต์) มีบุตร 3 คน 5. หม่อมราชวงศ์ถ้วนเท่านึก ปราโมช (ช.) 6. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (ช.; พ.ศ. 2454 - 2538) สมรสและแยกกันอยู่กับหม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่ มีบุตร 2 คน 3. หม่อมนุ่ม ปราโมช ณ อยุธยา มีพระธิดาเพียงคนเดียวคือ1. หม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช (ญ.) เสกสมรสกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ และสมรสกับหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงศ์ เทวกุล มีพระธิดาจากการสมรสครั้งแรกหนึ่งองค์ และพระบุตร-ธิดาจากการสมรสครั้งที่สองอีก 4 คนเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าคำรบ ปราโมช"
],
"answer_begin_position": [
191
],
"answer_end_position": [
211
]
} |
803 | 43,559 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ พลตำรวจเอก พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าคำรบ ปราโมช (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2482) พระโอรส ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ และหม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช ประสูติเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ ทรงเป็นทหารบก ทรงดำรงตำแหน่งแม่ทัพกองทัพน้อยที่ 2 (ปัจจุบันคือ กองทัพภาคที่ 3) ระหว่าง พ.ศ. 2454-2457 ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ จากนั้นทรงโอนย้ายไปดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจภูธร และ กรมตำรวจพระนครบาล ระหว่าง พ.ศ. 2458-2472 ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีบทบาทในการปรับปรุงกิจการตำรวจ โดยทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจ พระองค์แรก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2482 พระชันษา 67 ปี 9 เดือนบุตร-ธิดา บุตร-ธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีหม่อมทั้งหมด 3 ท่าน คือ หม่อมผาด (สกุลเดิม: ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา), หม่อมแดง (สกุลเดิม: บุนนาค) และหม่อมนุ่ม มีพระโอรส-ธิดาทั้งหมด 9 คน ได้แก่1. หม่อมผาด ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา) มีพระโอรส-ธิดา 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์ชาย ปราโมช (ช.) 2. หม่อมราชวงศ์ประณตน้อม ปราโมช (ญ.) 2. หม่อมแดง ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: บุนนาค) ธิดาเจ้าพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาธิบดี (แพ บุนนาค) กับอนุภริยาชื่อหม่อมแหวว (สกุลเดิม: บุรณศิริ)1. หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (ญ.) สมรสกับพระพินิจชนคดี (พินิจ อินทรทูต) 2. หม่อมราชวงศ์อุไรวรรณ ปราโมช (ญ.) 3. หม่อมราชวงศ์เล็ก ปราโมช (ญ.) 4. หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (ช.; พ.ศ. 2448-2540) สมรสกับท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ศาลิคุปต์) มีบุตร 3 คน 5. หม่อมราชวงศ์ถ้วนเท่านึก ปราโมช (ช.) 6. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (ช.; พ.ศ. 2454 - 2538) สมรสและแยกกันอยู่กับหม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่ มีบุตร 2 คน 3. หม่อมนุ่ม ปราโมช ณ อยุธยา มีพระธิดาเพียงคนเดียวคือ1. หม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช (ญ.) เสกสมรสกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ และสมรสกับหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงศ์ เทวกุล มีพระธิดาจากการสมรสครั้งแรกหนึ่งองค์ และพระบุตร-ธิดาจากการสมรสครั้งที่สองอีก 4 คนเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) | หม่อมผาด ใช้สกุลเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
922
],
"answer_end_position": [
940
]
} |
1,817 | 43,559 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ พลตำรวจเอก พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าคำรบ ปราโมช (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2482) พระโอรส ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ และหม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช ประสูติเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ ทรงเป็นทหารบก ทรงดำรงตำแหน่งแม่ทัพกองทัพน้อยที่ 2 (ปัจจุบันคือ กองทัพภาคที่ 3) ระหว่าง พ.ศ. 2454-2457 ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ จากนั้นทรงโอนย้ายไปดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจภูธร และ กรมตำรวจพระนครบาล ระหว่าง พ.ศ. 2458-2472 ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีบทบาทในการปรับปรุงกิจการตำรวจ โดยทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจ พระองค์แรก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2482 พระชันษา 67 ปี 9 เดือนบุตร-ธิดา บุตร-ธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีหม่อมทั้งหมด 3 ท่าน คือ หม่อมผาด (สกุลเดิม: ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา), หม่อมแดง (สกุลเดิม: บุนนาค) และหม่อมนุ่ม มีพระโอรส-ธิดาทั้งหมด 9 คน ได้แก่1. หม่อมผาด ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา) มีพระโอรส-ธิดา 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์ชาย ปราโมช (ช.) 2. หม่อมราชวงศ์ประณตน้อม ปราโมช (ญ.) 2. หม่อมแดง ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: บุนนาค) ธิดาเจ้าพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาธิบดี (แพ บุนนาค) กับอนุภริยาชื่อหม่อมแหวว (สกุลเดิม: บุรณศิริ)1. หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (ญ.) สมรสกับพระพินิจชนคดี (พินิจ อินทรทูต) 2. หม่อมราชวงศ์อุไรวรรณ ปราโมช (ญ.) 3. หม่อมราชวงศ์เล็ก ปราโมช (ญ.) 4. หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (ช.; พ.ศ. 2448-2540) สมรสกับท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ศาลิคุปต์) มีบุตร 3 คน 5. หม่อมราชวงศ์ถ้วนเท่านึก ปราโมช (ช.) 6. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (ช.; พ.ศ. 2454 - 2538) สมรสและแยกกันอยู่กับหม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่ มีบุตร 2 คน 3. หม่อมนุ่ม ปราโมช ณ อยุธยา มีพระธิดาเพียงคนเดียวคือ1. หม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช (ญ.) เสกสมรสกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ และสมรสกับหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงศ์ เทวกุล มีพระธิดาจากการสมรสครั้งแรกหนึ่งองค์ และพระบุตร-ธิดาจากการสมรสครั้งที่สองอีก 4 คนเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) | พลตำรวจเอก พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าคำรบ ปราโมช"
],
"answer_begin_position": [
191
],
"answer_end_position": [
211
]
} |
1,818 | 43,559 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ พลตำรวจเอก พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าคำรบ ปราโมช (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2482) พระโอรส ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ และหม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช ประสูติเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2414 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ ทรงเป็นทหารบก ทรงดำรงตำแหน่งแม่ทัพกองทัพน้อยที่ 2 (ปัจจุบันคือ กองทัพภาคที่ 3) ระหว่าง พ.ศ. 2454-2457 ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ จากนั้นทรงโอนย้ายไปดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจภูธร และ กรมตำรวจพระนครบาล ระหว่าง พ.ศ. 2458-2472 ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีบทบาทในการปรับปรุงกิจการตำรวจ โดยทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจ พระองค์แรก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2482 พระชันษา 67 ปี 9 เดือนบุตร-ธิดา บุตร-ธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ มีหม่อมทั้งหมด 3 ท่าน คือ หม่อมผาด (สกุลเดิม: ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา), หม่อมแดง (สกุลเดิม: บุนนาค) และหม่อมนุ่ม มีพระโอรส-ธิดาทั้งหมด 9 คน ได้แก่1. หม่อมผาด ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา) มีพระโอรส-ธิดา 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์ชาย ปราโมช (ช.) 2. หม่อมราชวงศ์ประณตน้อม ปราโมช (ญ.) 2. หม่อมแดง ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: บุนนาค) ธิดาเจ้าพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาธิบดี (แพ บุนนาค) กับอนุภริยาชื่อหม่อมแหวว (สกุลเดิม: บุรณศิริ)1. หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (ญ.) สมรสกับพระพินิจชนคดี (พินิจ อินทรทูต) 2. หม่อมราชวงศ์อุไรวรรณ ปราโมช (ญ.) 3. หม่อมราชวงศ์เล็ก ปราโมช (ญ.) 4. หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (ช.; พ.ศ. 2448-2540) สมรสกับท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ศาลิคุปต์) มีบุตร 3 คน 5. หม่อมราชวงศ์ถ้วนเท่านึก ปราโมช (ช.) 6. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (ช.; พ.ศ. 2454 - 2538) สมรสและแยกกันอยู่กับหม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่ มีบุตร 2 คน 3. หม่อมนุ่ม ปราโมช ณ อยุธยา มีพระธิดาเพียงคนเดียวคือ1. หม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช (ญ.) เสกสมรสกับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ และสมรสกับหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงศ์ เทวกุล มีพระธิดาจากการสมรสครั้งแรกหนึ่งองค์ และพระบุตร-ธิดาจากการสมรสครั้งที่สองอีก 4 คนเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) | พระมารดาของพลตำรวจเอก พลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมราชวงศ์ดวงใจ ปราโมช"
],
"answer_begin_position": [
328
],
"answer_end_position": [
352
]
} |
804 | 144,434 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2418 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ กับหม่อมสุภาพ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์ กฤดากร หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร เมื่อ พ.ศ. 2455 พระองค์มีหม่อม 2 คนคือหม่อมเชื่อมและหม่อมปรุง พระองค์จบการศึกษาวิชาทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และเนติบัณฑิต อังกฤษ เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาทรงรับราชการตำแหน่งเลขานุการพิเศษ กระทรวงต่างประเทศ เลขานุการพิเศษ กระทรวงมหาดไทย ปลัดมณฑลนครศรีธรรมราช ผู้ว่าการเมืองสงขลา อัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส มาดริด ลิสบอน เสนาบดีว่าการกระทรวงยุติธรรม อัครราชทูตพิเศษผู้มีอำนาจเต็มประจำกรุงปารีส เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 (พ.ศ. 2462) ทรงเป็นผู้แทนสยาม ลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ครั้งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ร่วมกับพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย พระองค์ประชวรพระโรคพระวักกะ (ไต) พิการ และสิ้นพระชนม์ด้วยพระหทัย (หัวใจ) พิการเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2471 ณ กรุงเจนีวา รวมพระชนม์ได้ 54 พรรษาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. พระองค์ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด ดังนี้- เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 5 ชั้นที่ 2 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 2 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์ กฤดากร มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์ กฤดากร"
],
"answer_begin_position": [
341
],
"answer_end_position": [
367
]
} |
1,636 | 144,434 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2418 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ กับหม่อมสุภาพ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์ กฤดากร หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร เมื่อ พ.ศ. 2455 พระองค์มีหม่อม 2 คนคือหม่อมเชื่อมและหม่อมปรุง พระองค์จบการศึกษาวิชาทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และเนติบัณฑิต อังกฤษ เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาทรงรับราชการตำแหน่งเลขานุการพิเศษ กระทรวงต่างประเทศ เลขานุการพิเศษ กระทรวงมหาดไทย ปลัดมณฑลนครศรีธรรมราช ผู้ว่าการเมืองสงขลา อัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส มาดริด ลิสบอน เสนาบดีว่าการกระทรวงยุติธรรม อัครราชทูตพิเศษผู้มีอำนาจเต็มประจำกรุงปารีส เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 (พ.ศ. 2462) ทรงเป็นผู้แทนสยาม ลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ครั้งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ร่วมกับพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย พระองค์ประชวรพระโรคพระวักกะ (ไต) พิการ และสิ้นพระชนม์ด้วยพระหทัย (หัวใจ) พิการเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2471 ณ กรุงเจนีวา รวมพระชนม์ได้ 54 พรรษาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. พระองค์ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด ดังนี้- เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 5 ชั้นที่ 2 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 2 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"2"
],
"answer_begin_position": [
216
],
"answer_end_position": [
217
]
} |
1,867 | 144,434 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2418 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ กับหม่อมสุภาพ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์ กฤดากร หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร เมื่อ พ.ศ. 2455 พระองค์มีหม่อม 2 คนคือหม่อมเชื่อมและหม่อมปรุง พระองค์จบการศึกษาวิชาทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และเนติบัณฑิต อังกฤษ เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาทรงรับราชการตำแหน่งเลขานุการพิเศษ กระทรวงต่างประเทศ เลขานุการพิเศษ กระทรวงมหาดไทย ปลัดมณฑลนครศรีธรรมราช ผู้ว่าการเมืองสงขลา อัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส มาดริด ลิสบอน เสนาบดีว่าการกระทรวงยุติธรรม อัครราชทูตพิเศษผู้มีอำนาจเต็มประจำกรุงปารีส เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 (พ.ศ. 2462) ทรงเป็นผู้แทนสยาม ลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ครั้งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ร่วมกับพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย พระองค์ประชวรพระโรคพระวักกะ (ไต) พิการ และสิ้นพระชนม์ด้วยพระหทัย (หัวใจ) พิการเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2471 ณ กรุงเจนีวา รวมพระชนม์ได้ 54 พรรษาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. พระองค์ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด ดังนี้- เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 5 ชั้นที่ 2 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 2 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"2"
],
"answer_begin_position": [
216
],
"answer_end_position": [
217
]
} |
1,868 | 144,434 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2418 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ กับหม่อมสุภาพ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์ กฤดากร หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร เมื่อ พ.ศ. 2455 พระองค์มีหม่อม 2 คนคือหม่อมเชื่อมและหม่อมปรุง พระองค์จบการศึกษาวิชาทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และเนติบัณฑิต อังกฤษ เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาทรงรับราชการตำแหน่งเลขานุการพิเศษ กระทรวงต่างประเทศ เลขานุการพิเศษ กระทรวงมหาดไทย ปลัดมณฑลนครศรีธรรมราช ผู้ว่าการเมืองสงขลา อัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส มาดริด ลิสบอน เสนาบดีว่าการกระทรวงยุติธรรม อัครราชทูตพิเศษผู้มีอำนาจเต็มประจำกรุงปารีส เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 (พ.ศ. 2462) ทรงเป็นผู้แทนสยาม ลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ครั้งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ร่วมกับพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย พระองค์ประชวรพระโรคพระวักกะ (ไต) พิการ และสิ้นพระชนม์ด้วยพระหทัย (หัวใจ) พิการเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2471 ณ กรุงเจนีวา รวมพระชนม์ได้ 54 พรรษาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. พระองค์ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด ดังนี้- เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 5 ชั้นที่ 2 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 2 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์ กฤดากร"
],
"answer_begin_position": [
341
],
"answer_end_position": [
367
]
} |
805 | 604,036 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าจันทร์ ดารากร; ประสูติ: 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2387 — สิ้นพระชนม์: 8 สิงหาคม พ.ศ. 2454) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดารากร กรมหมื่นศรีสุเทพ ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 7 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2387 ทรงรับราชการในกรมช่างมหาดเล็ก มีผลงานในการทำหน้าบันพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ซ่อมแซมพระที่นั่งจักรพรรดิพิมานและซุ้มพระแกลพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท และทำพระที่นั่งทรงผนวช ในวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงษ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ ทรงศักดินา 3,000 เมื่อปีชวด พ.ศ. 2443 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ ประชวรด้วยพระโรคพระธาตุพิการ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 6 เมื่อวันอังคารที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2454 เวลา 10 ทุ่ม 40 นาที สิริพระชันษาได้ 67 ปี
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ พระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าจันทร์ ดารากร"
],
"answer_begin_position": [
192
],
"answer_end_position": [
214
]
} |
806 | 604,036 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าจันทร์ ดารากร; ประสูติ: 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2387 — สิ้นพระชนม์: 8 สิงหาคม พ.ศ. 2454) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดารากร กรมหมื่นศรีสุเทพ ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 7 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2387 ทรงรับราชการในกรมช่างมหาดเล็ก มีผลงานในการทำหน้าบันพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ซ่อมแซมพระที่นั่งจักรพรรดิพิมานและซุ้มพระแกลพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท และทำพระที่นั่งทรงผนวช ในวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงษ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ ทรงศักดินา 3,000 เมื่อปีชวด พ.ศ. 2443 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ ประชวรด้วยพระโรคพระธาตุพิการ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 6 เมื่อวันอังคารที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2454 เวลา 10 ทุ่ม 40 นาที สิริพระชันษาได้ 67 ปี
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ ประชวรด้วยพระโรคอะไร | {
"answer": [
"โรคพระธาตุพิการ"
],
"answer_begin_position": [
835
],
"answer_end_position": [
850
]
} |
1,807 | 604,036 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าจันทร์ ดารากร; ประสูติ: 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2387 — สิ้นพระชนม์: 8 สิงหาคม พ.ศ. 2454) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดารากร กรมหมื่นศรีสุเทพ ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 7 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2387 ทรงรับราชการในกรมช่างมหาดเล็ก มีผลงานในการทำหน้าบันพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ซ่อมแซมพระที่นั่งจักรพรรดิพิมานและซุ้มพระแกลพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท และทำพระที่นั่งทรงผนวช ในวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงษ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ ทรงศักดินา 3,000 เมื่อปีชวด พ.ศ. 2443 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ ประชวรด้วยพระโรคพระธาตุพิการ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 6 เมื่อวันอังคารที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2454 เวลา 10 ทุ่ม 40 นาที สิริพระชันษาได้ 67 ปี
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ มีพระนามเดิมเรียกว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าจันทร์ ดารากร"
],
"answer_begin_position": [
192
],
"answer_end_position": [
214
]
} |
1,808 | 604,036 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าจันทร์ ดารากร; ประสูติ: 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2387 — สิ้นพระชนม์: 8 สิงหาคม พ.ศ. 2454) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดารากร กรมหมื่นศรีสุเทพ ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 7 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2387 ทรงรับราชการในกรมช่างมหาดเล็ก มีผลงานในการทำหน้าบันพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ซ่อมแซมพระที่นั่งจักรพรรดิพิมานและซุ้มพระแกลพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท และทำพระที่นั่งทรงผนวช ในวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงษ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ ทรงศักดินา 3,000 เมื่อปีชวด พ.ศ. 2443 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ ประชวรด้วยพระโรคพระธาตุพิการ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 6 เมื่อวันอังคารที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2454 เวลา 10 ทุ่ม 40 นาที สิริพระชันษาได้ 67 ปี
| พระราชบิดาของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรสุเทพ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดารากร กรมหมื่นศรีสุเทพ"
],
"answer_begin_position": [
295
],
"answer_end_position": [
347
]
} |
807 | 610,277 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิตราภรณ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิตราภรณ์ (พ.ศ. 2382 - 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403) (พระนามเดิม:หม่อมเจ้าจิตราภรณ์ นพวงศ์) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เจ้าจิตราภรณ์ ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2382 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส พระองค์เป็นพระราชนัดดาพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิตราภรณ์ เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2396 สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4 เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 พระชันษา 21 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2404พระโอรสและพระธิดา พระโอรสและพระธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิตราภรณ์ทรงเษกสมรสกับหม่อมนกแก้ว นพวงศ์ ณ อยุธยา โดยพระโอรสและพระธิดาในพระองค์เจ้าจิตราภรณ์นี้ ตามราชประเพณีแล้วต้องดำรงยศชั้นหม่อมราชวงศ์ แต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงพระยศชั้นหม่อมเจ้า ดังนี้1. หม่อมเจ้าชาย สิ้นชีพิตักษัย พ.ศ. 2399 2. หม่อมเจ้าหญิงแจ่มแจ้ง นพวงศ์ ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2400 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2417 3. หม่อมเจ้าชาย ประสูติเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2401
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิตราภรณ์ทรงเษกสมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"หม่อมนกแก้ว นพวงศ์ ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
885
],
"answer_end_position": [
912
]
} |
808 | 610,277 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิตราภรณ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิตราภรณ์ (พ.ศ. 2382 - 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403) (พระนามเดิม:หม่อมเจ้าจิตราภรณ์ นพวงศ์) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เจ้าจิตราภรณ์ ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2382 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส พระองค์เป็นพระราชนัดดาพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิตราภรณ์ เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2396 สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4 เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 พระชันษา 21 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2404พระโอรสและพระธิดา พระโอรสและพระธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิตราภรณ์ทรงเษกสมรสกับหม่อมนกแก้ว นพวงศ์ ณ อยุธยา โดยพระโอรสและพระธิดาในพระองค์เจ้าจิตราภรณ์นี้ ตามราชประเพณีแล้วต้องดำรงยศชั้นหม่อมราชวงศ์ แต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงพระยศชั้นหม่อมเจ้า ดังนี้1. หม่อมเจ้าชาย สิ้นชีพิตักษัย พ.ศ. 2399 2. หม่อมเจ้าหญิงแจ่มแจ้ง นพวงศ์ ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2400 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2417 3. หม่อมเจ้าชาย ประสูติเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2401
| หม่อมเจ้าหญิงแจ่มแจ้ง นพวงศ์ ประสูติเมื่อ พ.ศ. ใด | {
"answer": [
"พ.ศ. 2400"
],
"answer_begin_position": [
1180
],
"answer_end_position": [
1189
]
} |
809 | 47,992 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต (ประสูติ: กันยายน พ.ศ. 2460 — สิ้นพระชนม์: ตุลาคม พ.ศ. 2485) หรือพระนามลำลองว่า เจรี่ () เป็นพระโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ประสูติแต่หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นพระราชโอรสบุญธรรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 และเป็นต้นราชสกุล ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต เป็นพระโอรสองค์สุดท้องในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ประสูติแต่หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ยงใจยุทธ, เป็นพี่สาวของร้อยเอกชั้น ยงใจยุทธ บิดาของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) ประสูติเมื่อ เดือนกันยายน พ.ศ. 2460 เมื่อประสูติทรงพระนามว่า หม่อมเจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ภาณุพันธุ์ มีพระเชษฐาและพระขนิษฐาร่วมมารดาคือ1. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา (พ.ศ. 2450 — 2522) 2. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ (พ.ศ. 2452 — 2525) 3. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช (พ.ศ. 2457 — 2528) 4. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์ (พ.ศ. 2458 — 2497) หม่อมเจ้าจิรศักดิ์สุประภาตเติบโตในพระบรมมหาราชวังจนอายุได้ 7 ปี จึงทรงย้ายมาอยู่กับพระบิดา ต่อมาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ทรงนำพระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต มาถวายเป็นบุตรบุญธรรมใน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งไม่มีพระราชโอรสหรือพระราชธิดากับสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ด้านการศึกษาทรงเข้ารับการศึกษาเบื้องต้นที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2468 เลขประจำตัวนักเรียน ท.ศ.3022 หลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ทรงทุ่มเทความรักและเอาใจใส่เหมือนเป็นพระราชโอรสแท้ ๆ ทรงอุปถัมภ์ให้ไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษเสกสมรส เสกสมรส. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต หมั้นกับมณี เซเนียร์ บุนนาค สุภาพสตรีลูกครึ่งไทย-อังกฤษ นักเรียนทุน ก.พ. ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2481 ส่วนพิธีมงคลสมรสจัดขึ้นที่สถานทูตไทยในกรุงลอนดอน โดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีทรงเป็นองค์ประธาน เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2481 เมื่อหม่อมมณีตั้งครรภ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาพระราชทานนาม ศักดิเดชน์ จากพระนามาภิไธย ประชาธิปกศักดิเดชน์ เพื่อใช้เป็นชื่อราชสกุล แต่ทางรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม และคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ รัชกาลที่ 8 ได้คัดค้านว่าพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต อยู่ในราชสกุล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา อยู่แล้ว (โดยมีเหตุผลเกี่ยวกับสิทธิ์ในการสืบสันตติวงศ์ และเรื่องอื่น ๆ ที่สืบเนื่องจากสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว) ด้วยเหตุนี้จึงใช้ชื่อสกุลว่า ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา แทน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต มีพระโอรส 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์เดชนศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (พ.ศ. 2482) สมรสกับสมคิด ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา มีบุตรหนึ่งคน1. หม่อมหลวงศักดิเดชน์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ 2. หม่อมราชวงศ์ทินศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (เมษายน พ.ศ. 2485) สมรสครั้งที่สองกับศิริกาญจน์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศรีกาญจนา) มีบุตรสองคน และบุตรบุญธรรมหนึ่งคน1. ศีกัญญา ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (บุตรจากการสมรสครั้งแรกของศิริกาญจน์) 2. หม่อมหลวงศรุศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ 3. หม่อมหลวงศิริณี ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์สิ้นพระชนม์ สิ้นพระชนม์. ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ทรงสมัครเข้าร่วมกับกองทัพอังกฤษเป็นนักบินของหน่วยงาน A.T.A. (Air Transport Auxiliary) ซึ่งเป็นหน่วยขนส่งทางอากาศของกองทัพอังกฤษ เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2485 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ทรงขับเครื่องบินเพื่อนำไปส่งที่ท่าเรือ เกิดหมอกลงจัด ทรงขับเครื่องบินชนภูเขา สิ้นพระชนม์ขณะพระชันษาได้ 25 ปี ภายหลังจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต สิ้นพระชนม์ได้ 6 เดือน หม่อมมณี ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา ก็ได้สมรสใหม่กับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ ซึ่งเป็นพระเชษฐาแท้ๆของพระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต และมีพระธิดา คือ หม่อมราชวงศ์อรมณี ภาณุพันธุ์ แต่ก็หย่าร้างกันในปี พ.ศ. 2493 ต่อมาได้สมรสกับนายแพทย์ปชา สิริวรสาร และได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้า เป็น คุณหญิงมณี สิริวรสาร เมื่อ พ.ศ. 2532 และเสียชีวิตเมื่อต้นเดือนตุลาคม พ.ศ. 2542
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต เป็นพระโอรสองค์สุดท้องในราชวงศ์พระองค์ใด | {
"answer": [
"สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช"
],
"answer_begin_position": [
622
],
"answer_end_position": [
698
]
} |
810 | 47,992 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต (ประสูติ: กันยายน พ.ศ. 2460 — สิ้นพระชนม์: ตุลาคม พ.ศ. 2485) หรือพระนามลำลองว่า เจรี่ () เป็นพระโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ประสูติแต่หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นพระราชโอรสบุญธรรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 และเป็นต้นราชสกุล ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต เป็นพระโอรสองค์สุดท้องในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ประสูติแต่หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ยงใจยุทธ, เป็นพี่สาวของร้อยเอกชั้น ยงใจยุทธ บิดาของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) ประสูติเมื่อ เดือนกันยายน พ.ศ. 2460 เมื่อประสูติทรงพระนามว่า หม่อมเจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ภาณุพันธุ์ มีพระเชษฐาและพระขนิษฐาร่วมมารดาคือ1. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา (พ.ศ. 2450 — 2522) 2. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ (พ.ศ. 2452 — 2525) 3. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช (พ.ศ. 2457 — 2528) 4. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์ (พ.ศ. 2458 — 2497) หม่อมเจ้าจิรศักดิ์สุประภาตเติบโตในพระบรมมหาราชวังจนอายุได้ 7 ปี จึงทรงย้ายมาอยู่กับพระบิดา ต่อมาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ทรงนำพระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต มาถวายเป็นบุตรบุญธรรมใน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งไม่มีพระราชโอรสหรือพระราชธิดากับสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ด้านการศึกษาทรงเข้ารับการศึกษาเบื้องต้นที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2468 เลขประจำตัวนักเรียน ท.ศ.3022 หลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ทรงทุ่มเทความรักและเอาใจใส่เหมือนเป็นพระราชโอรสแท้ ๆ ทรงอุปถัมภ์ให้ไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษเสกสมรส เสกสมรส. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต หมั้นกับมณี เซเนียร์ บุนนาค สุภาพสตรีลูกครึ่งไทย-อังกฤษ นักเรียนทุน ก.พ. ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2481 ส่วนพิธีมงคลสมรสจัดขึ้นที่สถานทูตไทยในกรุงลอนดอน โดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีทรงเป็นองค์ประธาน เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2481 เมื่อหม่อมมณีตั้งครรภ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาพระราชทานนาม ศักดิเดชน์ จากพระนามาภิไธย ประชาธิปกศักดิเดชน์ เพื่อใช้เป็นชื่อราชสกุล แต่ทางรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม และคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ รัชกาลที่ 8 ได้คัดค้านว่าพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต อยู่ในราชสกุล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา อยู่แล้ว (โดยมีเหตุผลเกี่ยวกับสิทธิ์ในการสืบสันตติวงศ์ และเรื่องอื่น ๆ ที่สืบเนื่องจากสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว) ด้วยเหตุนี้จึงใช้ชื่อสกุลว่า ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา แทน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต มีพระโอรส 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์เดชนศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (พ.ศ. 2482) สมรสกับสมคิด ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา มีบุตรหนึ่งคน1. หม่อมหลวงศักดิเดชน์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ 2. หม่อมราชวงศ์ทินศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (เมษายน พ.ศ. 2485) สมรสครั้งที่สองกับศิริกาญจน์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศรีกาญจนา) มีบุตรสองคน และบุตรบุญธรรมหนึ่งคน1. ศีกัญญา ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (บุตรจากการสมรสครั้งแรกของศิริกาญจน์) 2. หม่อมหลวงศรุศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ 3. หม่อมหลวงศิริณี ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์สิ้นพระชนม์ สิ้นพระชนม์. ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ทรงสมัครเข้าร่วมกับกองทัพอังกฤษเป็นนักบินของหน่วยงาน A.T.A. (Air Transport Auxiliary) ซึ่งเป็นหน่วยขนส่งทางอากาศของกองทัพอังกฤษ เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2485 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ทรงขับเครื่องบินเพื่อนำไปส่งที่ท่าเรือ เกิดหมอกลงจัด ทรงขับเครื่องบินชนภูเขา สิ้นพระชนม์ขณะพระชันษาได้ 25 ปี ภายหลังจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต สิ้นพระชนม์ได้ 6 เดือน หม่อมมณี ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา ก็ได้สมรสใหม่กับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ ซึ่งเป็นพระเชษฐาแท้ๆของพระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต และมีพระธิดา คือ หม่อมราชวงศ์อรมณี ภาณุพันธุ์ แต่ก็หย่าร้างกันในปี พ.ศ. 2493 ต่อมาได้สมรสกับนายแพทย์ปชา สิริวรสาร และได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้า เป็น คุณหญิงมณี สิริวรสาร เมื่อ พ.ศ. 2532 และเสียชีวิตเมื่อต้นเดือนตุลาคม พ.ศ. 2542
| หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา ใช้สกุลเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"ยงใจยุทธ"
],
"answer_begin_position": [
749
],
"answer_end_position": [
757
]
} |
1,826 | 47,992 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต (ประสูติ: กันยายน พ.ศ. 2460 — สิ้นพระชนม์: ตุลาคม พ.ศ. 2485) หรือพระนามลำลองว่า เจรี่ () เป็นพระโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ประสูติแต่หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นพระราชโอรสบุญธรรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 และเป็นต้นราชสกุล ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต เป็นพระโอรสองค์สุดท้องในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ประสูติแต่หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ยงใจยุทธ, เป็นพี่สาวของร้อยเอกชั้น ยงใจยุทธ บิดาของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) ประสูติเมื่อ เดือนกันยายน พ.ศ. 2460 เมื่อประสูติทรงพระนามว่า หม่อมเจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ภาณุพันธุ์ มีพระเชษฐาและพระขนิษฐาร่วมมารดาคือ1. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา (พ.ศ. 2450 — 2522) 2. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ (พ.ศ. 2452 — 2525) 3. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช (พ.ศ. 2457 — 2528) 4. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์ (พ.ศ. 2458 — 2497) หม่อมเจ้าจิรศักดิ์สุประภาตเติบโตในพระบรมมหาราชวังจนอายุได้ 7 ปี จึงทรงย้ายมาอยู่กับพระบิดา ต่อมาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ทรงนำพระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต มาถวายเป็นบุตรบุญธรรมใน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งไม่มีพระราชโอรสหรือพระราชธิดากับสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ด้านการศึกษาทรงเข้ารับการศึกษาเบื้องต้นที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2468 เลขประจำตัวนักเรียน ท.ศ.3022 หลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ทรงทุ่มเทความรักและเอาใจใส่เหมือนเป็นพระราชโอรสแท้ ๆ ทรงอุปถัมภ์ให้ไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษเสกสมรส เสกสมรส. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต หมั้นกับมณี เซเนียร์ บุนนาค สุภาพสตรีลูกครึ่งไทย-อังกฤษ นักเรียนทุน ก.พ. ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2481 ส่วนพิธีมงคลสมรสจัดขึ้นที่สถานทูตไทยในกรุงลอนดอน โดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีทรงเป็นองค์ประธาน เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2481 เมื่อหม่อมมณีตั้งครรภ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาพระราชทานนาม ศักดิเดชน์ จากพระนามาภิไธย ประชาธิปกศักดิเดชน์ เพื่อใช้เป็นชื่อราชสกุล แต่ทางรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม และคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ รัชกาลที่ 8 ได้คัดค้านว่าพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต อยู่ในราชสกุล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา อยู่แล้ว (โดยมีเหตุผลเกี่ยวกับสิทธิ์ในการสืบสันตติวงศ์ และเรื่องอื่น ๆ ที่สืบเนื่องจากสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว) ด้วยเหตุนี้จึงใช้ชื่อสกุลว่า ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา แทน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต มีพระโอรส 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์เดชนศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (พ.ศ. 2482) สมรสกับสมคิด ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา มีบุตรหนึ่งคน1. หม่อมหลวงศักดิเดชน์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ 2. หม่อมราชวงศ์ทินศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (เมษายน พ.ศ. 2485) สมรสครั้งที่สองกับศิริกาญจน์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศรีกาญจนา) มีบุตรสองคน และบุตรบุญธรรมหนึ่งคน1. ศีกัญญา ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (บุตรจากการสมรสครั้งแรกของศิริกาญจน์) 2. หม่อมหลวงศรุศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ 3. หม่อมหลวงศิริณี ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์สิ้นพระชนม์ สิ้นพระชนม์. ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ทรงสมัครเข้าร่วมกับกองทัพอังกฤษเป็นนักบินของหน่วยงาน A.T.A. (Air Transport Auxiliary) ซึ่งเป็นหน่วยขนส่งทางอากาศของกองทัพอังกฤษ เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2485 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ทรงขับเครื่องบินเพื่อนำไปส่งที่ท่าเรือ เกิดหมอกลงจัด ทรงขับเครื่องบินชนภูเขา สิ้นพระชนม์ขณะพระชันษาได้ 25 ปี ภายหลังจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต สิ้นพระชนม์ได้ 6 เดือน หม่อมมณี ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา ก็ได้สมรสใหม่กับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ ซึ่งเป็นพระเชษฐาแท้ๆของพระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต และมีพระธิดา คือ หม่อมราชวงศ์อรมณี ภาณุพันธุ์ แต่ก็หย่าร้างกันในปี พ.ศ. 2493 ต่อมาได้สมรสกับนายแพทย์ปชา สิริวรสาร และได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้า เป็น คุณหญิงมณี สิริวรสาร เมื่อ พ.ศ. 2532 และเสียชีวิตเมื่อต้นเดือนตุลาคม พ.ศ. 2542
| มารดาของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
709
],
"answer_end_position": [
738
]
} |
1,827 | 47,992 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต (ประสูติ: กันยายน พ.ศ. 2460 — สิ้นพระชนม์: ตุลาคม พ.ศ. 2485) หรือพระนามลำลองว่า เจรี่ () เป็นพระโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ประสูติแต่หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เป็นพระราชโอรสบุญธรรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 และเป็นต้นราชสกุล ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต เป็นพระโอรสองค์สุดท้องในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ประสูติแต่หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ยงใจยุทธ, เป็นพี่สาวของร้อยเอกชั้น ยงใจยุทธ บิดาของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) ประสูติเมื่อ เดือนกันยายน พ.ศ. 2460 เมื่อประสูติทรงพระนามว่า หม่อมเจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ภาณุพันธุ์ มีพระเชษฐาและพระขนิษฐาร่วมมารดาคือ1. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา (พ.ศ. 2450 — 2522) 2. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ (พ.ศ. 2452 — 2525) 3. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช (พ.ศ. 2457 — 2528) 4. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านรเศรษฐสุริยลักษณ์ (พ.ศ. 2458 — 2497) หม่อมเจ้าจิรศักดิ์สุประภาตเติบโตในพระบรมมหาราชวังจนอายุได้ 7 ปี จึงทรงย้ายมาอยู่กับพระบิดา ต่อมาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ทรงนำพระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต มาถวายเป็นบุตรบุญธรรมใน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งไม่มีพระราชโอรสหรือพระราชธิดากับสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ด้านการศึกษาทรงเข้ารับการศึกษาเบื้องต้นที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2468 เลขประจำตัวนักเรียน ท.ศ.3022 หลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ทรงทุ่มเทความรักและเอาใจใส่เหมือนเป็นพระราชโอรสแท้ ๆ ทรงอุปถัมภ์ให้ไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษเสกสมรส เสกสมรส. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต หมั้นกับมณี เซเนียร์ บุนนาค สุภาพสตรีลูกครึ่งไทย-อังกฤษ นักเรียนทุน ก.พ. ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2481 ส่วนพิธีมงคลสมรสจัดขึ้นที่สถานทูตไทยในกรุงลอนดอน โดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีทรงเป็นองค์ประธาน เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2481 เมื่อหม่อมมณีตั้งครรภ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาพระราชทานนาม ศักดิเดชน์ จากพระนามาภิไธย ประชาธิปกศักดิเดชน์ เพื่อใช้เป็นชื่อราชสกุล แต่ทางรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม และคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ รัชกาลที่ 8 ได้คัดค้านว่าพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต อยู่ในราชสกุล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา อยู่แล้ว (โดยมีเหตุผลเกี่ยวกับสิทธิ์ในการสืบสันตติวงศ์ และเรื่องอื่น ๆ ที่สืบเนื่องจากสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว) ด้วยเหตุนี้จึงใช้ชื่อสกุลว่า ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา แทน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต มีพระโอรส 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์เดชนศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (พ.ศ. 2482) สมรสกับสมคิด ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา มีบุตรหนึ่งคน1. หม่อมหลวงศักดิเดชน์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ 2. หม่อมราชวงศ์ทินศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (เมษายน พ.ศ. 2485) สมรสครั้งที่สองกับศิริกาญจน์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศรีกาญจนา) มีบุตรสองคน และบุตรบุญธรรมหนึ่งคน1. ศีกัญญา ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ (บุตรจากการสมรสครั้งแรกของศิริกาญจน์) 2. หม่อมหลวงศรุศักดิ์ ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์ 3. หม่อมหลวงศิริณี ศักดิเดชน์ ภาณุพันธ์สิ้นพระชนม์ สิ้นพระชนม์. ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ทรงสมัครเข้าร่วมกับกองทัพอังกฤษเป็นนักบินของหน่วยงาน A.T.A. (Air Transport Auxiliary) ซึ่งเป็นหน่วยขนส่งทางอากาศของกองทัพอังกฤษ เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2485 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ทรงขับเครื่องบินเพื่อนำไปส่งที่ท่าเรือ เกิดหมอกลงจัด ทรงขับเครื่องบินชนภูเขา สิ้นพระชนม์ขณะพระชันษาได้ 25 ปี ภายหลังจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต สิ้นพระชนม์ได้ 6 เดือน หม่อมมณี ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา ก็ได้สมรสใหม่กับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ ซึ่งเป็นพระเชษฐาแท้ๆของพระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต และมีพระธิดา คือ หม่อมราชวงศ์อรมณี ภาณุพันธุ์ แต่ก็หย่าร้างกันในปี พ.ศ. 2493 ต่อมาได้สมรสกับนายแพทย์ปชา สิริวรสาร และได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้า เป็น คุณหญิงมณี สิริวรสาร เมื่อ พ.ศ. 2532 และเสียชีวิตเมื่อต้นเดือนตุลาคม พ.ศ. 2542
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ประสูติในเดือนอะไร | {
"answer": [
"กันยายน"
],
"answer_begin_position": [
208
],
"answer_end_position": [
215
]
} |
811 | 630,062 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าชิด พนมวัน ทรงประสูติเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2362 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร ที่ประสูติแต่หม่อมน่วม พนมวัน ณ อยุธยา และในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2395 ได้รับสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ ทรงมีพระภคินีและพระอนุชาร่วมพระบิดา ตามลำดับต่อไปนี้- หม่อมเจ้าหญิงนารี พนมวัน - หม่อมเจ้าหญิงประดับ พนมวัน - หม่อมเจ้าหญิงสำอาง พนมวัน - หม่อมเจ้าไม่ปรากฏพระนาม - หม่อมเจ้าชายไม่ปรากฏพระนาม - หม่อมเจ้าหญิงประไภย พนมวัน (ไม่มีข้อมูล - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2444) - หม่อมเจ้าชายชิด พนมวัน (พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์) (21 มกราคม พ.ศ. 2362 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2422) - หม่อมเจ้าหญิงเลียบ พนมวัน พระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ - หม่อมเจ้าชายนพคุณ พนมวัน - ฟม่อมเจ้าชายยินดี พนมวัน - หม่อมเจ้าชายปรีดา พนมวัน - หม่อมเจ้าชายเจียก พนมวัน(ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2449) ในปี พ.ศ. 2404 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯ ให้พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์เป็นแม่กองในการดูแลก่อสร้างพระตำหนักและพลับพลา ที่ประทับในวังจันทรเกษม และได้เสด็จฯ มาประทับที่พระราชวังนี้อยู่หลายครั้ง หมู่อาคารและพลับพลาที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 มีดังนี้1. พลับพลาจัตุรมุข อาคารเครื่องไม้ที่สร้างขึ้นบนฐานพระที่นั่งองค์เดิม บริเวณประตูทิศเหนือ 2. หมู่อาคารพระที่นั่งพิมานรัตยา เป็นหมู่ตึกกลางพระราชวัง 3. พระที่นั่งพิสัยศัลลักษณ์ (หอส่องกล้อง) อยู่ริมกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ 4. โรงละคร อยู่บริเวณด้านหน้าพลับพลาจัตุรมุข 5. ห้องเครื่อง อยู่ทางด้านทิศใต้ของหมู่อาคารพระที่นั่งพิมานรัตยา 6. ตึกโรงม้าพระที่นั่ง อยู่ริมกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ภายหลังที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรสิ้นพระชนม์ พระองค์ได้ครองวังท้ายหับเผย ซึ่งเป็นวังของกรมพระพิพิธโภคภูเบนทรต่อมา พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2422 พระชันษา 60 ปี โดยทรงได้รับพระราชทานเพลิงศพ ที่ วัดสระเกศ ในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2423
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ หรือพระนามเดิมคืออะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าชิด พนมวัน"
],
"answer_begin_position": [
200
],
"answer_end_position": [
219
]
} |
1,708 | 630,062 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าชิด พนมวัน ทรงประสูติเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2362 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร ที่ประสูติแต่หม่อมน่วม พนมวัน ณ อยุธยา และในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2395 ได้รับสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ ทรงมีพระภคินีและพระอนุชาร่วมพระบิดา ตามลำดับต่อไปนี้- หม่อมเจ้าหญิงนารี พนมวัน - หม่อมเจ้าหญิงประดับ พนมวัน - หม่อมเจ้าหญิงสำอาง พนมวัน - หม่อมเจ้าไม่ปรากฏพระนาม - หม่อมเจ้าชายไม่ปรากฏพระนาม - หม่อมเจ้าหญิงประไภย พนมวัน (ไม่มีข้อมูล - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2444) - หม่อมเจ้าชายชิด พนมวัน (พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์) (21 มกราคม พ.ศ. 2362 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2422) - หม่อมเจ้าหญิงเลียบ พนมวัน พระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ - หม่อมเจ้าชายนพคุณ พนมวัน - ฟม่อมเจ้าชายยินดี พนมวัน - หม่อมเจ้าชายปรีดา พนมวัน - หม่อมเจ้าชายเจียก พนมวัน(ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2449) ในปี พ.ศ. 2404 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯ ให้พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์เป็นแม่กองในการดูแลก่อสร้างพระตำหนักและพลับพลา ที่ประทับในวังจันทรเกษม และได้เสด็จฯ มาประทับที่พระราชวังนี้อยู่หลายครั้ง หมู่อาคารและพลับพลาที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 มีดังนี้1. พลับพลาจัตุรมุข อาคารเครื่องไม้ที่สร้างขึ้นบนฐานพระที่นั่งองค์เดิม บริเวณประตูทิศเหนือ 2. หมู่อาคารพระที่นั่งพิมานรัตยา เป็นหมู่ตึกกลางพระราชวัง 3. พระที่นั่งพิสัยศัลลักษณ์ (หอส่องกล้อง) อยู่ริมกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ 4. โรงละคร อยู่บริเวณด้านหน้าพลับพลาจัตุรมุข 5. ห้องเครื่อง อยู่ทางด้านทิศใต้ของหมู่อาคารพระที่นั่งพิมานรัตยา 6. ตึกโรงม้าพระที่นั่ง อยู่ริมกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ภายหลังที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรสิ้นพระชนม์ พระองค์ได้ครองวังท้ายหับเผย ซึ่งเป็นวังของกรมพระพิพิธโภคภูเบนทรต่อมา พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2422 พระชันษา 60 ปี โดยทรงได้รับพระราชทานเพลิงศพ ที่ วัดสระเกศ ในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2423
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"21"
],
"answer_begin_position": [
1996
],
"answer_end_position": [
1998
]
} |
1,801 | 630,062 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าชิด พนมวัน ทรงประสูติเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2362 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร ที่ประสูติแต่หม่อมน่วม พนมวัน ณ อยุธยา และในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2395 ได้รับสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ ทรงมีพระภคินีและพระอนุชาร่วมพระบิดา ตามลำดับต่อไปนี้- หม่อมเจ้าหญิงนารี พนมวัน - หม่อมเจ้าหญิงประดับ พนมวัน - หม่อมเจ้าหญิงสำอาง พนมวัน - หม่อมเจ้าไม่ปรากฏพระนาม - หม่อมเจ้าชายไม่ปรากฏพระนาม - หม่อมเจ้าหญิงประไภย พนมวัน (ไม่มีข้อมูล - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2444) - หม่อมเจ้าชายชิด พนมวัน (พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์) (21 มกราคม พ.ศ. 2362 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2422) - หม่อมเจ้าหญิงเลียบ พนมวัน พระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ - หม่อมเจ้าชายนพคุณ พนมวัน - ฟม่อมเจ้าชายยินดี พนมวัน - หม่อมเจ้าชายปรีดา พนมวัน - หม่อมเจ้าชายเจียก พนมวัน(ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2449) ในปี พ.ศ. 2404 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯ ให้พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์เป็นแม่กองในการดูแลก่อสร้างพระตำหนักและพลับพลา ที่ประทับในวังจันทรเกษม และได้เสด็จฯ มาประทับที่พระราชวังนี้อยู่หลายครั้ง หมู่อาคารและพลับพลาที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 มีดังนี้1. พลับพลาจัตุรมุข อาคารเครื่องไม้ที่สร้างขึ้นบนฐานพระที่นั่งองค์เดิม บริเวณประตูทิศเหนือ 2. หมู่อาคารพระที่นั่งพิมานรัตยา เป็นหมู่ตึกกลางพระราชวัง 3. พระที่นั่งพิสัยศัลลักษณ์ (หอส่องกล้อง) อยู่ริมกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ 4. โรงละคร อยู่บริเวณด้านหน้าพลับพลาจัตุรมุข 5. ห้องเครื่อง อยู่ทางด้านทิศใต้ของหมู่อาคารพระที่นั่งพิมานรัตยา 6. ตึกโรงม้าพระที่นั่ง อยู่ริมกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ภายหลังที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรสิ้นพระชนม์ พระองค์ได้ครองวังท้ายหับเผย ซึ่งเป็นวังของกรมพระพิพิธโภคภูเบนทรต่อมา พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2422 พระชันษา 60 ปี โดยทรงได้รับพระราชทานเพลิงศพ ที่ วัดสระเกศ ในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2423
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าชิด พนมวัน ทรงประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"21"
],
"answer_begin_position": [
242
],
"answer_end_position": [
244
]
} |
1,802 | 630,062 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าชิด พนมวัน ทรงประสูติเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2362 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร ที่ประสูติแต่หม่อมน่วม พนมวัน ณ อยุธยา และในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2395 ได้รับสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ ทรงมีพระภคินีและพระอนุชาร่วมพระบิดา ตามลำดับต่อไปนี้- หม่อมเจ้าหญิงนารี พนมวัน - หม่อมเจ้าหญิงประดับ พนมวัน - หม่อมเจ้าหญิงสำอาง พนมวัน - หม่อมเจ้าไม่ปรากฏพระนาม - หม่อมเจ้าชายไม่ปรากฏพระนาม - หม่อมเจ้าหญิงประไภย พนมวัน (ไม่มีข้อมูล - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2444) - หม่อมเจ้าชายชิด พนมวัน (พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์) (21 มกราคม พ.ศ. 2362 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2422) - หม่อมเจ้าหญิงเลียบ พนมวัน พระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ - หม่อมเจ้าชายนพคุณ พนมวัน - ฟม่อมเจ้าชายยินดี พนมวัน - หม่อมเจ้าชายปรีดา พนมวัน - หม่อมเจ้าชายเจียก พนมวัน(ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2449) ในปี พ.ศ. 2404 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯ ให้พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์เป็นแม่กองในการดูแลก่อสร้างพระตำหนักและพลับพลา ที่ประทับในวังจันทรเกษม และได้เสด็จฯ มาประทับที่พระราชวังนี้อยู่หลายครั้ง หมู่อาคารและพลับพลาที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 มีดังนี้1. พลับพลาจัตุรมุข อาคารเครื่องไม้ที่สร้างขึ้นบนฐานพระที่นั่งองค์เดิม บริเวณประตูทิศเหนือ 2. หมู่อาคารพระที่นั่งพิมานรัตยา เป็นหมู่ตึกกลางพระราชวัง 3. พระที่นั่งพิสัยศัลลักษณ์ (หอส่องกล้อง) อยู่ริมกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ 4. โรงละคร อยู่บริเวณด้านหน้าพลับพลาจัตุรมุข 5. ห้องเครื่อง อยู่ทางด้านทิศใต้ของหมู่อาคารพระที่นั่งพิมานรัตยา 6. ตึกโรงม้าพระที่นั่ง อยู่ริมกำแพงด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ภายหลังที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรสิ้นพระชนม์ พระองค์ได้ครองวังท้ายหับเผย ซึ่งเป็นวังของกรมพระพิพิธโภคภูเบนทรต่อมา พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2422 พระชันษา 60 ปี โดยทรงได้รับพระราชทานเพลิงศพ ที่ วัดสระเกศ ในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2423
| มารดาของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชิดเชื้อพงศ์ หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าชิด พนมวัน คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมน่วม พนมวัน ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
346
],
"answer_end_position": [
371
]
} |
812 | 179,218 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับหม่อมเอม จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2421 เมื่อแรกประสูติมีพระสกุลยศเป็นหม่อมเจ้า สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี ทรงขอมาเลี้ยงดูด้วยกันกับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ตั้งแต่ทรงเจริญพระชันษาได้ 6 ปี วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2435 หม่อมเจ้าดนัยวรนุชได้ผนวชเป็นสามเณร ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วเสด็จไปประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร จนถึงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2435 จึงลาผนวช และวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2447 ได้ผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระญาณวราภรณ์ (ม.ร.ว. ชื่น สุจิตฺโต) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร หม่อมเจ้าดนัยวรนุชสิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 สิริรวมพระชันษา 35 ปี ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470พระโอรสและพระธิดา พระโอรสและพระธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช เสกสมรสกับหม่อมลิ้นจี่ (10 ตุลาคม พ.ศ. 2432 - 6 มกราคม พ.ศ. 2522) ธิดาของพระยาสารสินสวามิภักดิ์ (เทียนฮี้ สารสิน) มีพระโอรสและพระธิดา 2 คน ได้แก่- หม่อมราชวงศ์ภาคินัย จักรพันธุ์ (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 - 18 ตุลาคม พ.ศ. 2527) สมรสกับทองเจือ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา (ถึงแก่กรรมวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 - หม่อมราชวงศ์มาลัยพรรณ จักรพันธุ์ (13 สิงหาคม พ.ศ. 2451 - 23 มิถุนายน พ.ศ. 2545) สมรสกับหม่อมราชวงศ์พงศ์พรหม จักรพันธุ์ (โอรสในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์) และหย่าในเวลาต่อมาพระอิสริยยศพระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าดนัยวรนุช (พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พ.ศ. 2470 สถาปนาหลังสิ้นพระชนม์)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นภูษณาภรณ์ - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 3 (ว.ป.ร.๓)ราชตระกูล
| หม่อมเจ้าดนัยวรนุชได้ผนวชเป็นสามเณร ณ พระอุโบสถ วัดอะไร | {
"answer": [
"วัดพระศรีรัตนศาสดาราม"
],
"answer_begin_position": [
632
],
"answer_end_position": [
653
]
} |
813 | 179,218 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับหม่อมเอม จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2421 เมื่อแรกประสูติมีพระสกุลยศเป็นหม่อมเจ้า สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี ทรงขอมาเลี้ยงดูด้วยกันกับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ตั้งแต่ทรงเจริญพระชันษาได้ 6 ปี วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2435 หม่อมเจ้าดนัยวรนุชได้ผนวชเป็นสามเณร ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วเสด็จไปประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร จนถึงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2435 จึงลาผนวช และวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2447 ได้ผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระญาณวราภรณ์ (ม.ร.ว. ชื่น สุจิตฺโต) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร หม่อมเจ้าดนัยวรนุชสิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 สิริรวมพระชันษา 35 ปี ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470พระโอรสและพระธิดา พระโอรสและพระธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช เสกสมรสกับหม่อมลิ้นจี่ (10 ตุลาคม พ.ศ. 2432 - 6 มกราคม พ.ศ. 2522) ธิดาของพระยาสารสินสวามิภักดิ์ (เทียนฮี้ สารสิน) มีพระโอรสและพระธิดา 2 คน ได้แก่- หม่อมราชวงศ์ภาคินัย จักรพันธุ์ (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 - 18 ตุลาคม พ.ศ. 2527) สมรสกับทองเจือ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา (ถึงแก่กรรมวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 - หม่อมราชวงศ์มาลัยพรรณ จักรพันธุ์ (13 สิงหาคม พ.ศ. 2451 - 23 มิถุนายน พ.ศ. 2545) สมรสกับหม่อมราชวงศ์พงศ์พรหม จักรพันธุ์ (โอรสในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์) และหย่าในเวลาต่อมาพระอิสริยยศพระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าดนัยวรนุช (พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พ.ศ. 2470 สถาปนาหลังสิ้นพระชนม์)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นภูษณาภรณ์ - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 3 (ว.ป.ร.๓)ราชตระกูล
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช เสกสมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"หม่อมลิ้นจี่"
],
"answer_begin_position": [
1391
],
"answer_end_position": [
1403
]
} |
1,824 | 179,218 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับหม่อมเอม จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2421 เมื่อแรกประสูติมีพระสกุลยศเป็นหม่อมเจ้า สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี ทรงขอมาเลี้ยงดูด้วยกันกับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ตั้งแต่ทรงเจริญพระชันษาได้ 6 ปี วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2435 หม่อมเจ้าดนัยวรนุชได้ผนวชเป็นสามเณร ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วเสด็จไปประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร จนถึงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2435 จึงลาผนวช และวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2447 ได้ผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระญาณวราภรณ์ (ม.ร.ว. ชื่น สุจิตฺโต) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร หม่อมเจ้าดนัยวรนุชสิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 สิริรวมพระชันษา 35 ปี ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470พระโอรสและพระธิดา พระโอรสและพระธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช เสกสมรสกับหม่อมลิ้นจี่ (10 ตุลาคม พ.ศ. 2432 - 6 มกราคม พ.ศ. 2522) ธิดาของพระยาสารสินสวามิภักดิ์ (เทียนฮี้ สารสิน) มีพระโอรสและพระธิดา 2 คน ได้แก่- หม่อมราชวงศ์ภาคินัย จักรพันธุ์ (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 - 18 ตุลาคม พ.ศ. 2527) สมรสกับทองเจือ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา (ถึงแก่กรรมวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 - หม่อมราชวงศ์มาลัยพรรณ จักรพันธุ์ (13 สิงหาคม พ.ศ. 2451 - 23 มิถุนายน พ.ศ. 2545) สมรสกับหม่อมราชวงศ์พงศ์พรหม จักรพันธุ์ (โอรสในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์) และหย่าในเวลาต่อมาพระอิสริยยศพระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าดนัยวรนุช (พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พ.ศ. 2470 สถาปนาหลังสิ้นพระชนม์)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นภูษณาภรณ์ - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 3 (ว.ป.ร.๓)ราชตระกูล
| มารดาของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมเอม จักรพันธุ์"
],
"answer_begin_position": [
301
],
"answer_end_position": [
320
]
} |
1,825 | 179,218 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับหม่อมเอม จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2421 เมื่อแรกประสูติมีพระสกุลยศเป็นหม่อมเจ้า สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี ทรงขอมาเลี้ยงดูด้วยกันกับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ตั้งแต่ทรงเจริญพระชันษาได้ 6 ปี วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2435 หม่อมเจ้าดนัยวรนุชได้ผนวชเป็นสามเณร ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วเสด็จไปประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร จนถึงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2435 จึงลาผนวช และวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2447 ได้ผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระญาณวราภรณ์ (ม.ร.ว. ชื่น สุจิตฺโต) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร หม่อมเจ้าดนัยวรนุชสิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 สิริรวมพระชันษา 35 ปี ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470พระโอรสและพระธิดา พระโอรสและพระธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช เสกสมรสกับหม่อมลิ้นจี่ (10 ตุลาคม พ.ศ. 2432 - 6 มกราคม พ.ศ. 2522) ธิดาของพระยาสารสินสวามิภักดิ์ (เทียนฮี้ สารสิน) มีพระโอรสและพระธิดา 2 คน ได้แก่- หม่อมราชวงศ์ภาคินัย จักรพันธุ์ (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 - 18 ตุลาคม พ.ศ. 2527) สมรสกับทองเจือ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา (ถึงแก่กรรมวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 - หม่อมราชวงศ์มาลัยพรรณ จักรพันธุ์ (13 สิงหาคม พ.ศ. 2451 - 23 มิถุนายน พ.ศ. 2545) สมรสกับหม่อมราชวงศ์พงศ์พรหม จักรพันธุ์ (โอรสในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์) และหย่าในเวลาต่อมาพระอิสริยยศพระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าดนัยวรนุช (พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พ.ศ. 2470 สถาปนาหลังสิ้นพระชนม์)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นภูษณาภรณ์ - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 3 (ว.ป.ร.๓)ราชตระกูล
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช เสกสมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"หม่อมลิ้นจี่"
],
"answer_begin_position": [
1391
],
"answer_end_position": [
1403
]
} |
814 | 179,217 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ (17 เมษายน พ.ศ. 2423 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) อดีตเจ้ากรมบัญชาการกรมราชเลขาธิการพระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่าหม่อมเจ้าดรุณไวยวัฒน์ เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ กับหม่อมจีบ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2423 ทรงศึกษาที่โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ทรงงานที่กรมราชเลขาธิการ จนได้เลื่อนชั้นเป็นเจ้ากรมบัญชาการ เทียบเท่าอธิบดี เมื่อ พ.ศ. 2443 วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถวันพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ ผนวชแล้วไปอยู่วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ดำรงตำแหน่งสัสดีเสือป่า ต่อมาได้รับพระราชทานยศเป็นนายกองเสือป่า และในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 ได้รับโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ ทรงศักดินา 3,000 และโปรดเกล้าฯ ตั้งเป็นองคมนตรีสองครั้ง คือวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2458 และ พ.ศ. 2468 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 สิริพระชันษา พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาสเครื่องราชอิสริยาภรณ์ราชตระกูล
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าดรุณไวยวัฒน์"
],
"answer_begin_position": [
353
],
"answer_end_position": [
374
]
} |
1,646 | 179,217 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ (17 เมษายน พ.ศ. 2423 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) อดีตเจ้ากรมบัญชาการกรมราชเลขาธิการพระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่าหม่อมเจ้าดรุณไวยวัฒน์ เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ กับหม่อมจีบ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2423 ทรงศึกษาที่โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ทรงงานที่กรมราชเลขาธิการ จนได้เลื่อนชั้นเป็นเจ้ากรมบัญชาการ เทียบเท่าอธิบดี เมื่อ พ.ศ. 2443 วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถวันพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ ผนวชแล้วไปอยู่วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ดำรงตำแหน่งสัสดีเสือป่า ต่อมาได้รับพระราชทานยศเป็นนายกองเสือป่า และในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 ได้รับโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ ทรงศักดินา 3,000 และโปรดเกล้าฯ ตั้งเป็นองคมนตรีสองครั้ง คือวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2458 และ พ.ศ. 2468 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 สิริพระชันษา พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาสเครื่องราชอิสริยาภรณ์ราชตระกูล
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"24"
],
"answer_begin_position": [
1209
],
"answer_end_position": [
1211
]
} |
1,839 | 179,217 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ (17 เมษายน พ.ศ. 2423 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) อดีตเจ้ากรมบัญชาการกรมราชเลขาธิการพระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่าหม่อมเจ้าดรุณไวยวัฒน์ เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ กับหม่อมจีบ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2423 ทรงศึกษาที่โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ทรงงานที่กรมราชเลขาธิการ จนได้เลื่อนชั้นเป็นเจ้ากรมบัญชาการ เทียบเท่าอธิบดี เมื่อ พ.ศ. 2443 วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถวันพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ ผนวชแล้วไปอยู่วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ดำรงตำแหน่งสัสดีเสือป่า ต่อมาได้รับพระราชทานยศเป็นนายกองเสือป่า และในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 ได้รับโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ ทรงศักดินา 3,000 และโปรดเกล้าฯ ตั้งเป็นองคมนตรีสองครั้ง คือวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2458 และ พ.ศ. 2468 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 สิริพระชันษา พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาสเครื่องราชอิสริยาภรณ์ราชตระกูล
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าดรุณไวยวัฒน์"
],
"answer_begin_position": [
353
],
"answer_end_position": [
374
]
} |
1,840 | 179,217 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ (17 เมษายน พ.ศ. 2423 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) อดีตเจ้ากรมบัญชาการกรมราชเลขาธิการพระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่าหม่อมเจ้าดรุณไวยวัฒน์ เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ กับหม่อมจีบ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2423 ทรงศึกษาที่โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ทรงงานที่กรมราชเลขาธิการ จนได้เลื่อนชั้นเป็นเจ้ากรมบัญชาการ เทียบเท่าอธิบดี เมื่อ พ.ศ. 2443 วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถวันพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ ผนวชแล้วไปอยู่วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ดำรงตำแหน่งสัสดีเสือป่า ต่อมาได้รับพระราชทานยศเป็นนายกองเสือป่า และในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 ได้รับโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ ทรงศักดินา 3,000 และโปรดเกล้าฯ ตั้งเป็นองคมนตรีสองครั้ง คือวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2458 และ พ.ศ. 2468 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 สิริพระชันษา พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาสเครื่องราชอิสริยาภรณ์ราชตระกูล
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดรุณวัยวัฒน์ ประสูติเมื่อวันอะไร | {
"answer": [
"เสาร์"
],
"answer_begin_position": [
500
],
"answer_end_position": [
505
]
} |
815 | 105,416 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (ประสูติ: 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — สิ้นพระชนม์: 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ที่ต่อมาได้เสกสมรสเป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ โดยเป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลที่ 8พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ เป็นพระธิดาองค์โตในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมเลี่ยม ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศุภสุทธิ์) สตรีชาวเพชรบุรี เมื่อแรกประสูติทรงฐานันดรศักดิ์เป็น หม่อมเจ้า พระบิดาทรงออกพระนามว่า หญิงทิพย์ ประสูติ ณ วังบูรพาภิรมย์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 ส่วนพระนาม หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ ภาณุพันธุ์ นั้นได้รับพระราชทานมาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งยังทรงมีความใกล้ชิดกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เพราะโปรดให้ตามเสด็จประพาสหัวเมืองด้วยเสมอพระจริยวัตร พระจริยวัตร. กล่าวกันว่า ท่านหญิงทิพย์เป็นกุลสตรีที่มีพระสิริโฉมงดงามและเพียบพร้อมไปด้วยคุณสมบัติที่ฝ่ายในพึงมี หลังการเกศากันต์ได้ไม่นานท่านหญิงทิพย์ก็ได้เข้าไปฝึกหัดอย่างชาววังในสำนักของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี ภายหลังการถึงแก่กรรมของหม่อมแม้นในปี พ.ศ. 2439 ท่านหญิงได้ทำหน้าที่เป็นแม่บ้านแม่เรือน ดูแลความเรียบร้อยของวังบูรพาภิรมย์แทน เมื่อครั้งที่พระบิดาประชวรหนักในวันที่ 15 เมษายน ถึงวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 ท่านหญิงซึ่งขณะนั้นได้เสกสมรสและย้ายมาประทับที่วังนางเลิ้งแล้ว ได้ทูลลาพระสวามีมาประทับที่วังบูรพาภิรมย์เพื่อเฝ้าปฐมพยาบาลบิดาโดยมิได้พักผ่อน ทำให้พระวรกายอ่อนแอลงหลังจากนั้น จึงถือว่าท่านหญิงเป็นพระธิดาคู่ทุกข์คู่ยากของพระบิดาโดยแท้จริง จากความผูกพันดังกล่าวทำให้พระบิดามีพระเมตตาต่อท่านหญิงมากเป็นพิเศษ ดังคำกล่าวของพระบิดา ซึ่งได้กล่าวถึงท่านหญิงในลายพระหัตถ์กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องพิธีเกศากันต์ ลงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2439 ตอนหนึ่ง ความว่า "ส่วนหญิงทิพย์นั้นถึงแม้ว่าจะเปนลูกเมียน้อยก็จริงอยู่ แต่ก็เปนผู้ที่ข้าพระพุทธเจ้ารักใคร่ในตัวเด็กมาก เพราะเปนบุตรหญิงใหญ่ แลเปนเด็กฉลาดแลประพฤติดี อันได้กระทำให้สมใจข้าพระพุทธเจ้า ผู้เปนบิดาอยู่ทุกประการ"เสกสมรส เสกสมรส. หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ อภิเษกสมรสกับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ กรุณาพระราชทานน้ำสังข์ในพิธีอภิเษกสมรส ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง ในตอนค่ำวันเดียวกันนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย และเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ ออกไปส่งตัวท่านหญิงที่วังนางเลิ้ง อันเป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานเป็นที่ประทับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ มีพระโอรส 3 พระองค์ คือ1. หม่อมเจ้าเกียรติ อาภากร ประสูติและสิ้นชีพิตักษัยในวันเดียวกัน ประมาณปี พ.ศ. 2446 2. หม่อมเจ้าอาทิตย์ทิพอาภา อาภากร (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2489) ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น พระหลานเธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภา, พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เสกสมรสกับหม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม วิเศษกุล) ไม่มีพระทายาท 3. หม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2449 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2508) เสกสมรสกับหม่อมราชวงศ์ไพเราะ กฤดากร มีธิดา 2 คนสิ้นชีพิตักษัย สิ้นชีพิตักษัย. ขณะที่หม่อมเจ้ารังษิยากร พระโอรสองค์เล็กมีพระชนมายุได้เพียง 1 พรรษา ก็เกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น เมื่อหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ได้เสวยยาพิษปลงพระชนม์ เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451 และได้สิ้นชีพิตักษัยเวลา 10.50 นาฬิกา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงบันทึกไว้ในจดหมายราชกิจรายวัน มีความบางตอนเกี่ยวกับการสิ้นชีพิตักษัยของท่านหญิงทิพย์ ความว่า "วันนี้เวลาเช้า ๕ โมงเศษ หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ในกรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์สิ้นชีพตักไษยเพราะเสวยยาพิศม์ เวลาค่ำโปรดให้กรมขุนสมมุต [พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมติอมรพันธุ์] เสด็จไปเยี่ยมสมเด็จกรมพระ [สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระภาณุพันธุวงศ์วรเดช] แลในเวลาค่ำวันนี้ได้มีการรดน้ำแลแต่งศพเหมือนอย่างที่ไว้ที่บ้าน แล้วแห่ศพไปฝัง ณ สุสานวัดเทพศิรินธร์ พระราชทานกลองชนะ ๑๐ จ่าปี ๑ ฉัตร เบ็ญจา ๑๒ คัน..." ต่อมาในวันที่ 27 พฤศจิกายน รัตนโกสินทร์ศก 127 (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452) สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชได้ทูลเกล้าฯ ถวายลายพระหัตถ์พร้อมร่างกำหนดการแก่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานพระราชทานเพลิงพระศพหม่อมแม้น, พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช และหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ในคราวเดียวกันที่วัดเทพศิรินทราวาส ความว่า "ภายหลังที่ได้รับศพชายเล็ก [พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช] มาถึงวันนี้แล้ว ไม้ช้าวันนัก ข้าพระพุทธเจ้าก็ได้รับความทุกข์โทมนัสซ้ำเติมขึ้นอีกอย่างหนึ่ง กล่าวคือหญิงทิพย์ต้องมาเปนอันตรายไป แลหญิงทิพย์ก็ได้มีความประสงค์แลสั่งไว้ให้ช่วยจัดการรีบเผาศพ เสียอย่าให้ล่วงเกินปีหนึ่งไปด้วย..." แต่เมื่อได้รับลายพระหัตถ์แล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงไม่เห็นด้วย ด้วยทรงวิตกเกี่ยวกับพระพลานามัยของพระอนุชาที่กำลังทรุดโทรมเพราะตรอมพระทัยจากการสูญเสียพระโอรสธิดาในเวลาไล่เลี่ยกัน จึงพระราชทานพระราชกระแสไม่เห็นด้วย ปรากฏในพระราชหัตถเลขาลงวันที่ 1 ธันวาคม รัตนโกสินทรศก ความว่า "ถึงท่านเล็ก ฉันได้รับหนังสือขอกำหนดการที่จะทำการเผาศพเริ่มงานตั้งแต่ ๒ มกราคมนั้น จะเปนงานติดต่อกันไปถึง ๑๒ วัน เหนว่าในเดือนมกราคม ตั้งแต่ต้นเดือนก็เปนเวลามีงาน แลต่อไปก็คงมีการโกนจุก การศพแต่ก่อนมาก็เคยทำแต่ไม่เกินเดือน ๓ ซึ่งเปนเวลาแล้งแลว่างไม่มีการงาน ถ้าจะรีบเข้ามาทำในเดือน ๒ ก็เปนเวลาที่เธอเหน็จเหนื่อย ร่างกายทรุดโทรม เมื่อมีงานมากเช่นนี้ก็จะต้องเหน็จเหนื่อยมาก ทั้งงานก็เปนงานฝ่ายทุกข์โศก จะเปนเครื่องเตือนให้เกิดความทุกข์โศกประกอบขึ้นอีก..." เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชกระแสเช่นนั้น สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนภาณุพันธุวงศ์วรเดชต้องทรงน้อมรับ และเลื่อนงานพระศพออกไปในเดือนกุมภาพันธ์ โดยงานพระราชทานเพลิงได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2451 ซึ่งได้มีการขุดหลุมบรรจุพระศพขึ้นมา เพื่ออัญเชิญไปพระราชทานเพลิงพระศพ ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส ส่วนพิธีพระราชทานเพลิงพระศพก็ได้จัดขึ้นในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯ มาเป็นองค์ประธาน และวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ได้อัญเชิญพระสรีรังคารไปประดิษฐานที่อนุสาวรีย์ของราชสกุลภาณุพันธุ์หลังตึกแม้นนฤมิตร์ โรงเรียนเทพศิรินทร์ ส่วนพระอัฐินั้นได้อัญเชิญไปตั้งไว้ในวังนางเลิ้งของพระสวามี หลังการสิ้นพระชนม์สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนภาณุพันธุวงศ์วรเดช ผู้เป็นบิดา ได้นิพนธ์กลอนขึ้นมาบทหนึ่ง จากการที่ทรงเศร้าเสียพระทัยในการสูญเสียพระธิดาอันเป็นที่รัก ความว่า ภายหลังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอัฐิเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ แม้สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช จะไม่สามารถลืมความสูญเสียครั้งนี้ได้ แต่ด้วยทรงร่วมงานกระทรวงทหารเรือกับกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์โดยไม่คำนึงถึงเหตุการณ์ในอดีต ด้วยทรงตระหนักดีถึงความเจริญก้าวหน้าของประเทศ พระองค์จึงได้ให้การสนับสนุนพระดำริของกรมหลวงชุมพรฯ ในฐานะที่ทรงเป็นเสนาธิการทหารเรือเสมอมาพระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ ภาณุพันธุ์ (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443) - หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ อาภากร (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 — 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (สถาปนาพระอัฐิ)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.)พงศาวลี
| หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ อภิเษกสมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์"
],
"answer_begin_position": [
2382
],
"answer_end_position": [
2454
]
} |
