question_id
int32 1
4k
| article_id
int32 665
954k
| context
stringlengths 75
87.2k
| question
stringlengths 11
135
| answers
sequence |
---|---|---|---|---|
1,515 | 342,847 | ชมพูภูคา ชมพูภูคา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Bretschneidera sinensis) เป็นไม้ยืนต้นชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Bretschneideraceae เป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 10-25 เมตร ดอกออกเป็นช่อตั้งสีชมพู พบเฉพาะทางตอนใต้ของจีน เวียดนามตอนบน ไต้หวัน และภาคเหนือของไทย ที่ดอยภูคา จังหวัดน่านลักษณะทางพฤษศาสตร์ ลักษณะทางพฤษศาสตร์. ชมพูภูคาเป็นไม้ยืนต้น สูง 10-25 เมตร เปลือกลำต้นเรียบสีเทาน้ำตาล ใบประกอบแบบขนนก ยาว 30-80 ซม. ใบรูปหอกถึงรูปไข่ กว้าง 2.5-6 ซม ยาว 8-25 ซม. โคนใบรูปลิ่มหรือกลม ปลายใบแหลม ดอกสีขาว-ชมพู คล้ายรูประฆัง ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ช่อดอกยาวได้ถึง 20-40 ซม. กลีบรองดอกขนาดใหญ่ รูปถ้วยขอบหยักตื้นๆ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กว้าง โคนกลีบเรียวยาว ปลายกลีบม้วนออกด้านนอก ขนาด 1.8-2 ซม. กลีบบนมักคว่ำลง เกสรผู้ 8 อัน ก้านเกสรเพศผู้ยาว 2.5-3 ซม. ปลายโค้ง รังไข่และก้านเกสรเพศเมียมีขนปกคลุม รังไข่ยาว 0.3-0.4 ซม. เกสรเพศเมียยาว 3-4 ซม. ปลายงอลง ผลรูปกระสวยแก่แล้วแตก เมล็ดรูปรี กว้าง 12 มม. ยาว 20 มม.การค้นพบ การค้นพบ. ชมพูภูคา เป็นหนึ่งในพันธุ์ไม้หายาก ใกล้สูญพันธุ์ชนิดหนึ่งของโลก เมื่อประมาณ 30 ปีที่ผ่านมา มีรายงานว่าพบพันธุ์ไม้ชนิดนี้ ที่มณฑลยูนานประเทศจีน แต่ปัจจุบันคาดว่าสูญพันธุ์ไปแล้วเนื่องด้วยการตัดไม้ทำลายป่า สำหรับในประเทศไทยมีรายงานการสำรวจพบพันธุ์ไม้ชนิดนี้เมื่อมี พ.ศ. 2532 บริเวณป่าดงดิบเขาดอยภูคา อุทยานแห่งชาติดอยภูคา อำเภอปัว จังหวัดน่านการกระจายพันธุ์ การกระจายพันธุ์. ชมพูภูคามีเขตการกระจายพันธุ์แคบๆ พบเฉพาะทางตอนใต้ของประเทศจีน ภาคเหนือของประเทศเวียดนาม ไต้หวัน และไทย ในประเทศไทย พบที่ดอยภูคาในจังหวัดน่าน ขึ้นตามที่ลาดชันในป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1200-1500 เมตร ในต่างประเทศพบจนถึงระดับความสูง 1700 เมตร
| ต้นชมพูภูคาในประเทศไทยมีรายงานการสำรวจพบพันธุ์ไม้ชนิดนี้เมื่อมี พ.ศ.ใด | {
"answer": [
"2532"
],
"answer_begin_position": [
1257
],
"answer_end_position": [
1261
]
} |
688 | 315,640 | เขมรัชต์ สุนทรนนท์ เขมรัชต์ สุนทรนนท์ (ชื่อเล่น : อ๋อง) เป็นนักจัดรายการวิทยุทางคลื่น 94 อีเอฟเอ็มประวัติ ประวัติ. เขมรัชต์ สุนทรนนท์ (ชื่อเล่น : อ๋อง) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2527 ที่โรงพยาบาลยศเส เป็นชาวกรุงเทพมหานคร เป็นลูกชายคนที่ 3 ของครอบครัว "สุนทรนนท์" ดีเจ.อ๋อง จาก 94 EFM ในปี 2549 อ๋องได้ออกอัลบั้มที่ชื่อ MALI ในฐานะนักร้องนำของวงมะลิ กับค่ายสนามหลวง (ค่ายดนตรี)ซึ่งถือว่าประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง แต่ผลงานที่สร้างชื่อให้กับอ๋องก็คือ พิธีกรรายการไฟว์ไลฟ์ และนักจัดรายการวิทยุทาง91.5 ฮอตเอฟเอ็ม ปัจจุบันผลงานของ "อ๋อง" ก็คือ พิธีกรรายการ ดีเจเฮไทม์ อร่อยเหยียบเบรก EFM on TV และนักจัดรายการวิทยุทางคลื่น 94 อีเอฟเอ็ม ด้านชีวิตส่วนตัว อ๋องเคยปฏิเสธข่าวซึ่งหาว่าตนเป็นชายรักชาย ปัจจุบันได้ออกมายอมรับแล้วว่าตนเป็นเกย์ ซึ่งทางบ้านก็ยอมรับและได้พาแฟนหนุ่มไปพบครอบครัวเรียบร้อยแล้วการศึกษาการศึกษา. - ระดับชั้นประถมศึกษาโรงเรียนอุดมศึกษา - ระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) - ระดับชั้นปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาการละคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ระดับชั้นปริญญาโท คณะอักษรศาสตร์ สาขาศิลปการละคร เกรดเฉลี่ย 3.30 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จบปีการศึกษา 2553ผลงานอัลบั้มผลงาน. อัลบั้ม. - อัลบั้ม NOISE PROJECT (พ.ศ. 2546) - อัลบั้ม MALI (พ.ศ. 2549) - อัลบั้ม R U HOT ENOUGH ? (พ.ศ. 2550) - อัลบั้ม Frontage Luggage (พ.ศ. 2556)พิธีกรพิธีกร. - รายการไฟว์ไลฟ์ (จันทร์-ศุกร์ 00.40-01.30 ทางททบ.5) (พ.ศ. 2549-2556) - รายการ ดาวอาสา ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี จัดคู่กับ ปาณิสรา พิมพ์ปรุ (พ.ศ. 2554) - รายการ จอดอร่อย ทางสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมทีเอ็นเอ็น (พ.ศ. 2551) - รายการ ดีเจเฮไทม์ ทาง Green Channel - รายการ อร่อยเหยียบเบรก ทาง Green Channel (ปัจจุบันรายการนี้ออกอากาศทางช่อง GMM25) - รายการ EFM on TV ทาง Green Channel (ปัจจุบันรายการนี้ออกอากาศทางช่อง GMM25)ดีเจดีเจ. - อีเอฟเอ็ม 104.5ละครเวทีละครเวที. - ละครเวทีเรื่อง "Proof" ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ เอกการละคอน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2548 รับบท สัญญา เอื้อกวี - ละครเวทีเรื่อง ข้างหลังภาพ เดอะมิวสิคัล รับบท พาที และ นพพร (แทน) - ละครเวทีเรื่อง สยามมิสฉัน เดอะมิวสิคัล ของ ภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2555 รับบท พู่ (หลวงวิเทศไมตรี)ละครโทรทัศน์ละครโทรทัศน์. - สื่อริษยา ทางช่องวัน (2558) รับบทเป็น เจ๊ตุ่น - Club Friday To Be Continued เพื่อนรัก เพื่อนร้าย ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (2559) รับบท ปอ - Love Songs Love Stories เพลง ลงเอย ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (2559) รับบทเป็น เจส - ลายหงส์ ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (2559) รับบทเป็น ด้วง - สงครามแย่งผู้ To be Continued ตอน ลงเอย ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (2559) รับบทเป็น เจส - ชิงรัก ริษยา ทางช่องวัน (2560) รับบทเป็น แอล - วังนางโหง ทางช่อง 7 (2560) รับบทเป็น วิฑูรย์ / วิทย์ (วีร่า) - ชายไม่จริง หญิงแท้ ทางช่องวัน (2560) รับบทเป็น ดีเจอ๋อง (รับเชิญ) - แหวนดอกไม้ ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (2560) รับบทเป็น ดังใจ - ระบำมาร ทางช่อง 7 (2561) รับบทเป็น โจผลงานอื่นๆผลงานอื่นๆ. - โฆษณาไอศกรีมวอลล์ - โฆษณาบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปยี่ห้อ "มาม่า" - มิวสิกวิดีโอ "ร้องไห้กับฉัน" ศิลปิน เสือ ธนพล อินทฤทธิ์ - มิวสิกวิดีโอ "แปลว่ายังหายใจ" ศิลปิน พั้นช์ วรกาญจน์ โรจนวัชร - เชียร์ลีดเดอร์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำงานฟุตบอลประเพณี ธรรมศาสตร์-จุฬาฯ ครั้งที่ 60รางวัลที่เคยได้รับรางวัลที่เคยได้รับ. - รางวัลพระราชทานเทพทอง สาขาวิทยุโทรทัศน์ดีเด่น จากรายการไฟว์ไลฟ์ (พ.ศ. 2553) - รางวัล เพลง hitZ ชาร์ต เวที Virgin HitZ Awards 2550 (เพลง แฟนคนอื่น)รายการอ้างอิง
| เขมรัชต์ สุนทรนนท์ นักจัดรายการวิทยุทางคลื่น 94 อีเอฟเอ็ม มีชื่อเล่นว่าอะไร | {
"answer": [
"อ๋อง"
],
"answer_begin_position": [
143
],
"answer_end_position": [
147
]
} |
1,501 | 315,640 | เขมรัชต์ สุนทรนนท์ เขมรัชต์ สุนทรนนท์ (ชื่อเล่น : อ๋อง) เป็นนักจัดรายการวิทยุทางคลื่น 94 อีเอฟเอ็มประวัติ ประวัติ. เขมรัชต์ สุนทรนนท์ (ชื่อเล่น : อ๋อง) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2527 ที่โรงพยาบาลยศเส เป็นชาวกรุงเทพมหานคร เป็นลูกชายคนที่ 3 ของครอบครัว "สุนทรนนท์" ดีเจ.อ๋อง จาก 94 EFM ในปี 2549 อ๋องได้ออกอัลบั้มที่ชื่อ MALI ในฐานะนักร้องนำของวงมะลิ กับค่ายสนามหลวง (ค่ายดนตรี)ซึ่งถือว่าประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง แต่ผลงานที่สร้างชื่อให้กับอ๋องก็คือ พิธีกรรายการไฟว์ไลฟ์ และนักจัดรายการวิทยุทาง91.5 ฮอตเอฟเอ็ม ปัจจุบันผลงานของ "อ๋อง" ก็คือ พิธีกรรายการ ดีเจเฮไทม์ อร่อยเหยียบเบรก EFM on TV และนักจัดรายการวิทยุทางคลื่น 94 อีเอฟเอ็ม ด้านชีวิตส่วนตัว อ๋องเคยปฏิเสธข่าวซึ่งหาว่าตนเป็นชายรักชาย ปัจจุบันได้ออกมายอมรับแล้วว่าตนเป็นเกย์ ซึ่งทางบ้านก็ยอมรับและได้พาแฟนหนุ่มไปพบครอบครัวเรียบร้อยแล้วการศึกษาการศึกษา. - ระดับชั้นประถมศึกษาโรงเรียนอุดมศึกษา - ระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) - ระดับชั้นปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาการละคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ระดับชั้นปริญญาโท คณะอักษรศาสตร์ สาขาศิลปการละคร เกรดเฉลี่ย 3.30 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จบปีการศึกษา 2553ผลงานอัลบั้มผลงาน. อัลบั้ม. - อัลบั้ม NOISE PROJECT (พ.ศ. 2546) - อัลบั้ม MALI (พ.ศ. 2549) - อัลบั้ม R U HOT ENOUGH ? (พ.ศ. 2550) - อัลบั้ม Frontage Luggage (พ.ศ. 2556)พิธีกรพิธีกร. - รายการไฟว์ไลฟ์ (จันทร์-ศุกร์ 00.40-01.30 ทางททบ.5) (พ.ศ. 2549-2556) - รายการ ดาวอาสา ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี จัดคู่กับ ปาณิสรา พิมพ์ปรุ (พ.ศ. 2554) - รายการ จอดอร่อย ทางสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมทีเอ็นเอ็น (พ.ศ. 2551) - รายการ ดีเจเฮไทม์ ทาง Green Channel - รายการ อร่อยเหยียบเบรก ทาง Green Channel (ปัจจุบันรายการนี้ออกอากาศทางช่อง GMM25) - รายการ EFM on TV ทาง Green Channel (ปัจจุบันรายการนี้ออกอากาศทางช่อง GMM25)ดีเจดีเจ. - อีเอฟเอ็ม 104.5ละครเวทีละครเวที. - ละครเวทีเรื่อง "Proof" ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ เอกการละคอน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2548 รับบท สัญญา เอื้อกวี - ละครเวทีเรื่อง ข้างหลังภาพ เดอะมิวสิคัล รับบท พาที และ นพพร (แทน) - ละครเวทีเรื่อง สยามมิสฉัน เดอะมิวสิคัล ของ ภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2555 รับบท พู่ (หลวงวิเทศไมตรี)ละครโทรทัศน์ละครโทรทัศน์. - สื่อริษยา ทางช่องวัน (2558) รับบทเป็น เจ๊ตุ่น - Club Friday To Be Continued เพื่อนรัก เพื่อนร้าย ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (2559) รับบท ปอ - Love Songs Love Stories เพลง ลงเอย ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (2559) รับบทเป็น เจส - ลายหงส์ ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (2559) รับบทเป็น ด้วง - สงครามแย่งผู้ To be Continued ตอน ลงเอย ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (2559) รับบทเป็น เจส - ชิงรัก ริษยา ทางช่องวัน (2560) รับบทเป็น แอล - วังนางโหง ทางช่อง 7 (2560) รับบทเป็น วิฑูรย์ / วิทย์ (วีร่า) - ชายไม่จริง หญิงแท้ ทางช่องวัน (2560) รับบทเป็น ดีเจอ๋อง (รับเชิญ) - แหวนดอกไม้ ทางจีเอ็มเอ็ม 25 (2560) รับบทเป็น ดังใจ - ระบำมาร ทางช่อง 7 (2561) รับบทเป็น โจผลงานอื่นๆผลงานอื่นๆ. - โฆษณาไอศกรีมวอลล์ - โฆษณาบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปยี่ห้อ "มาม่า" - มิวสิกวิดีโอ "ร้องไห้กับฉัน" ศิลปิน เสือ ธนพล อินทฤทธิ์ - มิวสิกวิดีโอ "แปลว่ายังหายใจ" ศิลปิน พั้นช์ วรกาญจน์ โรจนวัชร - เชียร์ลีดเดอร์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำงานฟุตบอลประเพณี ธรรมศาสตร์-จุฬาฯ ครั้งที่ 60รางวัลที่เคยได้รับรางวัลที่เคยได้รับ. - รางวัลพระราชทานเทพทอง สาขาวิทยุโทรทัศน์ดีเด่น จากรายการไฟว์ไลฟ์ (พ.ศ. 2553) - รางวัล เพลง hitZ ชาร์ต เวที Virgin HitZ Awards 2550 (เพลง แฟนคนอื่น)รายการอ้างอิง
| เขมรัชต์ สุนทรนนท์ ชื่อเล่น อ๋อง เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"2"
],
"answer_begin_position": [
261
],
"answer_end_position": [
262
]
} |
689 | 58,404 | พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครประวัติ ประวัติ. นายพุทธิพงษ์ เกิดเมื่อวันที่ ที่รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา มีชื่อเล่นว่า บี เป็นบุตรคนโตของ ศาสตราจารย์นายแพทย์เหลือพร และนางดาริกา ปุณณกันต์ เป็นพี่ชายของนายดนุพร ปุณณกันต์ อดีต ส.ส. ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย นายพุทธิพงษ์ เป็นหลานปู่ของ พลเอกพงษ์ ปุณณกันต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และ กระทรวงอุตสาหกรรม สมัยรัฐบาล จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และ จอมพลถนอม กิตติขจรการศึกษา การศึกษา. นายพุทธิพงษ์ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2535 และจบปริญญาโท การบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยยูโรเปี่ยน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2539 และกลับมาทำงานโดยเป็นผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ บริษัท ราชธานี กรุ๊ป และรับราชการเป็นเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการลงทุน สำนักนายกรัฐมนตรี ก่อนเข้าสู่วงการเมืองการเมือง การเมือง. ชื่อ "พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์" เป็นที่รู้จักมากขึ้นจากการเป็นสามีของ นุสบา วาณิชอังกูร ดาราสาวชื่อดัง โดยถูกเรียกติดปากว่า "พี่บี" ทั้งคู่มีบุตรด้วยกัน 2 คน ชื่อ "ปุณณ์" และ "กัณต์" ตามลำดับ ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544 นายพุทธิพงษ์ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในนาม พรรคประชาธิปัตย์ พื้นที่เขต 4 กรุงเทพมหานคร ซึ่งก็คือ เขตพญาไท โดยแข่งขันกับ นางกรรณิกา ธรรมเกษร อดีตพิธีกรโทรทัศน์ ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทย ผลการนับคะแนนนางกรรณิการ์เป็นฝ่ายชนะได้รับการเลือกตั้ง และได้เป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่ทว่า หลังจากสภาฯ ชุดดังกล่าวทำงานไปได้เกือบ 1 ปี คณะกรรมการการเลือกตั้งตัดสินใจให้ใบเหลือง นางกรรณิการ์ และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งครั้งนี้ ชัยชนะก็เป็นของนายพุทธิพงษ์แทน ต่อมาในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2548 นายพุทธิพงษ์ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในเขตเดิมพรรคเดิม แต่คราวนี้กลับเป็นฝ่ายแพ้ให้กับ ร้อยเอกรชฏ พิสิษฐบรรณกร ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทยคนใหม่ ไปอย่างเฉียดฉิว ในระหว่างที่ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยแรก (พ.