1,624 | 105,416 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (ประสูติ: 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — สิ้นพระชนม์: 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ที่ต่อมาได้เสกสมรสเป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ โดยเป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลที่ 8พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ เป็นพระธิดาองค์โตในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมเลี่ยม ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศุภสุทธิ์) สตรีชาวเพชรบุรี เมื่อแรกประสูติทรงฐานันดรศักดิ์เป็น หม่อมเจ้า พระบิดาทรงออกพระนามว่า หญิงทิพย์ ประสูติ ณ วังบูรพาภิรมย์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 ส่วนพระนาม หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ ภาณุพันธุ์ นั้นได้รับพระราชทานมาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งยังทรงมีความใกล้ชิดกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เพราะโปรดให้ตามเสด็จประพาสหัวเมืองด้วยเสมอพระจริยวัตร พระจริยวัตร. กล่าวกันว่า ท่านหญิงทิพย์เป็นกุลสตรีที่มีพระสิริโฉมงดงามและเพียบพร้อมไปด้วยคุณสมบัติที่ฝ่ายในพึงมี หลังการเกศากันต์ได้ไม่นานท่านหญิงทิพย์ก็ได้เข้าไปฝึกหัดอย่างชาววังในสำนักของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี ภายหลังการถึงแก่กรรมของหม่อมแม้นในปี พ.ศ. 2439 ท่านหญิงได้ทำหน้าที่เป็นแม่บ้านแม่เรือน ดูแลความเรียบร้อยของวังบูรพาภิรมย์แทน เมื่อครั้งที่พระบิดาประชวรหนักในวันที่ 15 เมษายน ถึงวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 ท่านหญิงซึ่งขณะนั้นได้เสกสมรสและย้ายมาประทับที่วังนางเลิ้งแล้ว ได้ทูลลาพระสวามีมาประทับที่วังบูรพาภิรมย์เพื่อเฝ้าปฐมพยาบาลบิดาโดยมิได้พักผ่อน ทำให้พระวรกายอ่อนแอลงหลังจากนั้น จึงถือว่าท่านหญิงเป็นพระธิดาคู่ทุกข์คู่ยากของพระบิดาโดยแท้จริง จากความผูกพันดังกล่าวทำให้พระบิดามีพระเมตตาต่อท่านหญิงมากเป็นพิเศษ ดังคำกล่าวของพระบิดา ซึ่งได้กล่าวถึงท่านหญิงในลายพระหัตถ์กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องพิธีเกศากันต์ ลงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2439 ตอนหนึ่ง ความว่า "ส่วนหญิงทิพย์นั้นถึงแม้ว่าจะเปนลูกเมียน้อยก็จริงอยู่ แต่ก็เปนผู้ที่ข้าพระพุทธเจ้ารักใคร่ในตัวเด็กมาก เพราะเปนบุตรหญิงใหญ่ แลเปนเด็กฉลาดแลประพฤติดี อันได้กระทำให้สมใจข้าพระพุทธเจ้า ผู้เปนบิดาอยู่ทุกประการ"เสกสมรส เสกสมรส. หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ อภิเษกสมรสกับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ กรุณาพระราชทานน้ำสังข์ในพิธีอภิเษกสมรส ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง ในตอนค่ำวันเดียวกันนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย และเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ ออกไปส่งตัวท่านหญิงที่วังนางเลิ้ง อันเป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานเป็นที่ประทับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ มีพระโอรส 3 พระองค์ คือ1. หม่อมเจ้าเกียรติ อาภากร ประสูติและสิ้นชีพิตักษัยในวันเดียวกัน ประมาณปี พ.ศ. 2446 2. หม่อมเจ้าอาทิตย์ทิพอาภา อาภากร (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2489) ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น พระหลานเธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภา, พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เสกสมรสกับหม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม วิเศษกุล) ไม่มีพระทายาท 3. หม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2449 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2508) เสกสมรสกับหม่อมราชวงศ์ไพเราะ กฤดากร มีธิดา 2 คนสิ้นชีพิตักษัย สิ้นชีพิตักษัย. ขณะที่หม่อมเจ้ารังษิยากร พระโอรสองค์เล็กมีพระชนมายุได้เพียง 1 พรรษา ก็เกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น เมื่อหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ได้เสวยยาพิษปลงพระชนม์ เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451 และได้สิ้นชีพิตักษัยเวลา 10.50 นาฬิกา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงบันทึกไว้ในจดหมายราชกิจรายวัน มีความบางตอนเกี่ยวกับการสิ้นชีพิตักษัยของท่านหญิงทิพย์ ความว่า "วันนี้เวลาเช้า ๕ โมงเศษ หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ในกรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์สิ้นชีพตักไษยเพราะเสวยยาพิศม์ เวลาค่ำโปรดให้กรมขุนสมมุต [พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมติอมรพันธุ์] เสด็จไปเยี่ยมสมเด็จกรมพระ [สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระภาณุพันธุวงศ์วรเดช] แลในเวลาค่ำวันนี้ได้มีการรดน้ำแลแต่งศพเหมือนอย่างที่ไว้ที่บ้าน แล้วแห่ศพไปฝัง ณ สุสานวัดเทพศิรินธร์ พระราชทานกลองชนะ ๑๐ จ่าปี ๑ ฉัตร เบ็ญจา ๑๒ คัน..." ต่อมาในวันที่ 27 พฤศจิกายน รัตนโกสินทร์ศก 127 (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452) สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชได้ทูลเกล้าฯ ถวายลายพระหัตถ์พร้อมร่างกำหนดการแก่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานพระราชทานเพลิงพระศพหม่อมแม้น, พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช และหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ในคราวเดียวกันที่วัดเทพศิรินทราวาส ความว่า "ภายหลังที่ได้รับศพชายเล็ก [พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช] มาถึงวันนี้แล้ว ไม้ช้าวันนัก ข้าพระพุทธเจ้าก็ได้รับความทุกข์โทมนัสซ้ำเติมขึ้นอีกอย่างหนึ่ง กล่าวคือหญิงทิพย์ต้องมาเปนอันตรายไป แลหญิงทิพย์ก็ได้มีความประสงค์แลสั่งไว้ให้ช่วยจัดการรีบเผาศพ เสียอย่าให้ล่วงเกินปีหนึ่งไปด้วย..." แต่เมื่อได้รับลายพระหัตถ์แล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงไม่เห็นด้วย ด้วยทรงวิตกเกี่ยวกับพระพลานามัยของพระอนุชาที่กำลังทรุดโทรมเพราะตรอมพระทัยจากการสูญเสียพระโอรสธิดาในเวลาไล่เลี่ยกัน จึงพระราชทานพระราชกระแสไม่เห็นด้วย ปรากฏในพระราชหัตถเลขาลงวันที่ 1 ธันวาคม รัตนโกสินทรศก ความว่า "ถึงท่านเล็ก ฉันได้รับหนังสือขอกำหนดการที่จะทำการเผาศพเริ่มงานตั้งแต่ ๒ มกราคมนั้น จะเปนงานติดต่อกันไปถึง ๑๒ วัน เหนว่าในเดือนมกราคม ตั้งแต่ต้นเดือนก็เปนเวลามีงาน แลต่อไปก็คงมีการโกนจุก การศพแต่ก่อนมาก็เคยทำแต่ไม่เกินเดือน ๓ ซึ่งเปนเวลาแล้งแลว่างไม่มีการงาน ถ้าจะรีบเข้ามาทำในเดือน ๒ ก็เปนเวลาที่เธอเหน็จเหนื่อย ร่างกายทรุดโทรม เมื่อมีงานมากเช่นนี้ก็จะต้องเหน็จเหนื่อยมาก ทั้งงานก็เปนงานฝ่ายทุกข์โศก จะเปนเครื่องเตือนให้เกิดความทุกข์โศกประกอบขึ้นอีก..." เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชกระแสเช่นนั้น สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนภาณุพันธุวงศ์วรเดชต้องทรงน้อมรับ และเลื่อนงานพระศพออกไปในเดือนกุมภาพันธ์ โดยงานพระราชทานเพลิงได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2451 ซึ่งได้มีการขุดหลุมบรรจุพระศพขึ้นมา เพื่ออัญเชิญไปพระราชทานเพลิงพระศพ ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส ส่วนพิธีพระราชทานเพลิงพระศพก็ได้จัดขึ้นในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯ มาเป็นองค์ประธาน และวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ได้อัญเชิญพระสรีรังคารไปประดิษฐานที่อนุสาวรีย์ของราชสกุลภาณุพันธุ์หลังตึกแม้นนฤมิตร์ โรงเรียนเทพศิรินทร์ ส่วนพระอัฐินั้นได้อัญเชิญไปตั้งไว้ในวังนางเลิ้งของพระสวามี หลังการสิ้นพระชนม์สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนภาณุพันธุวงศ์วรเดช ผู้เป็นบิดา ได้นิพนธ์กลอนขึ้นมาบทหนึ่ง จากการที่ทรงเศร้าเสียพระทัยในการสูญเสียพระธิดาอันเป็นที่รัก ความว่า ภายหลังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอัฐิเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ แม้สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช จะไม่สามารถลืมความสูญเสียครั้งนี้ได้ แต่ด้วยทรงร่วมงานกระทรวงทหารเรือกับกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์โดยไม่คำนึงถึงเหตุการณ์ในอดีต ด้วยทรงตระหนักดีถึงความเจริญก้าวหน้าของประเทศ พระองค์จึงได้ให้การสนับสนุนพระดำริของกรมหลวงชุมพรฯ ในฐานะที่ทรงเป็นเสนาธิการทหารเรือเสมอมาพระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ ภาณุพันธุ์ (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443) - หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ อาภากร (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 — 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (สถาปนาพระอัฐิ)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.)พงศาวลี
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"7"
],
"answer_begin_position": [
195
],
"answer_end_position": [
196
]
} |
1,833 | 105,416 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (ประสูติ: 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — สิ้นพระชนม์: 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ที่ต่อมาได้เสกสมรสเป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ โดยเป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลที่ 8พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ เป็นพระธิดาองค์โตในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมเลี่ยม ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศุภสุทธิ์) สตรีชาวเพชรบุรี เมื่อแรกประสูติทรงฐานันดรศักดิ์เป็น หม่อมเจ้า พระบิดาทรงออกพระนามว่า หญิงทิพย์ ประสูติ ณ วังบูรพาภิรมย์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 ส่วนพระนาม หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ ภาณุพันธุ์ นั้นได้รับพระราชทานมาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งยังทรงมีความใกล้ชิดกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เพราะโปรดให้ตามเสด็จประพาสหัวเมืองด้วยเสมอพระจริยวัตร พระจริยวัตร. กล่าวกันว่า ท่านหญิงทิพย์เป็นกุลสตรีที่มีพระสิริโฉมงดงามและเพียบพร้อมไปด้วยคุณสมบัติที่ฝ่ายในพึงมี หลังการเกศากันต์ได้ไม่นานท่านหญิงทิพย์ก็ได้เข้าไปฝึกหัดอย่างชาววังในสำนักของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี ภายหลังการถึงแก่กรรมของหม่อมแม้นในปี พ.ศ. 2439 ท่านหญิงได้ทำหน้าที่เป็นแม่บ้านแม่เรือน ดูแลความเรียบร้อยของวังบูรพาภิรมย์แทน เมื่อครั้งที่พระบิดาประชวรหนักในวันที่ 15 เมษายน ถึงวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 ท่านหญิงซึ่งขณะนั้นได้เสกสมรสและย้ายมาประทับที่วังนางเลิ้งแล้ว ได้ทูลลาพระสวามีมาประทับที่วังบูรพาภิรมย์เพื่อเฝ้าปฐมพยาบาลบิดาโดยมิได้พักผ่อน ทำให้พระวรกายอ่อนแอลงหลังจากนั้น จึงถือว่าท่านหญิงเป็นพระธิดาคู่ทุกข์คู่ยากของพระบิดาโดยแท้จริง จากความผูกพันดังกล่าวทำให้พระบิดามีพระเมตตาต่อท่านหญิงมากเป็นพิเศษ ดังคำกล่าวของพระบิดา ซึ่งได้กล่าวถึงท่านหญิงในลายพระหัตถ์กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องพิธีเกศากันต์ ลงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2439 ตอนหนึ่ง ความว่า "ส่วนหญิงทิพย์นั้นถึงแม้ว่าจะเปนลูกเมียน้อยก็จริงอยู่ แต่ก็เปนผู้ที่ข้าพระพุทธเจ้ารักใคร่ในตัวเด็กมาก เพราะเปนบุตรหญิงใหญ่ แลเปนเด็กฉลาดแลประพฤติดี อันได้กระทำให้สมใจข้าพระพุทธเจ้า ผู้เปนบิดาอยู่ทุกประการ"เสกสมรส เสกสมรส. หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ อภิเษกสมรสกับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ กรุณาพระราชทานน้ำสังข์ในพิธีอภิเษกสมรส ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง ในตอนค่ำวันเดียวกันนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย และเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ ออกไปส่งตัวท่านหญิงที่วังนางเลิ้ง อันเป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานเป็นที่ประทับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ มีพระโอรส 3 พระองค์ คือ1. หม่อมเจ้าเกียรติ อาภากร ประสูติและสิ้นชีพิตักษัยในวันเดียวกัน ประมาณปี พ.ศ. 2446 2. หม่อมเจ้าอาทิตย์ทิพอาภา อาภากร (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2489) ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น พระหลานเธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภา, พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เสกสมรสกับหม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม วิเศษกุล) ไม่มีพระทายาท 3. หม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2449 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2508) เสกสมรสกับหม่อมราชวงศ์ไพเราะ กฤดากร มีธิดา 2 คนสิ้นชีพิตักษัย สิ้นชีพิตักษัย. ขณะที่หม่อมเจ้ารังษิยากร พระโอรสองค์เล็กมีพระชนมายุได้เพียง 1 พรรษา ก็เกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น เมื่อหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ได้เสวยยาพิษปลงพระชนม์ เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451 และได้สิ้นชีพิตักษัยเวลา 10.50 นาฬิกา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงบันทึกไว้ในจดหมายราชกิจรายวัน มีความบางตอนเกี่ยวกับการสิ้นชีพิตักษัยของท่านหญิงทิพย์ ความว่า "วันนี้เวลาเช้า ๕ โมงเศษ หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ในกรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์สิ้นชีพตักไษยเพราะเสวยยาพิศม์ เวลาค่ำโปรดให้กรมขุนสมมุต [พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมติอมรพันธุ์] เสด็จไปเยี่ยมสมเด็จกรมพระ [สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระภาณุพันธุวงศ์วรเดช] แลในเวลาค่ำวันนี้ได้มีการรดน้ำแลแต่งศพเหมือนอย่างที่ไว้ที่บ้าน แล้วแห่ศพไปฝัง ณ สุสานวัดเทพศิรินธร์ พระราชทานกลองชนะ ๑๐ จ่าปี ๑ ฉัตร เบ็ญจา ๑๒ คัน..." ต่อมาในวันที่ 27 พฤศจิกายน รัตนโกสินทร์ศก 127 (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452) สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชได้ทูลเกล้าฯ ถวายลายพระหัตถ์พร้อมร่างกำหนดการแก่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานพระราชทานเพลิงพระศพหม่อมแม้น, พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช และหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ในคราวเดียวกันที่วัดเทพศิรินทราวาส ความว่า "ภายหลังที่ได้รับศพชายเล็ก [พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช] มาถึงวันนี้แล้ว ไม้ช้าวันนัก ข้าพระพุทธเจ้าก็ได้รับความทุกข์โทมนัสซ้ำเติมขึ้นอีกอย่างหนึ่ง กล่าวคือหญิงทิพย์ต้องมาเปนอันตรายไป แลหญิงทิพย์ก็ได้มีความประสงค์แลสั่งไว้ให้ช่วยจัดการรีบเผาศพ เสียอย่าให้ล่วงเกินปีหนึ่งไปด้วย..." แต่เมื่อได้รับลายพระหัตถ์แล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงไม่เห็นด้วย ด้วยทรงวิตกเกี่ยวกับพระพลานามัยของพระอนุชาที่กำลังทรุดโทรมเพราะตรอมพระทัยจากการสูญเสียพระโอรสธิดาในเวลาไล่เลี่ยกัน จึงพระราชทานพระราชกระแสไม่เห็นด้วย ปรากฏในพระราชหัตถเลขาลงวันที่ 1 ธันวาคม รัตนโกสินทรศก ความว่า "ถึงท่านเล็ก ฉันได้รับหนังสือขอกำหนดการที่จะทำการเผาศพเริ่มงานตั้งแต่ ๒ มกราคมนั้น จะเปนงานติดต่อกันไปถึง ๑๒ วัน เหนว่าในเดือนมกราคม ตั้งแต่ต้นเดือนก็เปนเวลามีงาน แลต่อไปก็คงมีการโกนจุก การศพแต่ก่อนมาก็เคยทำแต่ไม่เกินเดือน ๓ ซึ่งเปนเวลาแล้งแลว่างไม่มีการงาน ถ้าจะรีบเข้ามาทำในเดือน ๒ ก็เปนเวลาที่เธอเหน็จเหนื่อย ร่างกายทรุดโทรม เมื่อมีงานมากเช่นนี้ก็จะต้องเหน็จเหนื่อยมาก ทั้งงานก็เปนงานฝ่ายทุกข์โศก จะเปนเครื่องเตือนให้เกิดความทุกข์โศกประกอบขึ้นอีก..." เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชกระแสเช่นนั้น สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนภาณุพันธุวงศ์วรเดชต้องทรงน้อมรับ และเลื่อนงานพระศพออกไปในเดือนกุมภาพันธ์ โดยงานพระราชทานเพลิงได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2451 ซึ่งได้มีการขุดหลุมบรรจุพระศพขึ้นมา เพื่ออัญเชิญไปพระราชทานเพลิงพระศพ ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส ส่วนพิธีพระราชทานเพลิงพระศพก็ได้จัดขึ้นในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯ มาเป็นองค์ประธาน และวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ได้อัญเชิญพระสรีรังคารไปประดิษฐานที่อนุสาวรีย์ของราชสกุลภาณุพันธุ์หลังตึกแม้นนฤมิตร์ โรงเรียนเทพศิรินทร์ ส่วนพระอัฐินั้นได้อัญเชิญไปตั้งไว้ในวังนางเลิ้งของพระสวามี หลังการสิ้นพระชนม์สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนภาณุพันธุวงศ์วรเดช ผู้เป็นบิดา ได้นิพนธ์กลอนขึ้นมาบทหนึ่ง จากการที่ทรงเศร้าเสียพระทัยในการสูญเสียพระธิดาอันเป็นที่รัก ความว่า ภายหลังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอัฐิเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ แม้สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช จะไม่สามารถลืมความสูญเสียครั้งนี้ได้ แต่ด้วยทรงร่วมงานกระทรวงทหารเรือกับกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์โดยไม่คำนึงถึงเหตุการณ์ในอดีต ด้วยทรงตระหนักดีถึงความเจริญก้าวหน้าของประเทศ พระองค์จึงได้ให้การสนับสนุนพระดำริของกรมหลวงชุมพรฯ ในฐานะที่ทรงเป็นเสนาธิการทหารเรือเสมอมาพระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ ภาณุพันธุ์ (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443) - หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ อาภากร (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 — 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (สถาปนาพระอัฐิ)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.)พงศาวลี
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"7"
],
"answer_begin_position": [
195
],
"answer_end_position": [
196
]
} |
1,834 | 105,416 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (ประสูติ: 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — สิ้นพระชนม์: 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ที่ต่อมาได้เสกสมรสเป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ โดยเป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลที่ 8พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ เป็นพระธิดาองค์โตในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมเลี่ยม ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ศุภสุทธิ์) สตรีชาวเพชรบุรี เมื่อแรกประสูติทรงฐานันดรศักดิ์เป็น หม่อมเจ้า พระบิดาทรงออกพระนามว่า หญิงทิพย์ ประสูติ ณ วังบูรพาภิรมย์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 ส่วนพระนาม หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ ภาณุพันธุ์ นั้นได้รับพระราชทานมาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งยังทรงมีความใกล้ชิดกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เพราะโปรดให้ตามเสด็จประพาสหัวเมืองด้วยเสมอพระจริยวัตร พระจริยวัตร. กล่าวกันว่า ท่านหญิงทิพย์เป็นกุลสตรีที่มีพระสิริโฉมงดงามและเพียบพร้อมไปด้วยคุณสมบัติที่ฝ่ายในพึงมี หลังการเกศากันต์ได้ไม่นานท่านหญิงทิพย์ก็ได้เข้าไปฝึกหัดอย่างชาววังในสำนักของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี ภายหลังการถึงแก่กรรมของหม่อมแม้นในปี พ.ศ. 2439 ท่านหญิงได้ทำหน้าที่เป็นแม่บ้านแม่เรือน ดูแลความเรียบร้อยของวังบูรพาภิรมย์แทน เมื่อครั้งที่พระบิดาประชวรหนักในวันที่ 15 เมษายน ถึงวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 ท่านหญิงซึ่งขณะนั้นได้เสกสมรสและย้ายมาประทับที่วังนางเลิ้งแล้ว ได้ทูลลาพระสวามีมาประทับที่วังบูรพาภิรมย์เพื่อเฝ้าปฐมพยาบาลบิดาโดยมิได้พักผ่อน ทำให้พระวรกายอ่อนแอลงหลังจากนั้น จึงถือว่าท่านหญิงเป็นพระธิดาคู่ทุกข์คู่ยากของพระบิดาโดยแท้จริง จากความผูกพันดังกล่าวทำให้พระบิดามีพระเมตตาต่อท่านหญิงมากเป็นพิเศษ ดังคำกล่าวของพระบิดา ซึ่งได้กล่าวถึงท่านหญิงในลายพระหัตถ์กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องพิธีเกศากันต์ ลงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2439 ตอนหนึ่ง ความว่า "ส่วนหญิงทิพย์นั้นถึงแม้ว่าจะเปนลูกเมียน้อยก็จริงอยู่ แต่ก็เปนผู้ที่ข้าพระพุทธเจ้ารักใคร่ในตัวเด็กมาก เพราะเปนบุตรหญิงใหญ่ แลเปนเด็กฉลาดแลประพฤติดี อันได้กระทำให้สมใจข้าพระพุทธเจ้า ผู้เปนบิดาอยู่ทุกประการ"เสกสมรส เสกสมรส. หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ อภิเษกสมรสกับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ กรุณาพระราชทานน้ำสังข์ในพิธีอภิเษกสมรส ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง ในตอนค่ำวันเดียวกันนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย และเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ ออกไปส่งตัวท่านหญิงที่วังนางเลิ้ง อันเป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานเป็นที่ประทับ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ มีพระโอรส 3 พระองค์ คือ1. หม่อมเจ้าเกียรติ อาภากร ประสูติและสิ้นชีพิตักษัยในวันเดียวกัน ประมาณปี พ.ศ. 2446 2. หม่อมเจ้าอาทิตย์ทิพอาภา อาภากร (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2489) ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น พระหลานเธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภา, พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เสกสมรสกับหม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม วิเศษกุล) ไม่มีพระทายาท 3. หม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2449 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2508) เสกสมรสกับหม่อมราชวงศ์ไพเราะ กฤดากร มีธิดา 2 คนสิ้นชีพิตักษัย สิ้นชีพิตักษัย. ขณะที่หม่อมเจ้ารังษิยากร พระโอรสองค์เล็กมีพระชนมายุได้เพียง 1 พรรษา ก็เกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น เมื่อหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ได้เสวยยาพิษปลงพระชนม์ เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451 และได้สิ้นชีพิตักษัยเวลา 10.50 นาฬิกา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงบันทึกไว้ในจดหมายราชกิจรายวัน มีความบางตอนเกี่ยวกับการสิ้นชีพิตักษัยของท่านหญิงทิพย์ ความว่า "วันนี้เวลาเช้า ๕ โมงเศษ หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ในกรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์สิ้นชีพตักไษยเพราะเสวยยาพิศม์ เวลาค่ำโปรดให้กรมขุนสมมุต [พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมติอมรพันธุ์] เสด็จไปเยี่ยมสมเด็จกรมพระ [สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระภาณุพันธุวงศ์วรเดช] แลในเวลาค่ำวันนี้ได้มีการรดน้ำแลแต่งศพเหมือนอย่างที่ไว้ที่บ้าน แล้วแห่ศพไปฝัง ณ สุสานวัดเทพศิรินธร์ พระราชทานกลองชนะ ๑๐ จ่าปี ๑ ฉัตร เบ็ญจา ๑๒ คัน..." ต่อมาในวันที่ 27 พฤศจิกายน รัตนโกสินทร์ศก 127 (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452) สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชได้ทูลเกล้าฯ ถวายลายพระหัตถ์พร้อมร่างกำหนดการแก่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานพระราชทานเพลิงพระศพหม่อมแม้น, พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช และหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ในคราวเดียวกันที่วัดเทพศิรินทราวาส ความว่า "ภายหลังที่ได้รับศพชายเล็ก [พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช] มาถึงวันนี้แล้ว ไม้ช้าวันนัก ข้าพระพุทธเจ้าก็ได้รับความทุกข์โทมนัสซ้ำเติมขึ้นอีกอย่างหนึ่ง กล่าวคือหญิงทิพย์ต้องมาเปนอันตรายไป แลหญิงทิพย์ก็ได้มีความประสงค์แลสั่งไว้ให้ช่วยจัดการรีบเผาศพ เสียอย่าให้ล่วงเกินปีหนึ่งไปด้วย..." แต่เมื่อได้รับลายพระหัตถ์แล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงไม่เห็นด้วย ด้วยทรงวิตกเกี่ยวกับพระพลานามัยของพระอนุชาที่กำลังทรุดโทรมเพราะตรอมพระทัยจากการสูญเสียพระโอรสธิดาในเวลาไล่เลี่ยกัน จึงพระราชทานพระราชกระแสไม่เห็นด้วย ปรากฏในพระราชหัตถเลขาลงวันที่ 1 ธันวาคม รัตนโกสินทรศก ความว่า "ถึงท่านเล็ก ฉันได้รับหนังสือขอกำหนดการที่จะทำการเผาศพเริ่มงานตั้งแต่ ๒ มกราคมนั้น จะเปนงานติดต่อกันไปถึง ๑๒ วัน เหนว่าในเดือนมกราคม ตั้งแต่ต้นเดือนก็เปนเวลามีงาน แลต่อไปก็คงมีการโกนจุก การศพแต่ก่อนมาก็เคยทำแต่ไม่เกินเดือน ๓ ซึ่งเปนเวลาแล้งแลว่างไม่มีการงาน ถ้าจะรีบเข้ามาทำในเดือน ๒ ก็เปนเวลาที่เธอเหน็จเหนื่อย ร่างกายทรุดโทรม เมื่อมีงานมากเช่นนี้ก็จะต้องเหน็จเหนื่อยมาก ทั้งงานก็เปนงานฝ่ายทุกข์โศก จะเปนเครื่องเตือนให้เกิดความทุกข์โศกประกอบขึ้นอีก..." เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชกระแสเช่นนั้น สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนภาณุพันธุวงศ์วรเดชต้องทรงน้อมรับ และเลื่อนงานพระศพออกไปในเดือนกุมภาพันธ์ โดยงานพระราชทานเพลิงได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2451 ซึ่งได้มีการขุดหลุมบรรจุพระศพขึ้นมา เพื่ออัญเชิญไปพระราชทานเพลิงพระศพ ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส ส่วนพิธีพระราชทานเพลิงพระศพก็ได้จัดขึ้นในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯ มาเป็นองค์ประธาน และวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ได้อัญเชิญพระสรีรังคารไปประดิษฐานที่อนุสาวรีย์ของราชสกุลภาณุพันธุ์หลังตึกแม้นนฤมิตร์ โรงเรียนเทพศิรินทร์ ส่วนพระอัฐินั้นได้อัญเชิญไปตั้งไว้ในวังนางเลิ้งของพระสวามี หลังการสิ้นพระชนม์สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนภาณุพันธุวงศ์วรเดช ผู้เป็นบิดา ได้นิพนธ์กลอนขึ้นมาบทหนึ่ง จากการที่ทรงเศร้าเสียพระทัยในการสูญเสียพระธิดาอันเป็นที่รัก ความว่า ภายหลังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอัฐิเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ แม้สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช จะไม่สามารถลืมความสูญเสียครั้งนี้ได้ แต่ด้วยทรงร่วมงานกระทรวงทหารเรือกับกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์โดยไม่คำนึงถึงเหตุการณ์ในอดีต ด้วยทรงตระหนักดีถึงความเจริญก้าวหน้าของประเทศ พระองค์จึงได้ให้การสนับสนุนพระดำริของกรมหลวงชุมพรฯ ในฐานะที่ทรงเป็นเสนาธิการทหารเรือเสมอมาพระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ ภาณุพันธุ์ (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443) - หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ อาภากร (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 — 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (สถาปนาพระอัฐิ)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.)พงศาวลี
| หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ อภิเษกสมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์"
],
"answer_begin_position": [
2382
],
"answer_end_position": [
2454
]
} |
816 | 52,255 | สอ เสถบุตร สอ เสถบุตร หรือชื่อเดิม สอ เศรษฐบุตร ผู้แต่งพจนานุกรมอังกฤษ-ไทย ฉบับ สอ เสถบุตร ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลายในประเทศไทยประวัติ ประวัติ. เกิดวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 (พ.ศ. 2445 ตามการนับศักราชแบบเดิม) บิดาชื่อ นายสวัสดิ์ เศรษฐบุตร บุตรพระประเสริฐวานิช เจ้าภาษีรังนก มารดาชื่อ เกษร (บุตรขุนพัฒน์ นายอาการบ่อนเบี้ยย่านหลังวัดประยุรวงศาวาส กับ นางแจ่ม) สกุลเดิม เหมะพุกกะนักเรียนทุนหลวง นักเรียนทุนหลวง. จบ ม.8 จาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้รับทุนคิงสกอลาชิพ (ทุนเล่าเรียนหลวง) ไปศึกษาต่อยังประเทศอังกฤษ จบปริญญาตรีเกียรตินิยม สาขาธรณีวิทยากับวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ กลับมารับบรรดาศักดิ์เป็น "รองเสวกเอก หลวงมหาสิทธิโวหาร" ด้วยวัยเพียง 26 ปี และดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมบัญชีกลาง ต่อมาได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้เป็นปลัดกรมองคมนตรี สังกัดกรมราชเลขาธิการในราชสำนักนักโทษกบฎ นักโทษกบฎ. ต้องโทษจองจำในคดีกบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 เสวกโท หลวงมหาสิทธิโวหารถูกถอดบรรดาศักดิ์ ศาลตัดสินจำคุกตลอดชีวิตแต่ในภายหลังก็ได้รับอภัยโทษ ที่ บางขวาง, เกาะตะรุเตา และเกาะเต่า ระหว่างเป็นนักโทษ ใช้เวลาเขียนพจนานุกรมอังกฤษเป็นไทย (เริ่มแรกใช้คำว่า ปทานุกรม) ทั้งฉบับห้องสมุด และ ฉบับตั้งโต๊ะ ได้ความนิยมยกย่องทั่วประเทศว่าเป็นพจนานุกรมอันยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยมีมา โดยลักลอบส่งต้นฉบับออกมาตีพิมพ์นอกเรือนจำผ่านทางมารดาที่เดินทางเข้ามาเยี่ยมนักหนังสือพิมพ์ นักหนังสือพิมพ์. ด้วยประสบการณ์เมื่อคราวเป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ "สามัคคีสาร" แห่งสามัคคีสมาคมของคนไทยในอังกฤษ กับ เคยเป็นนักเขียนบทความประจำในหนังสือพิมพ์ "แมนเชสเตอร์ การ์เดี้ยน" จึงได้เข้ารับตำแหน่งผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์ "ศรีกรุง" ,"สยามราษฎร์" และบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษชื่อ "ลิเบอร์ตี้" กับ "ลีดเดอร์"นักการเมือง นักการเมือง. เข้าสู่ถนนการเมือง ร่วมกับ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช จัดตั้งพรรคการเมือง ชื่อพรรค "ก้าวหน้า" ต่อมาได้รับเลือกเป็น ส.ส.ธนบุรี เขต 1 กระทั่งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร ในรัฐบาลพันตรีควง อภัยวงศ์ และได้โอนมาสังกัดกับพรรคประชาธิปัตย์ชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. คุณสอ เสถบุตร มีภรรยา 3 คน ภรรยาคนแรกคือคุณนิจ ภรรยาคนที่สองคือคุณสมพงษ์ มีบุตร-ธิดา 6 คน เป็นชาย 4 หญิง 2 ส่วนภรรยาคนสุดท้ายคือคุณ พิมพวัลด์ มีบุตร-ธิดา 3 คน เป็นชาย 1 หญิง 2อนิจกรรม อนิจกรรม. ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหัวใจวายเฉียบพลัน ที่ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อเช้าวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2513 รวมอายุได้ 67 ปี 7 เดือน 1 วัน
| สอ เสถบุตร มีภรรยากี่คน | {
"answer": [
"3"
],
"answer_begin_position": [
2018
],
"answer_end_position": [
2019
]
} |
817 | 52,255 | สอ เสถบุตร สอ เสถบุตร หรือชื่อเดิม สอ เศรษฐบุตร ผู้แต่งพจนานุกรมอังกฤษ-ไทย ฉบับ สอ เสถบุตร ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลายในประเทศไทยประวัติ ประวัติ. เกิดวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 (พ.ศ. 2445 ตามการนับศักราชแบบเดิม) บิดาชื่อ นายสวัสดิ์ เศรษฐบุตร บุตรพระประเสริฐวานิช เจ้าภาษีรังนก มารดาชื่อ เกษร (บุตรขุนพัฒน์ นายอาการบ่อนเบี้ยย่านหลังวัดประยุรวงศาวาส กับ นางแจ่ม) สกุลเดิม เหมะพุกกะนักเรียนทุนหลวง นักเรียนทุนหลวง. จบ ม.8 จาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้รับทุนคิงสกอลาชิพ (ทุนเล่าเรียนหลวง) ไปศึกษาต่อยังประเทศอังกฤษ จบปริญญาตรีเกียรตินิยม สาขาธรณีวิทยากับวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ กลับมารับบรรดาศักดิ์เป็น "รองเสวกเอก หลวงมหาสิทธิโวหาร" ด้วยวัยเพียง 26 ปี และดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมบัญชีกลาง ต่อมาได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้เป็นปลัดกรมองคมนตรี สังกัดกรมราชเลขาธิการในราชสำนักนักโทษกบฎ นักโทษกบฎ. ต้องโทษจองจำในคดีกบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 เสวกโท หลวงมหาสิทธิโวหารถูกถอดบรรดาศักดิ์ ศาลตัดสินจำคุกตลอดชีวิตแต่ในภายหลังก็ได้รับอภัยโทษ ที่ บางขวาง, เกาะตะรุเตา และเกาะเต่า ระหว่างเป็นนักโทษ ใช้เวลาเขียนพจนานุกรมอังกฤษเป็นไทย (เริ่มแรกใช้คำว่า ปทานุกรม) ทั้งฉบับห้องสมุด และ ฉบับตั้งโต๊ะ ได้ความนิยมยกย่องทั่วประเทศว่าเป็นพจนานุกรมอันยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยมีมา โดยลักลอบส่งต้นฉบับออกมาตีพิมพ์นอกเรือนจำผ่านทางมารดาที่เดินทางเข้ามาเยี่ยมนักหนังสือพิมพ์ นักหนังสือพิมพ์. ด้วยประสบการณ์เมื่อคราวเป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ "สามัคคีสาร" แห่งสามัคคีสมาคมของคนไทยในอังกฤษ กับ เคยเป็นนักเขียนบทความประจำในหนังสือพิมพ์ "แมนเชสเตอร์ การ์เดี้ยน" จึงได้เข้ารับตำแหน่งผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์ "ศรีกรุง" ,"สยามราษฎร์" และบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษชื่อ "ลิเบอร์ตี้" กับ "ลีดเดอร์"นักการเมือง นักการเมือง. เข้าสู่ถนนการเมือง ร่วมกับ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช จัดตั้งพรรคการเมือง ชื่อพรรค "ก้าวหน้า" ต่อมาได้รับเลือกเป็น ส.ส.ธนบุรี เขต 1 กระทั่งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร ในรัฐบาลพันตรีควง อภัยวงศ์ และได้โอนมาสังกัดกับพรรคประชาธิปัตย์ชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. คุณสอ เสถบุตร มีภรรยา 3 คน ภรรยาคนแรกคือคุณนิจ ภรรยาคนที่สองคือคุณสมพงษ์ มีบุตร-ธิดา 6 คน เป็นชาย 4 หญิง 2 ส่วนภรรยาคนสุดท้ายคือคุณ พิมพวัลด์ มีบุตร-ธิดา 3 คน เป็นชาย 1 หญิง 2อนิจกรรม อนิจกรรม. ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคหัวใจวายเฉียบพลัน ที่ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อเช้าวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2513 รวมอายุได้ 67 ปี 7 เดือน 1 วัน
| สอ เสถบุตรเสียชีวิตด้วยโรคอะไร | {
"answer": [
"โรคหัวใจวายเฉียบพลัน"
],
"answer_begin_position": [
2208
],
"answer_end_position": [
2228
]
} |
818 | 773,747 | สาวน้อยคาเฟ่ สาวน้อยคาเฟ่ เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนวโรแมนติกคอมเมดี้ ของ บริษัท ควิซ แอนด์ เควซ จำกัด ดัดแปลงจากบทประพันธ์ สะใภ้คาเฟ่ ของ อาริตา บทโทรทัศน์ วรรณึก กำกับการแสดงโดย ชูศักดิ์ สุธีรธรรม ออกอากาศทุกวันศุกร์ - อาทิตย์ เวลา 20.20 น. ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เริ่มตอนแรกวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2543–26 สิงหาคม พ.ศ. 2543เรื่องย่อรายชื่อนักแสดงเพลงประกอบละครรายชื่อนักแสดง. เพลงประกอบละคร. - พ.ศ. 2543 ในปีพ.ศ. 2543 ได้มีการจัดจำหน่ายอัลบั้มเพลงประกอบละครสาวน้อยคาเฟ่ ถึง 4 ชุด ได้แก่ "รวมฮิตสาวน้อยคาเฟ่", "สาวน้อยคาเฟ่ VOL.2 จะมาไหว..มั๊ยพี่", "New สาวน้อยคาเฟ่ Remixed (เพิ่มเพลงหัวใจว่าง)" และอัลบั้ม "สาวน้อยคาเฟ่ ชุด สวยไปหมด" ผลิตโดยบริษัท เออร์ซ่า เมเจอร์ จำกัด- เพลง อย่าเลย - ขับร้องโดย ศิริลักษณ์ ผ่องโชค - เพลง มามะ มาเลย - ขับร้องโดย ศิริลักษณ์ ผ่องโชค - เพลง อยากฟังซ้ำ (ละติน) - ขับร้องโดย ศิริลักษณ์ ผ่องโชค - เพลง ผู้ชายในฝัน - ขับร้องโดย ศิริลักษณ์ ผ่องโชค - เพลง รู้ว่าเขาหลอก - ขับร้องโดย ศิริลักษณ์ ผ่องโชค - เพลง ตั๊กแตนผูกโบว์ - ขับร้องโดย ชุลีพร เกตุสิงห์สร้อย - เพลง สะโพกสลาตัน - ขับร้องโดย ชุลีพร เกตุสิงห์สร้อย - เพลง พ่อคุณทูนหัว - ขับร้องโดย ชุลีพร เกตุสิงห์สร้อย - เพลง อยากฟังซ้ำ (แดนซ์) - ขับร้องโดย ศิริลักษณ์ ผ่องโชค - เพลง จบลงด้วยดี - ขับร้องโดย เพ็ญเพ็ชร เพ็ญกุล - เพลง ห้ามใจ - ขับร้องโดย ศิริลักษณ์ ผ่องโชค ฯลฯละครโทรทัศน์ปี พ.ศ. 2559 ละครโทรทัศน์ปี พ.ศ. 2559. สาวน้อยคาเฟ่ เป็นละครโทรทัศน์แนวโรแมนติก-คอมเมดี-มิวสิคัล บทประพันธ์ของ มาดามเป็ด บทโทรทัศน์โดย ฐา-นวดี สถิตยุทธการ กำกับการแสดงโดย ศุภกิจ ตังทัตสวัสดิ์ ผลิตโดย บริษัท มั่งมีศรีสุข โปรดักชั่น จำกัด ออกอากาศทุกวันจันทร์–อังคาร เวลา 20.20 - 21.45 น. ทาง สถานีโทรทัศน์ช่องพีพีทีวี นำแสดงโดย ทวีสิทธิ์ จุลละทรัพย์, แคทลียา อิงลิช, ธนบูรณ์ เทิดไตรสรณ์, ไพลิน ก็งปาแร็ง และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มตอนแรกวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559–5 เมษายน พ.ศ. 2546 และออกอากาศซ้ำทุกวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 13.30-15.00 น. เริ่มตอนแรกวันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน– (วันที่ 15 ตุลาคม - 12 พฤศจิกายน 2559 งดออกอากาศ)เรื่องย่อรายชื่อนักแสดงและการสร้างเพลงประกอบละครรายชื่อนักแสดงและการสร้าง. เพลงประกอบละคร. - พ.ศ. 2559 - เพลง สาวน้อยคาเฟ่ - ขับร้องโดย แคทลียา อิงลิช - เพลง มามะ มาเลย - ขับร้องโดย แคทลียา อิงลิช - เพลง อย่าเลย - ขับร้องโดย แคทลียา อิงลิช - เพลง ดาวทอร์นาโด - ขับร้องโดย อาชิรญาน์ แก้วกัญญา - เพลง ชเวดากง (ขอให้ได้ขอให้โดน) - ขับร้องโดย ตรีชฎา แสงอุทัย - เพลง สัตว์โลกผู้น่ารัก - ขับร้องโดย ดอกไม้ป่าลำดับรายการโทรทัศน์ ลำดับรายการโทรทัศน์.
| สาวน้อยคาเฟ่เป็นละครโทรทัศน์ที่ดัดแปลงมาจากบทประพันธ์เรื่องใด | {
"answer": [
"สะใภ้คาเฟ่"
],
"answer_begin_position": [
207
],
"answer_end_position": [
217
]
} |
819 | 185,150 | สาวทรงเสน่ห์ สาวทรงเสน่ห์ () เป็นนวนิยายเชิงเรียลลิสติกเรื่องแรกๆ ของโลก ประพันธ์โดย เจน ออสเตน สุภาพสตรีชาวอังกฤษ ตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1813 เป็นผลงานที่ตีพิมพ์เป็นเรื่องที่สองของเธอ แต่มีข้อมูลระบุว่างานเขียนชิ้นนี้เป็นงานประพันธ์ชิ้นแรกของเธอ โดยประพันธ์ขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1796-1797 ทว่าในยุคนั้นยังเป็นยุคของนิยายเชิงเพ้อฝัน (เรื่องของพระราชา ราชวงศ์ การสู้รบ และเกียรติยศของอัศวิน) ดังนั้นนวนิยายของเธอเรื่องนี้จึงถือว่าแหวกประเพณีการประพันธ์ในยุคเดียวกันอย่างมาก สาวทรงเสน่ห์ เป็นชื่อหนังสือในฉบับแปลภาษาไทย โดย จูเลียต (นามปากกาของ ชนิด สายประดิษฐ์ ภริยาของ ศรีบูรพา) ตีพิมพ์ครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 โดยสำนักพิมพ์บำรุงสาส์นโครงเรื่องประวัติการตีพิมพ์ ประวัติการตีพิมพ์. หลังจากออสเตนได้ตีพิมพ์นวนิยายเล่มแรกแล้ว เธอได้ขายลิขสิทธิ์เรื่อง สาวทรงเสน่ห์ ให้แก่ Thomas Egerton ในราคา 110 ปอนด์ Egerton ตีพิมพ์ สาวทรงเสน่ห์ ชุดแรกเป็นหนังสือปกแข็งสามเล่มในเดือนมกราคม ค.ศ. 1813 หนังสือได้รับคำวิจารณ์ค่อนข้างดี และขายหมดในเวลาอันรวดเร็ว ฉบับปรับปรุงเอดิชันที่สองได้พิมพ์จำหน่ายต่อมาในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน และฉบับปรับปรุงเอดิชันที่สามตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1817 นวนิยายได้แปลไปเป็นภาษาฝรั่งเศสทันทีในปี ค.ศ. 1813 หลังจากนั้นก็ได้แปลไปเป็นภาษาเยอรมัน เดนมาร์ก และสวีเดน สาวทรงเสน่ห์ ได้พิมพ์จำหน่ายในสหรัฐอเมริกาครั้งแรกในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1832 ในชื่อเรื่องว่า เอลิซาเบธ เบนเน็ต สำหรับประเทศไทย จูเลียต หรือ ชนิด สายประดิษฐ์ ได้แปล สาวทรงเสน่ห์ เป็นภาษาไทยครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2493 ตีพิมพ์โดย หจก. บำรุงสาส์น ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 แพรวสำนักพิมพ์ได้นำฉบับแปลนี้มาพิมพ์ใหม่ในชุดวรรณกรรมคลาสสิกการตอบรับ การตอบรับ. นวนิยายได้รับการตอบรับค่อนข้างดี โดยมีบทวิจารณ์ในทางดีถึงสามฉบับภายในช่วงเดือนแรกหลังการวางจำหน่าย เจน เฟอร์กัส บอกว่า "นี่เป็นนวนิยายของออสเตนที่โด่งดังมาก ทั้งต่อสาธารณชนและคนใกล้ชิดของเธอเอง" ในงานเขียนของเดวิด กิลสัน A Bibliography of Jane Austen เขาอ้างถึงคำกล่าวของแอนน์ อิซาเบลลา มิลแบงค์ (ภายหลังเป็นภริยาของลอร์ดไบรอน) ว่า สาวทรงเสน่ห์ เป็น "นวนิยายที่ทันสมัยมาก" ปี ค.ศ. 1819 เฮนรี แครบบ์ โรบินสัน เอ่ยถึงนวนิยายเรื่องนี้ว่า "...เป็นหนึ่งในงานเขียนชั้นเลิศที่สุดของนักเขียนหญิง" เซอร์วอลเตอร์ สก็อตต์ เขียนในบทความของเขาว่า "...เป็นนวนิยายที่คุณออสเตนบรรจงเขียนอย่างละเมียดละไม... สุภาพสตรีเยาว์วัยผู้นี้มีพรสวรรค์ในการบรรยายความสัมพันธ์ ความรู้สึก และลักษณาภาพของชีวิตประจำวันธรรมดาให้กลายเป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่สุดที่ผมเคยพบเห็น" อย่างไรก็ดียังมีบางคนไม่เห็นด้วย เช่น ชาร์ล็อตต์ บรองเต ซึ่งเห็นว่า สาวทรงเสน่ห์ น่าผิดหวังมาก "...เป็นสวนสวย ล้อมรั้วอย่างประณีต ประดับดอกไม้งดงาม แต่...ปราศจากท้องทุ่งกว้าง ไร้อากาศบริสุทธิ์ ไม่มีเนินเขาสีฟ้า และไม่เชิญชวนเอาเสียเลย" ถึงกระนั้น สาวทรงเสน่ห์ ก็ติดอันดับหนังสือยอดนิยมในการสำรวจต่างๆ ของอังกฤษอยู่เสมอ ในปี ค.ศ. 2003 สถานีโทรทัศน์บีบีซีจัดการสำรวจครั้งใหญ่เพื่อค้นหา "หนังสือในดวงใจ" ของชาวอังกฤษ สาวทรงเสน่ห์ ได้รับการโหวตเป็นอันดับที่สองรองจาก ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ปี ค.ศ. 2004 สาวทรงเสน่ห์ ได้รับการโหวตเป็นอันดับสองในการสำรวจหนังสือยอดนิยมของชาวออสเตรเลีย รองจากลอร์ดออฟเดอะริงส์เช่นกัน ต่อมาในปี ค.ศ. 2008 มีการสำรวจนักอ่านกว่า 15,000 คนที่ประเทศออสเตรเลีย โดยร้าน Dymock สาวทรงเสน่ห์ ได้รับการโหวตเป็นอันดับที่หนึ่ง ใน 101 หนังสือยอดเยี่ยมตลอดกาล (ลอร์ดออฟเดอะริงส์ได้ที่สอง)
| หลังจากออสเตนได้ตีพิมพ์นวนิยายเล่มแรกแล้ว เธอได้ขายลิขสิทธิ์เรื่อง สาวทรงเสน่ห์ ให้แก่ใคร | {
"answer": [
"Thomas Egerton"
],
"answer_begin_position": [
872
],
"answer_end_position": [
886
]
} |
820 | 185,150 | สาวทรงเสน่ห์ สาวทรงเสน่ห์ () เป็นนวนิยายเชิงเรียลลิสติกเรื่องแรกๆ ของโลก ประพันธ์โดย เจน ออสเตน สุภาพสตรีชาวอังกฤษ ตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1813 เป็นผลงานที่ตีพิมพ์เป็นเรื่องที่สองของเธอ แต่มีข้อมูลระบุว่างานเขียนชิ้นนี้เป็นงานประพันธ์ชิ้นแรกของเธอ โดยประพันธ์ขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1796-1797 ทว่าในยุคนั้นยังเป็นยุคของนิยายเชิงเพ้อฝัน (เรื่องของพระราชา ราชวงศ์ การสู้รบ และเกียรติยศของอัศวิน) ดังนั้นนวนิยายของเธอเรื่องนี้จึงถือว่าแหวกประเพณีการประพันธ์ในยุคเดียวกันอย่างมาก สาวทรงเสน่ห์ เป็นชื่อหนังสือในฉบับแปลภาษาไทย โดย จูเลียต (นามปากกาของ ชนิด สายประดิษฐ์ ภริยาของ ศรีบูรพา) ตีพิมพ์ครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 โดยสำนักพิมพ์บำรุงสาส์นโครงเรื่องประวัติการตีพิมพ์ ประวัติการตีพิมพ์. หลังจากออสเตนได้ตีพิมพ์นวนิยายเล่มแรกแล้ว เธอได้ขายลิขสิทธิ์เรื่อง สาวทรงเสน่ห์ ให้แก่ Thomas Egerton ในราคา 110 ปอนด์ Egerton ตีพิมพ์ สาวทรงเสน่ห์ ชุดแรกเป็นหนังสือปกแข็งสามเล่มในเดือนมกราคม ค.ศ. 1813 หนังสือได้รับคำวิจารณ์ค่อนข้างดี และขายหมดในเวลาอันรวดเร็ว ฉบับปรับปรุงเอดิชันที่สองได้พิมพ์จำหน่ายต่อมาในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน และฉบับปรับปรุงเอดิชันที่สามตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1817 นวนิยายได้แปลไปเป็นภาษาฝรั่งเศสทันทีในปี ค.ศ. 1813 หลังจากนั้นก็ได้แปลไปเป็นภาษาเยอรมัน เดนมาร์ก และสวีเดน สาวทรงเสน่ห์ ได้พิมพ์จำหน่ายในสหรัฐอเมริกาครั้งแรกในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1832 ในชื่อเรื่องว่า เอลิซาเบธ เบนเน็ต สำหรับประเทศไทย จูเลียต หรือ ชนิด สายประดิษฐ์ ได้แปล สาวทรงเสน่ห์ เป็นภาษาไทยครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2493 ตีพิมพ์โดย หจก. บำรุงสาส์น ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 แพรวสำนักพิมพ์ได้นำฉบับแปลนี้มาพิมพ์ใหม่ในชุดวรรณกรรมคลาสสิกการตอบรับ การตอบรับ. นวนิยายได้รับการตอบรับค่อนข้างดี โดยมีบทวิจารณ์ในทางดีถึงสามฉบับภายในช่วงเดือนแรกหลังการวางจำหน่าย เจน เฟอร์กัส บอกว่า "นี่เป็นนวนิยายของออสเตนที่โด่งดังมาก ทั้งต่อสาธารณชนและคนใกล้ชิดของเธอเอง" ในงานเขียนของเดวิด กิลสัน A Bibliography of Jane Austen เขาอ้างถึงคำกล่าวของแอนน์ อิซาเบลลา มิลแบงค์ (ภายหลังเป็นภริยาของลอร์ดไบรอน) ว่า สาวทรงเสน่ห์ เป็น "นวนิยายที่ทันสมัยมาก" ปี ค.ศ. 1819 เฮนรี แครบบ์ โรบินสัน เอ่ยถึงนวนิยายเรื่องนี้ว่า "...เป็นหนึ่งในงานเขียนชั้นเลิศที่สุดของนักเขียนหญิง" เซอร์วอลเตอร์ สก็อตต์ เขียนในบทความของเขาว่า "...เป็นนวนิยายที่คุณออสเตนบรรจงเขียนอย่างละเมียดละไม... สุภาพสตรีเยาว์วัยผู้นี้มีพรสวรรค์ในการบรรยายความสัมพันธ์ ความรู้สึก และลักษณาภาพของชีวิตประจำวันธรรมดาให้กลายเป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่สุดที่ผมเคยพบเห็น" อย่างไรก็ดียังมีบางคนไม่เห็นด้วย เช่น ชาร์ล็อตต์ บรองเต ซึ่งเห็นว่า สาวทรงเสน่ห์ น่าผิดหวังมาก "...เป็นสวนสวย ล้อมรั้วอย่างประณีต ประดับดอกไม้งดงาม แต่...ปราศจากท้องทุ่งกว้าง ไร้อากาศบริสุทธิ์ ไม่มีเนินเขาสีฟ้า และไม่เชิญชวนเอาเสียเลย" ถึงกระนั้น สาวทรงเสน่ห์ ก็ติดอันดับหนังสือยอดนิยมในการสำรวจต่างๆ ของอังกฤษอยู่เสมอ ในปี ค.ศ. 2003 สถานีโทรทัศน์บีบีซีจัดการสำรวจครั้งใหญ่เพื่อค้นหา "หนังสือในดวงใจ" ของชาวอังกฤษ สาวทรงเสน่ห์ ได้รับการโหวตเป็นอันดับที่สองรองจาก ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ปี ค.ศ. 2004 สาวทรงเสน่ห์ ได้รับการโหวตเป็นอันดับสองในการสำรวจหนังสือยอดนิยมของชาวออสเตรเลีย รองจากลอร์ดออฟเดอะริงส์เช่นกัน ต่อมาในปี ค.ศ. 2008 มีการสำรวจนักอ่านกว่า 15,000 คนที่ประเทศออสเตรเลีย โดยร้าน Dymock สาวทรงเสน่ห์ ได้รับการโหวตเป็นอันดับที่หนึ่ง ใน 101 หนังสือยอดเยี่ยมตลอดกาล (ลอร์ดออฟเดอะริงส์ได้ที่สอง)