ศ. 2547-พ.ศ. 2551) นายพุทธิพงษ์ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง โฆษกกรุงเทพมหานคร นับเป็นบุคคลแรกที่รับตำแหน่งนี้ และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป็นรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครด้วย นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ควบคู่กับการดำรงตำแหน่ง กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งได้ลาออกจากตำแหน่งรองโฆษกฯ ในเวลาต่อมา ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7 (เขตห้วยขวาง) โดยเอาชนะคู่แข่งจากพรรคเพื่อไทยอย่าง น.ส.อนุตตมา อมรวิวัฒน์ ได้วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557. ในวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 นายพุทธิพงษ์เป็นหนึ่งใน 9 ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ที่ลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรคและกรรมการบริหารพรรค และเข้าเป็นหนึ่งในแกนนำ กปปส. (คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข) โดยมีบทบาทเป็นผู้ดูแลผู้ชุมนุมที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต และหลายต่อหลายครั้งจะเป็นแกนนำในการนำพาผู้ชุมนุมเข้าปฏิบัติการที่ค่อนข้างโลดโผนหรือเสี่ยงอันตราย จนได้รับฉายาว่า "สี่ทหารเสือ" ร่วมกับแกนนำและแนวร่วมคนอื่น ๆ ที่เป็นคนหนุ่มวัยใกล้เคียงกัน คือ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ, นายชุมพล จุลใส และนายสกลธี ภัททิยกุล โดยในระยะแรกของการชุมนุม ซึ่งสถานที่ชุมนุมยังเป็นที่บริเวณสถานีรถไฟสามเสน นายพุทธิพงษ์เป็นผู้สำรวจสถานที่และตัดสินใจเอาสถานที่นี้เป็นที่ชุมนุมร่วมกับนายณัฏฐพล ในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จากการชุมนุมในครั้งนั้น ศาลอาญาอนุมัติหมายจับแกนนำ กปปส. รวม 43 คน ผู้ต้องหาคดีกบฏ และความผิดอื่น รวม 8 ข้อหา เพื่อติดตามตัวมาดำเนินกระบวนการตามกฎหมาย โดย นายพุทธิพงษ์เป็นผู้ต้องหาหมายเลขที่ 4 หลังเหตุการณ์นี้ นายพุทธิพงษ์ก็ได้เข้าอุปสมบทที่วัดพระรามเก้ากาญจนาภิเษก และย้ายไปจำวัดที่วัดธารน้ำไหล จังหวัดสุราษฎร์ธานี เช่นเดียวกับแกนนำคนอื่น ๆงานบันเทิง งานบันเทิง. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ เคยมีผลงานการแสดงละครโทรทัศน์เรื่อง "ตั้งไข่ล้มพรหมไม่ลิขิต" เมื่อปี พ.ศ. 2542 และเคยเป็นพิธีกรร่วมกับนางอรทัย ฐานะจาโร ในรายการ "พลังจิตที่ 5" ทางช่อง 5 อยู่ช่วงหนึ่ง สมัยที่ยังเป็น ส.ส. กรุงเทพมหานครเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2552 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2551 - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1
| ภรรยาของนายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ คือใคร | {
"answer": [
"นุสบา วาณิชอังกูร"
],
"answer_begin_position": [
1161
],
"answer_end_position": [
1178
]
} |
1,427 | 58,404 | พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครประวัติ ประวัติ. นายพุทธิพงษ์ เกิดเมื่อวันที่ ที่รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา มีชื่อเล่นว่า บี เป็นบุตรคนโตของ ศาสตราจารย์นายแพทย์เหลือพร และนางดาริกา ปุณณกันต์ เป็นพี่ชายของนายดนุพร ปุณณกันต์ อดีต ส.ส. ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย นายพุทธิพงษ์ เป็นหลานปู่ของ พลเอกพงษ์ ปุณณกันต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และ กระทรวงอุตสาหกรรม สมัยรัฐบาล จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และ จอมพลถนอม กิตติขจรการศึกษา การศึกษา. นายพุทธิพงษ์ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2535 และจบปริญญาโท การบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยยูโรเปี่ยน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2539 และกลับมาทำงานโดยเป็นผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ บริษัท ราชธานี กรุ๊ป และรับราชการเป็นเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการลงทุน สำนักนายกรัฐมนตรี ก่อนเข้าสู่วงการเมืองการเมือง การเมือง. ชื่อ "พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์" เป็นที่รู้จักมากขึ้นจากการเป็นสามีของ นุสบา วาณิชอังกูร ดาราสาวชื่อดัง โดยถูกเรียกติดปากว่า "พี่บี" ทั้งคู่มีบุตรด้วยกัน 2 คน ชื่อ "ปุณณ์" และ "กัณต์" ตามลำดับ ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544 นายพุทธิพงษ์ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในนาม พรรคประชาธิปัตย์ พื้นที่เขต 4 กรุงเทพมหานคร ซึ่งก็คือ เขตพญาไท โดยแข่งขันกับ นางกรรณิกา ธรรมเกษร อดีตพิธีกรโทรทัศน์ ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทย ผลการนับคะแนนนางกรรณิการ์เป็นฝ่ายชนะได้รับการเลือกตั้ง และได้เป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่ทว่า หลังจากสภาฯ ชุดดังกล่าวทำงานไปได้เกือบ 1 ปี คณะกรรมการการเลือกตั้งตัดสินใจให้ใบเหลือง นางกรรณิการ์ และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งครั้งนี้ ชัยชนะก็เป็นของนายพุทธิพงษ์แทน ต่อมาในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2548 นายพุทธิพงษ์ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในเขตเดิมพรรคเดิม แต่คราวนี้กลับเป็นฝ่ายแพ้ให้กับ ร้อยเอกรชฏ พิสิษฐบรรณกร ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทยคนใหม่ ไปอย่างเฉียดฉิว ในระหว่างที่ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยแรก (พ.ศ. 2547-พ.ศ. 2551) นายพุทธิพงษ์ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง โฆษกกรุงเทพมหานคร นับเป็นบุคคลแรกที่รับตำแหน่งนี้ และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป็นรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครด้วย นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ควบคู่กับการดำรงตำแหน่ง กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งได้ลาออกจากตำแหน่งรองโฆษกฯ ในเวลาต่อมา ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7 (เขตห้วยขวาง) โดยเอาชนะคู่แข่งจากพรรคเพื่อไทยอย่าง น.ส.อนุตตมา อมรวิวัฒน์ ได้วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557. ในวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 นายพุทธิพงษ์เป็นหนึ่งใน 9 ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ที่ลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรคและกรรมการบริหารพรรค และเข้าเป็นหนึ่งในแกนนำ กปปส. (คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข) โดยมีบทบาทเป็นผู้ดูแลผู้ชุมนุมที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต และหลายต่อหลายครั้งจะเป็นแกนนำในการนำพาผู้ชุมนุมเข้าปฏิบัติการที่ค่อนข้างโลดโผนหรือเสี่ยงอันตราย จนได้รับฉายาว่า "สี่ทหารเสือ" ร่วมกับแกนนำและแนวร่วมคนอื่น ๆ ที่เป็นคนหนุ่มวัยใกล้เคียงกัน คือ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ, นายชุมพล จุลใส และนายสกลธี ภัททิยกุล โดยในระยะแรกของการชุมนุม ซึ่งสถานที่ชุมนุมยังเป็นที่บริเวณสถานีรถไฟสามเสน นายพุทธิพงษ์เป็นผู้สำรวจสถานที่และตัดสินใจเอาสถานที่นี้เป็นที่ชุมนุมร่วมกับนายณัฏฐพล ในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จากการชุมนุมในครั้งนั้น ศาลอาญาอนุมัติหมายจับแกนนำ กปปส. รวม 43 คน ผู้ต้องหาคดีกบฏ และความผิดอื่น รวม 8 ข้อหา เพื่อติดตามตัวมาดำเนินกระบวนการตามกฎหมาย โดย นายพุทธิพงษ์เป็นผู้ต้องหาหมายเลขที่ 4 หลังเหตุการณ์นี้ นายพุทธิพงษ์ก็ได้เข้าอุปสมบทที่วัดพระรามเก้ากาญจนาภิเษก และย้ายไปจำวัดที่วัดธารน้ำไหล จังหวัดสุราษฎร์ธานี เช่นเดียวกับแกนนำคนอื่น ๆงานบันเทิง งานบันเทิง. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ เคยมีผลงานการแสดงละครโทรทัศน์เรื่อง "ตั้งไข่ล้มพรหมไม่ลิขิต" เมื่อปี พ.ศ. 2542 และเคยเป็นพิธีกรร่วมกับนางอรทัย ฐานะจาโร ในรายการ "พลังจิตที่ 5" ทางช่อง 5 อยู่ช่วงหนึ่ง สมัยที่ยังเป็น ส.ส. กรุงเทพมหานครเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2552 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2551 - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1
| นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ แสดงละครโทรทัศน์เรื่อง ตั้งไข่ล้มพรหมไม่ลิขิต เมื่อปี พ.ศ.ใด | {
"answer": [
"2542"
],
"answer_begin_position": [
3896
],
"answer_end_position": [
3900
]
} |
2,680 | 58,404 | พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครประวัติ ประวัติ. นายพุทธิพงษ์ เกิดเมื่อวันที่ ที่รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา มีชื่อเล่นว่า บี เป็นบุตรคนโตของ ศาสตราจารย์นายแพทย์เหลือพร และนางดาริกา ปุณณกันต์ เป็นพี่ชายของนายดนุพร ปุณณกันต์ อดีต ส.ส. ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย นายพุทธิพงษ์ เป็นหลานปู่ของ พลเอกพงษ์ ปุณณกันต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และ กระทรวงอุตสาหกรรม สมัยรัฐบาล จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และ จอมพลถนอม กิตติขจรการศึกษา การศึกษา. นายพุทธิพงษ์ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2535 และจบปริญญาโท การบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยยูโรเปี่ยน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2539 และกลับมาทำงานโดยเป็นผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ บริษัท ราชธานี กรุ๊ป และรับราชการเป็นเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการลงทุน สำนักนายกรัฐมนตรี ก่อนเข้าสู่วงการเมืองการเมือง การเมือง. ชื่อ "พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์" เป็นที่รู้จักมากขึ้นจากการเป็นสามีของ นุสบา วาณิชอังกูร ดาราสาวชื่อดัง โดยถูกเรียกติดปากว่า "พี่บี" ทั้งคู่มีบุตรด้วยกัน 2 คน ชื่อ "ปุณณ์" และ "กัณต์" ตามลำดับ ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544 นายพุทธิพงษ์ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในนาม พรรคประชาธิปัตย์ พื้นที่เขต 4 กรุงเทพมหานคร ซึ่งก็คือ เขตพญาไท โดยแข่งขันกับ นางกรรณิกา ธรรมเกษร อดีตพิธีกรโทรทัศน์ ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทย ผลการนับคะแนนนางกรรณิการ์เป็นฝ่ายชนะได้รับการเลือกตั้ง และได้เป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่ทว่า หลังจากสภาฯ ชุดดังกล่าวทำงานไปได้เกือบ 1 ปี คณะกรรมการการเลือกตั้งตัดสินใจให้ใบเหลือง นางกรรณิการ์ และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งครั้งนี้ ชัยชนะก็เป็นของนายพุทธิพงษ์แทน ต่อมาในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2548 นายพุทธิพงษ์ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในเขตเดิมพรรคเดิม แต่คราวนี้กลับเป็นฝ่ายแพ้ให้กับ ร้อยเอกรชฏ พิสิษฐบรรณกร ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทยคนใหม่ ไปอย่างเฉียดฉิว ในระหว่างที่ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยแรก (พ.ศ. 2547-พ.ศ. 2551) นายพุทธิพงษ์ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง โฆษกกรุงเทพมหานคร นับเป็นบุคคลแรกที่รับตำแหน่งนี้ และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป็นรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครด้วย นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ควบคู่กับการดำรงตำแหน่ง กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งได้ลาออกจากตำแหน่งรองโฆษกฯ ในเวลาต่อมา ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7 (เขตห้วยขวาง) โดยเอาชนะคู่แข่งจากพรรคเพื่อไทยอย่าง น.ส.อนุตตมา อมรวิวัฒน์ ได้วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557. ในวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 นายพุทธิพงษ์เป็นหนึ่งใน 9 ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ที่ลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรคและกรรมการบริหารพรรค และเข้าเป็นหนึ่งในแกนนำ กปปส. (คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข) โดยมีบทบาทเป็นผู้ดูแลผู้ชุมนุมที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต และหลายต่อหลายครั้งจะเป็นแกนนำในการนำพาผู้ชุมนุมเข้าปฏิบัติการที่ค่อนข้างโลดโผนหรือเสี่ยงอันตราย จนได้รับฉายาว่า "สี่ทหารเสือ" ร่วมกับแกนนำและแนวร่วมคนอื่น ๆ ที่เป็นคนหนุ่มวัยใกล้เคียงกัน คือ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ, นายชุมพล จุลใส และนายสกลธี ภัททิยกุล โดยในระยะแรกของการชุมนุม ซึ่งสถานที่ชุมนุมยังเป็นที่บริเวณสถานีรถไฟสามเสน นายพุทธิพงษ์เป็นผู้สำรวจสถานที่และตัดสินใจเอาสถานที่นี้เป็นที่ชุมนุมร่วมกับนายณัฏฐพล ในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จากการชุมนุมในครั้งนั้น ศาลอาญาอนุมัติหมายจับแกนนำ กปปส. รวม 43 คน ผู้ต้องหาคดีกบฏ และความผิดอื่น รวม 8 ข้อหา เพื่อติดตามตัวมาดำเนินกระบวนการตามกฎหมาย โดย นายพุทธิพงษ์เป็นผู้ต้องหาหมายเลขที่ 4 หลังเหตุการณ์นี้ นายพุทธิพงษ์ก็ได้เข้าอุปสมบทที่วัดพระรามเก้ากาญจนาภิเษก และย้ายไปจำวัดที่วัดธารน้ำไหล จังหวัดสุราษฎร์ธานี เช่นเดียวกับแกนนำคนอื่น ๆงานบันเทิง งานบันเทิง. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ เคยมีผลงานการแสดงละครโทรทัศน์เรื่อง "ตั้งไข่ล้มพรหมไม่ลิขิต" เมื่อปี พ.ศ. 2542 และเคยเป็นพิธีกรร่วมกับนางอรทัย ฐานะจาโร ในรายการ "พลังจิตที่ 5" ทางช่อง 5 อยู่ช่วงหนึ่ง สมัยที่ยังเป็น ส.ส. กรุงเทพมหานครเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2552 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2551 - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1
| มารดาของนายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ คือใคร | {
"answer": [
"นางดาริกา ปุณณกันต์"
],
"answer_begin_position": [
408
],
"answer_end_position": [
427
]
} |
2,681 | 58,404 | พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครประวัติ ประวัติ. นายพุทธิพงษ์ เกิดเมื่อวันที่ ที่รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา มีชื่อเล่นว่า บี เป็นบุตรคนโตของ ศาสตราจารย์นายแพทย์เหลือพร และนางดาริกา ปุณณกันต์ เป็นพี่ชายของนายดนุพร ปุณณกันต์ อดีต ส.ส. ระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย นายพุทธิพงษ์ เป็นหลานปู่ของ พลเอกพงษ์ ปุณณกันต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และ กระทรวงอุตสาหกรรม สมัยรัฐบาล จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และ จอมพลถนอม กิตติขจรการศึกษา การศึกษา. นายพุทธิพงษ์ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตต สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2535 และจบปริญญาโท การบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยยูโรเปี่ยน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2539 และกลับมาทำงานโดยเป็นผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ บริษัท ราชธานี กรุ๊ป และรับราชการเป็นเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการลงทุน สำนักนายกรัฐมนตรี ก่อนเข้าสู่วงการเมืองการเมือง การเมือง. ชื่อ "พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์" เป็นที่รู้จักมากขึ้นจากการเป็นสามีของ นุสบา วาณิชอังกูร ดาราสาวชื่อดัง โดยถูกเรียกติดปากว่า "พี่บี" ทั้งคู่มีบุตรด้วยกัน 2 คน ชื่อ "ปุณณ์" และ "กัณต์" ตามลำดับ ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2544 นายพุทธิพงษ์ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในนาม พรรคประชาธิปัตย์ พื้นที่เขต 4 กรุงเทพมหานคร ซึ่งก็คือ เขตพญาไท โดยแข่งขันกับ นางกรรณิกา ธรรมเกษร อดีตพิธีกรโทรทัศน์ ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทย ผลการนับคะแนนนางกรรณิการ์เป็นฝ่ายชนะได้รับการเลือกตั้ง และได้เป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่ทว่า หลังจากสภาฯ ชุดดังกล่าวทำงานไปได้เกือบ 1 ปี คณะกรรมการการเลือกตั้งตัดสินใจให้ใบเหลือง นางกรรณิการ์ และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งครั้งนี้ ชัยชนะก็เป็นของนายพุทธิพงษ์แทน ต่อมาในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2548 นายพุทธิพงษ์ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในเขตเดิมพรรคเดิม แต่คราวนี้กลับเป็นฝ่ายแพ้ให้กับ ร้อยเอกรชฏ พิสิษฐบรรณกร ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทยคนใหม่ ไปอย่างเฉียดฉิว ในระหว่างที่ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยแรก (พ.ศ. 2547-พ.ศ. 2551) นายพุทธิพงษ์ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง โฆษกกรุงเทพมหานคร นับเป็นบุคคลแรกที่รับตำแหน่งนี้ และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป็นรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครด้วย นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ควบคู่กับการดำรงตำแหน่ง กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งได้ลาออกจากตำแหน่งรองโฆษกฯ ในเวลาต่อมา ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7 (เขตห้วยขวาง) โดยเอาชนะคู่แข่งจากพรรคเพื่อไทยอย่าง น.ส.อนุตตมา อมรวิวัฒน์ ได้วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557. ในวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 นายพุทธิพงษ์เป็นหนึ่งใน 9 ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ที่ลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรคและกรรมการบริหารพรรค และเข้าเป็นหนึ่งในแกนนำ กปปส. (คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข) โดยมีบทบาทเป็นผู้ดูแลผู้ชุมนุมที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต และหลายต่อหลายครั้งจะเป็นแกนนำในการนำพาผู้ชุมนุมเข้าปฏิบัติการที่ค่อนข้างโลดโผนหรือเสี่ยงอันตราย จนได้รับฉายาว่า "สี่ทหารเสือ" ร่วมกับแกนนำและแนวร่วมคนอื่น ๆ ที่เป็นคนหนุ่มวัยใกล้เคียงกัน คือ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ, นายชุมพล จุลใส และนายสกลธี ภัททิยกุล โดยในระยะแรกของการชุมนุม ซึ่งสถานที่ชุมนุมยังเป็นที่บริเวณสถานีรถไฟสามเสน นายพุทธิพงษ์เป็นผู้สำรวจสถานที่และตัดสินใจเอาสถานที่นี้เป็นที่ชุมนุมร่วมกับนายณัฏฐพล ในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จากการชุมนุมในครั้งนั้น ศาลอาญาอนุมัติหมายจับแกนนำ กปปส. รวม 43 คน ผู้ต้องหาคดีกบฏ และความผิดอื่น รวม 8 ข้อหา เพื่อติดตามตัวมาดำเนินกระบวนการตามกฎหมาย โดย นายพุทธิพงษ์เป็นผู้ต้องหาหมายเลขที่ 4 หลังเหตุการณ์นี้ นายพุทธิพงษ์ก็ได้เข้าอุปสมบทที่วัดพระรามเก้ากาญจนาภิเษก และย้ายไปจำวัดที่วัดธารน้ำไหล จังหวัดสุราษฎร์ธานี เช่นเดียวกับแกนนำคนอื่น ๆงานบันเทิง งานบันเทิง. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ เคยมีผลงานการแสดงละครโทรทัศน์เรื่อง "ตั้งไข่ล้มพรหมไม่ลิขิต" เมื่อปี พ.ศ. 2542 และเคยเป็นพิธีกรร่วมกับนางอรทัย ฐานะจาโร ในรายการ "พลังจิตที่ 5" ทางช่อง 5 อยู่ช่วงหนึ่ง สมัยที่ยังเป็น ส.ส. กรุงเทพมหานครเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - พ.ศ. 2552 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2551 - เหรียญลูกเสือสดุดี ชั้นที่ 1
| น้องชายของนายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ คือใคร | {
"answer": [
"นายดนุพร ปุณณกันต์"
],
"answer_begin_position": [
441
],
"answer_end_position": [
459
]
} |
690 | 587,901 | พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 36 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาฉิมพระประวัติ พระประวัติ. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาฉิม มีพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดา 1 พระองค์คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากินรี ในสมัยรัชกาลที่ 3 พระองค์เจ้ากินรี พระเชษฐภคินีทรงรับนายกุหลาบเป็นบุตรบุญธรรม และนำเข้ามาเลี้ยงในพระบรมมหาราชวัง พระองค์เจ้าฉวีวรรณก็ทรงมีส่วนในการอุปการะนายกุหลาบร่วมกับพระเชษฐภคินีด้วย พระองค์เจ้าฉวีวรรณช่วยพระองค์เจ้ากินรีเลี้ยงดูนายกุหลาบ จนนายกุหลาบครบอายุโกนจุก ต้องออกจากพระบรมมหาราชวังมาตามขนบธรรมเนียมประเพณี เมื่อนายกุหลาบแต่งงานมีบุตรธิดาหลายคน เขาก็ถวายธิดาหลายคนเป็นนางข้าหลวงในตำหนักของพระองค์เจ้ากินรีและพระองค์เจ้าฉวีวรรณ คนในตำหนักเรียกเด็กหญิงเหล่านี้ว่า "หลานเสด็จ" พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 พระชันษา 65 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุท้องสนามหลวง วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2430พระอิสริยยศพระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าฉวีวรรณ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) - พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) - พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (2 เมษายน พ.ศ. 2394 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (พระนามหลังการสิ้นพระชนม์สถาปนาในรัชกาลที่ 6)
| พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลใด | {
"answer": [
"รัชกาลที่ 5"
],
"answer_begin_position": [
1103
],
"answer_end_position": [
1114
]
} |
1,549 | 587,901 | พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 36 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาฉิมพระประวัติ พระประวัติ. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาฉิม มีพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดา 1 พระองค์คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากินรี ในสมัยรัชกาลที่ 3 พระองค์เจ้ากินรี พระเชษฐภคินีทรงรับนายกุหลาบเป็นบุตรบุญธรรม และนำเข้ามาเลี้ยงในพระบรมมหาราชวัง พระองค์เจ้าฉวีวรรณก็ทรงมีส่วนในการอุปการะนายกุหลาบร่วมกับพระเชษฐภคินีด้วย พระองค์เจ้าฉวีวรรณช่วยพระองค์เจ้ากินรีเลี้ยงดูนายกุหลาบ จนนายกุหลาบครบอายุโกนจุก ต้องออกจากพระบรมมหาราชวังมาตามขนบธรรมเนียมประเพณี เมื่อนายกุหลาบแต่งงานมีบุตรธิดาหลายคน เขาก็ถวายธิดาหลายคนเป็นนางข้าหลวงในตำหนักของพระองค์เจ้ากินรีและพระองค์เจ้าฉวีวรรณ คนในตำหนักเรียกเด็กหญิงเหล่านี้ว่า "หลานเสด็จ" พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 พระชันษา 65 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุท้องสนามหลวง วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2430พระอิสริยยศพระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าฉวีวรรณ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) - พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) - พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (2 เมษายน พ.ศ. 2394 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (พระนามหลังการสิ้นพระชนม์สถาปนาในรัชกาลที่ 6)
| พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ ประสูติในวันอะไร | {
"answer": [
"อาทิตย์"
],
"answer_begin_position": [
391
],
"answer_end_position": [
398
]
} |
1,882 | 587,901 | พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 36 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาฉิมพระประวัติ พระประวัติ. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาฉิม มีพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดา 1 พระองค์คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากินรี ในสมัยรัชกาลที่ 3 พระองค์เจ้ากินรี พระเชษฐภคินีทรงรับนายกุหลาบเป็นบุตรบุญธรรม และนำเข้ามาเลี้ยงในพระบรมมหาราชวัง พระองค์เจ้าฉวีวรรณก็ทรงมีส่วนในการอุปการะนายกุหลาบร่วมกับพระเชษฐภคินีด้วย พระองค์เจ้าฉวีวรรณช่วยพระองค์เจ้ากินรีเลี้ยงดูนายกุหลาบ จนนายกุหลาบครบอายุโกนจุก ต้องออกจากพระบรมมหาราชวังมาตามขนบธรรมเนียมประเพณี เมื่อนายกุหลาบแต่งงานมีบุตรธิดาหลายคน เขาก็ถวายธิดาหลายคนเป็นนางข้าหลวงในตำหนักของพระองค์เจ้ากินรีและพระองค์เจ้าฉวีวรรณ คนในตำหนักเรียกเด็กหญิงเหล่านี้ว่า "หลานเสด็จ" พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 พระชันษา 65 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุท้องสนามหลวง วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2430พระอิสริยยศพระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าฉวีวรรณ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) - พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) - พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (2 เมษายน พ.ศ. 2394 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (พระนามหลังการสิ้นพระชนม์สถาปนาในรัชกาลที่ 6)
| พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ สิ้นพระชนม์ในวันอะไร | {
"answer": [
"ศุกร์"
],
"answer_begin_position": [
1123
],
"answer_end_position": [
1128
]
} |
1,883 | 587,901 | พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 36 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาฉิมพระประวัติ พระประวัติ. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาฉิม มีพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดา 1 พระองค์คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากินรี ในสมัยรัชกาลที่ 3 พระองค์เจ้ากินรี พระเชษฐภคินีทรงรับนายกุหลาบเป็นบุตรบุญธรรม และนำเข้ามาเลี้ยงในพระบรมมหาราชวัง พระองค์เจ้าฉวีวรรณก็ทรงมีส่วนในการอุปการะนายกุหลาบร่วมกับพระเชษฐภคินีด้วย พระองค์เจ้าฉวีวรรณช่วยพระองค์เจ้ากินรีเลี้ยงดูนายกุหลาบ จนนายกุหลาบครบอายุโกนจุก ต้องออกจากพระบรมมหาราชวังมาตามขนบธรรมเนียมประเพณี เมื่อนายกุหลาบแต่งงานมีบุตรธิดาหลายคน เขาก็ถวายธิดาหลายคนเป็นนางข้าหลวงในตำหนักของพระองค์เจ้ากินรีและพระองค์เจ้าฉวีวรรณ คนในตำหนักเรียกเด็กหญิงเหล่านี้ว่า "หลานเสด็จ" พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันศุกร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 พระชันษา 65 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุท้องสนามหลวง วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2430พระอิสริยยศพระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าฉวีวรรณ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2365 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) - พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) - พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (2 เมษายน พ.ศ. 2394 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ (พระนามหลังการสิ้นพระชนม์สถาปนาในรัชกาลที่ 6)
| พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉวีวรรณ ประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"5"
],
"answer_begin_position": [
402
],
"answer_end_position": [
403
]
} |
691 | 293,317 | เฮเลน เมียร์เรน คุณหญิง เฮเลน เมียร์เรน, ดีบีอี () เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักจากบทบาทสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร จากภาพยนตร์เรื่อง The Queen เคยได้รับรางวัลออสการ์ 1 ครั้ง รางวัลแซกอวอร์ด 4 ครั้ง รางวัลบาฟต้า 4 ครั้ง รางวัลลูกโลกทองคำ 3 ครั้ง และรางวัลเอมมี 4 ครั้ง
| คุณหญิง เฮเลน เมียร์เรน เกิดเมื่อไร | {
"answer": [
"วันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945"
],
"answer_begin_position": [
150
],
"answer_end_position": [
177
]
} |
692 | 293,317 | เฮเลน เมียร์เรน คุณหญิง เฮเลน เมียร์เรน, ดีบีอี () เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักจากบทบาทสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร จากภาพยนตร์เรื่อง The Queen เคยได้รับรางวัลออสการ์ 1 ครั้ง รางวัลแซกอวอร์ด 4 ครั้ง รางวัลบาฟต้า 4 ครั้ง รางวัลลูกโลกทองคำ 3 ครั้ง และรางวัลเอมมี 4 ครั้ง
| เฮเลน เมียร์เรน เป็นที่รู้จักจากบทบาทสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร จากภาพยนตร์เรื่องอะไร | {
"answer": [
"เรื่อง The Queen"
],
"answer_begin_position": [
282
],
"answer_end_position": [
298
]
} |
693 | 731,298 | ปฐมสิทธิ์ ปฐมโพธิ์ทอง ปฐมสิทธิ์ ปฐมโพธิ์ทอง หรือ ปฐมสิทธิ์ เกษตรพัฒนา มีชื่อจริงว่า นายเอกกวี แก้วมณี เป็นชาวจังหวัดกาญจนบุรี เป็นนักมวยสากลอาชีพชาวไทยประวัติ ประวัติ. ปฐมสิทธิ์เคยชกมวยสากลสมัครเล่นมาก่อน โดยเคยเป็นตัวแทนจังหวัดกาญจนบุรีลงแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ปฐมสิทธิ์ชกมวยสากลอาชีพครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 โดยชนะคะแนน ยอดขุนพล ศิษย์ทรายทอง ในการชกกำหนด 4 ยก ร่วมรายการเดียวกับ อำนาจ รื่นเริง ชิงแชมป์ IBF ASIA รุ่นฟลายเวท กับ ไมเคิล โรดริเกวซ นักมวยชาวฟิลิปปินส์ ที่ ตำบลด่านทับตะโก อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ปฐมสิทธิ์ชกทำสถิติไปเรื่อยๆ มีแพ้อยู่ 3 ครั้ง และเคยไปชกที่ประเทศออสเตรเลีย 2 ครั้ง และแพ้ทั้งสองครั้ง ก่อนจะได้รับโอกาสขึ้นชิงแชมป์ IBF ASIA ในรุ่นเฟเธอร์เวท ในวันที่17 เมษายน พ.ศ. 2558 ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลปรากฏว่า เขาสามารถชนะนักมวยชาวอินโดนีเซียไว้ได้แค่ยก 4 เท่านั้น หลังจากนั้น ไปชก่ต่างประเทศอีก ที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ปฐมสิทธิ์แพ้คะแนน ฮิระชิ อะมะกะสะ นักมวยเจ้าถิ่น ในการชกกำหนด 10 ยก ร่วมรายการเดียวกับ ไมค์ พ.ธวัชชัย ชกเพือ่คัดเลือกตัวไปชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท สหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) กับ ชิโงะ วะเกะ นักมวยชาวญี่ปุ่น หลังจากแพ้ครั้งนั้น ในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ซึ่งตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และ วันแม่แห่งชาติ ปฐมสิทธิ์เอาชนะคะแนนนักมวยชาวฟิลิปปินส์ สามารถคว้าแชมป์ IBF Pan Pacific ในรุ่นเฟเธอร์เวทมาครองได้ ที่มณฑลพิธีท้องสนามหลวง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานครเกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - แชมป์ IBF ASIA รุ่นเฟเธอร์เวท- ชิง 17 เมษายน พ.ศ. 2558 ชนะน็อคยก 4 เจสัน บูตาร์บูตาร์ ( อินโดนีเซีย) ที่ โรงเรียนวัดไตรรัตนากร ตำบลทุ่ง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี - แชมป์ IBF Pan Pacific รุ่นเฟเธอร์เวท- ชิง 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ชนะคะแนน เบนจี ซูการ์นอบ ( ฟิลิปปินส์) ที่ สนามหลวง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 1, 25 ตุลาคม 2558 ชนะคะแนน รูเบน มานาคาเน่ (อินโดนีเซีย) ที่ ศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต ตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี
| ปฐมสิทธิ์ เกษตรพัฒนา มีชื่อจริงว่าอะไร | {
"answer": [
"นายเอกกวี แก้วมณี"
],
"answer_begin_position": [
180
],
"answer_end_position": [
197
]
} |
694 | 731,298 | ปฐมสิทธิ์ ปฐมโพธิ์ทอง ปฐมสิทธิ์ ปฐมโพธิ์ทอง หรือ ปฐมสิทธิ์ เกษตรพัฒนา มีชื่อจริงว่า นายเอกกวี แก้วมณี เป็นชาวจังหวัดกาญจนบุรี เป็นนักมวยสากลอาชีพชาวไทยประวัติ ประวัติ. ปฐมสิทธิ์เคยชกมวยสากลสมัครเล่นมาก่อน โดยเคยเป็นตัวแทนจังหวัดกาญจนบุรีลงแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ปฐมสิทธิ์ชกมวยสากลอาชีพครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 โดยชนะคะแนน ยอดขุนพล ศิษย์ทรายทอง ในการชกกำหนด 4 ยก ร่วมรายการเดียวกับ อำนาจ รื่นเริง ชิงแชมป์ IBF ASIA รุ่นฟลายเวท กับ ไมเคิล โรดริเกวซ นักมวยชาวฟิลิปปินส์ ที่ ตำบลด่านทับตะโก อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ปฐมสิทธิ์ชกทำสถิติไปเรื่อยๆ มีแพ้อยู่ 3 ครั้ง และเคยไปชกที่ประเทศออสเตรเลีย 2 ครั้ง และแพ้ทั้งสองครั้ง ก่อนจะได้รับโอกาสขึ้นชิงแชมป์ IBF ASIA ในรุ่นเฟเธอร์เวท ในวันที่17 เมษายน พ.ศ. 2558 ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลปรากฏว่า เขาสามารถชนะนักมวยชาวอินโดนีเซียไว้ได้แค่ยก 4 เท่านั้น หลังจากนั้น ไปชก่ต่างประเทศอีก ที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ปฐมสิทธิ์แพ้คะแนน ฮิระชิ อะมะกะสะ นักมวยเจ้าถิ่น ในการชกกำหนด 10 ยก ร่วมรายการเดียวกับ ไมค์ พ.ธวัชชัย ชกเพือ่คัดเลือกตัวไปชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท สหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) กับ ชิโงะ วะเกะ นักมวยชาวญี่ปุ่น หลังจากแพ้ครั้งนั้น ในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ซึ่งตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และ วันแม่แห่งชาติ ปฐมสิทธิ์เอาชนะคะแนนนักมวยชาวฟิลิปปินส์ สามารถคว้าแชมป์ IBF Pan Pacific ในรุ่นเฟเธอร์เวทมาครองได้ ที่มณฑลพิธีท้องสนามหลวง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานครเกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - แชมป์ IBF ASIA รุ่นเฟเธอร์เวท- ชิง 17 เมษายน พ.ศ. 2558 ชนะน็อคยก 4 เจสัน บูตาร์บูตาร์ ( อินโดนีเซีย) ที่ โรงเรียนวัดไตรรัตนากร ตำบลทุ่ง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี - แชมป์ IBF Pan Pacific รุ่นเฟเธอร์เวท- ชิง 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ชนะคะแนน เบนจี ซูการ์นอบ ( ฟิลิปปินส์) ที่ สนามหลวง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 1, 25 ตุลาคม 2558 ชนะคะแนน รูเบน มานาคาเน่ (อินโดนีเซีย) ที่ ศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต ตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี
| ปฐมสิทธิ์ชกมวยสากลอาชีพครั้งแรกเมื่อไร | {
"answer": [
"วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556"
],
"answer_begin_position": [
391
],
"answer_end_position": [
421
]
} |
695 | 324,915 | อดัม การ์เซีย อดัม แกเบรียล การ์เซีย () เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1973 เป็นนักแสดงชาวออสเตรเลีย นักเต้นแท็ป มีเชื้อสายโคลอมเบีย (พ่อของเขามาจากโคลอมเบีย) เขาเกิดที่วาห์รูนกา รัฐนิวเซาท์เวลส์ ออสเตรเลีย มีผลงานเป็นที่รู้จักในภาพยนตร์เรื่อง Coyote Ugly (2000) และ Bootmen (2000)
| อดัม แกเบรียล การ์เซีย เกิดเมื่อไร | {
"answer": [
"วันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1973"
],
"answer_begin_position": [
137
],
"answer_end_position": [
164
]
} |
696 | 324,915 | อดัม การ์เซีย อดัม แกเบรียล การ์เซีย () เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1973 เป็นนักแสดงชาวออสเตรเลีย นักเต้นแท็ป มีเชื้อสายโคลอมเบีย (พ่อของเขามาจากโคลอมเบีย) เขาเกิดที่วาห์รูนกา รัฐนิวเซาท์เวลส์ ออสเตรเลีย มีผลงานเป็นที่รู้จักในภาพยนตร์เรื่อง Coyote Ugly (2000) และ Bootmen (2000)
| อดัม แกเบรียล การ์เซีย มีผลงานเป็นที่รู้จักในภาพยนตร์เรื่องอะไรในปี 2000 | {
"answer": [
"Coyote Ugly (2000)"
],
"answer_begin_position": [
333
],
"answer_end_position": [
351
]
} |
697 | 733,070 | นิมุคตาร์ วาบา นิมุคตาร์ วาบา (เกิด 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมัยประวัติ ประวัติ. นิมุคตาร์ วาบา เกิดเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2494 สำเร็จการศึกษา รัฐศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยรามคำแหง และ ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาการทำงาน การทำงาน. นิมุคตาร์ เป็นผู้บริหารโรงเรียนดรุณศาสน์วิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียนสอนศาสนาของตนเองในอำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานีงานการเมือง งานการเมือง. นิมุคตาร์ เคยดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกสภาจังหวัด ในช่วงปี พ.ศ. 2523 ถึง พ.ศ. 2526 ต่อมาได้ดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกวุฒิสภาแบบแต่งตั้ง ในปี พ.ศ. 2539 ถึง พ.ศ. 2543 จนกระทั่งได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดปัตตานี ใน พ.ศ. 2549 นิมุคตาร์ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกใน พ.ศ. 2550 สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน และได้รับเลือกตั้งเพียงครั้งเดียวสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. นิมุคตาร์ วาบา ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด 1 สมัย คือ1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 จังหวัดปัตตานี สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน
| นิมุคตาร์ วาบา เกิดเมื่อไร | {
"answer": [
"วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2494"
],
"answer_begin_position": [
229
],
"answer_end_position": [
256
]
} |
698 | 733,070 | นิมุคตาร์ วาบา นิมุคตาร์ วาบา (เกิด 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมัยประวัติ ประวัติ. นิมุคตาร์ วาบา เกิดเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2494 สำเร็จการศึกษา รัฐศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยรามคำแหง และ ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาการทำงาน การทำงาน. นิมุคตาร์ เป็นผู้บริหารโรงเรียนดรุณศาสน์วิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียนสอนศาสนาของตนเองในอำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานีงานการเมือง งานการเมือง. นิมุคตาร์ เคยดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกสภาจังหวัด ในช่วงปี พ.ศ. 2523 ถึง พ.ศ. 2526 ต่อมาได้ดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกวุฒิสภาแบบแต่งตั้ง ในปี พ.ศ. 2539 ถึง พ.ศ. 2543 จนกระทั่งได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดปัตตานี ใน พ.ศ. 2549 นิมุคตาร์ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกใน พ.ศ. 2550 สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน และได้รับเลือกตั้งเพียงครั้งเดียวสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. นิมุคตาร์ วาบา ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด 1 สมัย คือ1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 จังหวัดปัตตานี สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน
| นิมุคตาร์ วาบา เป็นผู้บริหารโรงเรียนอะไร | {
"answer": [
"โรงเรียนดรุณศาสน์วิทยา"
],
"answer_begin_position": [
424
],
"answer_end_position": [
446
]
} |
699 | 4,380 | ฝนดาวตก ฝนดาวตก คือดาวตกหลายดวงที่เหมือนกันออกมาจากบริเวณเดียวกันในท้องฟ้าช่วงเวลาเดียวกันของปี ซึ่งเกิดจากเศษชิ้นส่วนในอวกาศที่พุ่งเข้าบรรยากาศโลกด้วยอัตราเร็วสูง แต่ละคราวที่ดาวหางเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ จะมีเศษชิ้นส่วนขนาดเล็กของดาวหางถูกสลัดทิ้งไว้ตามทางโคจร เรียกว่า "ธารสะเก็ดดาว" หากวงโคจรของโลกและของดาวหางซ้อนทับกัน โลกจะเคลื่อนที่ผ่านธารสะเก็ดดาวในช่วงวันเดียวกันของแต่ละปี ทำให้เกิดฝนดาวตก การที่สะเก็ดดาวในธารเดียวกัน เคลื่อนที่ขนานกันและมีอัตราเร็วเท่ากัน ดาวตกที่เราเห็นจึงดูเหมือนพุ่งออกมาจากจุดเดียวกันในท้องฟ้า ซึ่งเป็นผลจากทัศนมิติ (perspective) เปรียบเหมือนกับที่เราเห็นรางรถไฟไปบรรจบกันที่ขอบฟ้า เมื่อยืนดูจากกลางราง
| เศษชิ้นส่วนขนาดเล็กของดาวหางที่ถูกสลัดทิ้งไว้ตามทางโคจรเรียกว่าอะไร | {
"answer": [
"ธารสะเก็ดดาว"
],
"answer_begin_position": [
348
],
"answer_end_position": [
360
]
} |
700 | 681,168 | วากิ้น วากิ้น (; ; โรมะจิ: wakin) เป็นปลาทองสายพันธุ์หนึ่งที่มีแหล่งกำเนิดที่ประเทศจีน ในช่วงราชวงศ์จิน มันคือบรรพบุรุษของปลาทองตัวอ้วนกลมทั้งหลาย เมื่อปี 1502 วากิ้นได้ถูกนำเข้ามายังประเทศญี่ปุ่น ยุคมุโระมะจิ ในจังหวัดโอะซะกะ และซะไก วากิ้นในประเทศไทยมีฟาร์มบางที่ที่เพาะวากิ้นกันอยู่ แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมมากนัก ลักษณะของสายพันธุ์ลำตัวเรียวยาว และใหญ่ มีครับหางเดียว และคู่ สีบนลำตัวสีส้ม, สีแดง เป็นต้น วากิ้นสามารภแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1. วากิ้นฟุนะ(วากิ้นดั้งเดิม) ที่มีลักษณะหางเดียว หรือหางทู 2. วากิ้น ที่มีลักษณะหางสามแฉก
| วากิ้นที่เป็นปลาทองสายพันธุ์หนึ่งมีแหล่งกำเนิดที่ประเทศใด | {
"answer": [
"จีน"
],
"answer_begin_position": [
164
],
"answer_end_position": [
167
]
} |