| ผู้แปลนวนิยายเรื่องสาวทรงเสน่ห์คือใคร | {
"answer": [
"จูเลียต"
],
"answer_begin_position": [
623
],
"answer_end_position": [
630
]
} |
821 | 59,741 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล" (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 8 กันยายน พ.ศ. 2517) เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ประธานองคมนตรี และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ประสูติเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 เดิมมีฐานันดรศักดิ์เป็นหม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา กับหม่อมเอม โสณกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: กุณฑลจินดา) ธิดา หลวงวรศักดาพิศาล (กาจ กุณฑลจินดา) เมื่อเจริญชันษาได้ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนราชกุมารในพระบรมมหาราชวัง วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2441 หม่อมเจ้าธานีนิวัติทรงผนวชเป็นสามเณร ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสุคุณคณาภรณ์ (ม.ร.ว.ชื่น สุจิตฺโต) เป็นพระศีลาจารย์ วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 ได้ผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วไปเสด็จไปประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร หลังจากลาผนวช ได้เสด็จไปทรงศึกษาที่ประเทศอังกฤษ แล้วเสด็จกลับมารับราชการในตำแหน่งต่าง ๆ คือ ปลัดกรมพลำพัง ราชเลขานุการในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 ได้รับสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต ทรงศักดินา 3000 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้รั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ตั้งแต่วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469 แทนเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ที่กราบถวายบังคมทูลลาออกจากตำแหน่ง แล้วจึงโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ เต็มตามตำแหน่ง ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2470 ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงธรรมการจนถึง พ.ศ. 2475 จึงทรงออกจากตำแหน่งภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงแต่งตั้งพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต เป็นองคมนตรี และวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2493 ทรงตั้งเป็นประธานองคมนตรี แทนพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระชัยนาทนเรนทร ที่ย้ายไปเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต่อมาวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ทรงศักดินา 11,000 เมื่อพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระชัยนาทนเรนทร สิ้นพระชนม์ รัฐสภาจึงแต่งตั้งให้พระองค์เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แทนตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2494 สุดท้ายทรงตั้งเป็นประธานองคมนตรีอีกครั้งในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2495 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ยังทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อมาอีก 2 ครั้ง คือตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม ถึงวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2506 ในระหว่างที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ เยือนประเทศญี่ปุ่นและประเทศไต้หวัน และตั้งแต่วันที่ 9 ถึงวันที่ 14 กรกฎาคม ศกเดียวกัน ในระหว่างที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ เยือนประเทศฟิลิปปินส์ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร เสกสมรสกับหม่อมประยูร โสณกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สุขุม) ธิดาของเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) กับโต (สกุลเดิม ณ ป้อมเพชร) มีโอรสธิดา 4 คน ดังนี้1. หม่อมราชวงศ์ไม่มีนาม (เพศชาย) 2. หม่อมราชวงศ์นิวัตวาร ณ ป้อมเพชร 3. หม่อมราชวงศ์ปาณฑิตย์ โสณกุล 4. หม่อมราชวงศ์สุพิชชา ณ ป้อมเพชร พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2517 พระชันษา 88 ปีพระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (ม.จ.ก.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (ร.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ (ว.ภ.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 (ภ.ป.ร.1)เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - เครื่องอิสริยาภรณ์นายพลซาน มาร์ติน ผู้ปลดปล่อย
| พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล"
],
"answer_begin_position": [
242
],
"answer_end_position": [
267
]
} |
822 | 59,741 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล" (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 8 กันยายน พ.ศ. 2517) เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ประธานองคมนตรี และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ประสูติเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 เดิมมีฐานันดรศักดิ์เป็นหม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา กับหม่อมเอม โสณกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: กุณฑลจินดา) ธิดา หลวงวรศักดาพิศาล (กาจ กุณฑลจินดา) เมื่อเจริญชันษาได้ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนราชกุมารในพระบรมมหาราชวัง วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2441 หม่อมเจ้าธานีนิวัติทรงผนวชเป็นสามเณร ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสุคุณคณาภรณ์ (ม.ร.ว.ชื่น สุจิตฺโต) เป็นพระศีลาจารย์ วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 ได้ผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วไปเสด็จไปประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร หลังจากลาผนวช ได้เสด็จไปทรงศึกษาที่ประเทศอังกฤษ แล้วเสด็จกลับมารับราชการในตำแหน่งต่าง ๆ คือ ปลัดกรมพลำพัง ราชเลขานุการในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 ได้รับสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต ทรงศักดินา 3000 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้รั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ตั้งแต่วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469 แทนเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ที่กราบถวายบังคมทูลลาออกจากตำแหน่ง แล้วจึงโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ เต็มตามตำแหน่ง ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2470 ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงธรรมการจนถึง พ.ศ. 2475 จึงทรงออกจากตำแหน่งภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงแต่งตั้งพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต เป็นองคมนตรี และวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2493 ทรงตั้งเป็นประธานองคมนตรี แทนพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระชัยนาทนเรนทร ที่ย้ายไปเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต่อมาวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ทรงศักดินา 11,000 เมื่อพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระชัยนาทนเรนทร สิ้นพระชนม์ รัฐสภาจึงแต่งตั้งให้พระองค์เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แทนตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2494 สุดท้ายทรงตั้งเป็นประธานองคมนตรีอีกครั้งในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2495 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ยังทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อมาอีก 2 ครั้ง คือตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม ถึงวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2506 ในระหว่างที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ เยือนประเทศญี่ปุ่นและประเทศไต้หวัน และตั้งแต่วันที่ 9 ถึงวันที่ 14 กรกฎาคม ศกเดียวกัน ในระหว่างที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ เยือนประเทศฟิลิปปินส์ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร เสกสมรสกับหม่อมประยูร โสณกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สุขุม) ธิดาของเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) กับโต (สกุลเดิม ณ ป้อมเพชร) มีโอรสธิดา 4 คน ดังนี้1. หม่อมราชวงศ์ไม่มีนาม (เพศชาย) 2. หม่อมราชวงศ์นิวัตวาร ณ ป้อมเพชร 3. หม่อมราชวงศ์ปาณฑิตย์ โสณกุล 4. หม่อมราชวงศ์สุพิชชา ณ ป้อมเพชร พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2517 พระชันษา 88 ปีพระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (ม.จ.ก.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (ร.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ (ว.ภ.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 (ภ.ป.ร.1)เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - เครื่องอิสริยาภรณ์นายพลซาน มาร์ติน ผู้ปลดปล่อย
| พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร เสกสมรสกับใคร | {
"answer": [
"หม่อมประยูร โสณกุล ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
2899
],
"answer_end_position": [
2926
]
} |
1,857 | 59,741 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล" (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 8 กันยายน พ.ศ. 2517) เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ประธานองคมนตรี และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ประสูติเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 เดิมมีฐานันดรศักดิ์เป็นหม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา กับหม่อมเอม โสณกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: กุณฑลจินดา) ธิดา หลวงวรศักดาพิศาล (กาจ กุณฑลจินดา) เมื่อเจริญชันษาได้ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนราชกุมารในพระบรมมหาราชวัง วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2441 หม่อมเจ้าธานีนิวัติทรงผนวชเป็นสามเณร ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสุคุณคณาภรณ์ (ม.ร.ว.ชื่น สุจิตฺโต) เป็นพระศีลาจารย์ วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 ได้ผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วไปเสด็จไปประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร หลังจากลาผนวช ได้เสด็จไปทรงศึกษาที่ประเทศอังกฤษ แล้วเสด็จกลับมารับราชการในตำแหน่งต่าง ๆ คือ ปลัดกรมพลำพัง ราชเลขานุการในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 ได้รับสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต ทรงศักดินา 3000 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้รั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ตั้งแต่วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469 แทนเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ที่กราบถวายบังคมทูลลาออกจากตำแหน่ง แล้วจึงโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ เต็มตามตำแหน่ง ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2470 ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงธรรมการจนถึง พ.ศ. 2475 จึงทรงออกจากตำแหน่งภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงแต่งตั้งพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต เป็นองคมนตรี และวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2493 ทรงตั้งเป็นประธานองคมนตรี แทนพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระชัยนาทนเรนทร ที่ย้ายไปเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต่อมาวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ทรงศักดินา 11,000 เมื่อพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระชัยนาทนเรนทร สิ้นพระชนม์ รัฐสภาจึงแต่งตั้งให้พระองค์เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แทนตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2494 สุดท้ายทรงตั้งเป็นประธานองคมนตรีอีกครั้งในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2495 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ยังทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อมาอีก 2 ครั้ง คือตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม ถึงวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2506 ในระหว่างที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ เยือนประเทศญี่ปุ่นและประเทศไต้หวัน และตั้งแต่วันที่ 9 ถึงวันที่ 14 กรกฎาคม ศกเดียวกัน ในระหว่างที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ เยือนประเทศฟิลิปปินส์ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร เสกสมรสกับหม่อมประยูร โสณกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สุขุม) ธิดาของเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) กับโต (สกุลเดิม ณ ป้อมเพชร) มีโอรสธิดา 4 คน ดังนี้1. หม่อมราชวงศ์ไม่มีนาม (เพศชาย) 2. หม่อมราชวงศ์นิวัตวาร ณ ป้อมเพชร 3. หม่อมราชวงศ์ปาณฑิตย์ โสณกุล 4. หม่อมราชวงศ์สุพิชชา ณ ป้อมเพชร พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2517 พระชันษา 88 ปีพระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (ม.จ.ก.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (ร.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ (ว.ภ.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 (ภ.ป.ร.1)เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - เครื่องอิสริยาภรณ์นายพลซาน มาร์ติน ผู้ปลดปล่อย
| พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล"
],
"answer_begin_position": [
242
],
"answer_end_position": [
267
]
} |
1,858 | 59,741 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล" (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 8 กันยายน พ.ศ. 2517) เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ประธานองคมนตรี และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ประสูติเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 เดิมมีฐานันดรศักดิ์เป็นหม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา กับหม่อมเอม โสณกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: กุณฑลจินดา) ธิดา หลวงวรศักดาพิศาล (กาจ กุณฑลจินดา) เมื่อเจริญชันษาได้ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนราชกุมารในพระบรมมหาราชวัง วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2441 หม่อมเจ้าธานีนิวัติทรงผนวชเป็นสามเณร ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสุคุณคณาภรณ์ (ม.ร.ว.ชื่น สุจิตฺโต) เป็นพระศีลาจารย์ วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 ได้ผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงวชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วไปเสด็จไปประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร หลังจากลาผนวช ได้เสด็จไปทรงศึกษาที่ประเทศอังกฤษ แล้วเสด็จกลับมารับราชการในตำแหน่งต่าง ๆ คือ ปลัดกรมพลำพัง ราชเลขานุการในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 ได้รับสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต ทรงศักดินา 3000 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้รั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ตั้งแต่วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469 แทนเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) ที่กราบถวายบังคมทูลลาออกจากตำแหน่ง แล้วจึงโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ เต็มตามตำแหน่ง ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2470 ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงธรรมการจนถึง พ.ศ. 2475 จึงทรงออกจากตำแหน่งภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงแต่งตั้งพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต เป็นองคมนตรี และวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2493 ทรงตั้งเป็นประธานองคมนตรี แทนพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระชัยนาทนเรนทร ที่ย้ายไปเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต่อมาวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ทรงศักดินา 11,000 เมื่อพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระชัยนาทนเรนทร สิ้นพระชนม์ รัฐสภาจึงแต่งตั้งให้พระองค์เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แทนตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2494 สุดท้ายทรงตั้งเป็นประธานองคมนตรีอีกครั้งในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2495 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ยังทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อมาอีก 2 ครั้ง คือตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม ถึงวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2506 ในระหว่างที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ เยือนประเทศญี่ปุ่นและประเทศไต้หวัน และตั้งแต่วันที่ 9 ถึงวันที่ 14 กรกฎาคม ศกเดียวกัน ในระหว่างที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ เยือนประเทศฟิลิปปินส์ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร เสกสมรสกับหม่อมประยูร โสณกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สุขุม) ธิดาของเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) กับโต (สกุลเดิม ณ ป้อมเพชร) มีโอรสธิดา 4 คน ดังนี้1. หม่อมราชวงศ์ไม่มีนาม (เพศชาย) 2. หม่อมราชวงศ์นิวัตวาร ณ ป้อมเพชร 3. หม่อมราชวงศ์ปาณฑิตย์ โสณกุล 4. หม่อมราชวงศ์สุพิชชา ณ ป้อมเพชร พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2517 พระชันษา 88 ปีพระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (ม.จ.ก.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (ร.ว.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ (ว.ภ.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 (ภ.ป.ร.1)เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - เครื่องอิสริยาภรณ์นายพลซาน มาร์ติน ผู้ปลดปล่อย
| พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"7"
],
"answer_begin_position": [
463
],
"answer_end_position": [
464
]
} |
823 | 172,366 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่เจ้าจอมมารดานิ่ม เมื่อแรกประสูติมีพระนามคือ หม่อมเจ้าหญิงนฤมล เดชาติวงศ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2395 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระองค์สิ้นพระชนม์ปีใดไม่ปรากฏ แต่ทราบว่ามีพระชันษา 54 ปี
| สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร พระโอรสของผู้ใด | {
"answer": [
"พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย"
],
"answer_begin_position": [
260
],
"answer_end_position": [
293
]
} |
824 | 172,366 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่เจ้าจอมมารดานิ่ม เมื่อแรกประสูติมีพระนามคือ หม่อมเจ้าหญิงนฤมล เดชาติวงศ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2395 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระองค์สิ้นพระชนม์ปีใดไม่ปรากฏ แต่ทราบว่ามีพระชันษา 54 ปี
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ เป็นพระธิดาของผู้ใด | {
"answer": [
"สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร"
],
"answer_begin_position": [
194
],
"answer_end_position": [
250
]
} |
1,837 | 172,366 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่เจ้าจอมมารดานิ่ม เมื่อแรกประสูติมีพระนามคือ หม่อมเจ้าหญิงนฤมล เดชาติวงศ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2395 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระองค์สิ้นพระชนม์ปีใดไม่ปรากฏ แต่ทราบว่ามีพระชันษา 54 ปี
| พระราชบิดาของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร"
],
"answer_begin_position": [
194
],
"answer_end_position": [
250
]
} |
1,838 | 172,366 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่เจ้าจอมมารดานิ่ม เมื่อแรกประสูติมีพระนามคือ หม่อมเจ้าหญิงนฤมล เดชาติวงศ์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2395 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ พระองค์สิ้นพระชนม์ปีใดไม่ปรากฏ แต่ทราบว่ามีพระชันษา 54 ปี
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านฤมลมณีรัตน์ เมื่อแรกประสูติมีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าหญิงนฤมล เดชาติวงศ์"
],
"answer_begin_position": [
348
],
"answer_end_position": [
376
]
} |
825 | 11,471 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ พลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (4 มกราคม พ.ศ. 2440 — 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร เป็นพระบิดาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถการศึกษา การศึกษา. ทรงได้รับการศึกษาเบื้องต้น ณ วังที่ประทับ หลังจากนั้นจึงเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนราชวิทยาลัยปัจจุบันคือ(โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์) กระทั่ง พ.ศ. 2453 แล้วเข้าโรงเรียนนายร้อยทหารบกชั้นประถม และชั้นมัธยมตามลำดับ ครั้น พ.ศ. 2454 เสด็จไปศึกษาในประเทศอังกฤษ เป็นนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม เมื่อ พ.ศ. 2457 เข้าเรียนในโรงเรียนมัธยม ในประเทศฝรั่งเศส กระทั่งได้รับประกาศนียบัตร Baccalauréat ทั้ง 2 ภาค ในทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นจึงเข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยฝรั่งเศส École Spéciale Militaire de Saint Cyr โดยได้รับยศสิบโทและสิบเอกแห่งกองทัพฝรั่งเศสการทำงาน การทำงาน. พ.ศ. 2463 ทรงศึกษาจนจบหลักสูตร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานสัญญาบัตรเป็นร้อยตรี ตำแหน่งนายทหารนอกกอง สังกัดกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังได้ประจำการในกรมทหารราบฝรั่งเศสหลายแห่งด้วย ขณะเดียวกันได้ทรงรับคำสั่งเป็นนายทหารประจำพระองค์พันเอก สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิ์เดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา (ภายหลังคือพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว) และได้เสด็จไปทอดพระเนตรงานในกองทัพฝรั่งเศสอย่างกว้างขวาง และได้รู้จักคุ้นเคยนายทหารผู้ใหญ่เป็นจำนวนมาก พ.ศ. 2472 ทรงรับราชการทหารจนได้รับพระราชทานยศพันเอก ระหว่างนี้ทรงสร้างตำราทางทหารและสร้างแบบฝึก และวางแผนการป้องกันราชอาณาจักรไว้หลายอย่าง เมื่อ พ.ศ. 2474 ทรงได้รับตำแหน่งเลขานุการสภาป้องกันราชอาณาจักร และตำแหน่งผู้ช่วยเสนาธิการทหารบกด้วย เมื่อ พ.ศ. 2475 ทรงออกจากประจำการเป็นนายทหารกองหนุน แล้วย้ายไปรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ ตำแหน่งเลขานุการเอก ประจำสถานเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงวอชิงตัน อีกสองปีต่อมา ทรงลาออกจากตำแหน่งและเสร็จกลับประเทศไทย ระหว่างนี้ทรงศึกษาวิชาการต่างๆ หลายแขนง เช่น ประวัติศาสตร์ โหราศาสตร์ และวรรณคดี พ.ศ. 2489 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กลับเข้ารับราชการในตำแหน่งอัครราชทูตประจำราชสำนักเซนต์เจมส์ ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2490 ย้ายไปดำรงตำแหน่งอัครราชทูตประจำประเทศเดนมาร์ก และฝรั่งเศส ตามลำดับ จากนั้นก็ย้ายไปดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต ประจำสำนักเซนต์เจมส์ อันเป็นตำแหน่งสุดท้ายในกระทรวงการต่างประเทศ พ.ศ. 2493 ทรงพ้นตำแหน่งเอกอัครราชทูต และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และสถาปนาพระอิสริยศักดิ์ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล เมื่อ พ.ศ. 2495 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอิสริยศักดิ์ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ และรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก และมหาจักรีบรมราชวงศ์ ตามลำดับ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถเริ่มประชวรพระโรคหลอดลมอักเสบ เมื่อกลางเดือนมกราคม พ.ศ. 2496 และยังประชวรพระโรควักกะ (ไต) พิการด้วย จนถึงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 เวลา 7.45 น. ก็สิ้นพระชนม์ ณ วังที่ประทับ สิริพระชันษา 56 ปี 1 เดือน 8 วันพระโอรส-ธิดา พระโอรส-ธิดา. พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เสกสมรสกับหม่อมหลวงบัว กิติยากร (สนิทวงศ์) ธิดาพลเอกเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) เมื่อ พ.ศ. 2471 มีพระโอรสธิดา ดังนี้1. หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (20 กันยายน พ.ศ. 2472 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 2. หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร (2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 - 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2547) 3. สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 (12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) 4. ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ (2 สิงหาคม พ.ศ. 2477)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (ม.จ.ก.)- พ.ศ. 2496 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1 - พ.ศ. 2470 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ))พงศาวลี
| พลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เสกสมรสกับใคร | {
"answer": [
"หม่อมหลวงบัว กิติยากร"
],
"answer_begin_position": [
3166
],
"answer_end_position": [
3187
]
} |
1,606 | 11,471 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ พลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (4 มกราคม พ.ศ. 2440 — 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร เป็นพระบิดาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถการศึกษา การศึกษา. ทรงได้รับการศึกษาเบื้องต้น ณ วังที่ประทับ หลังจากนั้นจึงเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนราชวิทยาลัยปัจจุบันคือ(โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์) กระทั่ง พ.ศ. 2453 แล้วเข้าโรงเรียนนายร้อยทหารบกชั้นประถม และชั้นมัธยมตามลำดับ ครั้น พ.ศ. 2454 เสด็จไปศึกษาในประเทศอังกฤษ เป็นนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม เมื่อ พ.ศ. 2457 เข้าเรียนในโรงเรียนมัธยม ในประเทศฝรั่งเศส กระทั่งได้รับประกาศนียบัตร Baccalauréat ทั้ง 2 ภาค ในทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นจึงเข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยฝรั่งเศส École Spéciale Militaire de Saint Cyr โดยได้รับยศสิบโทและสิบเอกแห่งกองทัพฝรั่งเศสการทำงาน การทำงาน. พ.ศ. 2463 ทรงศึกษาจนจบหลักสูตร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานสัญญาบัตรเป็นร้อยตรี ตำแหน่งนายทหารนอกกอง สังกัดกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังได้ประจำการในกรมทหารราบฝรั่งเศสหลายแห่งด้วย ขณะเดียวกันได้ทรงรับคำสั่งเป็นนายทหารประจำพระองค์พันเอก สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิ์เดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา (ภายหลังคือพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว) และได้เสด็จไปทอดพระเนตรงานในกองทัพฝรั่งเศสอย่างกว้างขวาง และได้รู้จักคุ้นเคยนายทหารผู้ใหญ่เป็นจำนวนมาก พ.ศ. 2472 ทรงรับราชการทหารจนได้รับพระราชทานยศพันเอก ระหว่างนี้ทรงสร้างตำราทางทหารและสร้างแบบฝึก และวางแผนการป้องกันราชอาณาจักรไว้หลายอย่าง เมื่อ พ.ศ. 2474 ทรงได้รับตำแหน่งเลขานุการสภาป้องกันราชอาณาจักร และตำแหน่งผู้ช่วยเสนาธิการทหารบกด้วย เมื่อ พ.ศ. 2475 ทรงออกจากประจำการเป็นนายทหารกองหนุน แล้วย้ายไปรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ ตำแหน่งเลขานุการเอก ประจำสถานเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงวอชิงตัน อีกสองปีต่อมา ทรงลาออกจากตำแหน่งและเสร็จกลับประเทศไทย ระหว่างนี้ทรงศึกษาวิชาการต่างๆ หลายแขนง เช่น ประวัติศาสตร์ โหราศาสตร์ และวรรณคดี พ.ศ. 2489 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กลับเข้ารับราชการในตำแหน่งอัครราชทูตประจำราชสำนักเซนต์เจมส์ ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2490 ย้ายไปดำรงตำแหน่งอัครราชทูตประจำประเทศเดนมาร์ก และฝรั่งเศส ตามลำดับ จากนั้นก็ย้ายไปดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต ประจำสำนักเซนต์เจมส์ อันเป็นตำแหน่งสุดท้ายในกระทรวงการต่างประเทศ พ.ศ. 2493 ทรงพ้นตำแหน่งเอกอัครราชทูต และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และสถาปนาพระอิสริยศักดิ์ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล เมื่อ พ.ศ. 2495 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอิสริยศักดิ์ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ และรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก และมหาจักรีบรมราชวงศ์ ตามลำดับ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถเริ่มประชวรพระโรคหลอดลมอักเสบ เมื่อกลางเดือนมกราคม พ.ศ. 2496 และยังประชวรพระโรควักกะ (ไต) พิการด้วย จนถึงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 เวลา 7.45 น. ก็สิ้นพระชนม์ ณ วังที่ประทับ สิริพระชันษา 56 ปี 1 เดือน 8 วันพระโอรส-ธิดา พระโอรส-ธิดา. พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เสกสมรสกับหม่อมหลวงบัว กิติยากร (สนิทวงศ์) ธิดาพลเอกเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) เมื่อ พ.ศ. 2471 มีพระโอรสธิดา ดังนี้1. หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (20 กันยายน พ.ศ. 2472 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 2. หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร (2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 - 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2547) 3. สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 (12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) 4. ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ (2 สิงหาคม พ.ศ. 2477)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (ม.จ.ก.)- พ.ศ. 2496 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 1 - พ.ศ. 2470 - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ))พงศาวลี
| พระมารดาของพลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร"
],
"answer_begin_position": [
387
],
"answer_end_position": [
414
]
} |
826 | 846,553 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้านิลวรรณ อุไรพงศ์; ไม่ปรากฎ - 22 มิถุนายน พ.ศ. 2443) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุไร กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่ 5 ทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ เมื่อปีระกา พ.ศ. 2438 พระองค์เจ้านิลวรรณทรงเป็นแม่กองก่อสร้างสุสานหลวงวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารภายหลังพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ แม่กองงานพระองค์แรกสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2440 สิ้นพระชนม์เมื่อที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2443 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดราชาธิวาส วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443 โดยพระศพของพระองค์ได้พระราชทานเพลิงครวามเดียวกับพระศพของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโต กรมหลวงมหิศวรินทรามเรศร์และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศราพงศ์
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ พระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้านิลวรรณ อุไรพงศ์"
],
"answer_begin_position": [
183
],
"answer_end_position": [
208
]
} |
827 | 846,553 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้านิลวรรณ อุไรพงศ์; ไม่ปรากฎ - 22 มิถุนายน พ.ศ. 2443) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุไร กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่ 5 ทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ เมื่อปีระกา พ.ศ. 2438 พระองค์เจ้านิลวรรณทรงเป็นแม่กองก่อสร้างสุสานหลวงวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารภายหลังพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ แม่กองงานพระองค์แรกสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2440 สิ้นพระชนม์เมื่อที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2443 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดราชาธิวาส วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443 โดยพระศพของพระองค์ได้พระราชทานเพลิงครวามเดียวกับพระศพของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโต กรมหลวงมหิศวรินทรามเรศร์และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศราพงศ์
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ ทรงเป็นแม่กองก่อสร้างสุสานหลวงวัดอะไร | {
"answer": [
"วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร"
],
"answer_begin_position": [
519
],
"answer_end_position": [
553
]
} |
828 | 604,043 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าบงกช นพวงศ์; พ.ศ. 2384 - 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เจ้าบงกช ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2384 ในรัชกาลที่ 5 ทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช เมื่อปีมะแม พ.ศ. 2438 สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 6 เมื่ออังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดราชาธิวาส วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าจันทร์ สุประดิษฐ์ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช พระนามเดิมเรียกว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าบงกช นพวงศ์"
],
"answer_begin_position": [
174
],
"answer_end_position": [
194
]
} |
829 | 604,043 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าบงกช นพวงศ์; พ.ศ. 2384 - 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เจ้าบงกช ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2384 ในรัชกาลที่ 5 ทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช เมื่อปีมะแม พ.ศ. 2438 สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 6 เมื่ออังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดราชาธิวาส วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช เสกสมรสกับ หม่อมเจ้าจันทร์ สุประดิษฐ์ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช เสกสมรสกับหม่อมเจ้าองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าจันทร์ สุประดิษฐ์"
],
"answer_begin_position": [
662
],
"answer_end_position": [
688
]
} |
830 | 50,876 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช พลเอก นายพลเสือป่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช (2 เมษายน พ.ศ. 2420 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นผู้นำกบฏบวรเดชพยายามยึดอำนาจจากรัฐบาลคณะราษฎร เมื่อ พ.ศ. 2476พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ที่ประสูติแต่หม่อมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา เมื่อวันอังคารที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2420 หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร เข้าศึกษาวิชาการทหารจากโรงเรียนนายร้อยทหารปืนใหญ่และทหารช่าง ประเทศอังกฤษ ในขณะนั้นพระบิดา คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ทรงดำรงตำแหน่งอัครราชทูตประจำประเทศอังกฤษ ทรงสำเร็จการศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2441 สอบได้ชั้นที่ 4 อันดับที่ 22 จึงได้รับพระราชทานยศร้อยตรี (ร.ต.) ของกองทัพบกไทย แต่ได้ทรงศึกษาเพิ่มเติมในโรงเรียนนายทหารช่างอังกฤษเพิ่มอีก 1 ปี จึงเสด็จกลับประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2443 เข้าประจำการที่กรมเสนาธิการทหารบก จึงถือได้ว่าทรงเป็นนายทหารไทยรุ่นแรกที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ในขณะนั้น พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช เป็นผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ จึงเสมือนเป็นพระหัตถ์ขวาของพระองค์เจ้าจิรประวัติฯ ในการปรับปรุงจัดระเบียบกองทัพในแบบสมัยใหม่ ทรงได้รับตำแหน่งผู้บัญชาการมณฑลทหารบกนครราชสีมา ซึ่งเป็นมณฑลแรกในประเทศไทยที่มีการเกณฑ์ทหาร ทรงได้รับพระราชทานยศพลตรี (พล.ต.) เมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา และได้รับพระราชทานพลโท (พล.ท.) ในปี พ.ศ. 2456 ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งไม่นาน ทรงดำรงตำแหน่งแม่ทัพกองทัพน้อยที่ 3 นครราชสีมา และรั้งตำแหน่งจเรทหารปืนใหญ่อีกตำแหน่งหนึ่ง ทรงเสกสมรสกับ เจ้าหญิงทิพวัน ณ เชียงใหม่ ธิดาของเจ้าเทพดำรงรักษาเขตกับเจ้าแม่พิมพา กนิษฐาของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เมื่อ พ.ศ. 2445 จากนั้นทรงรับตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นเวลา 3 ปี หม่อมเจ้าบวรเดชได้รับแต่งตั้งให้เป็นอุปราชมณฑลพายัพ ที่เชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2458-2462 และดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เมื่อ พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้สถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช เมื่อ พ.ศ. 2472 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ทรงลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหมในกลางปี พ.ศ. 2474 เนื่องจากทรงขัดแย้งกับจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในเรื่องการปรับปรุงโครงสร้างกองทัพบก พระชนชีพในบั้นปลาย หลังจากที่เสด็จกลับสู่ประเทศไทยหลังจากที่ทรงลี้ภัยทางการเมืองนานถึง 16 ปี ทรงตั้งโรงงานทอผ้าขึ้นที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทอผ้าโขมพัสตร์ขึ้นจำหน่ายได้รับความนิยมอย่างยิ่ง ทรงมีพระอาการประชวรกระเสาะกระแสะ ได้เสด็จไปประทับรักษาพระองค์ที่โรงพยาบาลศิริราช ที่สุดก็สิ้นพระชนม์ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ขณะมีพระชนมายุ 76 พรรษา และได้รับพระราชทานพระเพลิงพระศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2497การเมืองการเปลี่ยนแปลงการปกครอง การเมือง. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบ้านการเมือง ตั้งแต่ช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 ไม่นาน เมื่อทรงได้วิพากษ์วิจารณ์เรื่องการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชอย่างเปิดเผย โดยยังทรงเป็นที่นับถือของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในฐานะที่ทรงเป็นนายทหารชั้นอาวุโส และทรงสำเร็จการศึกษาจากสถาบันเดียวกับพระองค์ ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 ไม่นาน คณะราษฎร โดย พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎรได้ลองทาบทามพระองค์ เพื่อดูท่าที ได้รับสั่งให้พระยาพหลฯ และพรรคพวกเขียนความเห็นในเรื่องการเปลี่ยนแปลงการปกครองลงหนังสือพิมพ์ ทำนองขอประชามติเช่นเดียวกับอารยประเทศในทวีปยุโรป ซึ่งพระยาพหลฯกราบทูลว่า ผู้ที่ทำเช่นนั้นติดคุกไปแล้วหลายคน วิธีที่ดีที่สุดคือ ใช้กำลังบุกจู่โจมจับคณะอภิรัฐมนตรีขังไว้ แล้วกราบขอพระราชทานรัฐธรรมนูญ ก็คงจะสำเร็จ แต่ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ได้ทรงตอบพระยาพหลฯไปว่า ตัวพระองค์เกิดในพระราชวงศ์จักรี หากทำเช่นนั้นจะได้ชื่อว่าอกตัญญู ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ถือเป็นเจ้านายระดับสูงเพียงไม่กี่พระองค์ที่ไม่ถูกควบคุมองค์ไว้ในฐานะองค์ประกัน แต่ในเวลาราว 23.00 น. ของคืนวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 อันป็นวันที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งเป็นสถานที่ ๆ คณะราษฎรได้ยึดกุมเอาไว้เป็นสถานที่บัญชาการ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ก็ยังได้ไปปรากฏพระองค์ที่หน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม ทรงแจ้งความประสงค์ว่า จะขอพบกับหัวหน้าคณะผู้ก่อการ เมื่อได้พบแล้ว พระองค์ท่านได้สนทนาเพียงสั้น ๆ ว่า ทำอะไรกัน ทำไมไม่บอกให้รู้กันก่อน เมื่อหัวหน้าผู้ก่อการ คือ พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้ทูลตอบว่า จะให้ทรงทราบไม่ได้ ไม่เช่นนั้นจะไม่สำเร็จ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช จึงกล่าวว่า เมื่อทำแล้ว ก็ขอให้ทำให้ถึงที่สุด เสร็จแล้วก็เสด็จกลับกบฏบวรเดช กบฏบวรเดช. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดความแตกแยกในคณะราษฎร พระยาพหลพลพยุหเสนา ก่อรัฐประหารยึดอำนาจรัฐบาล พระยามโนปกรณ์นิติธาดา และขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เกิดความขัดแย้งระหว่างพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับผู้นำในคณะราษฎรหลายครั้งเกี่ยวกับแนวทางการเมืองของประเทศ สาเหตุสำคัญมีอาทิการกำหนดสถานภาพของพระมหากษัตริย์ในระบอบการปกครองใหม่ จนถึงข้อเสนอของนายปรีดี พนมยงค์ที่เรียกว่า "เค้าโครงเศรษฐกิจ" ซึ่งนำเสนอรัฐสภาและทูลเกล้า ฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ เพื่อมีพระราชวินิจฉัย ซึ่งทรงวิพากษ์วิจารณ์ข้อเสนอดังกล่าวอย่างรุนแรง โดยทรงเห็นว่าจะส่งผลกระทบต่อพื้นฐานทางการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก ซึ่งอาจจะนำไปสู่ความวุ่นวายได้ ขณะที่ฝ่ายคณะราษฎรถือว่าปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงและเป็นความต้องการรักษาอำนาจของ "ฝ่ายศักดินา" หรือ "ระบอบเก่า" ความขัดแย้งดังกล่าวขยายตัวชัดเจนมากขึ้นจนมีการอภิปรายในรัฐสภาคัดค้านเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว กดดันให้นายปรีดี พนมยงค์ ต้องเดินทางไปพำนักในฝรั่งเศส ก่อนที่ผู้นำฝ่ายทหารของคณะราษฎรคือ พระยาพหลพลพยุหเสนา ต้องก่อรัฐประหารเพื่อรักษาอำนาจของคณะราษฎรไว้ ทำให้ความขัดแย้งของทั้งสองฝ่ายรุนแรงมากขึ้น ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ทรงส่งกำลังทหารจากหัวเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางนครราชสีมา อุบลราชธานี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา และเพชรบุรี เคลื่อนกำลังทางรถไฟเข้ายึดสนามบินดอนเมืองได้เมื่อวันที่ 12 และเคลื่อนกำลังทหารเข้ายึดพื้นที่ไปตามแนวคลองบางเขนจนถึงสถานีรถไฟบางเขน เพื่อบีบบังคับให้รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา กระทำตามเงื่อนไข 6 ข้อ ใจความโดยย่อคือ ให้รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ ให้อำนาจรัฐสภามากขึ้นและจำกัดอำนาจของรัฐบาลมิให้กลายเป็นคณะเผด็จการ อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนไหวของพระองค์เจ้าบวรเดชในครั้งนั้นถูกมองจากฝ่ายนิยมคณะราษฎรว่าเป็นความพยายามในการฟื้นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และต่อต้านระบอบประชาธิปไตย ในเวลาเดียวกัน ฝ่ายรัฐบาลได้มอบหมายให้ พันโทหลวงพิบูลสงคราม รองผู้บัญชาการทหารบก เป็นผู้บังคับกองผสมทำการรุกตอบโต้ จนทหารบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมาก จนถึงวันที่ 15 กำลังทหารหัวเมืองได้ถอนกำลังออกจากดอนเมือง เคลื่อนที่ไปยังปากช่องอันเป็นที่มั่นด่านสุดท้าย ขณะที่กองหน้าของกองบังคับการผสมได้ติดตามไปจนถึงสถานีปากช่อง และ พันเอกพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) แม่ทัพซึ่งรับหน้าที่เป็นกองระวังหลัง ถูกยิงเสียชีวิตบนทางรถไฟใกล้สถานีหินลับ อำเภอปากช่อง ในเวลาพลบค่ำ เมื่อที่มั่นแห่งสุดท้ายคือสถานีปากช่องถูกยึด และแม่ทัพเสียชีวิต พระองค์เจ้าบวรเดชและพระชายาจึงเสด็จหนีโดยทางเครื่องบินจากฐานบินโคราช มีหลวงเวหนเหิรเป็นนักบิน ไปขอลี้ภัยทางการเมืองที่เมืองไซ่ง่อน ประเทศเวียดนาม จนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงย้ายไปประทับที่ประเทศกัมพูชา และเสด็จกลับประเทศไทยโดยรถยนต์เข้าทางอำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี พร้อม หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร พระชายา เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2491หลังจากที่รัฐบาลในขณะนั้นได้ออกกฎหมายนิรโทษกรรมให้กับนักโทษการเมืองทุกคดี โดยพระชนชีพที่ไซง่อนและกัมพูชา ทรงเปิดโรงงานทอผ้าและค้าขายถ่าน รวมระยะเวลาที่ทรงลี้ภัยนานถึง 16 ปีพระโอรส-ธิดา พระโอรส-ธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีชายาเพียงองค์เดียวคือ หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร พระขนิษฐาต่างหม่อมมารดา และหม่อมอีก 2 ท่าน คือ หม่อมทิพวัน (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่) และหม่อมบัวนวล (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่) มีพระโอรสหนึ่งคนและพระธิดาสี่คน ได้แก่1. หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา (นามเดิม: เจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2426 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497)1. พระธิดา 1 คน (อนิจกรรมตั้งแต่คลอด) 2. หม่อมบัวนวล กฤดากร ณ อยุธยา (นามเดิม: เจ้าบัวนวล ณ เชียงใหม่)1. หม่อมราชวงศ์จิรเดช กฤดากร 3. หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร (พ.ศ. 2446-2524) พระขนิษฐาต่างมารดา1. หม่อมราชวงศ์วิภาสิริ วุฒินันท์ 2. หม่อมราชวงศ์อัจฉริยา คงสิริ 3. หม่อมราชวงศ์ภรณี รอสส์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (ร.ว.)- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ชั้นที่ 2 (มหาโยธิน) (ม.ร.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ))