701 | 549,603 | มารวย ผดุงสิทธิ์ ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นอดีตผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเป็นผู้ริเริ่มใช้ระบบการซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ประวัติ ประวัติ. ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์ เกิดเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2472 ที่ตำบลห้วยสัก อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นบุตรของนายมา กับนางถนอม ผดุงสิทธิ์ ในวัยเด็กเขาเข้าเรียนที่โรงเรียนเซนต์โยเซฟบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี จากนั้นจึงย้ายมาบิดาที่รับราชการในกรมรถไฟ เข้ามาเรียนต่อที่โรงเรียนเทเวศน์ศึกษา และย้ายตามบิดาไปอยู่ในจังหวัดต่างๆ ในเขตภาคเหนือ และเข้าเรียนจนจบชั้นมัธยมปีที่ 4 จากโรงเรียนประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ และเข้าไปเรียนต่อที่โรงเรียนวัดบวรนิเวศ จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่สอง จะหยุดเรียน และกลับไปอาศัยอยู่ที่จังหวัดอุตรดิตถ์ ต่อมาบิดาของเขาล้มป่วยและต้องลาออกจากราชการ เขาจึงต้องทำงานเพื่อหาเลี้ยงครอบครัว โดยเขาสอบเข้ารับราชการได้ที่กรมรถไฟ และย้ายไปอยู่กรมชลประทาน กรมบัญชีกลางตามลำดับ มารวย ผดุงสิทธิ์ สอบเทียบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 8 และเข้าเรียนต่อจนจบปริญญาตรี จากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากนั้นเขาสอบชิงทุนไปเรียนต่อปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยซีราคิวส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากกลับมาเขาได้รับการติดต่อให้สอบชิงทุนของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน มารวย ผดุงสิทธิ์ ได้รับปริญญาพาณิชยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2532 และพัฒนบริหารศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2533การทำงาน การทำงาน. มารวย ผดุงสิทธิ์ เคยรับราชการในสังกัดกรมรถไฟ ต่อมาโอนย้ายไปอยู่กรมชลประทาน และกรมบัญชีกลาง จนกระทั่งสอบชิงทุนได้ จึงย้ายมาเป็นอาจารย์ประจำสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ต่อมาเขาได้รับตำแหน่งเป็นผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2528-2535 มารวย ผดุงสิทธิ์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ในช่วงที่เกิดวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 หรือที่รู้จักกันในชื่อ "วิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง" ทำให้รัฐบาลต้องประกาศลดค่าเงินบาท แต่ดำรงตำแหน่งได้ไม่นานก็ต้องพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีทั้งคณะ เนื่องจากพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี ประกาศลาออกจากตำแหน่ง
| ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์ได้รับปริญญาพาณิชยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์มาจากมหาวิทยาลัยใด | {
"answer": [
"ธรรมศาสตร์"
],
"answer_begin_position": [
1425
],
"answer_end_position": [
1435
]
} |
702 | 264,696 | คำกริยา คำกริยา คือคำที่ใช้บ่งบอกถึงการกระทำ การปรากฏ หรือสถานะของสิ่งที่กล่าวถึง คำกริยาอาจมีรูปแบบที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับภาษา อันมีองค์ประกอบจากกาล การณ์ลักษณะ มาลา วาจก หรือรวมทั้งบุรุษ เพศ และพจน์ของสิ่งที่กล่าวถึงด้วยประเภท ประเภท. คำกริยาอาจแบ่งได้หลายประเภทตามหน้าที่การใช้งานและไวยากรณ์ของภาษา สำหรับภาษาไทยแบ่งคำกริยาออกเป็น- ปฐมกริยา (primary verb) คือกริยารูปปัจจุบัน เช่น get, hold, ring, drink เป็นต้น - ทุติยกริยา (secondary verb) คือกริยารูปอดีต เช่น got, held, rang, drank เป็นต้น - ตติยกริยา (tertiary verb) คือกริยาที่ต่อเนื่องจากอดีต แต่มีผลมาจนถึงปัจจุบัน เช่น getten, holden, rung, drunk เป็นต้น - อกรรมกริยา (intransitive verb) คือคำกริยาที่ไม่จำเป็นต้องมีกรรมมารองรับ เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน วิ่ง หกล้ม ร้องไห้ ประโยค เช่น เขาร้องไห้ เธอวิ่ง - สกรรมกริยา (transitive verb) คือคำกริยาที่บอกใจความยังไม่สมบูรณ์ ต้องมีกรรมมารองรับ เช่น ทำ กิน ซื้อ ขาย ยืม ขอ เช่า คำกริยาบางคำต้องมีทั้งกรรมตรงและกรรมรอง เช่น ให้ แจก ถวาย และคำกริยาหลายคำก็สามารถเป็นได้ทั้งอกรรมกริยาและสกรรมกริยา ประโยค เช่น ฉันกินขนมปัง พ่อซื้อคอมพิวเตอร์ - วิกตรรถกริยา คือคำกริยาที่บอกใจความยังไม่สมบูรณ์ ต้องมีคำอื่นมารองรับแต่ส่วนนั้นไม่ถือว่าเป็นกรรม เช่น เป็น คือ เหมือน คล้าย มี เท่า คำที่ประกอบวิกตรรถกริยาเรียกว่า บทวิกัติการก (ภาษาอังกฤษถือว่าคำกริยาประเภทนี้เป็นชนิดเดียวกับคำกริยานุเคราะห์) - กริยานุเคราะห์ (auxiliary verb) คือคำกริยาที่ช่วยบอกสถานะหรือกาลของกริยาอื่น เช่น คง อาจ จัก กำลัง เคย ต้อง น่า แล้ว - กริยาสภาวมาลา (clausal verb) คือคำกริยาที่ทำหน้าที่เป็นคำนาม ในส่วนของประธาน กรรม หรือส่วนขยายของประโยค ในภาษาอื่นอาจมีคำกริยาประเภทอื่นดังนี้- กริยาประสม (compound verb) - วลีกริยา (phrasal verb) ระวังสับสนกับ กริยาวลี (verb phrase) - กริยายก (raising verb)
| ปฐมกริยาคืออะไร | {
"answer": [
"กริยารูปปัจจุบัน"
],
"answer_begin_position": [
445
],
"answer_end_position": [
461
]
} |
703 | 611,783 | ดวงจันทร์ สุวรรณี ดวงจันทร์ สุวรรณี นักร้องเพลงลูกทุ่งหญิงสำเนียงใต้ เจ้าของผลผลงานเพลง หมาไม่กัด และ โชว์เบอร์ไม่โชว์ใจประวัติ ประวัติ. ดวงจันทร์ สุวรรณี มีชื่อเล่นว่า หญิง เกิดในครอบครัวธรรมดาในพื้นที่อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง มีพี่น้อง 8 คน เป็นคนที่ 2 โดยพ่อเสียตั้งแต่อยู่ชั้น ป.1 มีแม่เป็นหัวหน้าครอบครัวทำอาชีพค้าขาย และทำงานเสริมสวยควบคู่กันไปด้วย หลังจากเรียนจบแค่ชั่น ป.6 ก็ไม่มีโอกาสเรียนต่อเพราะมีพี่น้องหลายคน แม่จึงให้เรียนเสริมสวยหรือเย็บผ้า โดยเข้ามาเรียนที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เริ่มเข้าสู่วงการโดยยุคสมัยที่พุ่มพวง ดวงจันทร์ เสียชีวิต ได้มีการจัดประกวดร้องเพลงของพุ่มพวง ดวงจันทร์ และหญิงได้ส่งเพลงเข้าประกวดและผ่านเข้ารอบ 30 คนสุดท้าย ทางพี่ทีมงานเขาเห็นความอดทนของเราจึงขอให้ อ.นพนันท์ ขวัญประภา นักแต่งเพลงชื่อดังแต่งเพลงให้ 3 เพลง โดยเพลงที่โด่งดัง คือเพลงสงสารชาวเรือ และนำไปเปิดตามสถานีวิทยุต่าง ๆ ซึ่งการตอบรับดีมากเพราะตอนนั้นไม่มีนักร้องลูกทุ่งภาคใต้เลย ทางผู้จัดการได้มีการนำไปฝากร่วมทำงานกับ ยิ่งยง ยอดบัวงาม ประมาณปี 2537 ซึ่งตอนนั้นโด่งดังมากับเพลง "สมศรี 1992" ชื่อเสียงของดวงจันทร์ สุวรรณี เริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นของนักร้อง 2 ปีกับการการร่วมงานกับยิ่งยง ยอดบัวงาม ในการร่วมทัวร์คอนเสิร์ต และมีโอกาสร่วมงานกับเอกชัย ศรีวิชัย ประมาณ 2 ปีเช่นกัน โดยโด่งดังกับการร้องเพลงแก้เอกชัยในชุด หมาไม่กัด จากนั้นได้มีการตั้งเป็นของตัวเองได้ประมาณ 2 ปี ผู้จัดการวงเสียชีวิต ทำให้ขาดเสาหลักเคว้งคว้างอยู่ประมาณ 2 ปี และคิดว่ายากแล้วที่จะมีโอกาสกลับมาทำงานร้องเพลงลูกทุ่งเต็มตัวออีกครั้ง ปี 2546 หญิง ได้มีโอกาสในการร้องเพลงลูกทุ่งเต็มตัวอีกครั้งร่วมกับทางแกรมมี่โกลด์ และโด่งดังมากับเพลงโชว์เบอร์ไม่โชว์ใจ ซึ่งถือว่าเป็นเพลงที่ดังที่สุดในชีวิตการเป็นนักร้อง และได้ทำงานร่วมกับแกรมมี่เป็นระยะเวลา 4 ปี มีผลงานเดี่ยว 3 อัลบั้ม และเพลงรวม 2 อัลบั้ม เมื่อหมดสัญญากับแกรมมี่โกลด์ ก็ขอคำปรึกษากับยิ่งยง ยอดบัวงาม ซึ่งนับกันถือมานานแล้ว และยิ่งยงได้แนะนำให้มาทำงานร่วมกับค่ายอาร์สยาม ซึ่งได้รับการตอบรับทางค่ายเป็นอย่างดี หลังจากนั้นก็หมดสัญญากับค่ายอาร์สยาม ก็รับงานทำวงดนตรีไประยะหนึ่ง ปัจจุบันได้หันหน้าเข้าวงการเพลงอีกครั้งและนั่งแท่นเป็นผู้บริหารค่ายกานต์มณี ลายไท ซึ่งเป็นค่ายเพลงของตนเองอีกด้วยผลงาน ผลงาน. ผลงานเพลงในสมัยที่เดินสายทัวร์คอนเสริตกับยิ่งยง ยอดบัวงาม และเอกชัย ศรีวิชัย- หมาไม่กัด (เป็นเพลงดังที่ร้องแก้กับเพลง หมากัด ของเอกชัย ศรีวิชัยสังกัด มาสเตอร์เทป สังกัด มาสเตอร์เทป. (อัลบั้มไม่ชัดเจน)เนื่องจากข้อมูล ซึ่งมีผลงานเพลงที่โด่งดัง อาทิ เช่น- คำสาปมะสุหรี 1 - คำสาปมะสุหรี 2 - น้ำตาผ่าใจ - อัลบั้มพิเศษ"บ้านพี่บ้านน้อง" คู่กับ "แสงทอง นครศรี"สังกัดแกรมมี่โกลด์อัลบั้มชุดที่ 1 โชว์เบอร์ไม่โชว์ใจ (8 ธันวาคม 2546)สังกัดแกรมมี่โกลด์. อัลบั้มชุดที่ 1 โชว์เบอร์ไม่โชว์ใจ (8 ธันวาคม 2546). - รองูเข้าฝัน - โชว์เบอร์ไม่โชว์ใจ - สาวพัทลุง - อย่าลืมคนไกล - ขอฟ้าลงทัณฑ์ - น้ำตาโนราห์ - ชวนเป็นเพื่อน - มนต์บูดู - เล่าแหละ - ขอบคุณฟ้าอัลบั้มชุดที่ 2 อยากมีใครให้คิดถึง (25 มกราคม 2548)อัลบั้มชุดที่ 2 อยากมีใครให้คิดถึง (25 มกราคม 2548). - อยากมีใครให้คิดถึง - หวานไม่เป็น - แค่อยากให้รู้ว่ารัก - พี่ทะเล - คิดถึงพี่บ่าว - เก็บรอยยิ้มไปฝากแม่ - อายตะเกียบ - ห้องเช่าห้องช้ำ - ขออภัยในความไม่สะดวก - อย่าเสี่ยงดีกว่าอัลบั้มชุดที่ 3 คนดีคนเดิม (1 เมษายน 2549)อัลบั้มชุดที่ 3 คนดีคนเดิม (1 เมษายน 2549). - คิดถึงรู้ไหม - ขาดคู่ดูหนัง - ขอร้องห้องข้าง - คนดีคนเดิม - อย่าลืมสัญญาใจ - รับช้าชะตาขาด - เหตุสุดวิสัย - ฝากคำส่งท้าย - นับหนึ่งจนถึงใจ - ขาดเธอขาดใจอัลบั้มชุดพิเศษ ดอกไม้จากผองศิษย์ด้วยรักแด่ครูสลาอัลบั้มชุดพิเศษ ดอกไม้จากผองศิษย์ด้วยรักแด่ครูสลา. - ขอแค่รู้ข่าว - แค่นี้ก็ดีใจแล้ว - ผิดซองเพราะลองใจ (ดวงจันทร์ สุวรรณี) - เจ็บนี้ไม่มีวันจาง - คึดฮอดบ่จริง - ย่านอ้ายบ่ใจ - สัญญากับใจ - เอาคืนบ่ได้ - คำรักโหลๆ - ใจน้องห้องข้าง - เจ็บที่ต้องจ่าย - อดีตรักริมโขงอัลบั้มชุดพิเศษ 10 ปี แกรมมี่โกลด์ ดนตรีไม่มีพรมแดนอัลบั้มชุดพิเศษ 10 ปี แกรมมี่โกลด์ ดนตรีไม่มีพรมแดน. - เพลง คิดถึงเธอ ดวงจันทร์ สุวรรณีสังกัดอาร์สยามอัลบั้มชุด ฝากใจไว้กับเธอสังกัดอาร์สยาม. อัลบั้มชุด ฝากใจไว้กับเธอ. - ฝากใจไว้กับเธอ - คอยบ่าวริมเล - คืนฟ้าไร้จันทร์ - ชอบขอเบอร์ - โนราห์พบรัก - ขอมนต์เสกใจ - ครั้งหนึ่งที่สมิหลา - คู่แท้มีแค่เงา - แขบๆ หลบมา - ร้อนใจ ////ซิ้งเกิลพิเศษ...- บอกใจไม่ต้องรอ - บอกรักด้วยปาก บอกจากด้วยจอ /// อัลบั้ม ไม่กล้ามีรัก- กลัวตกหวางเวร - ไม่กล้ามีรัก - รอเธอเบอร์เดียว - คนหม้ายไร - เพื่อแม่ยอมแพ้รัก - หกกันไซ - สาวเสื้อแจก - เจ็บที่ใจ ////อัลบั้ม แค่เสียงไม่เพียงพอ- กรุณาเห็นใจคนโสด - แค่เสียงไม่เพียงพอ - สันขวาน - ยินดีมีแฟน - หวงตามหน้าที่ - แฟนชั่วคราว - ขอคุณที่โทรหา - คนดีคนเดียว - พรรค์นี้ต้องทุ่ม - อยากกอดแฟนเก่า ////ซิ้งเกิ้ลพิเศษ 2 เพลง...- โทรมาทำไมเมื่อใจหมดรัก - ไม่ได้เป็นคนที่เธอรัก แต่เป็นคนที่รักเธอ ////อัลบั้มลูกทุ่งประเทศไทย- แต๋วจ๋าสังกัดกานต์มณี ลายไทชุด ก็คนมันสวยอะสังกัดกานต์มณี ลายไท. ชุด ก็คนมันสวยอะ. - ก็คนมันสวยอ่ะ - มนต์รักทะเลใต้ - ยอมเจ็บเพราะหลวง - ถามดวงหมอดูอัลบั้มลูกทุ่งลายไท 15 ปี ดวงจันทร์ สุวรรณี อัลบั้มลูกทุ่งลายไท 15 ปี ดวงจันทร์ สุวรรณี. รวบรวมบทเพลงดังในอดีต ของดวงจันทร์ สุวรรณี และเพลงอันทรงคุณของราชินีลูกทุ่ง "พุ่มพวง ดวงจันทร์" นักร้องบ้านนอก , แก้วรอพี่- ดวงจันทร์เลือกคู่ - นักร้องบ้านนอก - แก้วรอพี่ - ขอความรักคืน - แม่จ๋าลูกอกหัก - ผู้ชายหัวครก - สาวสุราษฏ์รักหนุ่มสุรินทร์ - ยางพลัดใบใจพลัดรัก - เปลร้ายได้สน - ราหูอมจันทร์ ผันตัวมาเป็น ผู้บริหาร ดูแลศิลปินรุ่นใหม่ 9 คน กับการทำงานเบื้องหลังครั้งแรกในชีวิต ก่อนที่จะหยุดการร้องเพลง ในวงการ โดยมีเจตนาว่า อย่างน้อยวันที่เราออกจากวงการ เรายัง เคยได้ปั้นนักร้องน้องใหม่ มีผลงานทิ้งไว้ในวงการ มีซิงเกิ้ลใหม่ กับค่ายกานต์มณี ลายไท- อยู่ทนหรือทนอยู่ - ไม่มีรังให้ใครตาย
| ดวงจันทร์ สุวรรณี มีชื่อเล่นว่าอะไร | {
"answer": [
"หญิง"
],
"answer_begin_position": [
261
],
"answer_end_position": [
265
]
} |
705 | 187,921 | บอน โจวี Bon Jovi () เป็นวงฮาร์ดร็อกจาก นิวเจอร์ซี วงประสบความสำเร็จในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 ผ่านมา 28 ปีพวกเขามียอดขายอัลบั้มมากกว่า 120 ล้านชุดทั่ว่โลก เฉพาะในสหรัฐอเมริกาขายได้ 34 ล้านชุด บอน โจวี รวมตัวกันในปี 1983 นักร้องนำของวง จอน บอน โจวี , นักกีตาร์ ริชี แซมโบรา ,มือคีย์บอร์ด เดวิด ไบรอัน ,มือเบส อเล็ก จอห์น ซัช และมือกลอง ทิโก ตอร์เรส ซึ่ง ดูดู ดูดจอห์น ซัชออกจากวงในปี 1994 นอกเหนือจากนั้นสมาชิกยังเป็นคนเดิม วงประสบความสำเร็จจากอัลบั้ม What the light (1986) และ New Australia (1988) ที่มียอดขายรวมกัน 19 ล้านชุดเฉพาะในสหรัฐอเมริกา และมีเพลงฮิตท็อปเท็น 8 เพลง (รวมถึง 4 เพลงอันดับ 1) หลังจากนั้นจอน บอน โจวีและ ริชี แซมโบรามีผลงานเดี่ยว ต่อมาในปี 1992 พวกเขากลับมารวมตัวกันอีกครั้ง กับอัลบั้มชื่อว่า Keep the Faith ในปี 2006 วงได้รับรางวัลแกรมมีสาขา best Country Collaboration ในเพลง "Who Says You Can't Go Home" ร่วมกับเจนนิเฟอร์ เน็ตเติลส์ จากวงคันทรี ซูการ์แลนด์ และพวกเขาถือเป็นวงร็อกวงแรกที่มีเพลงอันดับ 1 บนชาร์ทฮ็อตคันทรีซ็องส์ จากเพลงเดียวกันนี้เอง วงได้รับการเสนอชื่อรางวัลแกรมมี่อยู่หลายครั้งจากอัลบั้ม Crush, Bounce, และ Lost Highway พวกเขามีผลงานสตูดิโออัลบั้ม 10 ชุด ที่มียอดขายระดับแผ่นเสียงทองคำขาว 9 ชุด นอกจากนั้นยังมีเพลงติดใน 40 อันดับแรกของบิลบอร์ด 19 ซิงเกิล มีเพลงอันดับ 1 อยู่ 4 เพลงคือ "You Give Love a Bad Name", "Livin' on a Prayer", "Bad Medicine", และ "I'll Be There for You"สมาชิกในวงดนตรีผลงานสตูดิโออัลบั้มผลงานสตูดิโออัลบั้ม. - Bon Jovi (1984) - 7800° Fahrenheit (1985) - Slippery When Wet (1986) - New Jersey (1988) - Keep the Faith (1992) - Cross Road (1994) - These Days (1995) - Crush (2000) - One Wild Night Live 1985–2001 (2001) - Bounce (2002) - This Left Feels Right (2003) - 100,000,000 Bon Jovi Fans Can't Be Wrong (2004) - Have a Nice Day (2005) - Lost Highway (2007) - The Circle (2009) - Greatest Hits (2010) - Inside Out (2012) - What About Now (2013)ผลงานทัวร์ผลงานทัวร์. - Bon Jovi Tour (1984) - 7800 Fahrenheit Tour (1985) - Slippery When Wet Tour (1986–87) - New Jersey Syndicate Tour (1988–90) - Keep the Faith Tour (1993) - I'll Sleep When I'm Dead Tour (1993) - Crossroad Promo Tour (1994) - These Days Tour (1995–96) - Crush Tour (2000) - One Wild Night Tour (2001) - Bounce Tour (2002–03) - Have a Nice Day Tour (2005–06) - Lost Highway Tour (2007–08) - The Circle Tour (2010) - Bon Jovi Live (2011) - Because We Can: The Tour (2013) - This House Is Not for Sale Tour (2016-17)
| บอน โจวี รวมตัวกันในปีอะไร | {
"answer": [
"1983"
],
"answer_begin_position": [
296
],
"answer_end_position": [
300
]
} |
706 | 76,464 | นกหัวขวานดำ นกหัวขวานดำ (; ) เป็นนกหัวขวานขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ลำตัวมีความยาว 40-46 เซนติเมตร ความยาวจากปลายปีกข้างหนึ่งจรดปีกอีกข้างหนึ่งเมื่อกางเต็มที่จะยาว 67-73 เซนติเมตร นกหัวขวานดำอาศัยอยู่ในป่าทั่วภูมิภาคพาลีอาร์กติกทางตอนเหนือ เป็นชนิดเดียวในสกุล Dryocopus ที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคนี้ ถิ่นอาศัยมีอาณาเขตครอบคลุมตั้งแต่ทวีปเอเชียทางตอนเหนือและตะวันออกจนถึงยุโรป เป็นนกอยู่ประจำถิ่นที่ไม่อพยพ ขนของนกหัวขวานดำ มีสีดำเกือบทั้งตัว ยกเว้นบริเวณด้านบนส่วนหัวที่เป็นขนสีแดง ในเพศผู้ ขนที่ส่วนหัวบริเวณนี้จะเป็นสีแดงทั้งหมด นกหัวขวานดำจะบินเป็นเส้นตรง ไม่บินลดเลี้ยวเหมือนนกหัวขวานชนิดอื่น สร้างรังโดยเจาะลำต้นต้นไม้ให้เป็นรู เพศเมียจะวางไข่อย่างน้อยครั้งละ 4 ฟองรูปภาพ
| นกหัวขวานดำอาศัยอยู่ในป่าทั่วภูมิภาคไหน | {
"answer": [
"พาลีอาร์กติกทางตอนเหนือ"
],
"answer_begin_position": [
292
],
"answer_end_position": [
315
]
} |
707 | 166,212 | กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ () รหัสประจำยานคือ OV-099 เป็นกระสวยอวกาศลำที่สองที่ใช้ปฏิบัติภารกิจในอวกาศขององค์การนาซ่า สร้างถัดจากกระสวยอวกาศโคลัมเบีย เริ่มปล่อยสู่อวกาศครั้งแรก(ภารกิจที่ STS-6) ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) และปฏิบัติภารกิจมาแล้วถึง 9 ครั้งก่อนที่จะมาประสบอุบัติเหตุกระสวยอวกาศระเบิด(ในภารกิจที่ STS-51-L) ในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) หลังจากที่ปล่อยกระสวยสู่ท้องฟ้าได้ 73 วินาที ทำให้ลูกเรือทั้ง 7 คนในยานเสียชีวิตทั้งหมด หลังจากที่อุบัติเหตุครั้งนี้ ทาง NASA จึงได้สร้างกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ (Space Shuttle Endeavour) ขึ้นมาปฏิบัติภารกิจแทนยานชาเลนเจอร์ ในปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ยานชาเลนเจอร์ได้รับเลือกให้ปฏิบัติภารกิจทั้งหมด 10 ครั้ง มีลูกเรือเดินทางกับยานแล้ว 60 คน รวมเวลาอยู่ในอวกาศเป็นเวลา 62.41 วัน มีระยะการเดินทางรวม 25,803,939 ไมล์ หรือ 41,527,416 กิโลเมตรเครื่องหมายภารกิจการสูญเสียกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ การสูญเสียกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์. ในภารกิจครั้งที่ 10 (เที่ยวบินที่ STS-51-L) ของยานชาเลนเจอร์ ซึ่งเป็นวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2529 หลังจากปล่อยยานขึ้นไปเพียงนาทีเศษ ยานชาเลนเจอร์ได้ประสบอุบัติเหตุจากการระเบิด เนื่องจากยางรูปวงแหวนที่ใช้ปิดกั้นแก๊สระหว่างรอยต่อในจรวดบูสเตอร์(Solid Rocket Booster : SRB)ตัวขวาได้มีการเสียหายมาจากการยิงจรวดมาในภารกิจก่อนหน้านั้นหลายครั้งมาแล้ว และยังมีอีกปัจจัยนึงคือในวันที่ปล่อยกระสวยครั้งนี้ สภาพอากาศที่เย็นจัดได้ก่อให้เกิดน้ำแข็งเกาะตามฐานปล่อยจรวดและยาน รวมทั้งจรวดบูสเตอร์ด้วย ทำให้ยางไม่ยืดหยุ่น เมื่อได้ปล่อยยาน แก็สความร้อนสูงได้รั่วออกมาและรวมตัวกับเปลวไฟที่ไอพ่นของบูสเตอร์ จึงทำให้เกิดไฟลุกไหม้จรวด และเมื่อถังเชื้อเพลิงสีส้ม(Fule Tank : ET)ได้ถูกความร้อนจากจรวดตัวขวา ทำให้เกิดการระเบิดขึ้นเป็นลูกไฟขนาดยักษ์บนฟ้า ยานได้แตกเป็นส่วน ๆ จนตกสู่ทะเล ซึ่งในขณะที่ยานระเบิดนั้น ลูกเรือในยานยังไม่เสียชีวิตจนกระทั่งห้องโดยสารตกสู่ทะเล
| รหัสประจำยานของกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์คืออะไร | {
"answer": [
"OV-099"
],
"answer_begin_position": [
159
],
"answer_end_position": [
165
]
} |
708 | 166,212 | กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ () รหัสประจำยานคือ OV-099 เป็นกระสวยอวกาศลำที่สองที่ใช้ปฏิบัติภารกิจในอวกาศขององค์การนาซ่า สร้างถัดจากกระสวยอวกาศโคลัมเบีย เริ่มปล่อยสู่อวกาศครั้งแรก(ภารกิจที่ STS-6) ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) และปฏิบัติภารกิจมาแล้วถึง 9 ครั้งก่อนที่จะมาประสบอุบัติเหตุกระสวยอวกาศระเบิด(ในภารกิจที่ STS-51-L) ในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) หลังจากที่ปล่อยกระสวยสู่ท้องฟ้าได้ 73 วินาที ทำให้ลูกเรือทั้ง 7 คนในยานเสียชีวิตทั้งหมด หลังจากที่อุบัติเหตุครั้งนี้ ทาง NASA จึงได้สร้างกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ (Space Shuttle Endeavour) ขึ้นมาปฏิบัติภารกิจแทนยานชาเลนเจอร์ ในปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ยานชาเลนเจอร์ได้รับเลือกให้ปฏิบัติภารกิจทั้งหมด 10 ครั้ง มีลูกเรือเดินทางกับยานแล้ว 60 คน รวมเวลาอยู่ในอวกาศเป็นเวลา 62.41 วัน มีระยะการเดินทางรวม 25,803,939 ไมล์ หรือ 41,527,416 กิโลเมตรเครื่องหมายภารกิจการสูญเสียกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ การสูญเสียกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์. ในภารกิจครั้งที่ 10 (เที่ยวบินที่ STS-51-L) ของยานชาเลนเจอร์ ซึ่งเป็นวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2529 หลังจากปล่อยยานขึ้นไปเพียงนาทีเศษ ยานชาเลนเจอร์ได้ประสบอุบัติเหตุจากการระเบิด เนื่องจากยางรูปวงแหวนที่ใช้ปิดกั้นแก๊สระหว่างรอยต่อในจรวดบูสเตอร์(Solid Rocket Booster : SRB)ตัวขวาได้มีการเสียหายมาจากการยิงจรวดมาในภารกิจก่อนหน้านั้นหลายครั้งมาแล้ว และยังมีอีกปัจจัยนึงคือในวันที่ปล่อยกระสวยครั้งนี้ สภาพอากาศที่เย็นจัดได้ก่อให้เกิดน้ำแข็งเกาะตามฐานปล่อยจรวดและยาน รวมทั้งจรวดบูสเตอร์ด้วย ทำให้ยางไม่ยืดหยุ่น เมื่อได้ปล่อยยาน แก็สความร้อนสูงได้รั่วออกมาและรวมตัวกับเปลวไฟที่ไอพ่นของบูสเตอร์ จึงทำให้เกิดไฟลุกไหม้จรวด และเมื่อถังเชื้อเพลิงสีส้ม(Fule Tank : ET)ได้ถูกความร้อนจากจรวดตัวขวา ทำให้เกิดการระเบิดขึ้นเป็นลูกไฟขนาดยักษ์บนฟ้า ยานได้แตกเป็นส่วน ๆ จนตกสู่ทะเล ซึ่งในขณะที่ยานระเบิดนั้น ลูกเรือในยานยังไม่เสียชีวิตจนกระทั่งห้องโดยสารตกสู่ทะเล
| ยานชาเลนเจอร์ได้รับเลือกให้ปฏิบัติภารกิจทั้งหมดกี่ครั้ง | {
"answer": [
"10"
],
"answer_begin_position": [
784
],
"answer_end_position": [
786
]
} |
709 | 11,313 | กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี (Orbiter Vehicle Designation: OV-103) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 3 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-103 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ แอตแลนติส และ เอนเดฟเวอร์) เริ่มบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ดิสคัฟเวอรี ถือเป็นกระสวยอวกาศปฏิบัติการลำที่สาม (ไม่รวมกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ ซึ่งเป็นยานทดสอบ) และเป็นกระสวยอวกาศลำที่มีระยะปฏิบัติการยาวนานที่สุด ในบรรดากระสวยอวกาศทั้งหมด ดิสคัฟเวอรีมีปฏิบัติการหลายชนิด ทั้งงานวิจัย และภารกิจร่วมกับสถานีอวกาศนานาชาติ กระสวยอวกาศลำนี้ได้ชื่อมาจากเรือสำรวจหลายลำในอดีตที่ชื่อ ดิสคัฟเวอรี โดยเรือดิสคัฟเวอรีลำแรก คือ HMS Discovery ของอังกฤษ ซึ่งเป็นเรือสำรวจที่พา เจมส์ คุก เดินทางครั้งสำคัญ นอกจากนี้ยังมีเรือดิสคัฟเวอรีอื่น ๆ อีกมากมาย กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรียังมีชื่อตรงกับยานอวกาศในภาพยนตร์เรื่อง ด้วย ยานดิสคัฟเวอรีเป็นกระสวยอวกาศที่ขึ้นไปปล่อยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) รวมทั้งภารกิจซ่อมแซมกล้องฮับเบิลในครั้งที่สองและสามด้วย นอกจากนี้ยังมีภารกิจปล่อยโพร้บยูลิสซิส (Ulysses) และดาวเทียม TDRS สามดวง ยานดิสคัฟเวอรีได้รับเลือกถึงสองครั้งให้ทำหน้าที่แทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ และกระสวยอวกาศโคลัมเบีย ที่ระเบิดเมื่อ ค.ศ. 1986 และ ค.ศ. 2003 ตามลำดับเที่ยวบิน STS-114 เที่ยวบิน STS-114. เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 เวลา 10.36 EDT กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีได้บินเข้าสู่อวกาศ โดยมี นาวาอากาศเอก ไอลีน คอลลินส์ เป็นผู้บังคับการบิน ถือเป็นการบินครั้งแรก นับแต่กระสวยอวกาศโคลัมเบียระเบิด เมื่อปี ค.ศ. 2003 และกลับจากวงโคจรในวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 2005 โดยลงจอดที่ฐานทัพอากาศเอ็ดเวิดส์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เมื่อเวลา 5.11 น. ตามเวลาท้องถิ่น หลังจากขึ้นไปปฏิบัติภารกิจนานกว่า 14 วัน 11 ชั่วโมงแผนการปลดระวาง แผนการปลดระวาง. จากตารางการขึ้นบินปัจจุบัน กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีมีกำหนดปลดระวางในปี ค.ศ. 2011 และจะเป็นกระสวยอวกาศลำที่สามจากสุดท้ายที่จะทำการขึ้นบิน โดยมีเที่ยวบิน STS-133 เป็นภารกิจสุดท้ายเครื่องหมายภารกิจ
| กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีเป็นกระสวยอวกาศลำที่เท่าไรขององค์การนาซา | {
"answer": [
"3"
],
"answer_begin_position": [
200
],
"answer_end_position": [
201
]
} |
710 | 11,313 | กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี (Orbiter Vehicle Designation: OV-103) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 3 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-103 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ แอตแลนติส และ เอนเดฟเวอร์) เริ่มบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ดิสคัฟเวอรี ถือเป็นกระสวยอวกาศปฏิบัติการลำที่สาม (ไม่รวมกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ ซึ่งเป็นยานทดสอบ) และเป็นกระสวยอวกาศลำที่มีระยะปฏิบัติการยาวนานที่สุด ในบรรดากระสวยอวกาศทั้งหมด ดิสคัฟเวอรีมีปฏิบัติการหลายชนิด ทั้งงานวิจัย และภารกิจร่วมกับสถานีอวกาศนานาชาติ กระสวยอวกาศลำนี้ได้ชื่อมาจากเรือสำรวจหลายลำในอดีตที่ชื่อ ดิสคัฟเวอรี โดยเรือดิสคัฟเวอรีลำแรก คือ HMS Discovery ของอังกฤษ ซึ่งเป็นเรือสำรวจที่พา เจมส์ คุก เดินทางครั้งสำคัญ นอกจากนี้ยังมีเรือดิสคัฟเวอรีอื่น ๆ อีกมากมาย กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรียังมีชื่อตรงกับยานอวกาศในภาพยนตร์เรื่อง ด้วย ยานดิสคัฟเวอรีเป็นกระสวยอวกาศที่ขึ้นไปปล่อยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) รวมทั้งภารกิจซ่อมแซมกล้องฮับเบิลในครั้งที่สองและสามด้วย นอกจากนี้ยังมีภารกิจปล่อยโพร้บยูลิสซิส (Ulysses) และดาวเทียม TDRS สามดวง ยานดิสคัฟเวอรีได้รับเลือกถึงสองครั้งให้ทำหน้าที่แทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ และกระสวยอวกาศโคลัมเบีย ที่ระเบิดเมื่อ ค.ศ. 1986 และ ค.ศ. 2003 ตามลำดับเที่ยวบิน STS-114 เที่ยวบิน STS-114. เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 เวลา 10.36 EDT กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีได้บินเข้าสู่อวกาศ โดยมี นาวาอากาศเอก ไอลีน คอลลินส์ เป็นผู้บังคับการบิน ถือเป็นการบินครั้งแรก นับแต่กระสวยอวกาศโคลัมเบียระเบิด เมื่อปี ค.ศ. 2003 และกลับจากวงโคจรในวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 2005 โดยลงจอดที่ฐานทัพอากาศเอ็ดเวิดส์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เมื่อเวลา 5.11 น. ตามเวลาท้องถิ่น หลังจากขึ้นไปปฏิบัติภารกิจนานกว่า 14 วัน 11 ชั่วโมงแผนการปลดระวาง แผนการปลดระวาง. จากตารางการขึ้นบินปัจจุบัน กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีมีกำหนดปลดระวางในปี ค.ศ. 2011 และจะเป็นกระสวยอวกาศลำที่สามจากสุดท้ายที่จะทำการขึ้นบิน โดยมีเที่ยวบิน STS-133 เป็นภารกิจสุดท้ายเครื่องหมายภารกิจ
| ผู้บังคับการบินกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีให้บินเข้าสู่อวกาศเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 คือใคร | {
"answer": [
"นาวาอากาศเอก ไอลีน คอลลินส์"
],
"answer_begin_position": [
1412
],
"answer_end_position": [
1439
]
} |
711 | 166,225 | กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ () เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 5 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-105 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ดิสคัฟเวอรี และ แอตแลนติส) เอนเดฟเวอร์เป็นกระสวยอวกาศที่นาซาสร้างขึ้นใช้งานเป็นลำสุดท้าย เอนเดฟเวอร์ สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เริ่มบินครั้งแรกในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ในภารกิจที่ ยานเอนเดฟเวอร์ได้รับเลือกให้ปฏิบัติภารกิจสำคัญมากมาย เช่น ปล่อยดาวเทียม เชื่อมต่อกับสถานีอวกาศเมียร์ของรัสเซีย และลำเลียงชิ้นส่วนของสถานีอวกาศนานาชาติ กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ปฏิบัติภารกิจสุดท้ายคือ STS-134 วันที่ 16 พฤษภาคมพ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และกระสวยอวกาศลำนี้ถูกปลดประจำการแล้วสถานะปัจจุบัน สถานะปัจจุบัน. นาซ่าปลดประจำการการบิน การบิน. ยานเอนเดฟเวอร์ได้ปฏิบัติภารกิจมาแล้วรวม 24 ภารกิจ (ครั้งล่าสุด วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553) รวมเวลาอยู่ในอวกาศเป็นเวลา 280 วัน 9 ชั่วโมง 39 นาที 44 วินาที มีระยะการเดินทางรวม 166,003,247 กิโลเมตร หรือ 103,149,636 ไมล์เครื่องหมายภารกิจ