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร"
],
"answer_begin_position": [
390
],
"answer_end_position": [
412
]
} |
831 | 50,876 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช พลเอก นายพลเสือป่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช (2 เมษายน พ.ศ. 2420 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นผู้นำกบฏบวรเดชพยายามยึดอำนาจจากรัฐบาลคณะราษฎร เมื่อ พ.ศ. 2476พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ที่ประสูติแต่หม่อมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา เมื่อวันอังคารที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2420 หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร เข้าศึกษาวิชาการทหารจากโรงเรียนนายร้อยทหารปืนใหญ่และทหารช่าง ประเทศอังกฤษ ในขณะนั้นพระบิดา คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ทรงดำรงตำแหน่งอัครราชทูตประจำประเทศอังกฤษ ทรงสำเร็จการศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2441 สอบได้ชั้นที่ 4 อันดับที่ 22 จึงได้รับพระราชทานยศร้อยตรี (ร.ต.) ของกองทัพบกไทย แต่ได้ทรงศึกษาเพิ่มเติมในโรงเรียนนายทหารช่างอังกฤษเพิ่มอีก 1 ปี จึงเสด็จกลับประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2443 เข้าประจำการที่กรมเสนาธิการทหารบก จึงถือได้ว่าทรงเป็นนายทหารไทยรุ่นแรกที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ในขณะนั้น พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช เป็นผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ จึงเสมือนเป็นพระหัตถ์ขวาของพระองค์เจ้าจิรประวัติฯ ในการปรับปรุงจัดระเบียบกองทัพในแบบสมัยใหม่ ทรงได้รับตำแหน่งผู้บัญชาการมณฑลทหารบกนครราชสีมา ซึ่งเป็นมณฑลแรกในประเทศไทยที่มีการเกณฑ์ทหาร ทรงได้รับพระราชทานยศพลตรี (พล.ต.) เมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา และได้รับพระราชทานพลโท (พล.ท.) ในปี พ.ศ. 2456 ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งไม่นาน ทรงดำรงตำแหน่งแม่ทัพกองทัพน้อยที่ 3 นครราชสีมา และรั้งตำแหน่งจเรทหารปืนใหญ่อีกตำแหน่งหนึ่ง ทรงเสกสมรสกับ เจ้าหญิงทิพวัน ณ เชียงใหม่ ธิดาของเจ้าเทพดำรงรักษาเขตกับเจ้าแม่พิมพา กนิษฐาของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เมื่อ พ.ศ. 2445 จากนั้นทรงรับตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นเวลา 3 ปี หม่อมเจ้าบวรเดชได้รับแต่งตั้งให้เป็นอุปราชมณฑลพายัพ ที่เชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2458-2462 และดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เมื่อ พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้สถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช เมื่อ พ.ศ. 2472 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ทรงลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหมในกลางปี พ.ศ. 2474 เนื่องจากทรงขัดแย้งกับจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในเรื่องการปรับปรุงโครงสร้างกองทัพบก พระชนชีพในบั้นปลาย หลังจากที่เสด็จกลับสู่ประเทศไทยหลังจากที่ทรงลี้ภัยทางการเมืองนานถึง 16 ปี ทรงตั้งโรงงานทอผ้าขึ้นที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทอผ้าโขมพัสตร์ขึ้นจำหน่ายได้รับความนิยมอย่างยิ่ง ทรงมีพระอาการประชวรกระเสาะกระแสะ ได้เสด็จไปประทับรักษาพระองค์ที่โรงพยาบาลศิริราช ที่สุดก็สิ้นพระชนม์ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ขณะมีพระชนมายุ 76 พรรษา และได้รับพระราชทานพระเพลิงพระศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2497การเมืองการเปลี่ยนแปลงการปกครอง การเมือง. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบ้านการเมือง ตั้งแต่ช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 ไม่นาน เมื่อทรงได้วิพากษ์วิจารณ์เรื่องการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชอย่างเปิดเผย โดยยังทรงเป็นที่นับถือของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในฐานะที่ทรงเป็นนายทหารชั้นอาวุโส และทรงสำเร็จการศึกษาจากสถาบันเดียวกับพระองค์ ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 ไม่นาน คณะราษฎร โดย พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎรได้ลองทาบทามพระองค์ เพื่อดูท่าที ได้รับสั่งให้พระยาพหลฯ และพรรคพวกเขียนความเห็นในเรื่องการเปลี่ยนแปลงการปกครองลงหนังสือพิมพ์ ทำนองขอประชามติเช่นเดียวกับอารยประเทศในทวีปยุโรป ซึ่งพระยาพหลฯกราบทูลว่า ผู้ที่ทำเช่นนั้นติดคุกไปแล้วหลายคน วิธีที่ดีที่สุดคือ ใช้กำลังบุกจู่โจมจับคณะอภิรัฐมนตรีขังไว้ แล้วกราบขอพระราชทานรัฐธรรมนูญ ก็คงจะสำเร็จ แต่ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ได้ทรงตอบพระยาพหลฯไปว่า ตัวพระองค์เกิดในพระราชวงศ์จักรี หากทำเช่นนั้นจะได้ชื่อว่าอกตัญญู ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ถือเป็นเจ้านายระดับสูงเพียงไม่กี่พระองค์ที่ไม่ถูกควบคุมองค์ไว้ในฐานะองค์ประกัน แต่ในเวลาราว 23.00 น. ของคืนวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 อันป็นวันที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งเป็นสถานที่ ๆ คณะราษฎรได้ยึดกุมเอาไว้เป็นสถานที่บัญชาการ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ก็ยังได้ไปปรากฏพระองค์ที่หน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม ทรงแจ้งความประสงค์ว่า จะขอพบกับหัวหน้าคณะผู้ก่อการ เมื่อได้พบแล้ว พระองค์ท่านได้สนทนาเพียงสั้น ๆ ว่า ทำอะไรกัน ทำไมไม่บอกให้รู้กันก่อน เมื่อหัวหน้าผู้ก่อการ คือ พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้ทูลตอบว่า จะให้ทรงทราบไม่ได้ ไม่เช่นนั้นจะไม่สำเร็จ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช จึงกล่าวว่า เมื่อทำแล้ว ก็ขอให้ทำให้ถึงที่สุด เสร็จแล้วก็เสด็จกลับกบฏบวรเดช กบฏบวรเดช. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดความแตกแยกในคณะราษฎร พระยาพหลพลพยุหเสนา ก่อรัฐประหารยึดอำนาจรัฐบาล พระยามโนปกรณ์นิติธาดา และขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เกิดความขัดแย้งระหว่างพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับผู้นำในคณะราษฎรหลายครั้งเกี่ยวกับแนวทางการเมืองของประเทศ สาเหตุสำคัญมีอาทิการกำหนดสถานภาพของพระมหากษัตริย์ในระบอบการปกครองใหม่ จนถึงข้อเสนอของนายปรีดี พนมยงค์ที่เรียกว่า "เค้าโครงเศรษฐกิจ" ซึ่งนำเสนอรัฐสภาและทูลเกล้า ฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ เพื่อมีพระราชวินิจฉัย ซึ่งทรงวิพากษ์วิจารณ์ข้อเสนอดังกล่าวอย่างรุนแรง โดยทรงเห็นว่าจะส่งผลกระทบต่อพื้นฐานทางการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก ซึ่งอาจจะนำไปสู่ความวุ่นวายได้ ขณะที่ฝ่ายคณะราษฎรถือว่าปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงและเป็นความต้องการรักษาอำนาจของ "ฝ่ายศักดินา" หรือ "ระบอบเก่า" ความขัดแย้งดังกล่าวขยายตัวชัดเจนมากขึ้นจนมีการอภิปรายในรัฐสภาคัดค้านเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว กดดันให้นายปรีดี พนมยงค์ ต้องเดินทางไปพำนักในฝรั่งเศส ก่อนที่ผู้นำฝ่ายทหารของคณะราษฎรคือ พระยาพหลพลพยุหเสนา ต้องก่อรัฐประหารเพื่อรักษาอำนาจของคณะราษฎรไว้ ทำให้ความขัดแย้งของทั้งสองฝ่ายรุนแรงมากขึ้น ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ทรงส่งกำลังทหารจากหัวเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางนครราชสีมา อุบลราชธานี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา และเพชรบุรี เคลื่อนกำลังทางรถไฟเข้ายึดสนามบินดอนเมืองได้เมื่อวันที่ 12 และเคลื่อนกำลังทหารเข้ายึดพื้นที่ไปตามแนวคลองบางเขนจนถึงสถานีรถไฟบางเขน เพื่อบีบบังคับให้รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา กระทำตามเงื่อนไข 6 ข้อ ใจความโดยย่อคือ ให้รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ ให้อำนาจรัฐสภามากขึ้นและจำกัดอำนาจของรัฐบาลมิให้กลายเป็นคณะเผด็จการ อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนไหวของพระองค์เจ้าบวรเดชในครั้งนั้นถูกมองจากฝ่ายนิยมคณะราษฎรว่าเป็นความพยายามในการฟื้นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และต่อต้านระบอบประชาธิปไตย ในเวลาเดียวกัน ฝ่ายรัฐบาลได้มอบหมายให้ พันโทหลวงพิบูลสงคราม รองผู้บัญชาการทหารบก เป็นผู้บังคับกองผสมทำการรุกตอบโต้ จนทหารบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมาก จนถึงวันที่ 15 กำลังทหารหัวเมืองได้ถอนกำลังออกจากดอนเมือง เคลื่อนที่ไปยังปากช่องอันเป็นที่มั่นด่านสุดท้าย ขณะที่กองหน้าของกองบังคับการผสมได้ติดตามไปจนถึงสถานีปากช่อง และ พันเอกพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) แม่ทัพซึ่งรับหน้าที่เป็นกองระวังหลัง ถูกยิงเสียชีวิตบนทางรถไฟใกล้สถานีหินลับ อำเภอปากช่อง ในเวลาพลบค่ำ เมื่อที่มั่นแห่งสุดท้ายคือสถานีปากช่องถูกยึด และแม่ทัพเสียชีวิต พระองค์เจ้าบวรเดชและพระชายาจึงเสด็จหนีโดยทางเครื่องบินจากฐานบินโคราช มีหลวงเวหนเหิรเป็นนักบิน ไปขอลี้ภัยทางการเมืองที่เมืองไซ่ง่อน ประเทศเวียดนาม จนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงย้ายไปประทับที่ประเทศกัมพูชา และเสด็จกลับประเทศไทยโดยรถยนต์เข้าทางอำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี พร้อม หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร พระชายา เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2491หลังจากที่รัฐบาลในขณะนั้นได้ออกกฎหมายนิรโทษกรรมให้กับนักโทษการเมืองทุกคดี โดยพระชนชีพที่ไซง่อนและกัมพูชา ทรงเปิดโรงงานทอผ้าและค้าขายถ่าน รวมระยะเวลาที่ทรงลี้ภัยนานถึง 16 ปีพระโอรส-ธิดา พระโอรส-ธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีชายาเพียงองค์เดียวคือ หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร พระขนิษฐาต่างหม่อมมารดา และหม่อมอีก 2 ท่าน คือ หม่อมทิพวัน (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่) และหม่อมบัวนวล (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่) มีพระโอรสหนึ่งคนและพระธิดาสี่คน ได้แก่1. หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา (นามเดิม: เจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2426 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497)1. พระธิดา 1 คน (อนิจกรรมตั้งแต่คลอด) 2. หม่อมบัวนวล กฤดากร ณ อยุธยา (นามเดิม: เจ้าบัวนวล ณ เชียงใหม่)1. หม่อมราชวงศ์จิรเดช กฤดากร 3. หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร (พ.ศ. 2446-2524) พระขนิษฐาต่างมารดา1. หม่อมราชวงศ์วิภาสิริ วุฒินันท์ 2. หม่อมราชวงศ์อัจฉริยา คงสิริ 3. หม่อมราชวงศ์ภรณี รอสส์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (ร.ว.)- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ชั้นที่ 2 (มหาโยธิน) (ม.ร.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ))
| หม่อมทิพวัน ใช้สกุลเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"ณ เชียงใหม่"
],
"answer_begin_position": [
7451
],
"answer_end_position": [
7462
]
} |
1,865 | 50,876 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช พลเอก นายพลเสือป่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช (2 เมษายน พ.ศ. 2420 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นผู้นำกบฏบวรเดชพยายามยึดอำนาจจากรัฐบาลคณะราษฎร เมื่อ พ.ศ. 2476พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ที่ประสูติแต่หม่อมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา เมื่อวันอังคารที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2420 หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร เข้าศึกษาวิชาการทหารจากโรงเรียนนายร้อยทหารปืนใหญ่และทหารช่าง ประเทศอังกฤษ ในขณะนั้นพระบิดา คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ทรงดำรงตำแหน่งอัครราชทูตประจำประเทศอังกฤษ ทรงสำเร็จการศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2441 สอบได้ชั้นที่ 4 อันดับที่ 22 จึงได้รับพระราชทานยศร้อยตรี (ร.ต.) ของกองทัพบกไทย แต่ได้ทรงศึกษาเพิ่มเติมในโรงเรียนนายทหารช่างอังกฤษเพิ่มอีก 1 ปี จึงเสด็จกลับประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2443 เข้าประจำการที่กรมเสนาธิการทหารบก จึงถือได้ว่าทรงเป็นนายทหารไทยรุ่นแรกที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ในขณะนั้น พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช เป็นผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ จึงเสมือนเป็นพระหัตถ์ขวาของพระองค์เจ้าจิรประวัติฯ ในการปรับปรุงจัดระเบียบกองทัพในแบบสมัยใหม่ ทรงได้รับตำแหน่งผู้บัญชาการมณฑลทหารบกนครราชสีมา ซึ่งเป็นมณฑลแรกในประเทศไทยที่มีการเกณฑ์ทหาร ทรงได้รับพระราชทานยศพลตรี (พล.ต.) เมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา และได้รับพระราชทานพลโท (พล.ท.) ในปี พ.ศ. 2456 ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งไม่นาน ทรงดำรงตำแหน่งแม่ทัพกองทัพน้อยที่ 3 นครราชสีมา และรั้งตำแหน่งจเรทหารปืนใหญ่อีกตำแหน่งหนึ่ง ทรงเสกสมรสกับ เจ้าหญิงทิพวัน ณ เชียงใหม่ ธิดาของเจ้าเทพดำรงรักษาเขตกับเจ้าแม่พิมพา กนิษฐาของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เมื่อ พ.ศ. 2445 จากนั้นทรงรับตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นเวลา 3 ปี หม่อมเจ้าบวรเดชได้รับแต่งตั้งให้เป็นอุปราชมณฑลพายัพ ที่เชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2458-2462 และดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เมื่อ พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้สถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช เมื่อ พ.ศ. 2472 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ทรงลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหมในกลางปี พ.ศ. 2474 เนื่องจากทรงขัดแย้งกับจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในเรื่องการปรับปรุงโครงสร้างกองทัพบก พระชนชีพในบั้นปลาย หลังจากที่เสด็จกลับสู่ประเทศไทยหลังจากที่ทรงลี้ภัยทางการเมืองนานถึง 16 ปี ทรงตั้งโรงงานทอผ้าขึ้นที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทอผ้าโขมพัสตร์ขึ้นจำหน่ายได้รับความนิยมอย่างยิ่ง ทรงมีพระอาการประชวรกระเสาะกระแสะ ได้เสด็จไปประทับรักษาพระองค์ที่โรงพยาบาลศิริราช ที่สุดก็สิ้นพระชนม์ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ขณะมีพระชนมายุ 76 พรรษา และได้รับพระราชทานพระเพลิงพระศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2497การเมืองการเปลี่ยนแปลงการปกครอง การเมือง. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบ้านการเมือง ตั้งแต่ช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 ไม่นาน เมื่อทรงได้วิพากษ์วิจารณ์เรื่องการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชอย่างเปิดเผย โดยยังทรงเป็นที่นับถือของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในฐานะที่ทรงเป็นนายทหารชั้นอาวุโส และทรงสำเร็จการศึกษาจากสถาบันเดียวกับพระองค์ ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 ไม่นาน คณะราษฎร โดย พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎรได้ลองทาบทามพระองค์ เพื่อดูท่าที ได้รับสั่งให้พระยาพหลฯ และพรรคพวกเขียนความเห็นในเรื่องการเปลี่ยนแปลงการปกครองลงหนังสือพิมพ์ ทำนองขอประชามติเช่นเดียวกับอารยประเทศในทวีปยุโรป ซึ่งพระยาพหลฯกราบทูลว่า ผู้ที่ทำเช่นนั้นติดคุกไปแล้วหลายคน วิธีที่ดีที่สุดคือ ใช้กำลังบุกจู่โจมจับคณะอภิรัฐมนตรีขังไว้ แล้วกราบขอพระราชทานรัฐธรรมนูญ ก็คงจะสำเร็จ แต่ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ได้ทรงตอบพระยาพหลฯไปว่า ตัวพระองค์เกิดในพระราชวงศ์จักรี หากทำเช่นนั้นจะได้ชื่อว่าอกตัญญู ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ถือเป็นเจ้านายระดับสูงเพียงไม่กี่พระองค์ที่ไม่ถูกควบคุมองค์ไว้ในฐานะองค์ประกัน แต่ในเวลาราว 23.00 น. ของคืนวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 อันป็นวันที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งเป็นสถานที่ ๆ คณะราษฎรได้ยึดกุมเอาไว้เป็นสถานที่บัญชาการ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ก็ยังได้ไปปรากฏพระองค์ที่หน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม ทรงแจ้งความประสงค์ว่า จะขอพบกับหัวหน้าคณะผู้ก่อการ เมื่อได้พบแล้ว พระองค์ท่านได้สนทนาเพียงสั้น ๆ ว่า ทำอะไรกัน ทำไมไม่บอกให้รู้กันก่อน เมื่อหัวหน้าผู้ก่อการ คือ พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้ทูลตอบว่า จะให้ทรงทราบไม่ได้ ไม่เช่นนั้นจะไม่สำเร็จ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช จึงกล่าวว่า เมื่อทำแล้ว ก็ขอให้ทำให้ถึงที่สุด เสร็จแล้วก็เสด็จกลับกบฏบวรเดช กบฏบวรเดช. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดความแตกแยกในคณะราษฎร พระยาพหลพลพยุหเสนา ก่อรัฐประหารยึดอำนาจรัฐบาล พระยามโนปกรณ์นิติธาดา และขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เกิดความขัดแย้งระหว่างพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับผู้นำในคณะราษฎรหลายครั้งเกี่ยวกับแนวทางการเมืองของประเทศ สาเหตุสำคัญมีอาทิการกำหนดสถานภาพของพระมหากษัตริย์ในระบอบการปกครองใหม่ จนถึงข้อเสนอของนายปรีดี พนมยงค์ที่เรียกว่า "เค้าโครงเศรษฐกิจ" ซึ่งนำเสนอรัฐสภาและทูลเกล้า ฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ เพื่อมีพระราชวินิจฉัย ซึ่งทรงวิพากษ์วิจารณ์ข้อเสนอดังกล่าวอย่างรุนแรง โดยทรงเห็นว่าจะส่งผลกระทบต่อพื้นฐานทางการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก ซึ่งอาจจะนำไปสู่ความวุ่นวายได้ ขณะที่ฝ่ายคณะราษฎรถือว่าปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงและเป็นความต้องการรักษาอำนาจของ "ฝ่ายศักดินา" หรือ "ระบอบเก่า" ความขัดแย้งดังกล่าวขยายตัวชัดเจนมากขึ้นจนมีการอภิปรายในรัฐสภาคัดค้านเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว กดดันให้นายปรีดี พนมยงค์ ต้องเดินทางไปพำนักในฝรั่งเศส ก่อนที่ผู้นำฝ่ายทหารของคณะราษฎรคือ พระยาพหลพลพยุหเสนา ต้องก่อรัฐประหารเพื่อรักษาอำนาจของคณะราษฎรไว้ ทำให้ความขัดแย้งของทั้งสองฝ่ายรุนแรงมากขึ้น ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ทรงส่งกำลังทหารจากหัวเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางนครราชสีมา อุบลราชธานี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา และเพชรบุรี เคลื่อนกำลังทางรถไฟเข้ายึดสนามบินดอนเมืองได้เมื่อวันที่ 12 และเคลื่อนกำลังทหารเข้ายึดพื้นที่ไปตามแนวคลองบางเขนจนถึงสถานีรถไฟบางเขน เพื่อบีบบังคับให้รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา กระทำตามเงื่อนไข 6 ข้อ ใจความโดยย่อคือ ให้รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ ให้อำนาจรัฐสภามากขึ้นและจำกัดอำนาจของรัฐบาลมิให้กลายเป็นคณะเผด็จการ อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนไหวของพระองค์เจ้าบวรเดชในครั้งนั้นถูกมองจากฝ่ายนิยมคณะราษฎรว่าเป็นความพยายามในการฟื้นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และต่อต้านระบอบประชาธิปไตย ในเวลาเดียวกัน ฝ่ายรัฐบาลได้มอบหมายให้ พันโทหลวงพิบูลสงคราม รองผู้บัญชาการทหารบก เป็นผู้บังคับกองผสมทำการรุกตอบโต้ จนทหารบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมาก จนถึงวันที่ 15 กำลังทหารหัวเมืองได้ถอนกำลังออกจากดอนเมือง เคลื่อนที่ไปยังปากช่องอันเป็นที่มั่นด่านสุดท้าย ขณะที่กองหน้าของกองบังคับการผสมได้ติดตามไปจนถึงสถานีปากช่อง และ พันเอกพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) แม่ทัพซึ่งรับหน้าที่เป็นกองระวังหลัง ถูกยิงเสียชีวิตบนทางรถไฟใกล้สถานีหินลับ อำเภอปากช่อง ในเวลาพลบค่ำ เมื่อที่มั่นแห่งสุดท้ายคือสถานีปากช่องถูกยึด และแม่ทัพเสียชีวิต พระองค์เจ้าบวรเดชและพระชายาจึงเสด็จหนีโดยทางเครื่องบินจากฐานบินโคราช มีหลวงเวหนเหิรเป็นนักบิน ไปขอลี้ภัยทางการเมืองที่เมืองไซ่ง่อน ประเทศเวียดนาม จนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงย้ายไปประทับที่ประเทศกัมพูชา และเสด็จกลับประเทศไทยโดยรถยนต์เข้าทางอำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี พร้อม หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร พระชายา เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2491หลังจากที่รัฐบาลในขณะนั้นได้ออกกฎหมายนิรโทษกรรมให้กับนักโทษการเมืองทุกคดี โดยพระชนชีพที่ไซง่อนและกัมพูชา ทรงเปิดโรงงานทอผ้าและค้าขายถ่าน รวมระยะเวลาที่ทรงลี้ภัยนานถึง 16 ปีพระโอรส-ธิดา พระโอรส-ธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีชายาเพียงองค์เดียวคือ หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร พระขนิษฐาต่างหม่อมมารดา และหม่อมอีก 2 ท่าน คือ หม่อมทิพวัน (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่) และหม่อมบัวนวล (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่) มีพระโอรสหนึ่งคนและพระธิดาสี่คน ได้แก่1. หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา (นามเดิม: เจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2426 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497)1. พระธิดา 1 คน (อนิจกรรมตั้งแต่คลอด) 2. หม่อมบัวนวล กฤดากร ณ อยุธยา (นามเดิม: เจ้าบัวนวล ณ เชียงใหม่)1. หม่อมราชวงศ์จิรเดช กฤดากร 3. หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร (พ.ศ. 2446-2524) พระขนิษฐาต่างมารดา1. หม่อมราชวงศ์วิภาสิริ วุฒินันท์ 2. หม่อมราชวงศ์อัจฉริยา คงสิริ 3. หม่อมราชวงศ์ภรณี รอสส์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (ร.ว.)- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ชั้นที่ 2 (มหาโยธิน) (ม.ร.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ))
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร"
],
"answer_begin_position": [
390
],
"answer_end_position": [
412
]
} |
1,866 | 50,876 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช พลเอก นายพลเสือป่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช (2 เมษายน พ.ศ. 2420 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นผู้นำกบฏบวรเดชพยายามยึดอำนาจจากรัฐบาลคณะราษฎร เมื่อ พ.ศ. 2476พระประวัติ พระประวัติ. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ที่ประสูติแต่หม่อมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา เมื่อวันอังคารที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2420 หม่อมเจ้าบวรเดช กฤดากร เข้าศึกษาวิชาการทหารจากโรงเรียนนายร้อยทหารปืนใหญ่และทหารช่าง ประเทศอังกฤษ ในขณะนั้นพระบิดา คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ทรงดำรงตำแหน่งอัครราชทูตประจำประเทศอังกฤษ ทรงสำเร็จการศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2441 สอบได้ชั้นที่ 4 อันดับที่ 22 จึงได้รับพระราชทานยศร้อยตรี (ร.ต.) ของกองทัพบกไทย แต่ได้ทรงศึกษาเพิ่มเติมในโรงเรียนนายทหารช่างอังกฤษเพิ่มอีก 1 ปี จึงเสด็จกลับประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2443 เข้าประจำการที่กรมเสนาธิการทหารบก จึงถือได้ว่าทรงเป็นนายทหารไทยรุ่นแรกที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ในขณะนั้น พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช เป็นผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ จึงเสมือนเป็นพระหัตถ์ขวาของพระองค์เจ้าจิรประวัติฯ ในการปรับปรุงจัดระเบียบกองทัพในแบบสมัยใหม่ ทรงได้รับตำแหน่งผู้บัญชาการมณฑลทหารบกนครราชสีมา ซึ่งเป็นมณฑลแรกในประเทศไทยที่มีการเกณฑ์ทหาร ทรงได้รับพระราชทานยศพลตรี (พล.ต.) เมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา และได้รับพระราชทานพลโท (พล.ท.) ในปี พ.ศ. 2456 ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งไม่นาน ทรงดำรงตำแหน่งแม่ทัพกองทัพน้อยที่ 3 นครราชสีมา และรั้งตำแหน่งจเรทหารปืนใหญ่อีกตำแหน่งหนึ่ง ทรงเสกสมรสกับ เจ้าหญิงทิพวัน ณ เชียงใหม่ ธิดาของเจ้าเทพดำรงรักษาเขตกับเจ้าแม่พิมพา กนิษฐาของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เมื่อ พ.ศ. 2445 จากนั้นทรงรับตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นเวลา 3 ปี หม่อมเจ้าบวรเดชได้รับแต่งตั้งให้เป็นอุปราชมณฑลพายัพ ที่เชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2458-2462 และดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เมื่อ พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้สถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช เมื่อ พ.ศ. 2472 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ทรงลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหมในกลางปี พ.ศ. 2474 เนื่องจากทรงขัดแย้งกับจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในเรื่องการปรับปรุงโครงสร้างกองทัพบก พระชนชีพในบั้นปลาย หลังจากที่เสด็จกลับสู่ประเทศไทยหลังจากที่ทรงลี้ภัยทางการเมืองนานถึง 16 ปี ทรงตั้งโรงงานทอผ้าขึ้นที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทอผ้าโขมพัสตร์ขึ้นจำหน่ายได้รับความนิยมอย่างยิ่ง ทรงมีพระอาการประชวรกระเสาะกระแสะ ได้เสด็จไปประทับรักษาพระองค์ที่โรงพยาบาลศิริราช ที่สุดก็สิ้นพระชนม์ในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ขณะมีพระชนมายุ 76 พรรษา และได้รับพระราชทานพระเพลิงพระศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2497การเมืองการเปลี่ยนแปลงการปกครอง การเมือง. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบ้านการเมือง ตั้งแต่ช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 ไม่นาน เมื่อทรงได้วิพากษ์วิจารณ์เรื่องการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชอย่างเปิดเผย โดยยังทรงเป็นที่นับถือของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในฐานะที่ทรงเป็นนายทหารชั้นอาวุโส และทรงสำเร็จการศึกษาจากสถาบันเดียวกับพระองค์ ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 ไม่นาน คณะราษฎร โดย พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎรได้ลองทาบทามพระองค์ เพื่อดูท่าที ได้รับสั่งให้พระยาพหลฯ และพรรคพวกเขียนความเห็นในเรื่องการเปลี่ยนแปลงการปกครองลงหนังสือพิมพ์ ทำนองขอประชามติเช่นเดียวกับอารยประเทศในทวีปยุโรป ซึ่งพระยาพหลฯกราบทูลว่า ผู้ที่ทำเช่นนั้นติดคุกไปแล้วหลายคน วิธีที่ดีที่สุดคือ ใช้กำลังบุกจู่โจมจับคณะอภิรัฐมนตรีขังไว้ แล้วกราบขอพระราชทานรัฐธรรมนูญ ก็คงจะสำเร็จ แต่ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ได้ทรงตอบพระยาพหลฯไปว่า ตัวพระองค์เกิดในพระราชวงศ์จักรี หากทำเช่นนั้นจะได้ชื่อว่าอกตัญญู ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ถือเป็นเจ้านายระดับสูงเพียงไม่กี่พระองค์ที่ไม่ถูกควบคุมองค์ไว้ในฐานะองค์ประกัน แต่ในเวลาราว 23.00 น. ของคืนวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 อันป็นวันที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งเป็นสถานที่ ๆ คณะราษฎรได้ยึดกุมเอาไว้เป็นสถานที่บัญชาการ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ก็ยังได้ไปปรากฏพระองค์ที่หน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม ทรงแจ้งความประสงค์ว่า จะขอพบกับหัวหน้าคณะผู้ก่อการ เมื่อได้พบแล้ว พระองค์ท่านได้สนทนาเพียงสั้น ๆ ว่า ทำอะไรกัน ทำไมไม่บอกให้รู้กันก่อน เมื่อหัวหน้าผู้ก่อการ คือ พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้ทูลตอบว่า จะให้ทรงทราบไม่ได้ ไม่เช่นนั้นจะไม่สำเร็จ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช จึงกล่าวว่า เมื่อทำแล้ว ก็ขอให้ทำให้ถึงที่สุด เสร็จแล้วก็เสด็จกลับกบฏบวรเดช กบฏบวรเดช. ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดความแตกแยกในคณะราษฎร พระยาพหลพลพยุหเสนา ก่อรัฐประหารยึดอำนาจรัฐบาล พระยามโนปกรณ์นิติธาดา และขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เกิดความขัดแย้งระหว่างพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับผู้นำในคณะราษฎรหลายครั้งเกี่ยวกับแนวทางการเมืองของประเทศ สาเหตุสำคัญมีอาทิการกำหนดสถานภาพของพระมหากษัตริย์ในระบอบการปกครองใหม่ จนถึงข้อเสนอของนายปรีดี พนมยงค์ที่เรียกว่า "เค้าโครงเศรษฐกิจ" ซึ่งนำเสนอรัฐสภาและทูลเกล้า ฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ เพื่อมีพระราชวินิจฉัย ซึ่งทรงวิพากษ์วิจารณ์ข้อเสนอดังกล่าวอย่างรุนแรง โดยทรงเห็นว่าจะส่งผลกระทบต่อพื้นฐานทางการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก ซึ่งอาจจะนำไปสู่ความวุ่นวายได้ ขณะที่ฝ่ายคณะราษฎรถือว่าปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงและเป็นความต้องการรักษาอำนาจของ "ฝ่ายศักดินา" หรือ "ระบอบเก่า" ความขัดแย้งดังกล่าวขยายตัวชัดเจนมากขึ้นจนมีการอภิปรายในรัฐสภาคัดค้านเค้าโครงเศรษฐกิจดังกล่าว กดดันให้นายปรีดี พนมยงค์ ต้องเดินทางไปพำนักในฝรั่งเศส ก่อนที่ผู้นำฝ่ายทหารของคณะราษฎรคือ พระยาพหลพลพยุหเสนา ต้องก่อรัฐประหารเพื่อรักษาอำนาจของคณะราษฎรไว้ ทำให้ความขัดแย้งของทั้งสองฝ่ายรุนแรงมากขึ้น ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ทรงส่งกำลังทหารจากหัวเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางนครราชสีมา อุบลราชธานี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา และเพชรบุรี เคลื่อนกำลังทางรถไฟเข้ายึดสนามบินดอนเมืองได้เมื่อวันที่ 12 และเคลื่อนกำลังทหารเข้ายึดพื้นที่ไปตามแนวคลองบางเขนจนถึงสถานีรถไฟบางเขน เพื่อบีบบังคับให้รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา กระทำตามเงื่อนไข 6 ข้อ ใจความโดยย่อคือ ให้รักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ ให้อำนาจรัฐสภามากขึ้นและจำกัดอำนาจของรัฐบาลมิให้กลายเป็นคณะเผด็จการ อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนไหวของพระองค์เจ้าบวรเดชในครั้งนั้นถูกมองจากฝ่ายนิยมคณะราษฎรว่าเป็นความพยายามในการฟื้นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และต่อต้านระบอบประชาธิปไตย ในเวลาเดียวกัน ฝ่ายรัฐบาลได้มอบหมายให้ พันโทหลวงพิบูลสงคราม รองผู้บัญชาการทหารบก เป็นผู้บังคับกองผสมทำการรุกตอบโต้ จนทหารบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมาก จนถึงวันที่ 15 กำลังทหารหัวเมืองได้ถอนกำลังออกจากดอนเมือง เคลื่อนที่ไปยังปากช่องอันเป็นที่มั่นด่านสุดท้าย ขณะที่กองหน้าของกองบังคับการผสมได้ติดตามไปจนถึงสถานีปากช่อง และ พันเอกพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) แม่ทัพซึ่งรับหน้าที่เป็นกองระวังหลัง ถูกยิงเสียชีวิตบนทางรถไฟใกล้สถานีหินลับ อำเภอปากช่อง ในเวลาพลบค่ำ เมื่อที่มั่นแห่งสุดท้ายคือสถานีปากช่องถูกยึด และแม่ทัพเสียชีวิต พระองค์เจ้าบวรเดชและพระชายาจึงเสด็จหนีโดยทางเครื่องบินจากฐานบินโคราช มีหลวงเวหนเหิรเป็นนักบิน ไปขอลี้ภัยทางการเมืองที่เมืองไซ่ง่อน ประเทศเวียดนาม จนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงย้ายไปประทับที่ประเทศกัมพูชา และเสด็จกลับประเทศไทยโดยรถยนต์เข้าทางอำเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี พร้อม หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร พระชายา เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2491หลังจากที่รัฐบาลในขณะนั้นได้ออกกฎหมายนิรโทษกรรมให้กับนักโทษการเมืองทุกคดี โดยพระชนชีพที่ไซง่อนและกัมพูชา ทรงเปิดโรงงานทอผ้าและค้าขายถ่าน รวมระยะเวลาที่ทรงลี้ภัยนานถึง 16 ปีพระโอรส-ธิดา พระโอรส-ธิดา. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช มีชายาเพียงองค์เดียวคือ หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร พระขนิษฐาต่างหม่อมมารดา และหม่อมอีก 2 ท่าน คือ หม่อมทิพวัน (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่) และหม่อมบัวนวล (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่) มีพระโอรสหนึ่งคนและพระธิดาสี่คน ได้แก่1. หม่อมทิพวัน กฤดากร ณ อยุธยา (นามเดิม: เจ้าทิพวัน ณ เชียงใหม่; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2426 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2497)1. พระธิดา 1 คน (อนิจกรรมตั้งแต่คลอด) 2. หม่อมบัวนวล กฤดากร ณ อยุธยา (นามเดิม: เจ้าบัวนวล ณ เชียงใหม่)1. หม่อมราชวงศ์จิรเดช กฤดากร 3. หม่อมเจ้าผจงรจิตร์ กฤดากร (พ.ศ. 2446-2524) พระขนิษฐาต่างมารดา1. หม่อมราชวงศ์วิภาสิริ วุฒินันท์ 2. หม่อมราชวงศ์อัจฉริยา คงสิริ 3. หม่อมราชวงศ์ภรณี รอสส์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (ร.ว.)- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ชั้นที่ 2 (มหาโยธิน) (ม.ร.) - เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ))
| มารดาของพลเอก นายพลเสือป่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
501
],
"answer_end_position": [
527
]
} |
832 | 148,416 | สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ (; ประสูติ 2 มกราคม พ.ศ. 2487) พระราชโอรสพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหนุ แห่งกัมพูชา และพระเชษฐาต่างพระมารดากับ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบันพระประวัติ พระประวัติ. สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ประสูติเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2487 มีพระนามลำลองว่า "ทับ" เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ประสูติแต่พระชายาองค์แรก คือนักนาง พาต กาญล ( ผาต่ กาญุ่ล) นางรำประจำราชสำนัก มีพระเชษฐภคินีร่วมพระมารดาเดียวกันคือสมเด็จพระเรียมนโรดม บุปผาเทวี นักแสดงระบำอัปสรที่มีชื่อเสียง และเป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาใน พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน หลังจากประสูติก็ถูกแยกออกจากมารดา และถูกเลี้ยงดูโดยพระองค์เจ้านโรดม เกศกัญญา พระปิตุจฉา และพระองค์เจ้านโรดม รัศมีโสภณ พระปัยยิกา (ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชปิตุจฉานโรดม รัศมีโสภณ และสมเด็จพระราชกนิษฐานโรดม รัศมีโสภณ ตามลำดับ) ส่วนพาต กาญล พระชนนี ได้สมรสใหม่กับจาบ ฮวด (Chap Huot) พระองค์จึงมีพี่น้องต่างบิดาอีก 5 คน สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนนโรดม ระดับมัธยมศึกษาจากลีเซเดการ์ต ซึ่งทั้งสองแห่งเป็นโรงเรียนเอกชนของฝรั่งเศสในพนมเปญ ขณะที่ยังไม่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ก็เดินทางไปศึกษาต่อในประเทศฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1958 จนถึง ค.ศ. 1970 ระหว่างนั้นเสด็จกลับมายังกัมพูชาในระยะเวลาสั้น ๆบทบาททางการเมือง บทบาททางการเมือง. สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ทรงเป็นอดีตหัวหน้าพรรคฟุนซินเปก (FUNCINPEC) และเคยดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีกัมพูชา ร่วมกับสมเด็จ ฮุน เซน ภายหลังการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2536 ที่พรรคฟุนซินเปกชนะการเลือกตั้งอย่างท่วมท้น และมีการสถาปนาระบอบกษัตริย์ขึ้นมาใหม่ ในการเลือกตั้งทั่วไป เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2546 พรรคฟุนซินเปกแพ้การเลือกตั้ง แต่ พรรคประชาชนกัมพูชาของนายฮุนเซน ก็ได้รับชัยชนะที่ไม่เด็ดขาด เนื่องจากไม่มีพรรคการเมืองใดได้เสียงข้างมาก 2 ใน 3 พอจัดตั้งรัฐบาลตามกฎหมาย ทำให้เกิดสภาพสุญญากาศทางการเมืองในกัมพูชา ที่มี นายฮุนเซน เป็นนายกรัฐมนตรีรักษาการ มาจนถึงปี 2547 จึงสามารถตกลงจัดตั้งรัฐบาลกันได้ โดยในที่สุดนายฮุนเซนได้เป็น นายกรัฐมนตรี และ กรมพระรณฤทธิ์ ทรงเป็น ประธานสภาผู้แทนราษฎร หลังจากนั้นมีเหตุให้กรมพระรณฤทธิ์ต้องทรงลี้ภัยการเมืองในต่างประเทศ โดยพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส หลังจากต้องคดีหมิ่นประมาทสมเด็จฯ ฮุนเซน และมีโทษจำคุก เมื่อกรมพระรณฤทธิ์ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ในประเทศได้แล้ว รัฐสภากัมพูชาจึงได้มีการจัดประชุมและเลือกนายเฮง สัมริน จากพรรคประชาชนกัมพูชาของนายฮุน เซน ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎร แทนกรมพระรณฤทธิ์ หลังเหตุการณ์ดังกล่าว กรมพระรณฤทธิ์ ทรงย้ายไปพำนักอยู่ที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย กับพระชายาองค์ใหม่ที่อ่อนวัยกว่าประมาณ 40 ปี คือนักนาง อุ๊ก พัลลา (Ouk Palla) อดีตนาฏศิลปิน และดาราภาพยนตร์สาวสวย พร้อมทั้ง เจ้าชายสุธาฤทธิ์ พระโอรสองค์เล็ก ต่อมาเจ้าหญิงนโรดมมารี หรือ นักนาง เอ็ง มารี (Eng Marie) พระชายาที่ถูกต้องตามกฎหมาย ได้ใช้กฎหมาย "ห้ามมีชู้" ที่เพิ่งผ่านรัฐสภากัมพูชา ฟ้องร้องดำเนินคดีกับพระองค์ กรณีมีพระชายาใหม่คือ หม่อมอู๊กพัลลา ทั้งที่ยังไม่ได้หย่าขาดกับพระชายาเดิม คดีดังกล่าวมีโทษจำคุก ในวันจันทร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2549 รัฐสภากัมพูชา ที่พรรคประชาชนกัมพูชา ครองเสียงข้างมาก ได้ลงมติรับรองการปรับคณะรัฐมนตรีโดย นายฮุนเซน ซึ่งมีการปลดรัฐมนตรีของ พรรคฟุนซินเปก จำนวน 10 นายออกจากการร่วมรัฐบาล หลังจากนั้นในวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2549 สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ทรงถูกลงมติขับออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรคฟุนซินเปก ด้วยข้อกล่าวหายักยอกเงินจากการแอบขายที่ทำการพรรคเป็นเงิน 3.6 ล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 130 ล้านบาท และทรงถูกพิพากษาจำคุกอีกคดีหนึ่ง มีรายงานข่าวว่าในครั้งนั้นเจ้าหญิงมารี พระชายาของพระองค์ ได้เข้าร่วมมือกับผู้นำพรรคฟุนซินเป็กคนอื่นๆ ในการจัดประชุมวิสามัญ ปลดพระองค์จากตำแหน่ง และเลือกตั้งหัวหน้าพรรคคนใหม่ การประชุมดังกล่าวมีขึ้นในขณะที่กรมพระรณฤทธิ์อยู่ในประเทศมาเลเซีย ซึ่งพระองค์ตรัสว่าการประชุมวิสามัญดังกล่าว ที่นำโดย พล.อ.แญ็ก บุนชัย (Nhek Bounchay) เลขาธิการพรรค เป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ในการประชุมดังกล่าว ที่ประชุมพรรคฟุนซินเบกได้เลือก นายแก้ว พุทธรัศมี (Keo Puth Rasamey) เอกอัครราชทูตกัมพูชาประจำเยอรมนี ราชบุตรเขยของอดีตกษัตริย์นโรดมสีหนุ ขึ้นเป็นหัวหน้าพรรคคนใหม่ หลังเหตุการณ์ครั้งนั้น กรมพระรณฤทธิ์ทรงก่อตั้งพรรคการเมืองใหม่ชื่อ พรรค นโรดม รณฤทธิ์ (NRP) ซึ่งมีที่นั่งในสภากัมพูชามากเป็นอันดับสามในปัจจุบัน ปัจจุบัน สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ทรงดำรงตำแหน่งเป็นประธานองคมนตรี ในพระมหากษัตริย์กัมพูชา ตามพระราชกฤษฎีกาลงวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2551ชีวิตส่วนพระองค์ ชีวิตส่วนพระองค์. สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ได้เสกสมรสครั้งแรกกับ นักนางนโรดม มารี รณฤทธิ์ หรือนามเดิม เอ็ง มารี (ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นป็น พระองค์เจ้านโรดม มารี รณฤทธิ์) ในปี พ.ศ. 2511 และหย่าในปี พ.ศ. 2552 โดยทั้งคู่ได้ให้ประสูติพระโอรส-ธิดาด้วยกัน 3 พระองค์ โดยเป็นพระโอรส 2 พระองค์ และพระธิดา 1 พระองค์ ได้แก่- นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม จักราวุธ (ประสูติ 13 มกราคม ค.ศ. 1970) - นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม สีหฤทธิ์ (ประสูติ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1972) ปัจจุบันทรงเสกสมรสแล้ว มีพระโอรส 1 พระองค์ คือ- นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม ชัยฤทธิ์ (ประสูติ ค.ศ. 2004) - นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม รัตนาเทวี (ประสูติ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1974) ปัจจุบันทรงเสกสมรสแล้วกับนายอันเซียว ลา ปลาเนตา (Ansiau La Planeta) เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 2000 ต่อมาสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ทรงได้มีความสัมพันธ์กับ อุ๊ก พัลลา อดีตนาฏศิลปิน และนักแสดงสาวที่มีชื่อเสียงของกัมพูชา ทำให้เกิดปัญหาชู้สาว เนื่องจากสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ยังมิได้หย่าขาดจากภรรยาเดิม ภายหลังทั้งสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ และนักนางอุ๊กได้เสด็จไปประทับที่คอนโดในประเทศมาเลเซียเป็นเวลาถึง 2 ปี แต่ทั้งคู่ก็มีพระโอรสด้วยกัน 2 พระองค์ คือ- นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม สุธาฤทธิ์ - นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม รณวงศ์
| สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ได้เสกสมรสครั้งแรกกับผู้ใด | {
"answer": [
"นางนโรดม มารี รณฤทธิ์"
],
"answer_begin_position": [
4343
],
"answer_end_position": [
4364
]
} |
1,638 | 148,416 | สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ (; ประสูติ 2 มกราคม พ.ศ. 2487) พระราชโอรสพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหนุ แห่งกัมพูชา และพระเชษฐาต่างพระมารดากับ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบันพระประวัติ พระประวัติ. สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ประสูติเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2487 มีพระนามลำลองว่า "ทับ" เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ประสูติแต่พระชายาองค์แรก คือนักนาง พาต กาญล ( ผาต่ กาญุ่ล) นางรำประจำราชสำนัก มีพระเชษฐภคินีร่วมพระมารดาเดียวกันคือสมเด็จพระเรียมนโรดม บุปผาเทวี นักแสดงระบำอัปสรที่มีชื่อเสียง และเป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาใน พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน หลังจากประสูติก็ถูกแยกออกจากมารดา และถูกเลี้ยงดูโดยพระองค์เจ้านโรดม เกศกัญญา พระปิตุจฉา และพระองค์เจ้านโรดม รัศมีโสภณ พระปัยยิกา (ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชปิตุจฉานโรดม รัศมีโสภณ และสมเด็จพระราชกนิษฐานโรดม รัศมีโสภณ ตามลำดับ) ส่วนพาต กาญล พระชนนี ได้สมรสใหม่กับจาบ ฮวด (Chap Huot) พระองค์จึงมีพี่น้องต่างบิดาอีก 5 คน สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนนโรดม ระดับมัธยมศึกษาจากลีเซเดการ์ต ซึ่งทั้งสองแห่งเป็นโรงเรียนเอกชนของฝรั่งเศสในพนมเปญ ขณะที่ยังไม่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ก็เดินทางไปศึกษาต่อในประเทศฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1958 จนถึง ค.ศ. 1970 ระหว่างนั้นเสด็จกลับมายังกัมพูชาในระยะเวลาสั้น ๆบทบาททางการเมือง บทบาททางการเมือง. สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ทรงเป็นอดีตหัวหน้าพรรคฟุนซินเปก (FUNCINPEC) และเคยดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีกัมพูชา ร่วมกับสมเด็จ ฮุน เซน ภายหลังการเลือกตั้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2536 ที่พรรคฟุนซินเปกชนะการเลือกตั้งอย่างท่วมท้น และมีการสถาปนาระบอบกษัตริย์ขึ้นมาใหม่ ในการเลือกตั้งทั่วไป เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2546 พรรคฟุนซินเปกแพ้การเลือกตั้ง แต่ พรรคประชาชนกัมพูชาของนายฮุนเซน ก็ได้รับชัยชนะที่ไม่เด็ดขาด เนื่องจากไม่มีพรรคการเมืองใดได้เสียงข้างมาก 2 ใน 3 พอจัดตั้งรัฐบาลตามกฎหมาย ทำให้เกิดสภาพสุญญากาศทางการเมืองในกัมพูชา ที่มี นายฮุนเซน เป็นนายกรัฐมนตรีรักษาการ มาจนถึงปี 2547 จึงสามารถตกลงจัดตั้งรัฐบาลกันได้ โดยในที่สุดนายฮุนเซนได้เป็น นายกรัฐมนตรี และ กรมพระรณฤทธิ์ ทรงเป็น ประธานสภาผู้แทนราษฎร หลังจากนั้นมีเหตุให้กรมพระรณฤทธิ์ต้องทรงลี้ภัยการเมืองในต่างประเทศ โดยพำนักอยู่ในประเทศฝรั่งเศส หลังจากต้องคดีหมิ่นประมาทสมเด็จฯ ฮุนเซน และมีโทษจำคุก เมื่อกรมพระรณฤทธิ์ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ในประเทศได้แล้ว รัฐสภากัมพูชาจึงได้มีการจัดประชุมและเลือกนายเฮง สัมริน จากพรรคประชาชนกัมพูชาของนายฮุน เซน ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎร แทนกรมพระรณฤทธิ์ หลังเหตุการณ์ดังกล่าว กรมพระรณฤทธิ์ ทรงย้ายไปพำนักอยู่ที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย กับพระชายาองค์ใหม่ที่อ่อนวัยกว่าประมาณ 40 ปี คือนักนาง อุ๊ก พัลลา (Ouk Palla) อดีตนาฏศิลปิน และดาราภาพยนตร์สาวสวย พร้อมทั้ง เจ้าชายสุธาฤทธิ์ พระโอรสองค์เล็ก ต่อมาเจ้าหญิงนโรดมมารี หรือ นักนาง เอ็ง มารี (Eng Marie) พระชายาที่ถูกต้องตามกฎหมาย ได้ใช้กฎหมาย "ห้ามมีชู้" ที่เพิ่งผ่านรัฐสภากัมพูชา ฟ้องร้องดำเนินคดีกับพระองค์ กรณีมีพระชายาใหม่คือ หม่อมอู๊กพัลลา ทั้งที่ยังไม่ได้หย่าขาดกับพระชายาเดิม คดีดังกล่าวมีโทษจำคุก ในวันจันทร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2549 รัฐสภากัมพูชา ที่พรรคประชาชนกัมพูชา ครองเสียงข้างมาก ได้ลงมติรับรองการปรับคณะรัฐมนตรีโดย นายฮุนเซน ซึ่งมีการปลดรัฐมนตรีของ พรรคฟุนซินเปก จำนวน 10 นายออกจากการร่วมรัฐบาล หลังจากนั้นในวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2549 สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ทรงถูกลงมติขับออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรคฟุนซินเปก ด้วยข้อกล่าวหายักยอกเงินจากการแอบขายที่ทำการพรรคเป็นเงิน 3.6 ล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 130 ล้านบาท และทรงถูกพิพากษาจำคุกอีกคดีหนึ่ง มีรายงานข่าวว่าในครั้งนั้นเจ้าหญิงมารี พระชายาของพระองค์ ได้เข้าร่วมมือกับผู้นำพรรคฟุนซินเป็กคนอื่นๆ ในการจัดประชุมวิสามัญ ปลดพระองค์จากตำแหน่ง และเลือกตั้งหัวหน้าพรรคคนใหม่ การประชุมดังกล่าวมีขึ้นในขณะที่กรมพระรณฤทธิ์อยู่ในประเทศมาเลเซีย ซึ่งพระองค์ตรัสว่าการประชุมวิสามัญดังกล่าว ที่นำโดย พล.อ.แญ็ก บุนชัย (Nhek Bounchay) เลขาธิการพรรค เป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ในการประชุมดังกล่าว ที่ประชุมพรรคฟุนซินเบกได้เลือก นายแก้ว พุทธรัศมี (Keo Puth Rasamey) เอกอัครราชทูตกัมพูชาประจำเยอรมนี ราชบุตรเขยของอดีตกษัตริย์นโรดมสีหนุ ขึ้นเป็นหัวหน้าพรรคคนใหม่ หลังเหตุการณ์ครั้งนั้น กรมพระรณฤทธิ์ทรงก่อตั้งพรรคการเมืองใหม่ชื่อ พรรค นโรดม รณฤทธิ์ (NRP) ซึ่งมีที่นั่งในสภากัมพูชามากเป็นอันดับสามในปัจจุบัน ปัจจุบัน สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ทรงดำรงตำแหน่งเป็นประธานองคมนตรี ในพระมหากษัตริย์กัมพูชา ตามพระราชกฤษฎีกาลงวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2551ชีวิตส่วนพระองค์ ชีวิตส่วนพระองค์. สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ได้เสกสมรสครั้งแรกกับ นักนางนโรดม มารี รณฤทธิ์ หรือนามเดิม เอ็ง มารี (ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นป็น พระองค์เจ้านโรดม มารี รณฤทธิ์) ในปี พ.ศ. 2511 และหย่าในปี พ.ศ. 2552 โดยทั้งคู่ได้ให้ประสูติพระโอรส-ธิดาด้วยกัน 3 พระองค์ โดยเป็นพระโอรส 2 พระองค์ และพระธิดา 1 พระองค์ ได้แก่- นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม จักราวุธ (ประสูติ 13 มกราคม ค.ศ. 1970) - นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม สีหฤทธิ์ (ประสูติ 23 มิถุนายน ค.ศ. 1972) ปัจจุบันทรงเสกสมรสแล้ว มีพระโอรส 1 พระองค์ คือ- นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม ชัยฤทธิ์ (ประสูติ ค.ศ. 2004) - นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม รัตนาเทวี (ประสูติ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1974) ปัจจุบันทรงเสกสมรสแล้วกับนายอันเซียว ลา ปลาเนตา (Ansiau La Planeta) เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 2000 ต่อมาสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ทรงได้มีความสัมพันธ์กับ อุ๊ก พัลลา อดีตนาฏศิลปิน และนักแสดงสาวที่มีชื่อเสียงของกัมพูชา ทำให้เกิดปัญหาชู้สาว เนื่องจากสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ยังมิได้หย่าขาดจากภรรยาเดิม ภายหลังทั้งสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ และนักนางอุ๊กได้เสด็จไปประทับที่คอนโดในประเทศมาเลเซียเป็นเวลาถึง 2 ปี แต่ทั้งคู่ก็มีพระโอรสด้วยกัน 2 พระองค์ คือ- นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม สุธาฤทธิ์ - นักองค์มจะ (หม่อมเจ้า) นโรดม รณวงศ์
| สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"2"
],
"answer_begin_position": [
163
],
"answer_end_position": [
164
]
} |
833 | 627,576 | สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส (พ.ศ. 2415 - พ.ศ. 2488) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์กับเจ้าจอมมารดาเอี่ยม และเป็นพระราชบิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา พระองค์ประสูติในปี พ.ศ. 2415 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์กับเจ้าจอมมารดาเอี่ยม ธิดาพระสุพรรณพิศาล (กอง อภัยวงศ์) ทรงมีพระเชษฐาร่วมมารดาอีกพระองค์คือพระองค์เจ้านโรดม เกศรา (พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2452) สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส ทรงเสกสมรสกับพระองค์เจ้านโรดม พงางาม (พ.ศ. 2417 - พ.ศ. 2487) มีพระโอรส-ธิดา 5 พระองค์ ได้แก่- หม่อมเจ้า (นักองค์มจะ) นโรดม เอกอัศนีย์ (พ.ศ. 2435 - พ.ศ. 2450) - พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต (6 มีนาคม พ.ศ. 2439 - 3 เมษายน พ.ศ. 2503) - หม่อมเจ้า (นักองค์มจะ) นโรดม ภาวฤทธิ์ (พ.ศ. 2439 - ไม่ปรากฎ) - สมเด็จพระราชกนิษฐานโรดม รัศมีโสภณ (พฤศจิกายน พ.ศ. 2441 - พ.ศ. 2541) - หม่อมเจ้า (นักองค์มจะ) นโรดม หญิงเล็ก (พ.ศ. 2443 - ไม่ปรากฎ) สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2488 ตรงกับรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (ครั้งแรก) ในราชอาณาจักรกัมพูชา และตรงกับรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ในราชอาณาจักรไทย
| สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส ทรงเสกสมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"พระองค์เจ้านโรดม พงางาม"
],
"answer_begin_position": [
598
],
"answer_end_position": [
621
]
} |
834 | 627,576 | สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส (พ.ศ. 2415 - พ.ศ. 2488) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์กับเจ้าจอมมารดาเอี่ยม และเป็นพระราชบิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา พระองค์ประสูติในปี พ.ศ. 2415 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์กับเจ้าจอมมารดาเอี่ยม ธิดาพระสุพรรณพิศาล (กอง อภัยวงศ์) ทรงมีพระเชษฐาร่วมมารดาอีกพระองค์คือพระองค์เจ้านโรดม เกศรา (พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2452) สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส ทรงเสกสมรสกับพระองค์เจ้านโรดม พงางาม (พ.ศ. 2417 - พ.ศ. 2487) มีพระโอรส-ธิดา 5 พระองค์ ได้แก่- หม่อมเจ้า (นักองค์มจะ) นโรดม เอกอัศนีย์ (พ.ศ. 2435 - พ.ศ. 2450) - พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต (6 มีนาคม พ.ศ. 2439 - 3 เมษายน พ.ศ. 2503) - หม่อมเจ้า (นักองค์มจะ) นโรดม ภาวฤทธิ์ (พ.ศ. 2439 - ไม่ปรากฎ) - สมเด็จพระราชกนิษฐานโรดม รัศมีโสภณ (พฤศจิกายน พ.ศ. 2441 - พ.ศ. 2541) - หม่อมเจ้า (นักองค์มจะ) นโรดม หญิงเล็ก (พ.ศ. 2443 - ไม่ปรากฎ) สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2488 ตรงกับรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (ครั้งแรก) ในราชอาณาจักรกัมพูชา และตรงกับรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ในราชอาณาจักรไทย
| สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. ใด | {
"answer": [
"พ.ศ. 2488"
],
"answer_begin_position": [
1054
],
"answer_end_position": [
1063
]
} |
835 | 22,745 | สาวน้อยเวทมนตร์ สาวน้อยเวทมนตร์ (ญี่ปุ่น: 魔法少女, โรมะจิ: mahō shōjo) เป็นตัวละครประเภทหนึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่น โดยหมายความถึงเด็กผู้หญิงที่มีพลังวิเศษบางอย่าง ยกตัวอย่างเช่น แซลลี่ ตัวละครเอกของเรื่องแม่มดน้อยแซลลี่, และ อั๊กโกะ ตัวละครเอกของเรื่อง ฮิมิตสึ โนะ อั๊กโกะจัง คำภาษาญี่ปุ่นอีกคำหนึ่งที่มีความหมายเดียวกันคือ "มะจกโกะ" (魔女っ子) คำว่าสาวน้อยเวทมนตร์ยังเป็นคำเรียกการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีตัวละครเอกเป็นสาวน้อยเวทมนตร์อีกด้วย อะนิเมะแนวสาวน้อยเวทมนตร์มีต้นกำเนิดมาจากเรื่องแม่มดน้อยแซลลี่ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากความโด่งดังของรายการโทรทัศน์แนวตลกของอเมริกาเรื่อง Bewitched ซึ่งฉายในญี่ปุ่นในช่วงพ.ศ. 2507
| ตัวละครเด็กผู้หญิงที่มีพลังวิเศษบางอย่างในการ์ตูนญี่ปุ่นเรียกว่าอะไร | {
"answer": [
"สาวน้อยเวทมนตร์"
],
"answer_begin_position": [
104
],
"answer_end_position": [
119
]
} |
836 | 233,396 | หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ณ ถลาง; 14 ธันวาคม พ.ศ. 2467 – 5 กันยายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียน, ครู, นักแปล และผู้แต่งเพลงสำหรับเด็กชาวไทย ทั้งเป็นผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมศักยภาพเด็กปฐมวัย เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ และเป็นมารดาของหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หม่อมดุษฎี เป็นผู้ริเริ่มรณรงค์การใช้หนังสือภาพสำหรับเด็ก ทั้งยังเขียนคู่มือการสอนสำหรับครูปฐมวัย และหนังสืออ่านสำหรับเด็ก โดยมีลักษณะการเขียนแบบเล่นเสียงสัมผัส มีใช้คำที่มีเสียงขึ้นลง และใช้คำเก่าเพื่อให้เด็กเรียนรู้ รวมทั้งใช้ภาพประกอบที่สวยงามปลุกเร้าจินตนาการของผู้อ่านประวัติชีวิตช่วนต้นและการศึกษา ประวัติ. ชีวิตช่วนต้นและการศึกษา. หม่อมดุษฎี เกิดที่จังหวัดภูเก็ต เป็นธิดาของหลวงอิศเรศรักษา (ปลื้ม ณ ถลาง) กับดรุณ อิศเรศรักษา มารดามีอาชีพเป็นครู สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนปลูกปัญญา จังหวัดภูเก็ต, ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษาปริญญาตรีอักษรศาสตร์ อ.บ. (เกียรตินิยม) และอนุปริญญา ครุศาสตร์ ป.ม. (เกียรตินิยม) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้รับทุนการศึกษาจากครุสภาให้ไปศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา จนสำเร็จการศึกษาปริญญาโท พัฒนาการเด็ก และอนุปริญญาการเลี้ยงเด็ก มหาวิทยาลัยมิลล์ หม่อมดุษฎี เคยเป็นครูสอนหนังสือที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต กับหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 มีบุตร 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร สมรสกับนุชวดี บำรุงตระกูล ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับสาวิตรี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ภมรบุตร) มีบุตรสองคน 2. พันเอก หม่อมราชวงศ์วโรรส บริพัตร สมรสกับพัฒนาพร นิยมศิริ ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับวรภาทิพย์ บริพัตร ณ อยุธยา (นามเดิม: ลอองดาว โตเจริญ) มีบุตรสามคนถึงแก่อนิจกรรม ถึงแก่อนิจกรรม. เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2559 เวลาประมาณ 03.00 น. หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา ได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคชราที่โรงพยาบาลศิริราช สิริอายุ 90 ปีผลงาน ผลงาน. หม่อมดุษฎี มีผลงานการเขียน และแปลทั้งหมด 46 เล่ม อาทิเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา ได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคชราที่โรงพยาบาลอะไร | {
"answer": [
"โรงพยาบาลศิริราช"
],
"answer_begin_position": [
2025
],
"answer_end_position": [
2041
]
} |
1,664 | 233,396 | หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ณ ถลาง; 14 ธันวาคม พ.ศ. 2467 – 5 กันยายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียน, ครู, นักแปล และผู้แต่งเพลงสำหรับเด็กชาวไทย ทั้งเป็นผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมศักยภาพเด็กปฐมวัย เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ และเป็นมารดาของหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หม่อมดุษฎี เป็นผู้ริเริ่มรณรงค์การใช้หนังสือภาพสำหรับเด็ก ทั้งยังเขียนคู่มือการสอนสำหรับครูปฐมวัย และหนังสืออ่านสำหรับเด็ก โดยมีลักษณะการเขียนแบบเล่นเสียงสัมผัส มีใช้คำที่มีเสียงขึ้นลง และใช้คำเก่าเพื่อให้เด็กเรียนรู้ รวมทั้งใช้ภาพประกอบที่สวยงามปลุกเร้าจินตนาการของผู้อ่านประวัติชีวิตช่วนต้นและการศึกษา ประวัติ. ชีวิตช่วนต้นและการศึกษา. หม่อมดุษฎี เกิดที่จังหวัดภูเก็ต เป็นธิดาของหลวงอิศเรศรักษา (ปลื้ม ณ ถลาง) กับดรุณ อิศเรศรักษา มารดามีอาชีพเป็นครู สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนปลูกปัญญา จังหวัดภูเก็ต, ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษาปริญญาตรีอักษรศาสตร์ อ.บ. (เกียรตินิยม) และอนุปริญญา ครุศาสตร์ ป.ม. (เกียรตินิยม) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้รับทุนการศึกษาจากครุสภาให้ไปศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา จนสำเร็จการศึกษาปริญญาโท พัฒนาการเด็ก และอนุปริญญาการเลี้ยงเด็ก มหาวิทยาลัยมิลล์ หม่อมดุษฎี เคยเป็นครูสอนหนังสือที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต กับหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 มีบุตร 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร สมรสกับนุชวดี บำรุงตระกูล ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับสาวิตรี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ภมรบุตร) มีบุตรสองคน 2. พันเอก หม่อมราชวงศ์วโรรส บริพัตร สมรสกับพัฒนาพร นิยมศิริ ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับวรภาทิพย์ บริพัตร ณ อยุธยา (นามเดิม: ลอองดาว โตเจริญ) มีบุตรสามคนถึงแก่อนิจกรรม ถึงแก่อนิจกรรม. เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2559 เวลาประมาณ 03.00 น. หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา ได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคชราที่โรงพยาบาลศิริราช สิริอายุ 90 ปีผลงาน ผลงาน. หม่อมดุษฎี มีผลงานการเขียน และแปลทั้งหมด 46 เล่ม อาทิเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| บิดาของหม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา คือใคร | {
"answer": [
"หลวงอิศเรศรักษา"
],
"answer_begin_position": [
833
],
"answer_end_position": [
848
]
} |
1,845 | 233,396 | หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ณ ถลาง; 14 ธันวาคม พ.ศ. 2467 – 5 กันยายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียน, ครู, นักแปล และผู้แต่งเพลงสำหรับเด็กชาวไทย ทั้งเป็นผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมศักยภาพเด็กปฐมวัย เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ และเป็นมารดาของหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หม่อมดุษฎี เป็นผู้ริเริ่มรณรงค์การใช้หนังสือภาพสำหรับเด็ก ทั้งยังเขียนคู่มือการสอนสำหรับครูปฐมวัย และหนังสืออ่านสำหรับเด็ก โดยมีลักษณะการเขียนแบบเล่นเสียงสัมผัส มีใช้คำที่มีเสียงขึ้นลง และใช้คำเก่าเพื่อให้เด็กเรียนรู้ รวมทั้งใช้ภาพประกอบที่สวยงามปลุกเร้าจินตนาการของผู้อ่านประวัติชีวิตช่วนต้นและการศึกษา ประวัติ. ชีวิตช่วนต้นและการศึกษา. หม่อมดุษฎี เกิดที่จังหวัดภูเก็ต เป็นธิดาของหลวงอิศเรศรักษา (ปลื้ม ณ ถลาง) กับดรุณ อิศเรศรักษา มารดามีอาชีพเป็นครู สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนปลูกปัญญา จังหวัดภูเก็ต, ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษาปริญญาตรีอักษรศาสตร์ อ.บ. (เกียรตินิยม) และอนุปริญญา ครุศาสตร์ ป.ม. (เกียรตินิยม) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้รับทุนการศึกษาจากครุสภาให้ไปศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา จนสำเร็จการศึกษาปริญญาโท พัฒนาการเด็ก และอนุปริญญาการเลี้ยงเด็ก มหาวิทยาลัยมิลล์ หม่อมดุษฎี เคยเป็นครูสอนหนังสือที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต กับหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 มีบุตร 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร สมรสกับนุชวดี บำรุงตระกูล ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับสาวิตรี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ภมรบุตร) มีบุตรสองคน 2. พันเอก หม่อมราชวงศ์วโรรส บริพัตร สมรสกับพัฒนาพร นิยมศิริ ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับวรภาทิพย์ บริพัตร ณ อยุธยา (นามเดิม: ลอองดาว โตเจริญ) มีบุตรสามคนถึงแก่อนิจกรรม ถึงแก่อนิจกรรม. เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2559 เวลาประมาณ 03.00 น. หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา ได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคชราที่โรงพยาบาลศิริราช สิริอายุ 90 ปีผลงาน ผลงาน. หม่อมดุษฎี มีผลงานการเขียน และแปลทั้งหมด 46 เล่ม อาทิเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา เสกสมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์"
],
"answer_begin_position": [
1375
],
"answer_end_position": [
1412
]
} |
1,846 | 233,396 | หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ณ ถลาง; 14 ธันวาคม พ.ศ. 2467 – 5 กันยายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียน, ครู, นักแปล และผู้แต่งเพลงสำหรับเด็กชาวไทย ทั้งเป็นผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมศักยภาพเด็กปฐมวัย เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ และเป็นมารดาของหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หม่อมดุษฎี เป็นผู้ริเริ่มรณรงค์การใช้หนังสือภาพสำหรับเด็ก ทั้งยังเขียนคู่มือการสอนสำหรับครูปฐมวัย และหนังสืออ่านสำหรับเด็ก โดยมีลักษณะการเขียนแบบเล่นเสียงสัมผัส มีใช้คำที่มีเสียงขึ้นลง และใช้คำเก่าเพื่อให้เด็กเรียนรู้ รวมทั้งใช้ภาพประกอบที่สวยงามปลุกเร้าจินตนาการของผู้อ่านประวัติชีวิตช่วนต้นและการศึกษา ประวัติ. ชีวิตช่วนต้นและการศึกษา. หม่อมดุษฎี เกิดที่จังหวัดภูเก็ต เป็นธิดาของหลวงอิศเรศรักษา (ปลื้ม ณ ถลาง) กับดรุณ อิศเรศรักษา มารดามีอาชีพเป็นครู สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนปลูกปัญญา จังหวัดภูเก็ต, ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษาปริญญาตรีอักษรศาสตร์ อ.บ. (เกียรตินิยม) และอนุปริญญา ครุศาสตร์ ป.ม. (เกียรตินิยม) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้รับทุนการศึกษาจากครุสภาให้ไปศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา จนสำเร็จการศึกษาปริญญาโท พัฒนาการเด็ก และอนุปริญญาการเลี้ยงเด็ก มหาวิทยาลัยมิลล์ หม่อมดุษฎี เคยเป็นครูสอนหนังสือที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต กับหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 มีบุตร 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร สมรสกับนุชวดี บำรุงตระกูล ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับสาวิตรี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ภมรบุตร) มีบุตรสองคน 2. พันเอก หม่อมราชวงศ์วโรรส บริพัตร สมรสกับพัฒนาพร นิยมศิริ ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับวรภาทิพย์ บริพัตร ณ อยุธยา (นามเดิม: ลอองดาว โตเจริญ) มีบุตรสามคนถึงแก่อนิจกรรม ถึงแก่อนิจกรรม. เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2559 เวลาประมาณ 03.00 น. หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา ได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคชราที่โรงพยาบาลศิริราช สิริอายุ 90 ปีผลงาน ผลงาน. หม่อมดุษฎี มีผลงานการเขียน และแปลทั้งหมด 46 เล่ม อาทิเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา ถึงแก่อนิจกรรม. เมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"5"
],
"answer_begin_position": [
1932
],
"answer_end_position": [
1933
]
} |
1,969 | 233,396 | หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ณ ถลาง; 14 ธันวาคม พ.ศ. 2467 – 5 กันยายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียน, ครู, นักแปล และผู้แต่งเพลงสำหรับเด็กชาวไทย ทั้งเป็นผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมศักยภาพเด็กปฐมวัย เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ และเป็นมารดาของหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หม่อมดุษฎี เป็นผู้ริเริ่มรณรงค์การใช้หนังสือภาพสำหรับเด็ก ทั้งยังเขียนคู่มือการสอนสำหรับครูปฐมวัย และหนังสืออ่านสำหรับเด็ก โดยมีลักษณะการเขียนแบบเล่นเสียงสัมผัส มีใช้คำที่มีเสียงขึ้นลง และใช้คำเก่าเพื่อให้เด็กเรียนรู้ รวมทั้งใช้ภาพประกอบที่สวยงามปลุกเร้าจินตนาการของผู้อ่านประวัติชีวิตช่วนต้นและการศึกษา ประวัติ. ชีวิตช่วนต้นและการศึกษา. หม่อมดุษฎี เกิดที่จังหวัดภูเก็ต เป็นธิดาของหลวงอิศเรศรักษา (ปลื้ม ณ ถลาง) กับดรุณ อิศเรศรักษา มารดามีอาชีพเป็นครู สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนปลูกปัญญา จังหวัดภูเก็ต, ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษาปริญญาตรีอักษรศาสตร์ อ.บ. (เกียรตินิยม) และอนุปริญญา ครุศาสตร์ ป.ม. (เกียรตินิยม) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้รับทุนการศึกษาจากครุสภาให้ไปศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา จนสำเร็จการศึกษาปริญญาโท พัฒนาการเด็ก และอนุปริญญาการเลี้ยงเด็ก มหาวิทยาลัยมิลล์ หม่อมดุษฎี เคยเป็นครูสอนหนังสือที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต กับหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 มีบุตร 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร สมรสกับนุชวดี บำรุงตระกูล ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับสาวิตรี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ภมรบุตร) มีบุตรสองคน 2. พันเอก หม่อมราชวงศ์วโรรส บริพัตร สมรสกับพัฒนาพร นิยมศิริ ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับวรภาทิพย์ บริพัตร ณ อยุธยา (นามเดิม: ลอองดาว โตเจริญ) มีบุตรสามคนถึงแก่อนิจกรรม ถึงแก่อนิจกรรม. เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2559 เวลาประมาณ 03.00 น. หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา ได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคชราที่โรงพยาบาลศิริราช สิริอายุ 90 ปีผลงาน ผลงาน. หม่อมดุษฎี มีผลงานการเขียน และแปลทั้งหมด 46 เล่ม อาทิเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา มีสกุลเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"ณ ถลาง"
],
"answer_begin_position": [
169
],
"answer_end_position": [
175
]
} |
1,970 | 233,396 | หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ณ ถลาง; 14 ธันวาคม พ.ศ. 2467 – 5 กันยายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียน, ครู, นักแปล และผู้แต่งเพลงสำหรับเด็กชาวไทย ทั้งเป็นผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมศักยภาพเด็กปฐมวัย เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ และเป็นมารดาของหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หม่อมดุษฎี เป็นผู้ริเริ่มรณรงค์การใช้หนังสือภาพสำหรับเด็ก ทั้งยังเขียนคู่มือการสอนสำหรับครูปฐมวัย และหนังสืออ่านสำหรับเด็ก โดยมีลักษณะการเขียนแบบเล่นเสียงสัมผัส มีใช้คำที่มีเสียงขึ้นลง และใช้คำเก่าเพื่อให้เด็กเรียนรู้ รวมทั้งใช้ภาพประกอบที่สวยงามปลุกเร้าจินตนาการของผู้อ่านประวัติชีวิตช่วนต้นและการศึกษา ประวัติ. ชีวิตช่วนต้นและการศึกษา. หม่อมดุษฎี เกิดที่จังหวัดภูเก็ต เป็นธิดาของหลวงอิศเรศรักษา (ปลื้ม ณ ถลาง) กับดรุณ อิศเรศรักษา มารดามีอาชีพเป็นครู สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนปลูกปัญญา จังหวัดภูเก็ต, ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษาปริญญาตรีอักษรศาสตร์ อ.บ. (เกียรตินิยม) และอนุปริญญา ครุศาสตร์ ป.ม. (เกียรตินิยม) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้รับทุนการศึกษาจากครุสภาให้ไปศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา จนสำเร็จการศึกษาปริญญาโท พัฒนาการเด็ก และอนุปริญญาการเลี้ยงเด็ก มหาวิทยาลัยมิลล์ หม่อมดุษฎี เคยเป็นครูสอนหนังสือที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. เธอเสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต กับหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 มีบุตร 2 คน คือ1. หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร สมรสกับนุชวดี บำรุงตระกูล ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับสาวิตรี บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ภมรบุตร) มีบุตรสองคน 2. พันเอก หม่อมราชวงศ์วโรรส บริพัตร สมรสกับพัฒนาพร นิยมศิริ ต่อมาได้หย่ากัน และสมรสอีกครั้งกับวรภาทิพย์ บริพัตร ณ อยุธยา (นามเดิม: ลอองดาว โตเจริญ) มีบุตรสามคนถึงแก่อนิจกรรม ถึงแก่อนิจกรรม. เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2559 เวลาประมาณ 03.00 น. หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา ได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคชราที่โรงพยาบาลศิริราช สิริอายุ 90 ปีผลงาน ผลงาน. หม่อมดุษฎี มีผลงานการเขียน และแปลทั้งหมด 46 เล่ม อาทิเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์"
],
"answer_begin_position": [
341
],
"answer_end_position": [
378
]
} |
837 | 171,262 | หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป.จ.(สกุลเดิม: วิเศษกุล; 5 เมษายน พ.ศ. 2451 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีประวัติ ประวัติ. หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา เกิดวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2451 เป็นธิดาคนสุดท้องของพระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล) มหาดเล็กข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงสุรินทราชา (เนื่อง) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนคอนแวนต์แห่งพระกุมารเยซู () เมืองจอร์จทาวน์ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน หม่อมกอบแก้วได้พบกับพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เป็นครั้งแรกที่วังไกลกังวล ในวันงานพระราชพิธีคฤหมงคล ขึ้นพระตำหนักเปี่ยมสุข เมื่อวันที่ 10-11 เมษายน พ.ศ. 2472 ภายหลังจึงได้เสกสมรสกัน เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2472 แต่ไม่มีพระทายาท ชื่อของหม่อมกอบแก้ว เป็นที่มาของชื่อเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ ด้วยเป็นมารดาอุปถัมภ์ หม่อมกอบแก้วได้รับการยกย่องให้เป็นแบบอย่างของกุลสตรีไทยยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 อันเป็นสตรีที่มีความรู้และความทันสมัยในแบบของสาวตะวันตก รับหน้าที่ให้เป็นผู้สวมมงกุฎและสายสะพายให้แก่นางสาวไทยทุกคนในยุคก่อน ๆ ทั้งนี้หม่อมกอบแก้วยังเป็นที่ยอมรับในเรื่องของความงามเหนือกาลเวลา และกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ หม่อมกอบแก้ว มีความชำนาญด้านการขี่ม้า ภายหลังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมกอบแก้วเป็น ทหารม้ายศพันโท หม่อมกอบแก้ว ได้อุทิศตนยาวนาน ทำงานเพื่อสภากาชาดไทย โดย ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายจัดหารายได้ เป็นคนแรกถึงแก่อสัญกรรม ถึงแก่อสัญกรรม. หม่อมกอบแก้วถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เวลา 20.30 นาฬิกา ด้วยอาการติดเชื้อในกระแสเลือด สิริรวมอายุได้ 100 ปี 1 เดือน 14 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และทรงวางพวงมาลาหลวง พวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่หน้าโกศศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ ศาลาบัณณรศภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในการนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานเพลิงศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2481 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อ.ป.ร.1) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)
| พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป.จ. สกุลเดิมใช้ว่าอะไร | {
"answer": [
"วิเศษกุล"
],
"answer_begin_position": [
186
],
"answer_end_position": [
194
]
} |
838 | 171,262 | หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป.จ.(สกุลเดิม: วิเศษกุล; 5 เมษายน พ.ศ. 2451 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีประวัติ ประวัติ. หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา เกิดวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2451 เป็นธิดาคนสุดท้องของพระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล) มหาดเล็กข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงสุรินทราชา (เนื่อง) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนคอนแวนต์แห่งพระกุมารเยซู () เมืองจอร์จทาวน์ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน หม่อมกอบแก้วได้พบกับพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เป็นครั้งแรกที่วังไกลกังวล ในวันงานพระราชพิธีคฤหมงคล ขึ้นพระตำหนักเปี่ยมสุข เมื่อวันที่ 10-11 เมษายน พ.ศ. 2472 ภายหลังจึงได้เสกสมรสกัน เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2472 แต่ไม่มีพระทายาท ชื่อของหม่อมกอบแก้ว เป็นที่มาของชื่อเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ ด้วยเป็นมารดาอุปถัมภ์ หม่อมกอบแก้วได้รับการยกย่องให้เป็นแบบอย่างของกุลสตรีไทยยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 อันเป็นสตรีที่มีความรู้และความทันสมัยในแบบของสาวตะวันตก รับหน้าที่ให้เป็นผู้สวมมงกุฎและสายสะพายให้แก่นางสาวไทยทุกคนในยุคก่อน ๆ ทั้งนี้หม่อมกอบแก้วยังเป็นที่ยอมรับในเรื่องของความงามเหนือกาลเวลา และกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ หม่อมกอบแก้ว มีความชำนาญด้านการขี่ม้า ภายหลังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมกอบแก้วเป็น ทหารม้ายศพันโท หม่อมกอบแก้ว ได้อุทิศตนยาวนาน ทำงานเพื่อสภากาชาดไทย โดย ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายจัดหารายได้ เป็นคนแรกถึงแก่อสัญกรรม ถึงแก่อสัญกรรม. หม่อมกอบแก้วถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เวลา 20.30 นาฬิกา ด้วยอาการติดเชื้อในกระแสเลือด สิริรวมอายุได้ 100 ปี 1 เดือน 14 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และทรงวางพวงมาลาหลวง พวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่หน้าโกศศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ ศาลาบัณณรศภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในการนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานเพลิงศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2481 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อ.ป.ร.1) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)
| หม่อมกอบแก้ว ได้อุทิศตนยาวนาน ทำงานเพื่อสภากาชาดไทย โดยดำรงตำแหน่งใด | {
"answer": [
"ตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายจัดหารายได้"
],
"answer_begin_position": [
1472
],
"answer_end_position": [
1506
]
} |
1,395 | 171,262 | หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป.จ.(สกุลเดิม: วิเศษกุล; 5 เมษายน พ.ศ. 2451 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีประวัติ ประวัติ. หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา เกิดวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2451 เป็นธิดาคนสุดท้องของพระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล) มหาดเล็กข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงสุรินทราชา (เนื่อง) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนคอนแวนต์แห่งพระกุมารเยซู () เมืองจอร์จทาวน์ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน หม่อมกอบแก้วได้พบกับพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เป็นครั้งแรกที่วังไกลกังวล ในวันงานพระราชพิธีคฤหมงคล ขึ้นพระตำหนักเปี่ยมสุข เมื่อวันที่ 10-11 เมษายน พ.ศ. 2472 ภายหลังจึงได้เสกสมรสกัน เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2472 แต่ไม่มีพระทายาท ชื่อของหม่อมกอบแก้ว เป็นที่มาของชื่อเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ ด้วยเป็นมารดาอุปถัมภ์ หม่อมกอบแก้วได้รับการยกย่องให้เป็นแบบอย่างของกุลสตรีไทยยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 อันเป็นสตรีที่มีความรู้และความทันสมัยในแบบของสาวตะวันตก รับหน้าที่ให้เป็นผู้สวมมงกุฎและสายสะพายให้แก่นางสาวไทยทุกคนในยุคก่อน ๆ ทั้งนี้หม่อมกอบแก้วยังเป็นที่ยอมรับในเรื่องของความงามเหนือกาลเวลา และกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ หม่อมกอบแก้ว มีความชำนาญด้านการขี่ม้า ภายหลังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมกอบแก้วเป็น ทหารม้ายศพันโท หม่อมกอบแก้ว ได้อุทิศตนยาวนาน ทำงานเพื่อสภากาชาดไทย โดย ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายจัดหารายได้ เป็นคนแรกถึงแก่อสัญกรรม ถึงแก่อสัญกรรม. หม่อมกอบแก้วถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เวลา 20.30 นาฬิกา ด้วยอาการติดเชื้อในกระแสเลือด สิริรวมอายุได้ 100 ปี 1 เดือน 14 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และทรงวางพวงมาลาหลวง พวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่หน้าโกศศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ ศาลาบัณณรศภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในการนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานเพลิงศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2481 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อ.ป.ร.1) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)
| หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอะไรในประเทศมาเลเซีย | {
"answer": [
"โรงเรียนคอนแวนต์แห่งพระกุมารเยซู"
],
"answer_begin_position": [
578
],
"answer_end_position": [
610
]
} |
1,789 | 171,262 | หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป.จ.(สกุลเดิม: วิเศษกุล; 5 เมษายน พ.ศ. 2451 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีประวัติ ประวัติ. หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา เกิดวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2451 เป็นธิดาคนสุดท้องของพระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล) มหาดเล็กข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงสุรินทราชา (เนื่อง) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนคอนแวนต์แห่งพระกุมารเยซู () เมืองจอร์จทาวน์ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน หม่อมกอบแก้วได้พบกับพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เป็นครั้งแรกที่วังไกลกังวล ในวันงานพระราชพิธีคฤหมงคล ขึ้นพระตำหนักเปี่ยมสุข เมื่อวันที่ 10-11 เมษายน พ.ศ. 2472 ภายหลังจึงได้เสกสมรสกัน เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2472 แต่ไม่มีพระทายาท ชื่อของหม่อมกอบแก้ว เป็นที่มาของชื่อเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ ด้วยเป็นมารดาอุปถัมภ์ หม่อมกอบแก้วได้รับการยกย่องให้เป็นแบบอย่างของกุลสตรีไทยยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 อันเป็นสตรีที่มีความรู้และความทันสมัยในแบบของสาวตะวันตก รับหน้าที่ให้เป็นผู้สวมมงกุฎและสายสะพายให้แก่นางสาวไทยทุกคนในยุคก่อน ๆ ทั้งนี้หม่อมกอบแก้วยังเป็นที่ยอมรับในเรื่องของความงามเหนือกาลเวลา และกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ หม่อมกอบแก้ว มีความชำนาญด้านการขี่ม้า ภายหลังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมกอบแก้วเป็น ทหารม้ายศพันโท หม่อมกอบแก้ว ได้อุทิศตนยาวนาน ทำงานเพื่อสภากาชาดไทย โดย ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายจัดหารายได้ เป็นคนแรกถึงแก่อสัญกรรม ถึงแก่อสัญกรรม. หม่อมกอบแก้วถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เวลา 20.30 นาฬิกา ด้วยอาการติดเชื้อในกระแสเลือด สิริรวมอายุได้ 100 ปี 1 เดือน 14 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และทรงวางพวงมาลาหลวง พวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่หน้าโกศศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ ศาลาบัณณรศภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในการนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานเพลิงศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2481 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อ.ป.ร.1) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)
| หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา เกิดวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"5"
],
"answer_begin_position": [
401
],
"answer_end_position": [
402
]
} |