| ยานเอนเดฟเวอร์ได้ปฏิบัติภารกิจมาแล้วรวมกี่ภารกิจ | {
"answer": [
"24"
],
"answer_begin_position": [
907
],
"answer_end_position": [
909
]
} |
712 | 166,422 | กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ (Orbiter Vehicle Designation: OV-101) เป็นกระสวยอวกาศต้นแบบขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-101 เอนเทอร์ไพรซ์ สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบการบินของกระสวยอวกาศ ในโครงการนำขึ้น-ลงจอด (Approach and Landing Test:ALT) จนบินครบห้าครั้ง แต่เดิมนั้นทางนาซาตั้งใจจะปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์ไปใช้ในเที่ยวบินโคจร ซึ่งจะทำให้มันเป็นกระสวยอวกาศลำที่สองที่ขึ้นบินหลังจากกระสวยอวกาศโคลัมเบีย แต่ระหว่างการก่อสร้างยานโคลัมเบีย มีการเปลี่ยนแปลงแบบครั้งสุดท้ายไปซึ่งมีส่วนสำคัญเกี่ยวกับน้ำหนักของลำตัวยานและส่วนของปีก การปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์ให้บินได้จึงหมายถึงการจะต้องรื้อชิ้นส่วนยานโคจรออกและส่งกลับไปให้ผู้รับเหมาหลายรายในส่วนต่างๆ ของประเทศ เมื่องบทำท่าจะบานปลาย จึงมีการตัดสินใจทางเลือกอื่นโดยการสร้างกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ขึ้นครอบตัวโครงยาน (STA-099) ที่แต่เดิมเป็นอุปกรณ์ทดสอบ แล้วค่อยปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์เพื่อใช้งานแทนยานชาเลนเจอร์หลังจากที่มันถูกทำลายไป ทว่าได้มีการสร้างกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ขึ้นมาจากโครงสร้างสำรองแทนที่อีกครั้ง นาซ่าได้ใช้กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์เป็นกระสวยต้นแบบในการสร้างกระสวยอวกาศลำอื่นๆ ได้แก่ กระสวยอวกาศโคลัมเบีย กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี กระสวยอวกาศแอตแลนติส และกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ ปัจจุบันกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ได้ถูกนำไปแสดงที่ Steven F. Udvar-Hazy Center
| ปัจจุบันกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ได้ถูกนำไปแสดงที่ใด | {
"answer": [
"Steven F. Udvar-Hazy Center"
],
"answer_begin_position": [
1347
],
"answer_end_position": [
1374
]
} |
713 | 166,422 | กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ (Orbiter Vehicle Designation: OV-101) เป็นกระสวยอวกาศต้นแบบขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-101 เอนเทอร์ไพรซ์ สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบการบินของกระสวยอวกาศ ในโครงการนำขึ้น-ลงจอด (Approach and Landing Test:ALT) จนบินครบห้าครั้ง แต่เดิมนั้นทางนาซาตั้งใจจะปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์ไปใช้ในเที่ยวบินโคจร ซึ่งจะทำให้มันเป็นกระสวยอวกาศลำที่สองที่ขึ้นบินหลังจากกระสวยอวกาศโคลัมเบีย แต่ระหว่างการก่อสร้างยานโคลัมเบีย มีการเปลี่ยนแปลงแบบครั้งสุดท้ายไปซึ่งมีส่วนสำคัญเกี่ยวกับน้ำหนักของลำตัวยานและส่วนของปีก การปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์ให้บินได้จึงหมายถึงการจะต้องรื้อชิ้นส่วนยานโคจรออกและส่งกลับไปให้ผู้รับเหมาหลายรายในส่วนต่างๆ ของประเทศ เมื่องบทำท่าจะบานปลาย จึงมีการตัดสินใจทางเลือกอื่นโดยการสร้างกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ขึ้นครอบตัวโครงยาน (STA-099) ที่แต่เดิมเป็นอุปกรณ์ทดสอบ แล้วค่อยปรับปรุงยานเอ็นเทอร์ไพรซ์เพื่อใช้งานแทนยานชาเลนเจอร์หลังจากที่มันถูกทำลายไป ทว่าได้มีการสร้างกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ขึ้นมาจากโครงสร้างสำรองแทนที่อีกครั้ง นาซ่าได้ใช้กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์เป็นกระสวยต้นแบบในการสร้างกระสวยอวกาศลำอื่นๆ ได้แก่ กระสวยอวกาศโคลัมเบีย กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี กระสวยอวกาศแอตแลนติส และกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ ปัจจุบันกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ได้ถูกนำไปแสดงที่ Steven F. Udvar-Hazy Center
| กระสวยต้นแบบในการสร้างกระสวยอวกาศโคลัมเบียคือกระสวยอวกาศอะไร | {
"answer": [
"กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์"
],
"answer_begin_position": [
1108
],
"answer_end_position": [
1132
]
} |
714 | 99,585 | กระสวยอวกาศแอตแลนติส กระสวยอวกาศ แอตแลนติส () เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 4 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-104 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ดิสคัฟเวอรี และ เอนเดฟเวอร์) กระสวยอวกาศแอตแลนติส ถูกตั้งชื่อตามเรือสำรวจหลักของสถาบันสมุทรศาสตร์ เริ่มทำการบินครั้งแรกในเที่ยวบิน STS-51-J วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2528 ในฐานะยานขนส่งอวกาศลำที่ 4 ของสหรัฐอเมริกา มูลค่า 3 พันล้านดอลลาร์ ในปี พ.ศ. 2551 (2008) นาซาได้รักษาและยืดอายุการใช้งานของกระสวยอวกาศแอตแลนติส ให้สามารถปฏิบัติภารกิจจนถึงปี พ.ศ. 2553 (2010) เพื่อให้จบโครงการกระสวยอวกาศ โดยเดิมนาซาตั้งใจจะปลดเกษียณกระสวยอวกาศแอตแลนติสในปี พ.ศ. 2551 (2008)ประวัติ ประวัติ. เที่ยวบินแรกของแอตแลนติสในเที่ยวบินที่ STS-51-J เมื่อเดืนตุลาคม พ.ศ. 2528 (1985) ซึ่งการบินครั้งนี้เป็นหนึ่งในห้าภารกิจที่ลูกเรือในยานทำการปฏิบัติเกี่ยวกับด้านการทหาร แอตแลนติสได้บินอีกหนึ่งเที่ยวบินในเที่ยวบิน STS-61-B ก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์โศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ในปี พ.ศ. 2529 (1986) ต่อมาในปี พ.ศ. 2538 (1995) ที่เที่ยวบินที่ STS-71 แอตแลนติสได้ทำการบินเทียบท่ากับสถานีอวกาศเมียร์ (สถานีอวกาศของประเทศรัฐเซีย) ในโครงการกระสวยอวกาศ-สถานีอวกาศเมียร์Construction milestonesรายการเที่ยวบินปัญหาแกลเลอรี่Tribute and mission insigniasภารกิจภารกิจ. - วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ยานขนส่งอวกาศแอตแลนติส ปฏิบัติภารกิจเป็นเวลา 11 วัน นักบินอวกาศ 7 คน บนยานแอตแลนติสทำหน้าที่ติดตั้งโครงยึดน้ำหนัก 16 ตัน บนสถานีอวกาศนานาชาติ หรือไอเอสเอส และนำแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์และแบตเตอรี่ไปยังสถานีอวกาศ
| กระสวยอวกาศแอตแลนติสปฏิบัติภารกิจจนถึงปี พ.ศ. อะไร | {
"answer": [
"พ.ศ. 2553"
],
"answer_begin_position": [
583
],
"answer_end_position": [
592
]
} |
715 | 166,281 | กระสวยอวกาศโคลัมเบีย กระสวยอวกาศโคลัมเบีย (Orbiter Vehicle Designation: OV-102) เป็นกระสวยอวกาศลำแรกที่ใช้งานจริงของนาซา ซึ่งภารกิจแรกในเที่ยวบิน STS-1 เมื่อวันที่ 12 เมษายน ถึง 14 เมษายน ในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ.1981) จนมาถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 กระสวยอวกาศโคลัมเบียได้เกิดอุบัติเหตุระเบิดขึ้นเหนือรัฐเทกซัสขณะกลับสู่โลก หลังภารกิจครั้งที่ 28 เสร็จสิ้น ทำให้ลูกเรือในยานทั้ง 7 คนเสียชีวิตประวัติ ประวัติ. การสร้างยานโคลัมเบียเริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ที่ ในเมือง รัฐแคลิฟอร์เนีย โคลัมเบียเป็นชื่อตั้งตามหลังจากเรือใบ ของฐานเรือใบเมือง โดยกัปตันเรือ ชาวอเมริกันได้ทำการเดินทางสำรวจแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือและเป็นชาวอเมริกันคนแรกที่ใช้เรือใบสำรวจของโลก และชื่อจากโมดูลสั่งการของยานอพอลโล 11 หลังสร้างยานเสร็จยานได้ถูกส่งมาที่ศูนย์อวกาศจอร์น เอฟ เคนเนดี ในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2522 สู่การเตรียมยิงปล่อยครั้งแรก ในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2524 ในระหว่างเตรียมทดสอบ ground ได้มีสองคนงานเกิดการสลบจากการขาดอากาศขณะที่กำลังทำการล้างไนโตรเจน จนทำให้ทั้งสองเสียชีวิต ในปี พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) ยานโคลัมเบียได้เข้าร่วมปฏิบัติภารกิจลำกับสอง ( ในตอนนั้นมีนักท่องอวกาศหกคน หนึ่งในนั้นเป็นนักท่องอวกาศต่างชาติบนกระสวยอวกาศคือ และเมื่อมีการนำดิสคัฟเวอรีและ แอตแลนติสเข้ามาร่วม โคลัมเบียจึงไม่ได้ถูกนำมาใช้เป็นเวลาสามปี โคลัมเบียได้กลับสู่อวกาศในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2529 ซึ่งถูกปล่อยในเที่ยวบิน ในภารกิจนี้มี Dr. กับ สมาชิกของสภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา ลองไปอวกาศด้วย ต่อมาของภารกิจกระสวยถูกให้ชาเลนเจอร์ปฏิบัติ โดยกำหนดวันปล่อยในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2529 (ค.ศ.1986) 10 วันหลังเที่ยวบิน ถึงสู่โลก ภารกิจสิ้นสุดเมื่อเกิดการระเบิดหลังจากปล่อย จนเป็นปัญหากับตารางเวลากระสวยของนาซายุ่งเหยิง และโคลัมเบีย จึงไม่ได้บินอีกครั้งตั้งแต่ 2532 (ในเที่ยวบิน ) ซิ่งหลังจากมันกลับเข้าที่โรงเก็บกระสวยอวกาศ เที่ยวบิน STS-93 ถูกปล่อยในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) โดยมีผู้สั่งการคือ Lt. Col.เที่ยวบิน เที่ยวบิน. กระสวยอวกาศโคลัมเบียใช้ปฏิบัติภารกิจมาแล้ว 28 ครั้ง รวมเวลาในอวกาศ 300.74 วัน โคจรรอบโลก 4,808 รอบ เป็นระยะเดินทางรวม 201,497,772 กิโลเมตร โคลัมเบียไม่ได้ถูกใช้งานเทียบท่าสถานีอวกาศใน โครงการกระสวยอวกาศ–เมียร์ (Shuttle-Mir) และโครงการสถานีอวกาศนานาชาติ เช่นเดียวกับ ชาเลนเจอร์ ซึ่งประสบอุบัติเหตุก่อน และกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ ซึ่งยังไม่เคยถูกใช้งานในอวกาศ ขณะที่กระสวยดิสคัฟเวอรี แอตแลนติส และ เอนเดฟเวอร์ เคยใช้ติดต่อกับสถานีอวกาศทั้งหมดเครื่องหมายภารกิจเที่ยวบินสุดท้าย
| กระสวยอวกาศโคลัมเบียใช้ปฏิบัติภารกิจมาแล้วกี่ครั้ง | {
"answer": [
"28"
],
"answer_begin_position": [
1940
],
"answer_end_position": [
1942
]
} |
716 | 166,281 | กระสวยอวกาศโคลัมเบีย กระสวยอวกาศโคลัมเบีย (Orbiter Vehicle Designation: OV-102) เป็นกระสวยอวกาศลำแรกที่ใช้งานจริงของนาซา ซึ่งภารกิจแรกในเที่ยวบิน STS-1 เมื่อวันที่ 12 เมษายน ถึง 14 เมษายน ในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ.1981) จนมาถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 กระสวยอวกาศโคลัมเบียได้เกิดอุบัติเหตุระเบิดขึ้นเหนือรัฐเทกซัสขณะกลับสู่โลก หลังภารกิจครั้งที่ 28 เสร็จสิ้น ทำให้ลูกเรือในยานทั้ง 7 คนเสียชีวิตประวัติ ประวัติ. การสร้างยานโคลัมเบียเริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. 2518 ที่ ในเมือง รัฐแคลิฟอร์เนีย โคลัมเบียเป็นชื่อตั้งตามหลังจากเรือใบ ของฐานเรือใบเมือง โดยกัปตันเรือ ชาวอเมริกันได้ทำการเดินทางสำรวจแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือและเป็นชาวอเมริกันคนแรกที่ใช้เรือใบสำรวจของโลก และชื่อจากโมดูลสั่งการของยานอพอลโล 11 หลังสร้างยานเสร็จยานได้ถูกส่งมาที่ศูนย์อวกาศจอร์น เอฟ เคนเนดี ในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2522 สู่การเตรียมยิงปล่อยครั้งแรก ในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2524 ในระหว่างเตรียมทดสอบ ground ได้มีสองคนงานเกิดการสลบจากการขาดอากาศขณะที่กำลังทำการล้างไนโตรเจน จนทำให้ทั้งสองเสียชีวิต ในปี พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) ยานโคลัมเบียได้เข้าร่วมปฏิบัติภารกิจลำกับสอง ( ในตอนนั้นมีนักท่องอวกาศหกคน หนึ่งในนั้นเป็นนักท่องอวกาศต่างชาติบนกระสวยอวกาศคือ และเมื่อมีการนำดิสคัฟเวอรีและ แอตแลนติสเข้ามาร่วม โคลัมเบียจึงไม่ได้ถูกนำมาใช้เป็นเวลาสามปี โคลัมเบียได้กลับสู่อวกาศในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2529 ซึ่งถูกปล่อยในเที่ยวบิน ในภารกิจนี้มี Dr. กับ สมาชิกของสภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา ลองไปอวกาศด้วย ต่อมาของภารกิจกระสวยถูกให้ชาเลนเจอร์ปฏิบัติ โดยกำหนดวันปล่อยในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2529 (ค.ศ.1986) 10 วันหลังเที่ยวบิน ถึงสู่โลก ภารกิจสิ้นสุดเมื่อเกิดการระเบิดหลังจากปล่อย จนเป็นปัญหากับตารางเวลากระสวยของนาซายุ่งเหยิง และโคลัมเบีย จึงไม่ได้บินอีกครั้งตั้งแต่ 2532 (ในเที่ยวบิน ) ซิ่งหลังจากมันกลับเข้าที่โรงเก็บกระสวยอวกาศ เที่ยวบิน STS-93 ถูกปล่อยในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) โดยมีผู้สั่งการคือ Lt. Col.เที่ยวบิน เที่ยวบิน. กระสวยอวกาศโคลัมเบียใช้ปฏิบัติภารกิจมาแล้ว 28 ครั้ง รวมเวลาในอวกาศ 300.74 วัน โคจรรอบโลก 4,808 รอบ เป็นระยะเดินทางรวม 201,497,772 กิโลเมตร โคลัมเบียไม่ได้ถูกใช้งานเทียบท่าสถานีอวกาศใน โครงการกระสวยอวกาศ–เมียร์ (Shuttle-Mir) และโครงการสถานีอวกาศนานาชาติ เช่นเดียวกับ ชาเลนเจอร์ ซึ่งประสบอุบัติเหตุก่อน และกระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ ซึ่งยังไม่เคยถูกใช้งานในอวกาศ ขณะที่กระสวยดิสคัฟเวอรี แอตแลนติส และ เอนเดฟเวอร์ เคยใช้ติดต่อกับสถานีอวกาศทั้งหมดเครื่องหมายภารกิจเที่ยวบินสุดท้าย
| กระสวยอวกาศใดเป็นกระสวยอวกาศลำแรกที่นาซ่าได้ใช้งานจริง | {
"answer": [
"กระสวยอวกาศโคลัมเบีย"
],
"answer_begin_position": [
116
],
"answer_end_position": [
136
]
} |