1,949 | 171,262 | หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป.จ.(สกุลเดิม: วิเศษกุล; 5 เมษายน พ.ศ. 2451 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีประวัติ ประวัติ. หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา เกิดวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2451 เป็นธิดาคนสุดท้องของพระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล) มหาดเล็กข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงสุรินทราชา (เนื่อง) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนคอนแวนต์แห่งพระกุมารเยซู () เมืองจอร์จทาวน์ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน หม่อมกอบแก้วได้พบกับพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เป็นครั้งแรกที่วังไกลกังวล ในวันงานพระราชพิธีคฤหมงคล ขึ้นพระตำหนักเปี่ยมสุข เมื่อวันที่ 10-11 เมษายน พ.ศ. 2472 ภายหลังจึงได้เสกสมรสกัน เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2472 แต่ไม่มีพระทายาท ชื่อของหม่อมกอบแก้ว เป็นที่มาของชื่อเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ ด้วยเป็นมารดาอุปถัมภ์ หม่อมกอบแก้วได้รับการยกย่องให้เป็นแบบอย่างของกุลสตรีไทยยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 อันเป็นสตรีที่มีความรู้และความทันสมัยในแบบของสาวตะวันตก รับหน้าที่ให้เป็นผู้สวมมงกุฎและสายสะพายให้แก่นางสาวไทยทุกคนในยุคก่อน ๆ ทั้งนี้หม่อมกอบแก้วยังเป็นที่ยอมรับในเรื่องของความงามเหนือกาลเวลา และกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ หม่อมกอบแก้ว มีความชำนาญด้านการขี่ม้า ภายหลังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมกอบแก้วเป็น ทหารม้ายศพันโท หม่อมกอบแก้ว ได้อุทิศตนยาวนาน ทำงานเพื่อสภากาชาดไทย โดย ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายจัดหารายได้ เป็นคนแรกถึงแก่อสัญกรรม ถึงแก่อสัญกรรม. หม่อมกอบแก้วถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เวลา 20.30 นาฬิกา ด้วยอาการติดเชื้อในกระแสเลือด สิริรวมอายุได้ 100 ปี 1 เดือน 14 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และทรงวางพวงมาลาหลวง พวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่หน้าโกศศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ ศาลาบัณณรศภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในการนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานเพลิงศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2481 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อ.ป.ร.1) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)
| พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"5"
],
"answer_begin_position": [
401
],
"answer_end_position": [
402
]
} |
1,950 | 171,262 | หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป.จ.(สกุลเดิม: วิเศษกุล; 5 เมษายน พ.ศ. 2451 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีประวัติ ประวัติ. หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา เกิดวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2451 เป็นธิดาคนสุดท้องของพระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล) มหาดเล็กข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงสุรินทราชา (เนื่อง) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนคอนแวนต์แห่งพระกุมารเยซู () เมืองจอร์จทาวน์ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน หม่อมกอบแก้วได้พบกับพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เป็นครั้งแรกที่วังไกลกังวล ในวันงานพระราชพิธีคฤหมงคล ขึ้นพระตำหนักเปี่ยมสุข เมื่อวันที่ 10-11 เมษายน พ.ศ. 2472 ภายหลังจึงได้เสกสมรสกัน เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2472 แต่ไม่มีพระทายาท ชื่อของหม่อมกอบแก้ว เป็นที่มาของชื่อเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ ด้วยเป็นมารดาอุปถัมภ์ หม่อมกอบแก้วได้รับการยกย่องให้เป็นแบบอย่างของกุลสตรีไทยยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 อันเป็นสตรีที่มีความรู้และความทันสมัยในแบบของสาวตะวันตก รับหน้าที่ให้เป็นผู้สวมมงกุฎและสายสะพายให้แก่นางสาวไทยทุกคนในยุคก่อน ๆ ทั้งนี้หม่อมกอบแก้วยังเป็นที่ยอมรับในเรื่องของความงามเหนือกาลเวลา และกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ หม่อมกอบแก้ว มีความชำนาญด้านการขี่ม้า ภายหลังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมกอบแก้วเป็น ทหารม้ายศพันโท หม่อมกอบแก้ว ได้อุทิศตนยาวนาน ทำงานเพื่อสภากาชาดไทย โดย ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายจัดหารายได้ เป็นคนแรกถึงแก่อสัญกรรม ถึงแก่อสัญกรรม. หม่อมกอบแก้วถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เวลา 20.30 นาฬิกา ด้วยอาการติดเชื้อในกระแสเลือด สิริรวมอายุได้ 100 ปี 1 เดือน 14 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และทรงวางพวงมาลาหลวง พวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่หน้าโกศศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ ศาลาบัณณรศภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในการนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานเพลิงศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2481 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อ.ป.ร.1) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)
| พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ใช้นามสกุลเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"วิเศษกุล"
],
"answer_begin_position": [
186
],
"answer_end_position": [
194
]
} |
1,964 | 171,262 | หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป.จ.(สกุลเดิม: วิเศษกุล; 5 เมษายน พ.ศ. 2451 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีประวัติ ประวัติ. หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา เกิดวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2451 เป็นธิดาคนสุดท้องของพระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล) มหาดเล็กข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงสุรินทราชา (เนื่อง) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนคอนแวนต์แห่งพระกุมารเยซู () เมืองจอร์จทาวน์ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน หม่อมกอบแก้วได้พบกับพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เป็นครั้งแรกที่วังไกลกังวล ในวันงานพระราชพิธีคฤหมงคล ขึ้นพระตำหนักเปี่ยมสุข เมื่อวันที่ 10-11 เมษายน พ.ศ. 2472 ภายหลังจึงได้เสกสมรสกัน เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2472 แต่ไม่มีพระทายาท ชื่อของหม่อมกอบแก้ว เป็นที่มาของชื่อเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ ด้วยเป็นมารดาอุปถัมภ์ หม่อมกอบแก้วได้รับการยกย่องให้เป็นแบบอย่างของกุลสตรีไทยยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 อันเป็นสตรีที่มีความรู้และความทันสมัยในแบบของสาวตะวันตก รับหน้าที่ให้เป็นผู้สวมมงกุฎและสายสะพายให้แก่นางสาวไทยทุกคนในยุคก่อน ๆ ทั้งนี้หม่อมกอบแก้วยังเป็นที่ยอมรับในเรื่องของความงามเหนือกาลเวลา และกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ หม่อมกอบแก้ว มีความชำนาญด้านการขี่ม้า ภายหลังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมกอบแก้วเป็น ทหารม้ายศพันโท หม่อมกอบแก้ว ได้อุทิศตนยาวนาน ทำงานเพื่อสภากาชาดไทย โดย ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายจัดหารายได้ เป็นคนแรกถึงแก่อสัญกรรม ถึงแก่อสัญกรรม. หม่อมกอบแก้วถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เวลา 20.30 นาฬิกา ด้วยอาการติดเชื้อในกระแสเลือด สิริรวมอายุได้ 100 ปี 1 เดือน 14 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และทรงวางพวงมาลาหลวง พวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่หน้าโกศศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ ศาลาบัณณรศภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในการนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานเพลิงศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2481 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อ.ป.ร.1) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)
| หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา เกิดวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"5"
],
"answer_begin_position": [
401
],
"answer_end_position": [
402
]
} |
1,966 | 171,262 | หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป.จ.(สกุลเดิม: วิเศษกุล; 5 เมษายน พ.ศ. 2451 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีประวัติ ประวัติ. หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา เกิดวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2451 เป็นธิดาคนสุดท้องของพระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล) มหาดเล็กข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงสุรินทราชา (เนื่อง) สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนคอนแวนต์แห่งพระกุมารเยซู () เมืองจอร์จทาวน์ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน หม่อมกอบแก้วได้พบกับพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เป็นครั้งแรกที่วังไกลกังวล ในวันงานพระราชพิธีคฤหมงคล ขึ้นพระตำหนักเปี่ยมสุข เมื่อวันที่ 10-11 เมษายน พ.ศ. 2472 ภายหลังจึงได้เสกสมรสกัน เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2472 แต่ไม่มีพระทายาท ชื่อของหม่อมกอบแก้ว เป็นที่มาของชื่อเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ ด้วยเป็นมารดาอุปถัมภ์ หม่อมกอบแก้วได้รับการยกย่องให้เป็นแบบอย่างของกุลสตรีไทยยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 อันเป็นสตรีที่มีความรู้และความทันสมัยในแบบของสาวตะวันตก รับหน้าที่ให้เป็นผู้สวมมงกุฎและสายสะพายให้แก่นางสาวไทยทุกคนในยุคก่อน ๆ ทั้งนี้หม่อมกอบแก้วยังเป็นที่ยอมรับในเรื่องของความงามเหนือกาลเวลา และกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ต่าง ๆ หม่อมกอบแก้ว มีความชำนาญด้านการขี่ม้า ภายหลังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมกอบแก้วเป็น ทหารม้ายศพันโท หม่อมกอบแก้ว ได้อุทิศตนยาวนาน ทำงานเพื่อสภากาชาดไทย โดย ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายจัดหารายได้ เป็นคนแรกถึงแก่อสัญกรรม ถึงแก่อสัญกรรม. หม่อมกอบแก้วถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เวลา 20.30 นาฬิกา ด้วยอาการติดเชื้อในกระแสเลือด สิริรวมอายุได้ 100 ปี 1 เดือน 14 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ และทรงวางพวงมาลาหลวง พวงมาลาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่หน้าโกศศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ ศาลาบัณณรศภาค วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในการนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานเพลิงศพ พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2481 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 1 (อ.ป.ร.1) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)
| พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันอะไร | {
"answer": [
"จันทร์"
],
"answer_begin_position": [
1581
],
"answer_end_position": [
1587
]
} |
839 | 112,811 | หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก หรือ หม่อมคัทริน จักรพงษ์ ณ อยุธยา หรือ คัทริน เดสนิตสกี () มีชื่อเต็มว่า เยกาเจรีนา อีวานอฟนา เดสนิตสกายา (; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2429 — 3 มกราคม พ.ศ. 2503) เป็นอดีตหม่อมชาวรัสเซีย (ปัจจุบันส่วนหนึ่งของประเทศยูเครน) ในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ มีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้พระราชทานนามสกุล ณ พิศณุโลก อันเป็นนามสกุลพิเศษเนื่องจากไม่มีเลขลำดับที่พระราชทาน และมีผู้ใช้เพียงท่านเดียว คือ หม่อมคัทรินประวัติชีวิตช่วงแรก ประวัติ. ชีวิตช่วงแรก. คัทริน เดสนิตสกี หรือ แคทยา () เกิดเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2429 เป็นลูกสาวของอีวาน สเตปาโนวิช เดสนิตสกี รับราชการในกระทรวงยุติธรรมและได้เป็นประธานผู้พิพากษาสูงสุดของแคว้นลุตซ์ก ในเขตยูเครน มียศในราชการพลเรือนเทียบเท่าชั้นพลตรีในไทย ส่วนมารดาของเธอ มาเรีย มิลไฮลอฟวา เกิดในตระกูลคิชเนียคอฟฟ์ () อันเป็นตระกูลที่มีที่ดินเพื่อหาผลประโยชน์มาหลายชั่วอายุคน ด้วยเหตุที่ทั้งบิดา และมารดาต่างผ่านการสมรสและเป็นหม้ายมาก่อน จึงมีพี่น้องชายหญิงต่างบิดามารดาถึง 7 คน แต่มีพี่ชายแท้ ๆ เพียงคนเดียวคือ อีวาน อายุห่างกัน 2 ปี ซึ่งได้เข้ารับราชการต่างประเทศและเมื่อปฏิวัติใหญ่เกิดขึ้นในรัสเซีย เป็นเลขานุการเอกอยู่สถานทูตรัสเซีย ณ กรุงปักกิ่ง พ่อของคัทรินได้เสียตั้งแต่เธออายุได้เดือนเศษ คัทรินจึงอยู่กับแม่ ได้เลี้ยงดูอยู่ที่เมืองเคียฟและได้รับการศึกษาตามสมควรแก่ฐานะ คือมีพี่เลี้ยงเป็นฝรั่งเศสเพื่อสอนภาษาและภายหลังก็ไปโรงเรียน ต่อมาได้เกิดสงครามระหว่างรัสเซียและญี่ปุ่นตอนเธออายุ 16 ปี ซึ่งเธอได้สูญเสียแม่ไปจากโรคมะเร็ง เธอจึงตัดสินใจแสวงหาโชคและอนาคตที่ดีกว่า โดยการยืมเงินจากลุงมาก้อนหนึ่งไปที่กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ไปอยู่กับพี่ชายอีวานซึ่งเป็นนักเรียนมหาวิทยาลัย และแคทยาได้เรียนเป็นนางพยาบาลสำหรับการรบ มิใช่นางพยาบาลอาชีพธรรมดา โดยอาศัยอยู่กับลูกพี่ลูกน้องของมารดาเธอคือ น้าโซเฟีย ซึ่งแต่งงานอยู่กับนายแพทย์ที่ชื่อ โบโรดิน จนกระทั่งได้พบกับเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาภ ที่บ้านของนางคราโปวิตซกี ที่เธอมักจัดงานเลี้ยงและเชิญหนุ่มสาวมาเสมอ ฤดูหนาว พ.ศ. 2447 ต่อ พ.ศ. 2448 เกิดเหตุการณ์ภายในรัสเซีย นำไปสู่ภาวะวิกฤติมากขึ้น แคทยาได้ออกเดินทางไปไซบีเรียในเดือนเมษายน พ.ศ. 2448 โดยเข้าประจำโรงพยาบาลสนาม ทำหน้าที่เป็นพยาบาล ด้วยความสามารถและความขยันขันแข็ง ในปีต่อมาเธอได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ถึง 3 ตระกูล รวมถึงเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีเกียรติสูงอย่างตราเซนต์ยอร์ช ในขณะเดียวกันเจ้าฟ้าจักรพงษ์ฯ ซึ่งไม่สามารถขอลาราชการจากโรงเรียนเสนาธิการเพื่อเดินทางไปยังไซบีเรียได้ ยังมีลายพระหัตถ์และโทรเลขส่งถึงเธอเกือบทุกวัน ต่อมาสงครามก็ได้ยุติลงในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2448 จากสนธิสัญญาพอร์ตสมัท แต่ก็ไม่ทำให้เหตุการณ์ที่เสื่อมทรามดีขึ้นได้ แคทยาเดินทางกลับกรุงเซนต์ปีเตอร์เบอร์กในปีเดียวกันนั้น หลังจากพบปะกับเจ้าฟ้าจักรพงษ์ฯ ครั้งแรกหลังที่พระองค์ต้องทนทุกข์ทรมานมานานที่เธอต้องจากไปทำงานที่ไซบีเรีย พระองค์ขอแต่งงานและขอให้เธอติดตามอยู่ที่เมืองไทยเสกสมรส เจ้าฟ้าจักรพงษ์ฯ เสกสมรส เจ้าฟ้าจักรพงษ์ฯ. หม่อมคัทรินเสกสมรสกับสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ที่เมืองคอนสแตนติโนเปิล ตามพิธีการทางศาสนาตามแบบนิกายออร์โธดอกซ์ของรัสเซีย ที่โบสต์เซนต์ทรินิตี บนถนนเปรา โดยมิได้กราบทูลให้พระราชบิดาและจักรพรรดิซาร์ทรงทราบ เมื่อเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถเสด็จกลับสยาม เมื่อ พ.ศ. 2449 เมื่อสำเร็จการศึกษา ที่ไม่ได้ทรงกราบทูลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ทรงทราบแต่ประการใด กับได้ทรงพาหม่อมคัทรินฯ กลับเมืองไทยในปีเดียวกันนั้นเอง ในชั้นแรกทรงให้หม่อมคัทรินฯ พักอยู่ที่เมืองสิงคโปร์เป็นการชั่วคราวก่อน โดยพักกับเอลินา นิโคไลเยฟนา ภรรยาของพระยาสุรยุทธโยธาหาร นายทหารคนสนิทของเจ้าฟ้าจักรพงษ์ฯ ส่วนพระองค์ฯ ได้เสด็จกลับกรุงเทพฯ แต่พระองค์เดียว ในไม่นานก็มีข่าวลือมายังกรุงเทพฯ ว่ามีมาดามเดอพิษณุโลกอยู่ที่สิงคโปร์ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนารถทราบ ทรงกริ้วเป็นที่สุด และเมื่อข่าวเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้ว พระองค์ฯ ก็จัดให้หม่อมคัทรินฯ เดินทางมายังกรุงเทพฯ เมื่อหม่อมคัทรินเข้ามาในสยามอย่างไม่ปิดบังอีกว่าเป็นชายา จัดให้พักที่วังปารุสกวันร่วมกัน ในฐานะเจ้าของวังร่วมกันกับพระองค์ แต่ปีทั้งปี หม่อมคัทรินก็แทบจะไม่ได้ย่างเท้าออกจากวัง เว้นแต่ไปนั่งรถยนต์เล่นในตอนค่ำคืน เธอไม่มีโอกาสเข้าเฝ้าพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถอย่างสะใภ้หลวง ทั้งสองพระองค์มิได้ทรงยอมรับเธอ แต่ก็มิได้พระทัยร้ายถึงกับขับไล่ไสส่งหรือยื่นคำขาดให้พระราชโอรสทรงละทิ้งหม่อม ชีวิตในวังปารุสกวันผ่านไปด้วยความราบรื่น เจ้าฟ้าชายเห็นพระทัยหม่อมคัทริน ก็ทรงทำทุกอย่างที่จะให้เธออยู่อย่างเป็นสุขและสะดวกสบายที่สุดเท่าที่จะทำได้ ผู้ที่ช่วยเป็นกำลังใจสนับสนุนอีกแรงหนึ่งคือสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ แคทยาเคารพและมองพระองค์ท่านด้วยความเชื่อมั่นในหลาย ๆ ด้าน และถึงแม้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะไม่โปรดรับหม่อมคัทรินเป็นสะใภ้หลวง แต่ก็เป็นที่โปรดปรานของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ซึ่งได้พระราชทานเครื่องเพชรล้ำค่าแก่หม่อมคัทรินอยู่เสมอ หม่อมคัทรินปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมไทยทั้งในเรื่องกิริยามารยาท การแสดงออกที่สุภาพอ่อนโยนในสายตาชาววังซึ่งเป็นชนชั้นสูง และเรียนรู้ภาษาไทยจนถึงขั้นอ่านออกเขียนได้ ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้าฝ่ายในแด่หม่อมคัทริน ในปลายปี พ.ศ. 2450 หม่อมคัทรินพระชายาของพระองค์ได้ประสูติโอรสเป็นชายพระองค์แรกและพระองค์เดียวคือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ความสุขของแคทยาดำเนินต่อไปอยู่หลายปี จนกระทั่งเหตุการณ์ภายนอกเข้ามากระทบเธออย่างหนัก เริ่มด้วยการล่มสลายของราชวงศ์โรมานอฟ ที่ทำให้เจ้านายและขุนนางในรัสเซียต้องหลบลี้หนีภัยการเมืองออกนอกประเทศ ความหวังของแคทยาที่จะได้กลับไปเยี่ยมบ้านเดิมก็จบสิ้นลง บ้านเกิดเมืองนอนกลายเป็นดินแดนต้องห้ามสำหรับเธอไปเสียแล้ว สิ่งที่ตามมาคือสงครามโลกครั้งที่ 1 พระเจ้าอยู่หัวตัดสินพระทัยประกาศสงครามกับฝ่ายเยอรมัน ผู้นำทางการทหารของสยามก็คือเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ทรงรับภารกิจด้านนี้ไว้เต็มมืออีกครั้ง ทำให้แคทยาหมดโอกาสจะเดินทางไปแม้แต่ประเทศใดประเทศหนึ่งในยุโรป ชีวิตสมรสดำเนินมาถึง 12 ปี ใต้ความกดดันเพิ่มขึ้นทีละน้อยในปีหลัง ๆ สุขภาพของแคทยาก็เสื่อมโทรมลง เธอแท้งติดต่อกันถึง 2 ครั้ง ในที่สุดเธอก็ตัดสินใจเดินทางไกล เพื่อรักษาสุขภาพกายและใจให้ดีขึ้น ด้วยการไปเยี่ยมพี่ชายที่อยู่ในปักกิ่ง เลยไปญี่ปุ่นและเดินทางต่อไปถึงแคนาดา เมื่อไม่มีแคทยาอยู่ด้วย เจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถทรงมีเวลาว่างพอจะได้คุ้นเคยกับพระญาติสตรีจากวังอื่น ๆ มากขึ้น ในจำนวนนั้นคือหม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์ พระธิดาของพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ผู้เป็นพระเชษฐาต่างชนนีกันนั่นเอง และในปี พ.ศ. 2462 แคทยาได้หย่าขาดกับ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถหลังการหย่าและการแต่งงานใหม่ หลังการหย่าและการแต่งงานใหม่. หลังแยกทางเดินกับเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถแล้ว นับแต่เธอเดินทางออกจากสยาม แคทยาก็ไปหาพี่ชายที่ปักกิ่ง พักอยู่ด้วยไม่นาน ก็ย้ายไปพำนักอยู่ที่เซี่ยงไฮ้ เธอกลับไปใช้นามสกุลเดิม ใช้ชื่อว่า มาดามเดสนิทสกี้ อาศัยค่าเลี้ยงดูเดือนละ 100 ปอนด์อันน้อยนิดที่เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถประทานให้เป็นค่าเลี้ยงดูหลังหย่าร้าง เช่าบ้านเล็ก ๆได้หลังหนึ่ง แล้วใช้ชีวิตตามลำพังด้วยความเข้มแข็งเท่าที่ผู้หญิงสาวตัวคนเดียวจะทำได้ แคทยาไม่ได้ปล่อยชีวิตตัวเองให้หมกมุ่นน้อยเนื้อต่ำใจในโชคชะตา เธอใช้เวลาให้หมดไปกับการบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม ด้วยเข้าไปช่วยงานของสมาคมการกุศลของชาวรัสเซียเพื่อช่วยเหลือผู้อพยพ เพราะแคทยาเคยฝึกงานเป็นนางพยาบาลมาก่อน จึงช่วยงานได้มาก ทำให้วัน ๆ ผ่านไปรวดเร็ว แต่พอกลับมาบ้านในตอนกลางคืน ความเปล่าเปลี่ยวเศร้าหมองก็กลับมาอีกสำหรับผู้หญิงตัวคนเดียว พี่ชายแนะนำว่าหญิงสาวอย่างเธอไม่ควรอยู่คนเดียว จะอันตรายเกินไป ควรมีคนอยู่ด้วยเป็นเพื่อนในบ้าน จะมีรายได้เพิ่มด้วย เธอก็เลยแบ่งห้องชั้นบนในบ้านให้คนเช่า หนึ่งในคนเช่าห้องชั้นบนเป็นวิศวกรชาวอเมริกันชื่อแฮรี่ คลินตัน สโตน ซึ่งต่อมาเขาขอแต่งงานกับเธอ แต่ว่าแคทยาขอผัดผ่อนคำตอบไว้ก่อน ต่อมาเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถเสด็จทิวงคต เธอจึงเดินทางกลับมาร่วมงานพระศพในกรุงเทพมหานคร เมื่อกลับมาเธอพบว่าโอรสของเธออยู่ในความดูแลของ "ทูลกระหม่อมลุง" (รัชกาลที่ 6) เธอได้รับเงินส่วนแบ่งเพิ่มขึ้นจากเดิมจากมรดกของเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถด้วยพระเมตตาของพระเจ้าอยู่หัว แคทยาเดินทางกลับและแต่งงานกับแฮรี่สโตน แล้วเดินทางไปอเมริกากับเขา ทิ้งอดีตทุกอย่างในสยามให้จบสิ้นไปพร้อมกับการเสด็จทิวงคตของเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลก แคทยาเข้ากับชีวิตในอเมริกาไม่ดีนัก ยิ่งกว่านั้นเธอเข้ากับพ่อสามีและแม่สามีชาวอเมริกันไม่ได้ ความสุขของเธอมีอย่างเดียวคือได้เดินทางไปอังกฤษ พบโอรสซึ่งย่างเข้าวัยหนุ่ม ในที่สุดเธอกับสโตนก็ตัดสินใจอพยพโยกย้ายมาตั้งถิ่นฐานที่ปารีส เพื่อจะได้พบพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ซึ่งข้ามจากอังกฤษมาพักด้วยตอนปิดเทอม แคทยาเองก็อบอุ่นจากการได้รวมญาติชาวรัสเซียซึ่งลี้ภัยมาอยู่ในฝรั่งเศสอีกครั้ง แคทยากลับไปอเมริกาในช่วงอังกฤษเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สอง จนกระทั่งเธอถึงแก่กรรมอย่างสงบ เมื่ออายุ 71 ปีสู่งานประพันธ์ สู่งานประพันธ์. ทั้งนี้เนื่องจากมีลูกและหลานเป็นนักเขียน จึงมีผู้ถ่ายทอดชีวประวัติ สู่งานประพันธ์ หนังสือที่ให้รายละเอียดของหม่อมคัทรินหรือแคทยาดีที่สุดคือ แคทยาและเจ้าฟ้าสยาม หรือ KATYA & THE PRINCE OF SIAM เขียนโดยสองป้าหลานคือไอลีน ฮันเตอร์ (Eileen Hunter) พี่สาวของหม่อมเอลิสะเบธชายาของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์และ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ ธิดาคนเดียวของพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ นอกจากนี้หนังสือเล่มนี้ยังสร้างความบันดาลใจให้คณะบัลเล่ต์รัสเซียนำไปแสดงบัลเล่ต์ในชื่อเดียวกับหนังสือ Katya and the Prince of Siam "แคทยา และเจ้าฟ้าสยาม" ซึ่งเปิดแสดงรอบปฐมทัศน์ของโลกที่หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2546เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้า (ฝ่ายใน) (ท.จ.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 3 (ว.ป.ร.3)
| หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก มีชื่อเต็มว่าอะไร | {
"answer": [
"เยกาเจรีนา อีวานอฟนา เดสนิตสกายา"
],
"answer_begin_position": [
217
],
"answer_end_position": [
249
]
} |
1,626 | 112,811 | หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก หรือ หม่อมคัทริน จักรพงษ์ ณ อยุธยา หรือ คัทริน เดสนิตสกี () มีชื่อเต็มว่า เยกาเจรีนา อีวานอฟนา เดสนิตสกายา (; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2429 — 3 มกราคม พ.ศ. 2503) เป็นอดีตหม่อมชาวรัสเซีย (ปัจจุบันส่วนหนึ่งของประเทศยูเครน) ในสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ มีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้พระราชทานนามสกุล ณ พิศณุโลก อันเป็นนามสกุลพิเศษเนื่องจากไม่มีเลขลำดับที่พระราชทาน และมีผู้ใช้เพียงท่านเดียว คือ หม่อมคัทรินประวัติชีวิตช่วงแรก ประวัติ. ชีวิตช่วงแรก. คัทริน เดสนิตสกี หรือ แคทยา () เกิดเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2429 เป็นลูกสาวของอีวาน สเตปาโนวิช เดสนิตสกี รับราชการในกระทรวงยุติธรรมและได้เป็นประธานผู้พิพากษาสูงสุดของแคว้นลุตซ์ก ในเขตยูเครน มียศในราชการพลเรือนเทียบเท่าชั้นพลตรีในไทย ส่วนมารดาของเธอ มาเรีย มิลไฮลอฟวา เกิดในตระกูลคิชเนียคอฟฟ์ () อันเป็นตระกูลที่มีที่ดินเพื่อหาผลประโยชน์มาหลายชั่วอายุคน ด้วยเหตุที่ทั้งบิดา และมารดาต่างผ่านการสมรสและเป็นหม้ายมาก่อน จึงมีพี่น้องชายหญิงต่างบิดามารดาถึง 7 คน แต่มีพี่ชายแท้ ๆ เพียงคนเดียวคือ อีวาน อายุห่างกัน 2 ปี ซึ่งได้เข้ารับราชการต่างประเทศและเมื่อปฏิวัติใหญ่เกิดขึ้นในรัสเซีย เป็นเลขานุการเอกอยู่สถานทูตรัสเซีย ณ กรุงปักกิ่ง พ่อของคัทรินได้เสียตั้งแต่เธออายุได้เดือนเศษ คัทรินจึงอยู่กับแม่ ได้เลี้ยงดูอยู่ที่เมืองเคียฟและได้รับการศึกษาตามสมควรแก่ฐานะ คือมีพี่เลี้ยงเป็นฝรั่งเศสเพื่อสอนภาษาและภายหลังก็ไปโรงเรียน ต่อมาได้เกิดสงครามระหว่างรัสเซียและญี่ปุ่นตอนเธออายุ 16 ปี ซึ่งเธอได้สูญเสียแม่ไปจากโรคมะเร็ง เธอจึงตัดสินใจแสวงหาโชคและอนาคตที่ดีกว่า โดยการยืมเงินจากลุงมาก้อนหนึ่งไปที่กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ไปอยู่กับพี่ชายอีวานซึ่งเป็นนักเรียนมหาวิทยาลัย และแคทยาได้เรียนเป็นนางพยาบาลสำหรับการรบ มิใช่นางพยาบาลอาชีพธรรมดา โดยอาศัยอยู่กับลูกพี่ลูกน้องของมารดาเธอคือ น้าโซเฟีย ซึ่งแต่งงานอยู่กับนายแพทย์ที่ชื่อ โบโรดิน จนกระทั่งได้พบกับเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาภ ที่บ้านของนางคราโปวิตซกี ที่เธอมักจัดงานเลี้ยงและเชิญหนุ่มสาวมาเสมอ ฤดูหนาว พ.ศ. 2447 ต่อ พ.ศ. 2448 เกิดเหตุการณ์ภายในรัสเซีย นำไปสู่ภาวะวิกฤติมากขึ้น แคทยาได้ออกเดินทางไปไซบีเรียในเดือนเมษายน พ.ศ. 2448 โดยเข้าประจำโรงพยาบาลสนาม ทำหน้าที่เป็นพยาบาล ด้วยความสามารถและความขยันขันแข็ง ในปีต่อมาเธอได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ถึง 3 ตระกูล รวมถึงเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีเกียรติสูงอย่างตราเซนต์ยอร์ช ในขณะเดียวกันเจ้าฟ้าจักรพงษ์ฯ ซึ่งไม่สามารถขอลาราชการจากโรงเรียนเสนาธิการเพื่อเดินทางไปยังไซบีเรียได้ ยังมีลายพระหัตถ์และโทรเลขส่งถึงเธอเกือบทุกวัน ต่อมาสงครามก็ได้ยุติลงในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2448 จากสนธิสัญญาพอร์ตสมัท แต่ก็ไม่ทำให้เหตุการณ์ที่เสื่อมทรามดีขึ้นได้ แคทยาเดินทางกลับกรุงเซนต์ปีเตอร์เบอร์กในปีเดียวกันนั้น หลังจากพบปะกับเจ้าฟ้าจักรพงษ์ฯ ครั้งแรกหลังที่พระองค์ต้องทนทุกข์ทรมานมานานที่เธอต้องจากไปทำงานที่ไซบีเรีย พระองค์ขอแต่งงานและขอให้เธอติดตามอยู่ที่เมืองไทยเสกสมรส เจ้าฟ้าจักรพงษ์ฯ เสกสมรส เจ้าฟ้าจักรพงษ์ฯ. หม่อมคัทรินเสกสมรสกับสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ที่เมืองคอนสแตนติโนเปิล ตามพิธีการทางศาสนาตามแบบนิกายออร์โธดอกซ์ของรัสเซีย ที่โบสต์เซนต์ทรินิตี บนถนนเปรา โดยมิได้กราบทูลให้พระราชบิดาและจักรพรรดิซาร์ทรงทราบ เมื่อเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถเสด็จกลับสยาม เมื่อ พ.ศ. 2449 เมื่อสำเร็จการศึกษา ที่ไม่ได้ทรงกราบทูลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ทรงทราบแต่ประการใด กับได้ทรงพาหม่อมคัทรินฯ กลับเมืองไทยในปีเดียวกันนั้นเอง ในชั้นแรกทรงให้หม่อมคัทรินฯ พักอยู่ที่เมืองสิงคโปร์เป็นการชั่วคราวก่อน โดยพักกับเอลินา นิโคไลเยฟนา ภรรยาของพระยาสุรยุทธโยธาหาร นายทหารคนสนิทของเจ้าฟ้าจักรพงษ์ฯ ส่วนพระองค์ฯ ได้เสด็จกลับกรุงเทพฯ แต่พระองค์เดียว ในไม่นานก็มีข่าวลือมายังกรุงเทพฯ ว่ามีมาดามเดอพิษณุโลกอยู่ที่สิงคโปร์ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนารถทราบ ทรงกริ้วเป็นที่สุด และเมื่อข่าวเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้ว พระองค์ฯ ก็จัดให้หม่อมคัทรินฯ เดินทางมายังกรุงเทพฯ เมื่อหม่อมคัทรินเข้ามาในสยามอย่างไม่ปิดบังอีกว่าเป็นชายา จัดให้พักที่วังปารุสกวันร่วมกัน ในฐานะเจ้าของวังร่วมกันกับพระองค์ แต่ปีทั้งปี หม่อมคัทรินก็แทบจะไม่ได้ย่างเท้าออกจากวัง เว้นแต่ไปนั่งรถยนต์เล่นในตอนค่ำคืน เธอไม่มีโอกาสเข้าเฝ้าพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถอย่างสะใภ้หลวง ทั้งสองพระองค์มิได้ทรงยอมรับเธอ แต่ก็มิได้พระทัยร้ายถึงกับขับไล่ไสส่งหรือยื่นคำขาดให้พระราชโอรสทรงละทิ้งหม่อม ชีวิตในวังปารุสกวันผ่านไปด้วยความราบรื่น เจ้าฟ้าชายเห็นพระทัยหม่อมคัทริน ก็ทรงทำทุกอย่างที่จะให้เธออยู่อย่างเป็นสุขและสะดวกสบายที่สุดเท่าที่จะทำได้ ผู้ที่ช่วยเป็นกำลังใจสนับสนุนอีกแรงหนึ่งคือสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ แคทยาเคารพและมองพระองค์ท่านด้วยความเชื่อมั่นในหลาย ๆ ด้าน และถึงแม้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะไม่โปรดรับหม่อมคัทรินเป็นสะใภ้หลวง แต่ก็เป็นที่โปรดปรานของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ซึ่งได้พระราชทานเครื่องเพชรล้ำค่าแก่หม่อมคัทรินอยู่เสมอ หม่อมคัทรินปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมไทยทั้งในเรื่องกิริยามารยาท การแสดงออกที่สุภาพอ่อนโยนในสายตาชาววังซึ่งเป็นชนชั้นสูง และเรียนรู้ภาษาไทยจนถึงขั้นอ่านออกเขียนได้ ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้าฝ่ายในแด่หม่อมคัทริน ในปลายปี พ.ศ. 2450 หม่อมคัทรินพระชายาของพระองค์ได้ประสูติโอรสเป็นชายพระองค์แรกและพระองค์เดียวคือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ความสุขของแคทยาดำเนินต่อไปอยู่หลายปี จนกระทั่งเหตุการณ์ภายนอกเข้ามากระทบเธออย่างหนัก เริ่มด้วยการล่มสลายของราชวงศ์โรมานอฟ ที่ทำให้เจ้านายและขุนนางในรัสเซียต้องหลบลี้หนีภัยการเมืองออกนอกประเทศ ความหวังของแคทยาที่จะได้กลับไปเยี่ยมบ้านเดิมก็จบสิ้นลง บ้านเกิดเมืองนอนกลายเป็นดินแดนต้องห้ามสำหรับเธอไปเสียแล้ว สิ่งที่ตามมาคือสงครามโลกครั้งที่ 1 พระเจ้าอยู่หัวตัดสินพระทัยประกาศสงครามกับฝ่ายเยอรมัน ผู้นำทางการทหารของสยามก็คือเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ทรงรับภารกิจด้านนี้ไว้เต็มมืออีกครั้ง ทำให้แคทยาหมดโอกาสจะเดินทางไปแม้แต่ประเทศใดประเทศหนึ่งในยุโรป ชีวิตสมรสดำเนินมาถึง 12 ปี ใต้ความกดดันเพิ่มขึ้นทีละน้อยในปีหลัง ๆ สุขภาพของแคทยาก็เสื่อมโทรมลง เธอแท้งติดต่อกันถึง 2 ครั้ง ในที่สุดเธอก็ตัดสินใจเดินทางไกล เพื่อรักษาสุขภาพกายและใจให้ดีขึ้น ด้วยการไปเยี่ยมพี่ชายที่อยู่ในปักกิ่ง เลยไปญี่ปุ่นและเดินทางต่อไปถึงแคนาดา เมื่อไม่มีแคทยาอยู่ด้วย เจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถทรงมีเวลาว่างพอจะได้คุ้นเคยกับพระญาติสตรีจากวังอื่น ๆ มากขึ้น ในจำนวนนั้นคือหม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์ พระธิดาของพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ผู้เป็นพระเชษฐาต่างชนนีกันนั่นเอง และในปี พ.ศ. 2462 แคทยาได้หย่าขาดกับ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถหลังการหย่าและการแต่งงานใหม่ หลังการหย่าและการแต่งงานใหม่. หลังแยกทางเดินกับเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถแล้ว นับแต่เธอเดินทางออกจากสยาม แคทยาก็ไปหาพี่ชายที่ปักกิ่ง พักอยู่ด้วยไม่นาน ก็ย้ายไปพำนักอยู่ที่เซี่ยงไฮ้ เธอกลับไปใช้นามสกุลเดิม ใช้ชื่อว่า มาดามเดสนิทสกี้ อาศัยค่าเลี้ยงดูเดือนละ 100 ปอนด์อันน้อยนิดที่เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถประทานให้เป็นค่าเลี้ยงดูหลังหย่าร้าง เช่าบ้านเล็ก ๆได้หลังหนึ่ง แล้วใช้ชีวิตตามลำพังด้วยความเข้มแข็งเท่าที่ผู้หญิงสาวตัวคนเดียวจะทำได้ แคทยาไม่ได้ปล่อยชีวิตตัวเองให้หมกมุ่นน้อยเนื้อต่ำใจในโชคชะตา เธอใช้เวลาให้หมดไปกับการบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม ด้วยเข้าไปช่วยงานของสมาคมการกุศลของชาวรัสเซียเพื่อช่วยเหลือผู้อพยพ เพราะแคทยาเคยฝึกงานเป็นนางพยาบาลมาก่อน จึงช่วยงานได้มาก ทำให้วัน ๆ ผ่านไปรวดเร็ว แต่พอกลับมาบ้านในตอนกลางคืน ความเปล่าเปลี่ยวเศร้าหมองก็กลับมาอีกสำหรับผู้หญิงตัวคนเดียว พี่ชายแนะนำว่าหญิงสาวอย่างเธอไม่ควรอยู่คนเดียว จะอันตรายเกินไป ควรมีคนอยู่ด้วยเป็นเพื่อนในบ้าน จะมีรายได้เพิ่มด้วย เธอก็เลยแบ่งห้องชั้นบนในบ้านให้คนเช่า หนึ่งในคนเช่าห้องชั้นบนเป็นวิศวกรชาวอเมริกันชื่อแฮรี่ คลินตัน สโตน ซึ่งต่อมาเขาขอแต่งงานกับเธอ แต่ว่าแคทยาขอผัดผ่อนคำตอบไว้ก่อน ต่อมาเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถเสด็จทิวงคต เธอจึงเดินทางกลับมาร่วมงานพระศพในกรุงเทพมหานคร เมื่อกลับมาเธอพบว่าโอรสของเธออยู่ในความดูแลของ "ทูลกระหม่อมลุง" (รัชกาลที่ 6) เธอได้รับเงินส่วนแบ่งเพิ่มขึ้นจากเดิมจากมรดกของเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถด้วยพระเมตตาของพระเจ้าอยู่หัว แคทยาเดินทางกลับและแต่งงานกับแฮรี่สโตน แล้วเดินทางไปอเมริกากับเขา ทิ้งอดีตทุกอย่างในสยามให้จบสิ้นไปพร้อมกับการเสด็จทิวงคตของเจ้าฟ้ากรมหลวงพิษณุโลก แคทยาเข้ากับชีวิตในอเมริกาไม่ดีนัก ยิ่งกว่านั้นเธอเข้ากับพ่อสามีและแม่สามีชาวอเมริกันไม่ได้ ความสุขของเธอมีอย่างเดียวคือได้เดินทางไปอังกฤษ พบโอรสซึ่งย่างเข้าวัยหนุ่ม ในที่สุดเธอกับสโตนก็ตัดสินใจอพยพโยกย้ายมาตั้งถิ่นฐานที่ปารีส เพื่อจะได้พบพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ซึ่งข้ามจากอังกฤษมาพักด้วยตอนปิดเทอม แคทยาเองก็อบอุ่นจากการได้รวมญาติชาวรัสเซียซึ่งลี้ภัยมาอยู่ในฝรั่งเศสอีกครั้ง แคทยากลับไปอเมริกาในช่วงอังกฤษเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สอง จนกระทั่งเธอถึงแก่กรรมอย่างสงบ เมื่ออายุ 71 ปีสู่งานประพันธ์ สู่งานประพันธ์. ทั้งนี้เนื่องจากมีลูกและหลานเป็นนักเขียน จึงมีผู้ถ่ายทอดชีวประวัติ สู่งานประพันธ์ หนังสือที่ให้รายละเอียดของหม่อมคัทรินหรือแคทยาดีที่สุดคือ แคทยาและเจ้าฟ้าสยาม หรือ KATYA & THE PRINCE OF SIAM เขียนโดยสองป้าหลานคือไอลีน ฮันเตอร์ (Eileen Hunter) พี่สาวของหม่อมเอลิสะเบธชายาของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์และ หม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ ธิดาคนเดียวของพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ นอกจากนี้หนังสือเล่มนี้ยังสร้างความบันดาลใจให้คณะบัลเล่ต์รัสเซียนำไปแสดงบัลเล่ต์ในชื่อเดียวกับหนังสือ Katya and the Prince of Siam "แคทยา และเจ้าฟ้าสยาม" ซึ่งเปิดแสดงรอบปฐมทัศน์ของโลกที่หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2546เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้า (ฝ่ายใน) (ท.จ.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 3 (ว.ป.ร.3)
| หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก หรือ หม่อมคัทริน จักรพงษ์ ณ อยุธยา หรือ คัทริน เดสนิตสกี เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"9"
],
"answer_begin_position": [
758
],
"answer_end_position": [
759
]
} |
840 | 317,638 | หม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา หม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา มีชื่อเดิมว่า ซิริล เฮย์คอค () เกิดเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2459 พระชายาชาวอังกฤษ และเป็นพระชายาคนแรกของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ซึ่งสมรสครั้งแรกในปี พ.ศ. 2481 ก่อนที่จะหย่ากันในปี พ.ศ. 2492 และกลับมาสมรสอีกครั้งในปี พ.ศ. 2526 จนกระทั่งพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2528ประวัติชีวิตช่วงแรก ประวัติ. ชีวิตช่วงแรก. หม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา มีชื่อเดิมคือ ซิริล เฮย์คอค เกิดในตระกูลที่มีบิดาสืบเชื้อสายมาจากขุนนางเก่าแก่ บิดาชื่อ นายพันโท ป.ร. เฮย์คอค นอกราชการ ส่วนตระกูลทางฝั่งมารดาก็เป็นพ่อค้าผู้ร่ำรวยจนได้บรรดาศักดิ์เป็น เซอร์ และมีญาติคนหนึ่งเคยเป็นนายกเทศมนตรีของลอนดอนซึ่งเคยรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาแล้วเสกสมรส เสกสมรส. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช มีความสามารถในการแข่งรถ ทั้งยังเป็นนักกีฬาที่โปรดปรานการแล่นเรือ นอกจากนี้พระองค์ยังทรงมีหัวทางศิลปะ ควบคู่ไปกับการกีฬา จนตัดสินพระทัยไม่เข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ แต่เบนเข็มไปศึกษาด้านประติมากรรมแทน โดยทรงไปศึกษาเรื่องการวาดลายเส้นที่ Byam Shaw Art School ซึ่งที่นี่เอง พระองค์ก็ทรงพบหญิงสาวสวยชาวอังกฤษซึ่งก็คือ ซิริล เฮย์คอค นั่นเอง พระองค์พีระและซิริลหลงรักกันตั้งแต่แรกพบ จนกระทั่งได้แต่งงานกันในที่สุด เธอก็เลยกลายมาเป็น หม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เดินทางมาประเทศไทยพร้อมกับพระสวามี และโดยส่วนตัวหม่อมซิริลเองก็ชอบประเทศไทยมากการหย่าร้าง การหย่าร้าง. แต่ชีวิตรักของทั้งสองเองก็ยืนยาวได้เพียง 11 ปี พอขึ้นปีที่ 12 ปี ด้วยความที่พระองค์พีระทรงเป็นคนดังบุคลิกดี และสามารถตรัสได้คล่องทั้งภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และยังใช้ชีวิตอย่างเศรษฐี ซึ่งสิ่งเหล่านี้เอง ได้กลายเป็นแรงดึงดูดผู้หญิงอื่นให้เข้ามาหลงใหลพระองค์ พระองค์พีระมิได้เลิกรักหม่อมซิริลเพียงแต่ว่าเมื่อถึงเรื่องที่ทรงพอพระทัยถ้าหากทำได้ ก็ทรงทำ ส่วนหม่อมซิริลเองก็โอนอ่อนผ่อนตามได้ไม่เดือดร้อนก็คงจะครองชีวิตคู่กันต่อไปได้ โดยถือว่าพวกผู้หญิงเหล่านั้นจะไม่มีความหมายกับท่านเท่าภรรยาตามกฎหมาย แต่ว่าหม่อมซิริลทำใจไม่ได้ที่พระองค์พีระมีหญิงอื่นแม้จะไม่ทรงจริงจังด้วยนัก แต่เธอถือว่าเป็นความเดือดร้อนสาหัสของภรรยา หม่อมซิริลก็ตัดสินใจแยกกันอยู่พักหนึ่งเพื่อระงับจิตใจ โดยระหว่างที่แยกกันอยู่โดยยังไม่ได้หย่าขาดจากกัน สถานการณ์ก็ยิ่งทำให้ทั้งสองห่างเหินกันมากขึ้นอีก ในระหว่างที่พระองค์พีระทรงแข่งขันที่ประเทศอาร์เจนตินา ก็ทรงพบกับชลิต้า โฮเวิร์ด เมื่อครั้งที่พระองค์พีระทรงได้รับบาดเจ็บจากการแข่งรถ ก็มีชลิต้าคอยปรนนิบัติดูแล จนที่สุดพระองค์ก็ทรงพาชลิต้ากลับมาอังกฤษด้วยกัน ประทับอยู่กับหล่อนไม่ได้กลับบ้านไปหาหม่อมซิริล เมื่อเป็นเช่นนั้น หม่อมซิริลจึงตัดสินใจหย่าขาดจากพระองค์พีระตามกฎหมาย ในปี ค.ศ. 1950 ทั้งที่ยังรัก พระองค์พีระเองก็ทั้งรักและอาลัยหม่อมซิริล ทั้งยังทรงอ้อนวอนให้หม่อมเปลี่ยนใจไม่หย่าแต่ก็ไม่ทรงคิดที่จะสละชลิต้าไปได้อยู่ดี ทั้งคู่จึงจากกันด้วยน้ำตา เพราะรู้ตัวว่าสามารถครองคู่กันได้เพียงแค่นี้ คงเหลือไว้แต่ความเป็นเพื่อนชีวิตหลังการหย่า ชีวิตหลังการหย่า. หลังจากการหย่าจากพระองค์พีระแล้ว หม่อมซิริลเองก็ไม่ได้สมรสใหม่ แต่เธอมีเพื่อนใจเป็นหนุ่มโสดอายุกว่า 40 ปี และคบหากันมาจนฝ่ายชายได้เสียชีวิตจากไปทั้งที่ยังไม่ได้สมรสกัน ส่วนทางฝ่ายพระองค์พีระเองก็ทรงลังเลอยู่ถึง 3 ปีถึงตัดสินพระทัยเสกสมรสใหม่กับหม่อมชลิต้า แต่อย่างไรก็ตามพระองค์พีระก็ทรงระลึกถึงหม่อมซิริลเสมอ ทรงเป็นมิตรกับเพื่อนชายของหม่อมซิริล แล้วพาชลิต้าไปด้วยเพื่อให้รู้จักกับหม่อม ไปไหนมาไหนกัน 4 คน แต่หม่อมซิริลก็ไม่ได้กลับมาหาท่านอีก และยังคงพบปะกันอย่างเพื่อนสนิทเท่านั้น จนในปี พ.ศ. 2526 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ได้เสด็จไปยังอังกฤษอีกครั้งหลังจากการหย่าขาดจากภรรยาชาวไทย ทรงเก็บตัวอย่างชายชราที่ไม่มีใครรู้จัก เพื่อแวะหาหม่อมซิริลเป็นครั้งสุดท้าย จนท้ายที่สุดพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช สิ้นพระชนม์ที่สถานีรถไฟบารอนส์คอร์ต กรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2528 ขณะสิ้นพระชนม์ไม่มีผู้ใดทราบว่าเป็นใคร ก่อนจะเป็นข่าวใหญ่ในสัปดาห์ต่อมา หม่อมซีริลถึงแก่กรรมในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 สิริอายุ 94 ปี
| ซิริล เฮย์คอค เกิดในตระกูลที่มีบิดาสืบเชื้อสายมาจากขุนนางเก่าแก่ บิดามีชื่อเรียกว่าอะไ | {
"answer": [
"นายพันโท ป.ร. เฮย์คอค"
],
"answer_begin_position": [
644
],
"answer_end_position": [
665
]
} |
841 | 317,638 | หม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา หม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา มีชื่อเดิมว่า ซิริล เฮย์คอค () เกิดเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2459 พระชายาชาวอังกฤษ และเป็นพระชายาคนแรกของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ซึ่งสมรสครั้งแรกในปี พ.ศ. 2481 ก่อนที่จะหย่ากันในปี พ.ศ. 2492 และกลับมาสมรสอีกครั้งในปี พ.ศ. 2526 จนกระทั่งพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2528ประวัติชีวิตช่วงแรก ประวัติ. ชีวิตช่วงแรก. หม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา มีชื่อเดิมคือ ซิริล เฮย์คอค เกิดในตระกูลที่มีบิดาสืบเชื้อสายมาจากขุนนางเก่าแก่ บิดาชื่อ นายพันโท ป.ร. เฮย์คอค นอกราชการ ส่วนตระกูลทางฝั่งมารดาก็เป็นพ่อค้าผู้ร่ำรวยจนได้บรรดาศักดิ์เป็น เซอร์ และมีญาติคนหนึ่งเคยเป็นนายกเทศมนตรีของลอนดอนซึ่งเคยรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาแล้วเสกสมรส เสกสมรส. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช มีความสามารถในการแข่งรถ ทั้งยังเป็นนักกีฬาที่โปรดปรานการแล่นเรือ นอกจากนี้พระองค์ยังทรงมีหัวทางศิลปะ ควบคู่ไปกับการกีฬา จนตัดสินพระทัยไม่เข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ แต่เบนเข็มไปศึกษาด้านประติมากรรมแทน โดยทรงไปศึกษาเรื่องการวาดลายเส้นที่ Byam Shaw Art School ซึ่งที่นี่เอง พระองค์ก็ทรงพบหญิงสาวสวยชาวอังกฤษซึ่งก็คือ ซิริล เฮย์คอค นั่นเอง พระองค์พีระและซิริลหลงรักกันตั้งแต่แรกพบ จนกระทั่งได้แต่งงานกันในที่สุด เธอก็เลยกลายมาเป็น หม่อมซิริล ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา เดินทางมาประเทศไทยพร้อมกับพระสวามี และโดยส่วนตัวหม่อมซิริลเองก็ชอบประเทศไทยมากการหย่าร้าง การหย่าร้าง. แต่ชีวิตรักของทั้งสองเองก็ยืนยาวได้เพียง 11 ปี พอขึ้นปีที่ 12 ปี ด้วยความที่พระองค์พีระทรงเป็นคนดังบุคลิกดี และสามารถตรัสได้คล่องทั้งภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และยังใช้ชีวิตอย่างเศรษฐี ซึ่งสิ่งเหล่านี้เอง ได้กลายเป็นแรงดึงดูดผู้หญิงอื่นให้เข้ามาหลงใหลพระองค์ พระองค์พีระมิได้เลิกรักหม่อมซิริลเพียงแต่ว่าเมื่อถึงเรื่องที่ทรงพอพระทัยถ้าหากทำได้ ก็ทรงทำ ส่วนหม่อมซิริลเองก็โอนอ่อนผ่อนตามได้ไม่เดือดร้อนก็คงจะครองชีวิตคู่กันต่อไปได้ โดยถือว่าพวกผู้หญิงเหล่านั้นจะไม่มีความหมายกับท่านเท่าภรรยาตามกฎหมาย แต่ว่าหม่อมซิริลทำใจไม่ได้ที่พระองค์พีระมีหญิงอื่นแม้จะไม่ทรงจริงจังด้วยนัก แต่เธอถือว่าเป็นความเดือดร้อนสาหัสของภรรยา หม่อมซิริลก็ตัดสินใจแยกกันอยู่พักหนึ่งเพื่อระงับจิตใจ โดยระหว่างที่แยกกันอยู่โดยยังไม่ได้หย่าขาดจากกัน สถานการณ์ก็ยิ่งทำให้ทั้งสองห่างเหินกันมากขึ้นอีก ในระหว่างที่พระองค์พีระทรงแข่งขันที่ประเทศอาร์เจนตินา ก็ทรงพบกับชลิต้า โฮเวิร์ด เมื่อครั้งที่พระองค์พีระทรงได้รับบาดเจ็บจากการแข่งรถ ก็มีชลิต้าคอยปรนนิบัติดูแล จนที่สุดพระองค์ก็ทรงพาชลิต้ากลับมาอังกฤษด้วยกัน ประทับอยู่กับหล่อนไม่ได้กลับบ้านไปหาหม่อมซิริล เมื่อเป็นเช่นนั้น หม่อมซิริลจึงตัดสินใจหย่าขาดจากพระองค์พีระตามกฎหมาย ในปี ค.ศ. 1950 ทั้งที่ยังรัก พระองค์พีระเองก็ทั้งรักและอาลัยหม่อมซิริล ทั้งยังทรงอ้อนวอนให้หม่อมเปลี่ยนใจไม่หย่าแต่ก็ไม่ทรงคิดที่จะสละชลิต้าไปได้อยู่ดี ทั้งคู่จึงจากกันด้วยน้ำตา เพราะรู้ตัวว่าสามารถครองคู่กันได้เพียงแค่นี้ คงเหลือไว้แต่ความเป็นเพื่อนชีวิตหลังการหย่า ชีวิตหลังการหย่า. หลังจากการหย่าจากพระองค์พีระแล้ว หม่อมซิริลเองก็ไม่ได้สมรสใหม่ แต่เธอมีเพื่อนใจเป็นหนุ่มโสดอายุกว่า 40 ปี และคบหากันมาจนฝ่ายชายได้เสียชีวิตจากไปทั้งที่ยังไม่ได้สมรสกัน ส่วนทางฝ่ายพระองค์พีระเองก็ทรงลังเลอยู่ถึง 3 ปีถึงตัดสินพระทัยเสกสมรสใหม่กับหม่อมชลิต้า แต่อย่างไรก็ตามพระองค์พีระก็ทรงระลึกถึงหม่อมซิริลเสมอ ทรงเป็นมิตรกับเพื่อนชายของหม่อมซิริล แล้วพาชลิต้าไปด้วยเพื่อให้รู้จักกับหม่อม ไปไหนมาไหนกัน 4 คน แต่หม่อมซิริลก็ไม่ได้กลับมาหาท่านอีก และยังคงพบปะกันอย่างเพื่อนสนิทเท่านั้น จนในปี พ.ศ. 2526 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช ได้เสด็จไปยังอังกฤษอีกครั้งหลังจากการหย่าขาดจากภรรยาชาวไทย ทรงเก็บตัวอย่างชายชราที่ไม่มีใครรู้จัก เพื่อแวะหาหม่อมซิริลเป็นครั้งสุดท้าย จนท้ายที่สุดพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช สิ้นพระชนม์ที่สถานีรถไฟบารอนส์คอร์ต กรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2528 ขณะสิ้นพระชนม์ไม่มีผู้ใดทราบว่าเป็นใคร ก่อนจะเป็นข่าวใหญ่ในสัปดาห์ต่อมา หม่อมซีริลถึงแก่กรรมในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 สิริอายุ 94 ปี
| พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช สิ้นพระชนม์ที่ไหน | {
"answer": [
"สถานีรถไฟบารอนส์คอร์ต กรุงลอนดอน"
],
"answer_begin_position": [
3592
],
"answer_end_position": [
3624
]
} |
842 | 615,859 | หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) พลตรี หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) (7 สิงหาคม พ.ศ. 2444 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2513) เป็นบุตรของหม่อมเจ้าอุดมดิเรกลาภ ทวีวงศ์ เป็นนัดดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ และเป็นปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2444 เป็นหม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ ราชสกุล เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 รับราชการเป็นองคมนตรี, ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์, เลขาธิการพระราชวัง, อธิบดีกรมประชาสงเคราะห์ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2513 อายุ 69 ปี พระราชทานเพลิงศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.)- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
| พลตรี หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ เป็นบุตรของหม่อมองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าอุดมดิเรกลาภ ทวีวงศ์"
],
"answer_begin_position": [
300
],
"answer_end_position": [
329
]
} |
1,702 | 615,859 | หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) พลตรี หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) (7 สิงหาคม พ.ศ. 2444 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2513) เป็นบุตรของหม่อมเจ้าอุดมดิเรกลาภ ทวีวงศ์ เป็นนัดดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ และเป็นปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2444 เป็นหม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ ราชสกุล เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 รับราชการเป็นองคมนตรี, ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์, เลขาธิการพระราชวัง, อธิบดีกรมประชาสงเคราะห์ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2513 อายุ 69 ปี พระราชทานเพลิงศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.)- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
| หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์ เกิดเมื่อเท่าไร | {
"answer": [
"7"
],
"answer_begin_position": [
503
],
"answer_end_position": [
504
]
} |
845 | 514,247 | หม่อมราชวงศ์กัลยา ติงศภัทิย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์ กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประวัติ ประวัติ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย์ เป็นบุตรีของหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ซึ่งเป็นพระโอรสลำดับที่ 8 ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ กับหม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย์ สมรสกับนายจาริต ติงศภัทิย์ (บุตรของศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์) อดีตองคมนตรี มีบุตร ๑ คน คือ นางสาวรมณียา ติงศภัทย์ประวัติการศึกษาประวัติการศึกษา. - B.A.Hons. 2514 York University, England - M.A. 2515 London University, England - Ph.D. 2523 London University, Englandทุนการศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษาที่ได้รับ. - พ.ศ. 2519-2523 ทุนมูลนิธิฟอร์ด- พ.ศ. 2518-2515 ทุนรัฐบาลไทย- พ.ศ. 2509-2513 ทุนเล่าเรียนหลวงประวัติการรับราชการประวัติการรับราชการ. - พ.ศ. 2516 อาจารย์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - พ.ศ. 2518 อาจารย์ สถาบันศูนย์ภาษาอังกฤษ ทบวงมหาวิทยาลัย- พ.ศ. 2522 อาจารย์ ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย- พ.ศ. 2526 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยด้านบริหารด้านบริหาร. - รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา คณะอักษรศาสตร์ 2528-2531- ประธานกรรมการบริหารศูนย์การแปลคณะอักษรศาสตร์ 2531-2532- ประธานกรรมการคอมพิวเตอร์คณะอักษรศาสตร์ 2533-2535- ผู้อำนวยการฝ่ายวิเคราะห์นโยบายวิชาการ ฝ่ายวิชาการมหาวิทยาลัย 2536-2538- กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการวิชาการมหาวิทยาลัย 2536-2538- กรรมการในคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย 2537-ปัจจุบัน- กรรมการในคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย 2538- คณบดีคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2539–2547- รองอธิการบดีจุฬาฯเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2558 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.) - พ.ศ. 2534 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
| ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย์ เป็นบุตรีของหม่อมองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์"
],
"answer_begin_position": [
337
],
"answer_end_position": [
361
]
} |
846 | 514,247 | หม่อมราชวงศ์กัลยา ติงศภัทิย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์ กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประวัติ ประวัติ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย์ เป็นบุตรีของหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ซึ่งเป็นพระโอรสลำดับที่ 8 ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ กับหม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย์ สมรสกับนายจาริต ติงศภัทิย์ (บุตรของศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์) อดีตองคมนตรี มีบุตร ๑ คน คือ นางสาวรมณียา ติงศภัทย์ประวัติการศึกษาประวัติการศึกษา. - B.A.Hons. 2514 York University, England - M.A. 2515 London University, England - Ph.D. 2523 London University, Englandทุนการศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษาที่ได้รับ. - พ.ศ. 2519-2523 ทุนมูลนิธิฟอร์ด- พ.ศ. 2518-2515 ทุนรัฐบาลไทย- พ.ศ. 2509-2513 ทุนเล่าเรียนหลวงประวัติการรับราชการประวัติการรับราชการ. - พ.ศ. 2516 อาจารย์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - พ.ศ. 2518 อาจารย์ สถาบันศูนย์ภาษาอังกฤษ ทบวงมหาวิทยาลัย- พ.ศ. 2522 อาจารย์ ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย- พ.ศ. 2526 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยด้านบริหารด้านบริหาร. - รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา คณะอักษรศาสตร์ 2528-2531- ประธานกรรมการบริหารศูนย์การแปลคณะอักษรศาสตร์ 2531-2532- ประธานกรรมการคอมพิวเตอร์คณะอักษรศาสตร์ 2533-2535- ผู้อำนวยการฝ่ายวิเคราะห์นโยบายวิชาการ ฝ่ายวิชาการมหาวิทยาลัย 2536-2538- กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการวิชาการมหาวิทยาลัย 2536-2538- กรรมการในคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย 2537-ปัจจุบัน- กรรมการในคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย 2538- คณบดีคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2539–2547- รองอธิการบดีจุฬาฯเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2558 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.) - พ.ศ. 2534 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
| นายจาริต ติงศภัทิย์ เป็นบุตรของผู้ใด | {
"answer": [
"ศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์"
],
"answer_begin_position": [
552
],
"answer_end_position": [
579
]
} |
1,974 | 514,247 | หม่อมราชวงศ์กัลยา ติงศภัทิย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์ กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประวัติ ประวัติ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย์ เป็นบุตรีของหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ซึ่งเป็นพระโอรสลำดับที่ 8 ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ กับหม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย์ สมรสกับนายจาริต ติงศภัทิย์ (บุตรของศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์) อดีตองคมนตรี มีบุตร ๑ คน คือ นางสาวรมณียา ติงศภัทย์ประวัติการศึกษาประวัติการศึกษา. - B.A.Hons. 2514 York University, England - M.A. 2515 London University, England - Ph.D. 2523 London University, Englandทุนการศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษาที่ได้รับ. - พ.ศ. 2519-2523 ทุนมูลนิธิฟอร์ด- พ.ศ. 2518-2515 ทุนรัฐบาลไทย- พ.ศ. 2509-2513 ทุนเล่าเรียนหลวงประวัติการรับราชการประวัติการรับราชการ. - พ.ศ. 2516 อาจารย์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - พ.ศ. 2518 อาจารย์ สถาบันศูนย์ภาษาอังกฤษ ทบวงมหาวิทยาลัย- พ.ศ. 2522 อาจารย์ ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย- พ.ศ. 2526 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยด้านบริหารด้านบริหาร. - รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา คณะอักษรศาสตร์ 2528-2531- ประธานกรรมการบริหารศูนย์การแปลคณะอักษรศาสตร์ 2531-2532- ประธานกรรมการคอมพิวเตอร์คณะอักษรศาสตร์ 2533-2535- ผู้อำนวยการฝ่ายวิเคราะห์นโยบายวิชาการ ฝ่ายวิชาการมหาวิทยาลัย 2536-2538- กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการวิชาการมหาวิทยาลัย 2536-2538- กรรมการในคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย 2537-ปัจจุบัน- กรรมการในคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย 2538- คณบดีคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2539–2547- รองอธิการบดีจุฬาฯเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2558 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.) - พ.ศ. 2534 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
| บิดาของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์ กัลยา ติงศภัทิย์ คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์"
],
"answer_begin_position": [
337
],
"answer_end_position": [
361
]
} |
1,975 | 514,247 | หม่อมราชวงศ์กัลยา ติงศภัทิย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์ กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประวัติ ประวัติ. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย์ เป็นบุตรีของหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ซึ่งเป็นพระโอรสลำดับที่ 8 ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ กับหม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล ม.ร.ว.กัลยา ติงศภัทิย์ สมรสกับนายจาริต ติงศภัทิย์ (บุตรของศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์) อดีตองคมนตรี มีบุตร ๑ คน คือ นางสาวรมณียา ติงศภัทย์ประวัติการศึกษาประวัติการศึกษา. - B.A.Hons. 2514 York University, England - M.A. 2515 London University, England - Ph.D. 2523 London University, Englandทุนการศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษาที่ได้รับ. - พ.ศ. 2519-2523 ทุนมูลนิธิฟอร์ด- พ.ศ. 2518-2515 ทุนรัฐบาลไทย- พ.ศ. 2509-2513 ทุนเล่าเรียนหลวงประวัติการรับราชการประวัติการรับราชการ. - พ.ศ. 2516 อาจารย์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - พ.ศ. 2518 อาจารย์ สถาบันศูนย์ภาษาอังกฤษ ทบวงมหาวิทยาลัย- พ.ศ. 2522 อาจารย์ ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย- พ.ศ. 2526 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยด้านบริหารด้านบริหาร. - รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา คณะอักษรศาสตร์ 2528-2531- ประธานกรรมการบริหารศูนย์การแปลคณะอักษรศาสตร์ 2531-2532- ประธานกรรมการคอมพิวเตอร์คณะอักษรศาสตร์ 2533-2535- ผู้อำนวยการฝ่ายวิเคราะห์นโยบายวิชาการ ฝ่ายวิชาการมหาวิทยาลัย 2536-2538- กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการวิชาการมหาวิทยาลัย 2536-2538- กรรมการในคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย 2537-ปัจจุบัน- กรรมการในคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย 2538- คณบดีคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2539–2547- รองอธิการบดีจุฬาฯเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2558 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.) - พ.ศ. 2534 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
| มารดาของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หม่อมราชวงศ์ กัลยา ติงศภัทิย์ คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล"
],
"answer_begin_position": [
460
],
"answer_end_position": [
493
]
} |
847 | 218,354 | หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ (ประสูติ: 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 — สิ้นชีพิตักษัย: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นพระธิดาองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ และเป็นพระอนุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่เหล่าพระบรมวงศานุวงศ์ทรงนับถือ นอกจากนี้ หม่อมเจ้ากรณิกายังเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ เป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร และเป็นกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ หรือ ท่านหญิงไอ ประสูติเมื่อ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 เป็นพระบุตรองค์ที่เก้าในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีพี่น้องร่วมหม่อมมารดา 4 องค์ คือ หม่อมเจ้าประโลมจิตร (ท่านหญิงอี่), หม่อมเจ้าดวงจิตร (ท่านหญิงอาม), หม่อมเจ้ายาใจ (ท่านชายไส) และหม่อมเจ้าเพลารถ (ท่านชายงั่ว) หม่อมเจ้ากรณิกาทรงเข้ารับการศึกษาจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย เป็นนักเรียนรุ่นพี่ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่านหญิงซึ่งเป็นนักเรียนรุ่นพี่จะมาช่วยหยิบนม และรินถวายทุกวันตามกฎของโรงเรียนที่รุ่นพี่ต้องดูแลรุ่นน้อง หลังสำเร็จการศึกษาก็เป็นครูสอนวิชาภาษาไทยที่โรงเรียนดังกล่าว หม่อมเจ้ากรณิกามีฝีหัตถ์ด้านงานฝีมือและการตัดเย็บจากการฝึกหัดด้วยองค์เองและเปิดห้องเสื้อ "กรณิก"พระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. หม่อมเจ้ากรณิกา ประทับอยู่ ณ ตำหนักปลายเนิน ถนนพระรามที่ 4 ติดกับการไฟฟ้านครหลวง ซึ่งเปิดสอนนาฏศิลป์ และดนตรีไทย โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีไทยบ่อยครั้งเมื่อท่านหญิงทรงว่างจากกรณียกิจ เนื่องจากหม่อมเจ้ากรณิกามีพระปรีชาด้านการดนตรี โดยเฉพาะระนาดทุ้ม และเลิกทรงระนาดทุ้มไปเมื่อชันษา 93 ปีเพราะไม่ถนัดนั่งประทับนาน ๆ หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ เป็นพระราชนัดดาที่ดำรงฐานันดรศักดิ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสององค์สุดท้ายที่ยังทรงพระชนม์ อีกองค์คือหม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล สุขสวัสดิ์ ท่านหญิงเคยเสด็จแทนพระองค์ในงานพระราชพิธีบ่อยครั้ง ทั้งยังดำรงตำแหน่งเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ ซึ่งมีการประกวดภาพถ่ายเนื่องในงานวันนริศ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ผู้เป็นนายช่างใหญ่แห่งกรุงสยามและหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลก นอกจากนี้ยังทรงดำรงตำแหน่งเป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร โดยทรงเป็นประธานอำนวยการจัดสร้างห้องพยาบาลของมูลนิธิดังกล่าว พร้อมกับส่งบุรุษพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล ทำการรักษาภิกษุและสามเณรที่วัดไผ่ดำ จังหวัดสิงห์บุรี และดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเผยแพร่พระเกียรติคุณ แต่ด้วยภายหลังมีพระชันษามากขึ้น ท่านหญิงจึงมิค่อยเสด็จออกงานบ่อยดังก่อนสิ้นชีพิตักษัย สิ้นชีพิตักษัย. หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ สิ้นชีพิตักษัยด้วยอาการหทัยล้มเหลวเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 เวลา 15.22 น. ณ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ สิริชันษา 98 ปี นับเป็นหม่อมเจ้าองค์สุดท้ายแห่งราชสกุลจิตรพงศ์ ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้หม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์ เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานน้ำหลวงสรงศพ ในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 เวลา 16.30 น. ณ ท้องพระโรง วังปลายเนิน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานโกศราชวงศ์บรรจุศพ พร้อมด้วยฉัตรเครื่องสูงทองแผ่ลวดตั้งเป็นเกียรติยศประกอบ พระราชทานพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพมีกำหนด 7 คืน และทรงรับศพไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์โดยตลอด ในการพระราชทานเพลิงศพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์การพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ไปในการพิธีพระราชทานเพลิงพระศพเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2559 การนี้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุโดยเสด็จฯ ด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุดมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) ฝ่ายใน - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)พงศาวลี
| หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ ทรงเข้ารับการศึกษาจากโรงเรียนอะไร | {
"answer": [
"โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย"
],
"answer_begin_position": [
993
],
"answer_end_position": [
1019
]
} |
848 | 218,354 | หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ (ประสูติ: 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 — สิ้นชีพิตักษัย: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นพระธิดาองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ และเป็นพระอนุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่เหล่าพระบรมวงศานุวงศ์ทรงนับถือ นอกจากนี้ หม่อมเจ้ากรณิกายังเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ เป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร และเป็นกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ หรือ ท่านหญิงไอ ประสูติเมื่อ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 เป็นพระบุตรองค์ที่เก้าในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีพี่น้องร่วมหม่อมมารดา 4 องค์ คือ หม่อมเจ้าประโลมจิตร (ท่านหญิงอี่), หม่อมเจ้าดวงจิตร (ท่านหญิงอาม), หม่อมเจ้ายาใจ (ท่านชายไส) และหม่อมเจ้าเพลารถ (ท่านชายงั่ว) หม่อมเจ้ากรณิกาทรงเข้ารับการศึกษาจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย เป็นนักเรียนรุ่นพี่ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่านหญิงซึ่งเป็นนักเรียนรุ่นพี่จะมาช่วยหยิบนม และรินถวายทุกวันตามกฎของโรงเรียนที่รุ่นพี่ต้องดูแลรุ่นน้อง หลังสำเร็จการศึกษาก็เป็นครูสอนวิชาภาษาไทยที่โรงเรียนดังกล่าว หม่อมเจ้ากรณิกามีฝีหัตถ์ด้านงานฝีมือและการตัดเย็บจากการฝึกหัดด้วยองค์เองและเปิดห้องเสื้อ "กรณิก"พระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. หม่อมเจ้ากรณิกา ประทับอยู่ ณ ตำหนักปลายเนิน ถนนพระรามที่ 4 ติดกับการไฟฟ้านครหลวง ซึ่งเปิดสอนนาฏศิลป์ และดนตรีไทย โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีไทยบ่อยครั้งเมื่อท่านหญิงทรงว่างจากกรณียกิจ เนื่องจากหม่อมเจ้ากรณิกามีพระปรีชาด้านการดนตรี โดยเฉพาะระนาดทุ้ม และเลิกทรงระนาดทุ้มไปเมื่อชันษา 93 ปีเพราะไม่ถนัดนั่งประทับนาน ๆ หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ เป็นพระราชนัดดาที่ดำรงฐานันดรศักดิ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสององค์สุดท้ายที่ยังทรงพระชนม์ อีกองค์คือหม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล สุขสวัสดิ์ ท่านหญิงเคยเสด็จแทนพระองค์ในงานพระราชพิธีบ่อยครั้ง ทั้งยังดำรงตำแหน่งเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ ซึ่งมีการประกวดภาพถ่ายเนื่องในงานวันนริศ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ผู้เป็นนายช่างใหญ่แห่งกรุงสยามและหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลก นอกจากนี้ยังทรงดำรงตำแหน่งเป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร โดยทรงเป็นประธานอำนวยการจัดสร้างห้องพยาบาลของมูลนิธิดังกล่าว พร้อมกับส่งบุรุษพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล ทำการรักษาภิกษุและสามเณรที่วัดไผ่ดำ จังหวัดสิงห์บุรี และดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเผยแพร่พระเกียรติคุณ แต่ด้วยภายหลังมีพระชันษามากขึ้น ท่านหญิงจึงมิค่อยเสด็จออกงานบ่อยดังก่อนสิ้นชีพิตักษัย สิ้นชีพิตักษัย. หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ สิ้นชีพิตักษัยด้วยอาการหทัยล้มเหลวเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 เวลา 15.22 น. ณ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ สิริชันษา 98 ปี นับเป็นหม่อมเจ้าองค์สุดท้ายแห่งราชสกุลจิตรพงศ์ ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้หม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์ เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานน้ำหลวงสรงศพ ในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 เวลา 16.30 น. ณ ท้องพระโรง วังปลายเนิน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานโกศราชวงศ์บรรจุศพ พร้อมด้วยฉัตรเครื่องสูงทองแผ่ลวดตั้งเป็นเกียรติยศประกอบ พระราชทานพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพมีกำหนด 7 คืน และทรงรับศพไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์โดยตลอด ในการพระราชทานเพลิงศพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์การพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ไปในการพิธีพระราชทานเพลิงพระศพเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2559 การนี้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุโดยเสด็จฯ ด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุดมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) ฝ่ายใน - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)พงศาวลี
| หม่อมเจ้าองค์สุดท้ายแห่งราชสกุลจิตรพงศ์คือผู้ใด | {
"answer": [
"หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์"
],
"answer_begin_position": [
2628
],
"answer_end_position": [
2652
]
} |
1,799 | 218,354 | หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ (ประสูติ: 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 — สิ้นชีพิตักษัย: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นพระธิดาองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ และเป็นพระอนุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่เหล่าพระบรมวงศานุวงศ์ทรงนับถือ นอกจากนี้ หม่อมเจ้ากรณิกายังเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ เป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร และเป็นกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ หรือ ท่านหญิงไอ ประสูติเมื่อ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 เป็นพระบุตรองค์ที่เก้าในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีพี่น้องร่วมหม่อมมารดา 4 องค์ คือ หม่อมเจ้าประโลมจิตร (ท่านหญิงอี่), หม่อมเจ้าดวงจิตร (ท่านหญิงอาม), หม่อมเจ้ายาใจ (ท่านชายไส) และหม่อมเจ้าเพลารถ (ท่านชายงั่ว) หม่อมเจ้ากรณิกาทรงเข้ารับการศึกษาจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย เป็นนักเรียนรุ่นพี่ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่านหญิงซึ่งเป็นนักเรียนรุ่นพี่จะมาช่วยหยิบนม และรินถวายทุกวันตามกฎของโรงเรียนที่รุ่นพี่ต้องดูแลรุ่นน้อง หลังสำเร็จการศึกษาก็เป็นครูสอนวิชาภาษาไทยที่โรงเรียนดังกล่าว หม่อมเจ้ากรณิกามีฝีหัตถ์ด้านงานฝีมือและการตัดเย็บจากการฝึกหัดด้วยองค์เองและเปิดห้องเสื้อ "กรณิก"พระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. หม่อมเจ้ากรณิกา ประทับอยู่ ณ ตำหนักปลายเนิน ถนนพระรามที่ 4 ติดกับการไฟฟ้านครหลวง ซึ่งเปิดสอนนาฏศิลป์ และดนตรีไทย โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีไทยบ่อยครั้งเมื่อท่านหญิงทรงว่างจากกรณียกิจ เนื่องจากหม่อมเจ้ากรณิกามีพระปรีชาด้านการดนตรี โดยเฉพาะระนาดทุ้ม และเลิกทรงระนาดทุ้มไปเมื่อชันษา 93 ปีเพราะไม่ถนัดนั่งประทับนาน ๆ หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ เป็นพระราชนัดดาที่ดำรงฐานันดรศักดิ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสององค์สุดท้ายที่ยังทรงพระชนม์ อีกองค์คือหม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล สุขสวัสดิ์ ท่านหญิงเคยเสด็จแทนพระองค์ในงานพระราชพิธีบ่อยครั้ง ทั้งยังดำรงตำแหน่งเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ ซึ่งมีการประกวดภาพถ่ายเนื่องในงานวันนริศ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ผู้เป็นนายช่างใหญ่แห่งกรุงสยามและหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลก นอกจากนี้ยังทรงดำรงตำแหน่งเป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร โดยทรงเป็นประธานอำนวยการจัดสร้างห้องพยาบาลของมูลนิธิดังกล่าว พร้อมกับส่งบุรุษพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล ทำการรักษาภิกษุและสามเณรที่วัดไผ่ดำ จังหวัดสิงห์บุรี และดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเผยแพร่พระเกียรติคุณ แต่ด้วยภายหลังมีพระชันษามากขึ้น ท่านหญิงจึงมิค่อยเสด็จออกงานบ่อยดังก่อนสิ้นชีพิตักษัย สิ้นชีพิตักษัย. หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ สิ้นชีพิตักษัยด้วยอาการหทัยล้มเหลวเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 เวลา 15.22 น. ณ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ สิริชันษา 98 ปี นับเป็นหม่อมเจ้าองค์สุดท้ายแห่งราชสกุลจิตรพงศ์ ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้หม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์ เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานน้ำหลวงสรงศพ ในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 เวลา 16.30 น. ณ ท้องพระโรง วังปลายเนิน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานโกศราชวงศ์บรรจุศพ พร้อมด้วยฉัตรเครื่องสูงทองแผ่ลวดตั้งเป็นเกียรติยศประกอบ พระราชทานพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพมีกำหนด 7 คืน และทรงรับศพไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์โดยตลอด ในการพระราชทานเพลิงศพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์การพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ไปในการพิธีพระราชทานเพลิงพระศพเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2559 การนี้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุโดยเสด็จฯ ด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุดมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) ฝ่ายใน - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)พงศาวลี
| หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ สิ้นชีพิตักษัยด้วยอาการหทัยล้มเหลวเมื่อวันเท่าไร | {
"answer": [
"6"
],
"answer_begin_position": [
2699
],
"answer_end_position": [
2700
]
} |
1,800 | 218,354 | หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ (ประสูติ: 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 — สิ้นชีพิตักษัย: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นพระธิดาองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ และเป็นพระอนุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่เหล่าพระบรมวงศานุวงศ์ทรงนับถือ นอกจากนี้ หม่อมเจ้ากรณิกายังเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ เป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร และเป็นกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ หรือ ท่านหญิงไอ ประสูติเมื่อ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 เป็นพระบุตรองค์ที่เก้าในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีพี่น้องร่วมหม่อมมารดา 4 องค์ คือ หม่อมเจ้าประโลมจิตร (ท่านหญิงอี่), หม่อมเจ้าดวงจิตร (ท่านหญิงอาม), หม่อมเจ้ายาใจ (ท่านชายไส) และหม่อมเจ้าเพลารถ (ท่านชายงั่ว) หม่อมเจ้ากรณิกาทรงเข้ารับการศึกษาจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย เป็นนักเรียนรุ่นพี่ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่านหญิงซึ่งเป็นนักเรียนรุ่นพี่จะมาช่วยหยิบนม และรินถวายทุกวันตามกฎของโรงเรียนที่รุ่นพี่ต้องดูแลรุ่นน้อง หลังสำเร็จการศึกษาก็เป็นครูสอนวิชาภาษาไทยที่โรงเรียนดังกล่าว หม่อมเจ้ากรณิกามีฝีหัตถ์ด้านงานฝีมือและการตัดเย็บจากการฝึกหัดด้วยองค์เองและเปิดห้องเสื้อ "กรณิก"พระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. หม่อมเจ้ากรณิกา ประทับอยู่ ณ ตำหนักปลายเนิน ถนนพระรามที่ 4 ติดกับการไฟฟ้านครหลวง ซึ่งเปิดสอนนาฏศิลป์ และดนตรีไทย โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จะเสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีไทยบ่อยครั้งเมื่อท่านหญิงทรงว่างจากกรณียกิจ เนื่องจากหม่อมเจ้ากรณิกามีพระปรีชาด้านการดนตรี โดยเฉพาะระนาดทุ้ม และเลิกทรงระนาดทุ้มไปเมื่อชันษา 93 ปีเพราะไม่ถนัดนั่งประทับนาน ๆ หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ เป็นพระราชนัดดาที่ดำรงฐานันดรศักดิ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสององค์สุดท้ายที่ยังทรงพระชนม์ อีกองค์คือหม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล สุขสวัสดิ์ ท่านหญิงเคยเสด็จแทนพระองค์ในงานพระราชพิธีบ่อยครั้ง ทั้งยังดำรงตำแหน่งเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ ซึ่งมีการประกวดภาพถ่ายเนื่องในงานวันนริศ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ผู้เป็นนายช่างใหญ่แห่งกรุงสยามและหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลก นอกจากนี้ยังทรงดำรงตำแหน่งเป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร โดยทรงเป็นประธานอำนวยการจัดสร้างห้องพยาบาลของมูลนิธิดังกล่าว พร้อมกับส่งบุรุษพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล ทำการรักษาภิกษุและสามเณรที่วัดไผ่ดำ จังหวัดสิงห์บุรี และดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเผยแพร่พระเกียรติคุณ แต่ด้วยภายหลังมีพระชันษามากขึ้น ท่านหญิงจึงมิค่อยเสด็จออกงานบ่อยดังก่อนสิ้นชีพิตักษัย สิ้นชีพิตักษัย. หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ สิ้นชีพิตักษัยด้วยอาการหทัยล้มเหลวเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 เวลา 15.22 น. ณ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ สิริชันษา 98 ปี นับเป็นหม่อมเจ้าองค์สุดท้ายแห่งราชสกุลจิตรพงศ์ ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้หม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์ เสด็จแทนพระองค์ไปในการพระราชทานน้ำหลวงสรงศพ ในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 เวลา 16.30 น. ณ ท้องพระโรง วังปลายเนิน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานโกศราชวงศ์บรรจุศพ พร้อมด้วยฉัตรเครื่องสูงทองแผ่ลวดตั้งเป็นเกียรติยศประกอบ พระราชทานพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพมีกำหนด 7 คืน และทรงรับศพไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์โดยตลอด ในการพระราชทานเพลิงศพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์การพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ไปในการพิธีพระราชทานเพลิงพระศพเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2559 การนี้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุโดยเสด็จฯ ด้วยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุดมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) ฝ่ายใน - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2)พงศาวลี
| หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"11"
],
"answer_begin_position": [
159
],
"answer_end_position": [
161
]
} |
849 | 850,651 | หม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ เทวกุล หม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ เทวกุล (5 ธันวาคม พ.ศ. 2441 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517) หรือ หม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ กิติยากร เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล มีพระขนิษฐาและพระเชษฐาร่วมพระมารดา 11 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าเกียรติกำจร กิติยากร (7 กันยายน 2439–18 กุมภาพันธ์ 2445) - หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร (18 มกราคม 2440–14 สิงหาคม 2511) สมรสกับหม่อมพิณ หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาส รพีพัฒน์ และ หม่อมเจ้าหญิงจีริกา กิติยากร - หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร (4 มกราคม 2441–11 กุมภาพันธ์ 2496) (ได้รับสถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เมื่อ 5 พฤษภาคม 2495 สมรสกับหม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์ - หม่อมเจ้ามาโนทย์มานพ กิติยากร (24 มกราคม 2443–24 สิงหาคม 2444) - หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร (15 มีนาคม 2444–28 มกราคม 2510) สมรสกับหม่อมราชวงศ์วิจิตรโฉม ชยางกูร - หม่อมเจ้าหญิงพิบูลย์เบญจางค์ กิติยากร (13 พฤศจิกายน 2445–27 เมษายน 2512) สมรสกับ หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ (พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์) - หม่อมเจ้าหญิงกัลยางค์สมบัติ กิติยากร (28 มีนาคม 2447–4 กุมภาพันธ์ 2485) สมรสกับ หม่อมเจ้ามุรธาภิเศก โสณกุล - หม่อมเจ้าหญิงจิตรบรรจง กิติยากร (28 มกราคม 2449–29 ตุลาคม 2487) ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อเสกสมรสกับหม่อมราชวงศ์นักษัตร ลดาวัลย์ - หม่อมเจ้าหญิงทรงอัปษร กิติยากร (22 กรกฎาคม 2450–28 มีนาคม 2531) สมรสกับหม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ - หม่อมเจ้าหญิงสรัทจันทร์ กิติยากร (26 ธันวาคม 2451–30 กันยายน 2466) - หม่อมเจ้าพุฒ กิติยากร พระชนม์ 11 เดือน (8 กุมภาพันธ์ 2454–26 ธันวาคม 2454) สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 สิริอายุ การนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ไปพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุวัดหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2519พระโอรส-ธิดา พระโอรส-ธิดา. หม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ เษกสมรสกับ หม่อมเจ้ามรุพรพันธุ์ เทวกุล และ หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 มีบุตร-ธิดาได้แก่- หม่อมเจ้ามรุพรพันธุ์ เทวกุล- หม่อมราชวงศ์มรุต เทวกุล สมรสกับ อุไร พู่เรือหงส์- หม่อมหลวงหญิงอัจโรบล เทวกุล - หม่อมราชวงศ์กมลิกา เทวกุล - หม่อมราชวงศ์นิศารัตน์ เทวกุล - หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล- หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล สมรสกับ ขวัญตา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา- หม่อมหลวงหญิงอาภาวดี เทวกุล - หม่อมหลวงหญิงขวัญกมล เทวกุล - หม่อมหลวงหญิงรดีเทพ เทวกุล
| หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากรสมรสกับหม่อมองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมราชวงศ์วิจิตรโฉม ชยางกูร"
],
"answer_begin_position": [
930
],
"answer_end_position": [
959
]
} |
850 | 850,651 | หม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ เทวกุล หม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ เทวกุล (5 ธันวาคม พ.ศ. 2441 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517) หรือ หม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ กิติยากร เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล มีพระขนิษฐาและพระเชษฐาร่วมพระมารดา 11 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าเกียรติกำจร กิติยากร (7 กันยายน 2439–18 กุมภาพันธ์ 2445) - หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร (18 มกราคม 2440–14 สิงหาคม 2511) สมรสกับหม่อมพิณ หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาส รพีพัฒน์ และ หม่อมเจ้าหญิงจีริกา กิติยากร - หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร (4 มกราคม 2441–11 กุมภาพันธ์ 2496) (ได้รับสถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เมื่อ 5 พฤษภาคม 2495 สมรสกับหม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์ - หม่อมเจ้ามาโนทย์มานพ กิติยากร (24 มกราคม 2443–24 สิงหาคม 2444) - หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร (15 มีนาคม 2444–28 มกราคม 2510) สมรสกับหม่อมราชวงศ์วิจิตรโฉม ชยางกูร - หม่อมเจ้าหญิงพิบูลย์เบญจางค์ กิติยากร (13 พฤศจิกายน 2445–27 เมษายน 2512) สมรสกับ หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ (พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์) - หม่อมเจ้าหญิงกัลยางค์สมบัติ กิติยากร (28 มีนาคม 2447–4 กุมภาพันธ์ 2485) สมรสกับ หม่อมเจ้ามุรธาภิเศก โสณกุล - หม่อมเจ้าหญิงจิตรบรรจง กิติยากร (28 มกราคม 2449–29 ตุลาคม 2487) ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อเสกสมรสกับหม่อมราชวงศ์นักษัตร ลดาวัลย์ - หม่อมเจ้าหญิงทรงอัปษร กิติยากร (22 กรกฎาคม 2450–28 มีนาคม 2531) สมรสกับหม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ - หม่อมเจ้าหญิงสรัทจันทร์ กิติยากร (26 ธันวาคม 2451–30 กันยายน 2466) - หม่อมเจ้าพุฒ กิติยากร พระชนม์ 11 เดือน (8 กุมภาพันธ์ 2454–26 ธันวาคม 2454) สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 สิริอายุ การนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ไปพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุวัดหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2519พระโอรส-ธิดา พระโอรส-ธิดา. หม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ เษกสมรสกับ หม่อมเจ้ามรุพรพันธุ์ เทวกุล และ หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 มีบุตร-ธิดาได้แก่- หม่อมเจ้ามรุพรพันธุ์ เทวกุล- หม่อมราชวงศ์มรุต เทวกุล สมรสกับ อุไร พู่เรือหงส์- หม่อมหลวงหญิงอัจโรบล เทวกุล - หม่อมราชวงศ์กมลิกา เทวกุล - หม่อมราชวงศ์นิศารัตน์ เทวกุล - หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล- หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล สมรสกับ ขวัญตา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา- หม่อมหลวงหญิงอาภาวดี เทวกุล - หม่อมหลวงหญิงขวัญกมล เทวกุล - หม่อมหลวงหญิงรดีเทพ เทวกุล
| หม่อมเจ้าหญิงพิบูลย์เบญจางค์ กิติยากร สมรสกับหม่อมองค์ใด | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ"
],
"answer_begin_position": [
1043
],
"answer_end_position": [
1070
]
} |
1,907 | 850,651 | หม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ เทวกุล หม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ เทวกุล (5 ธันวาคม พ.ศ. 2441 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517) หรือ หม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ กิติยากร เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล มีพระขนิษฐาและพระเชษฐาร่วมพระมารดา 11 พระองค์ คือ- หม่อมเจ้าเกียรติกำจร กิติยากร (7 กันยายน 2439–18 กุมภาพันธ์ 2445) - หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร (18 มกราคม 2440–14 สิงหาคม 2511) สมรสกับหม่อมพิณ หม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาส รพีพัฒน์ และ หม่อมเจ้าหญิงจีริกา กิติยากร - หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร (4 มกราคม 2441–11 กุมภาพันธ์ 2496) (ได้รับสถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เมื่อ 5 พฤษภาคม 2495 สมรสกับหม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์ - หม่อมเจ้ามาโนทย์มานพ กิติยากร (24 มกราคม 2443–24 สิงหาคม 2444) - หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร (15 มีนาคม 2444–28 มกราคม 2510) สมรสกับหม่อมราชวงศ์วิจิตรโฉม ชยางกูร - หม่อมเจ้าหญิงพิบูลย์เบญจางค์ กิติยากร (13 พฤศจิกายน 2445–27 เมษายน 2512) สมรสกับ หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ (พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์) - หม่อมเจ้าหญิงกัลยางค์สมบัติ กิติยากร (28 มีนาคม 2447–4 กุมภาพันธ์ 2485) สมรสกับ หม่อมเจ้ามุรธาภิเศก โสณกุล - หม่อมเจ้าหญิงจิตรบรรจง กิติยากร (28 มกราคม 2449–29 ตุลาคม 2487) ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อเสกสมรสกับหม่อมราชวงศ์นักษัตร ลดาวัลย์ - หม่อมเจ้าหญิงทรงอัปษร กิติยากร (22 กรกฎาคม 2450–28 มีนาคม 2531) สมรสกับหม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ - หม่อมเจ้าหญิงสรัทจันทร์ กิติยากร (26 ธันวาคม 2451–30 กันยายน 2466) - หม่อมเจ้าพุฒ กิติยากร พระชนม์ 11 เดือน (8 กุมภาพันธ์ 2454–26 ธันวาคม 2454) สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 สิริอายุ การนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ไปพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุวัดหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2519พระโอรส-ธิดา พระโอรส-ธิดา. หม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ เษกสมรสกับ หม่อมเจ้ามรุพรพันธุ์ เทวกุล และ หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 มีบุตร-ธิดาได้แก่- หม่อมเจ้ามรุพรพันธุ์ เทวกุล- หม่อมราชวงศ์มรุต เทวกุล สมรสกับ อุไร พู่เรือหงส์- หม่อมหลวงหญิงอัจโรบล เทวกุล - หม่อมราชวงศ์กมลิกา เทวกุล - หม่อมราชวงศ์นิศารัตน์ เทวกุล - หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล- หม่อมราชวงศ์เทพ เทวกุล สมรสกับ ขวัญตา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา- หม่อมหลวงหญิงอาภาวดี เทวกุล - หม่อมหลวงหญิงขวัญกมล เทวกุล - หม่อมหลวงหญิงรดีเทพ เทวกุล
| พระราชบิดาของหม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ กิติยากร มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ"
],
"answer_begin_position": [
257
],
"answer_end_position": [
322
]
} |