717 | 2,051 | ประเทศกรีซ กรีซ (; , Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás ) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (; , Ellinikí Dhimokratía ) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู่ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. ประเทศกรีซประกอบด้วยแผ่นดินใหญ่ในทางทิศใต้ไปจนถึงแหลมบอลข่านและเกาะมากมายกว่า 3,000 เกาะ รวมทั้งเกาะครีต (Vrete) เกาะโรดส์ (Rhodes) เกาะไคออส (Chios) เกาะเลสบอส 7 (Euboea) และหมู่เกาะโดเดคะนีส (Dodecanese) และพวกไซแคลดิกทางทะเลอีเจียน ที่เหมือนกับชาวกรีกบนหมู่เกาะไอโอเนียน กรีซมีแนวชายฝั่งทะเลยาว 15,000 กิโลเมตร และเส้นแบ่งเขตแดน ยาว 1,160 กิโลเมตร ราว ๆ 80% ของประเทศกรีซประกอบด้วยภูเขา และเนินเขา ด้วยเหตุนี้จึงทำให้กรีซเป็นประเทศหนึ่งในยุโรปที่มีภูเขามากที่สุด ทางตะวันตกของกรีซจะเป็นทะเลสาบและพื้นที่ชื้นแฉะพินดัส เป็นภูเขาทางตอนกลางซึ่งมีความสูงถึง 2,636 เมตร เมื่อพิจารณาดูแล้ว ภูเขาพินดัสอาจจะมีการขยายออกมาจากเทือกเขาดิแนริดได้ แนวเทือกเขาที่ต่อเนื่องกัน กลายเป็นแหลมเพโลพอนนีส เกาะคีทีรา (Kythera) และเกาะแอนติคีทีรา (Antikythera) พบที่จุดปลายของเกาะกรีก ทางตอนกลางและทางตะวันตกของกรีซ เป็นที่สูงชัน มียอดเขาสูงที่แยกออก เป็นหุบเขาลึกมากมาย และมีลำธารระหว่างหุบเขาต่าง ๆ เช่น ช่องแคบ Meteora และ Vikos มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากแกรนด์แคนยอนในสหรัฐอเมริกา ยอดเขาโอลิมปัสเป็นจุดที่สูงที่สุดของกรีซ คือ 2,919 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ทางตอนเหนือก็ยังมีเทือกเขาสูง ๆ อีก อย่าง Rhodope ที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมาซิโดเนียและเทรซ พื้นที่นี้ถูกปกคลุมไปด้วย ป่าทึบเก่าแก่ขนาดใหญ่ เหมือนกับ Dadia ที่เป็นที่รู้จักกัน ทางตะวันออกของกรีซเต็มไปด้วยทุ่งกว้างมากมาย คือตรงตอนกลางของมาซิโดเนียและเทรซ โวลอสและลาริสซา เป็น 2 เมืองใหญ่ ของทางตะวันออกของกรีซ สภาพอากาศของกรีซ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เทือกเขาแอลป์ และ Temperate แบบแรก ภูมิประเทศแบบฝนตกในฤดูหนาว แห้งแล้งในฤดูร้อน อุณหภูมิไม่ค่อยสูง อย่างไรก็ตามก็มีหิมะตกบางในกรุงเอเธนส์ หมู่เกาะซิคละดิส หรือเกาะครีตมีสภาพอากาศหนาว เทือกเขาแอลป์ก่อตัวมาจากทางตะวันตกของกรีซ สภาพอากาศแบบสุดท้ายก่อตัวจากทางตอนกลางและทางมาซิโดเนียตะวันออก เทรซ Xanthi และ Evros เหนือ มีอากาศหนาว ชื้น ในฤดูหนาว และ แห้งแล้งในฤดูร้อน เป็นสิ่งที่มีค่ามากสำหรับกรุงเอเธนส์ที่ ตั้งอยู่ระหว่างสภาพอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน กับเทือกเขาแอลป์ ดังนั้นชานเมืองทางตอนใต้จะมีสภาพอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ในขณะที่ทางตอนเหนือมีสภาพอากาศแบบ เทือกเขาแอลป์ 50% ของประเทศกรีซ ถูกปกคลุมไปด้วยป่า ที่มีพืชนานาชนิด จากเทือกเขาแอลป์ ป่าสนของทางทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลรอบ ๆ ประเทศกรีซ มีแมวน้ำ เต่าทะเล และสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลที่หายากอาศัยอยู่ ในขณะที่ป่าของกรีซ เป็นที่บ้านหลังสุดท้ายของยุโรปตะวันตก ที่มีหมีสีน้ำตาล แมวป่า กวางโร แกะป่า สุนัขจิ้งจอก และหมูป่าประวัติศาสตร์ยุคโบราณ ประวัติศาสตร์. ยุคโบราณ. ในยุคสำริด 3,000-2,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช เป็นยุคที่อารยธรรมชนเผ่าไซแคลดิกและไมซีแนเอียนกำลังมีอิทธิพลรุ่งเรืองอยู่ในกรีซ แต่พอถึงศตวรรษที่ 11 ก่อนคริสตกาล อิทธิพลของวัฒนธรรมไซแคลดิกและไมซีแนเอียนก็ถึงกาลเสื่อมสลายลง เพราะถูกรุกรานโดยนักรบเผ่าดอเรียนที่รุกมาจากทางเหนือ อารยธรรมต่าง ๆ ในกรีซจึงเริ่มเข้าสู่ยุคมืด ช่วงเวลา 800 ปีก่อนคริสตกาล เป็นช่วงเวลาที่อารยธรรมกรีซเฟื่องฟูขึ้นมาอีกครั้ง วัฒนธรรมและกิจการทหารของกรีซเจริญรุ่งเรืองมากที่สุด เมืองเอเธนส์ลัสปาต้าเป็นศูนย์กลางของอำนาจมหาอาณาจักรกรีซประกอบด้วยอิตาลีทางตอนใต้อันเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของอาณาจักรอันยิ่งใหญ่ กรีซย่างก้าวเข้าสู่ยุคคลาสสิกหรือยุคทอง ในยุคนี้เองนักปราชญ์ชื่อ เพเรอคลิส ผู้ทำให้วิหารพาร์เธนอนเป็นที่รู้จักของชาวโลก โซโฟคลิสได้เขียนมหากาพย์อีดิปุสขึ้น และโสกราตีสหรือซาเครอทิส ได้เริ่มการสอนลูกศิษย์ชาวเอเธนส์ให้รู้จักวิชาตรรกวิทยาและหลักการของประชาธิปไตย ต่อมาไม่นานนักยุคทองของกรีซก็ถึงจุดเสื่อม แล้วกรีซก็เข้าสู่ยุคสงครามเปลโอปอนนีเซียน ซึ่งกองทหารอันเกรียงไกรของเปอร์เซียได้ยกกำลังเข้าบดขยี้ชาวเอเธนส์เสียจนย่อยยับ ในขณะที่กองทัพเปอร์เซียกำลังรุกรานกรีซอย่างย่ามใจทางตอนเหนือ พระเจ้าฟิลิปแห่งอาณาจักรมาซิโดเนียกำลังไล่ตีเมืองเล็กเมืองน้อยรุกคืบเข้ามาใกล้กรีซทุกที แต่ทว่าความทะเยอทะยานที่จะเป็นผู้พิชิตในภูมิภาคนี้ของพระเจ้าฟิลิปก็ถูกบดบังรัศมีโดยโอรสของพระองค์เองคือ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ผู้สามารถยาตราทัพไปถึงเอเชียไมเนอร์และอียิปต์ ซึ่งที่อียิปต์นี้เองพระองค์ได้รับการยกย่องให้เป็นฟาโรห์ ผู้สร้างเมืองอเล็กซานเดรีย พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชสามารถยกทัพไปถึงเปอร์เซียและดินแดนส่วนที่เป็นอินเดียและอัฟกานิสถานในปัจจุบัน ในรัชสมัยของอาณาจักรมาซิโดเนียเรียกกันว่า ยุคเฮลเลนิสติก (Hellenistic Period) เพราะยุคนี้มีการผสมผสานปรัชญาและวัฒนธรรมที่รุ่งเรืองของชนชั้นปกครองจนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบใหม่ที่ศิวิไลซ์ยิ่งขึ้น หลังจากพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชสิ้นพระชนม์ เมื่อพระชนมายุ 33 ปีแล้ว มีกษัตริย์ปกครองกรีซสืบต่อมาอีก 3 รัชกาล ครั้นถึงปีที่ 205 ก่อนคริสต์ศักราช อิทธิพลของโรมันแผ่ขยายเข้ารุกรานกรีซ และเมื่อถึงปี 146 ก่อนคริสตกาล กรีซกับมาซิโดเนียตกอยู่ใต้การปกครองของโรมัน หลังจากที่มีการแบ่งอาณาจักรโรมันเป็นอาณาจักรตะวันออกและตะวันตก กรีซได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรไบแซนไทน์ และเมื่อเกิดสงครามครูเสดขึ้น อิทธิพลของอาณาจักรไบแซนไทน์ก็เสื่อมถอยเพราะถูกรุกรานโดยชาวเวนิส กาตาลา เจนัว แฟรงก์ และนอร์มันยุคกลาง ยุคกลาง. ในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) กรุงคอนสแตนติโนเปิล เมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์ถูกพวกเติร์กยึดครอง และเมื่อถึงปี พ.ศ. 2043 (ค.ศ. 1500) ดินแดนของกรีซทั้งหมดก็ตกอยู่ใต้อำนาจของเติร์ก ดินแดนที่เป็นกรีซในปัจจุบันแต่ก่อนเป็นศูนย์กลางการค้าทางเรือของยุโรปตอนกลางและเป็นที่ชุนนุมนักปราชญ์กับศิลปินของโลก เพราะที่นี่เป็นหมู่บ้านกรีกที่มีประเพณีและวัฒนธรรมของกรีกออร์ทอดอกซ์ ในการทำสงครามเพื่อกู้เอกราชจากเติร์ก กรีซได้รับการสนับสนุนอย่างท่วมท้นจากนักคิด นักเขียน และนักปรัชญา เช่น ไบรอน แชลเลย์ และเกอเธ อย่างไรก็ตามการต่อสู้ที่ขาดเอกภาพของกรีซ ทำให้ฝรั่งเศส รัสเซีย และอังกฤษ ตัดสินใจเข้ามาแทรกแซง หลังจากกรีซได้รับเอกราชแล้ว กลุ่มอำนาจในยุโรปมีความเห็นว่ากรีซควรมีการปกครองระบบกษัตริย์จึงได้จัดการให้กษัตริย์ออตโตแห่งบาวาเรีย เป็นกษัตริย์ปกครองกรีซในปี พ.ศ. 2376 (ค.ศ. 1833) หลังจากนั้นกรีซก็มีกษัตริย์ขึ้นครองราชย์อีกหลายพระองค์ด้วยกัน จนกระทั่งถึงรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 1 จึงได้รับพระราชทานกฎหมายรัฐธรรมนูญให้กรีซในปี พ.ศ. 2407 (ค.ศ. 1864) ทำให้กรีซมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญยุคใหม่ ยุคใหม่. ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 กองทัพกรีซอยู่ข้างฝ่ายสัมพันธมิตร และเข้ายึดครองเมืองเทรซ เมื่อสงครามโลกยุติ กรีซได้ส่งกองกำลังเข้าไปช่วยปลดปล่อยเมืองสเมอร์นาของตุรกี (ปัจจุบันคืออิซมีร์) ให้ได้รับอิสรภาพ เพราะเมืองนี้มีประชาชนชาวกรีกอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก กองกำลังกรีกถูกต่อต้านอย่างแข็งแกร่งจากกองทัพของอตาเติร์ก ซึ่งได้เข่นฆ่าชาวกรีกในเมืองนั้นเสียชีวิตลงเป็นจำนวนมาก ผลของสงครามนี้ทำให้มีการตกลงแลกเปลี่ยนพลเมืองของ 2 ประเทศกันในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) ประชากรกรีกเพิ่มจำนวนประชากรมากขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะมีผู้อพยพชาวคริสเตียนมาอยู่ในกรีซมากถึง 1,300,000 คน ทำให้กรีซมีปัญหาด้านเศรษฐกิจตามมา คนเหล่านี้กระจายกันไปอยู่นอกเมือง ภายหลังมีการก่อตั้งสหภาพแรงงานต่าง ๆ ขึ้นในกลุ่มพวกอพยพที่อาศัยอยู่ตามหัวเมืองรอบนอก และในปี พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936) พรรคคอมมิวนิสต์ในกรีซก็เติบโตและมีอิทธิพลมากขึ้นเรื่อย ๆ จากการสนับสนุนของประชาชนทั่วประเทศ ปี พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936) นายพลเมเตอซัส ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี เขาเป็นผู้ปกครองประเทศที่นิยมการปกครองแบบเผด็จการ ถึงแม้ว่าจะได้เห็นความเป็นไปในชะตากรรมของพวกนาซีเยอรมนี แต่ตัวเขาเองกลับกระทำการต่าง ๆ ที่ทำให้เขาได้รับฉายาว่าเป็นภาพจำลองของอาณาจักรไรน์ในกรีซ นายพลเมเตอซัสทำการต่อต้านไม่ยอมให้เยอรมนีกับอิตาลีเดินทัพผ่านกรีซ ถึงแม้ว่ากลุ่มสัมพันธมิตรจะเข้าช่วยกรีซแต่กรีซก็ต้องตกเป็นของเยอรมนีในปี พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) เป็นผลให้เกิดภาวะข้าวยากหมากแพงขึ้น มีการเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาล เกิดความวุ่นวายขึ้นในประเทศที่มีทั้งฝ่ายสนับสนุนพรรคคอมมิวนิสต์และฝ่ายสนับสนุนสถาบันกษัตริย์ เป็นชนวนให้เกิดสงครามกลางเมืองนองเลือดขึ้นในกรีซ และยุติลงใน พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) โดยฝ่ายนิยมกษัตริย์อ้างชัยชนะ ในช่วงเวลานั้นอเมริกากำลังเคร่งครัดในลัทธิทรูแมน รัฐบาลอเมริกาในขณะนั้น มีนโยบายให้เงินก้อนใหญ่สนับสนุนรัฐบาลที่ต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ แต่ความกลัวลัทธิคอมมิวนิสต์จะครองเมืองทำให้คณะทหารของกรีซทำการปฏิวัติยึดอำนาจจากรัฐบาลเมื่อปี พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) กล่าวกันว่าการปฏิวัติในกรีซเป็นผลมาจากการแทรกแซงทางการเมืองของหน่วยงาน CIA ของสหรัฐอเมริกาที่เข้ามาปฏิบัติการในทวีปยุโรปกลุ่มทหารที่ครองอำนาจในกรัซทำตนมีอำนาจเหนือราษฎรและทำการกดขี่ข่มเหงประชาชน ยิ่งกว่านั้นคณะนายพลของทหารกรีซได้ทำการวางแผนลอบสังหารผู้นำของไซปรัสในขณะนั้น เป็นผลให้ตุรกีฉวยโอกาสเข้ารุกเข้ายึดครองตอนเหนือของไซปรัส ทำใหเหตุการณ์นี้เป็นข้อบาดหมางระหว่างกรีซกับตุรกีมาจนถึงทุกวันนี้ ในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) กรีซเข้าเป็นสมาชิกสมาคมสหภาพยุโรป พรรคสังคมนิยม PASOK นำโดยนายแอนเดรียส์ ปาปันเดรโอ ชนะการเลือกตั้งได้เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลให้สัญญาว่าจะจัดการให้อเมริกาย้ายฐานทัพอากาศออกไปจากกรีซและกรีซจะถอนตัวจากการเป็นสมาชิกของนาโตแต่รัฐบาลทำไม่สำเร็จ สตรีชาวกรีซเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงประเพณีเรื่องสินสอดและเรียกร้องให้กฎหมายสนับสนุนการทำแท้งเสรีความไม่สงบในประเทศทำให้ปาปันเดรโอกับรัฐบาลของเขาเสียอำนาจการปกครองประเทศให้กับรัฐบาลผสมระหว่างพรรคอนุรักษนิยมกับพรรคคอมมิวนิสต์ในปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) การเลือกตั้งในกรีซเมื่อ พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) พรรคอนุรักษนิยมได้ที่นั่งมากที่สุดและได้พยายามที่จะแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศแต่ไม่สำเร็จ การเลือกตั้งใหม่ใน พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) กรีซได้ปาปันเดรโอผู้นำเฒ่าของพรรคเสรีนิยมกลับมาครองอำนาจกลับมาเป็นรัฐบาลอีกครั้ง ท่านผู้นำถึงแก่อนิจกรรมใน พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) หลังจากที่ท่านลาออกจากตำแหน่งทางการเมืองกรีซได้ผู้นำคนใหม่ชื่อ คอสทาส สมิทิส ต่อมากรีซกับตุรกีขัดแย้งกันอย่างหนักจนใกล้จะระเบิดสงครามเมื่อผู้สื่อข่าวของตุรกีได้นำธงชาติกรีซมาย่ำยีเล่น สมิทิสได้รับการเลือกตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีกรีซอีกครั้ง รัฐบาลใหม่ให้สัญญากับประชาชนว่าจะเร่งการนำประเทศเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มอียู นายกรัฐมนตรีเป็นเพื่อนร่วมชั้นกับรัฐมนตรีโทนี แบลร์ของอังกฤษตั้งแต่สมิทิสมีอำนาจในการบริหารประเทศเขามีนโยบายเห็นด้วยกับกลุ่มฝ่ายค้านพรรคประชาธิปไตยใหม่แทบทุกเรื่องการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. กรีซมีการปกครองแบบสาธารณรัฐรัฐสภา หลังจากที่ประชาชนลงมติให้เลิกล้มการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญไปเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1974 วันประกาศอิสรภาพของกรีซคือวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1821 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันของกรีซประกาศใช้เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1975 แก้ไขเพิ่มเติม 2 ครั้ง คือ เดือนมีนาคม ค.ศ. 1986 และเดือนเมษายน ค.ศ. 2001 ระบบกฎหมายของกรีซมีพื้นฐานมาจากหลักกฎหมายของโรมัน กรีซมีประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ ประธานาธิบดีได้มาจากการเลือกตั้งของรัฐสภา อยู่ตำแหน่งคราวละ 5 ปี ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยประธานาธิบดีที่ได้มาจากการเสนอชื่อของนายกรัฐมนตรี สมาชิกนิติบัญญัติได้มาจากการเลือกตั้งทั่วไป มีจำนวน 300 ที่นั่ง อยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปีการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. กรีซแบ่งการปกครองประเทศออกเป็น 13 ภูมิภาค (regions) มี 9 ภูมิภาคบนพื้นแผ่นดินใหญ่ และ 4 ภูมิภาคบนหมู่เกาะ* ภูมิภาคต่าง ๆ จะแบ่งเป็นจังหวัด รวม 54 จังหวัด (prefectures - nomos) นอกจากนี้ทางแถบมาซิโดเนีย ยังมี เขตปกครองตนเอง (autonomous region) ของสงฆ์หนึ่งแห่ง คือ เมานต์อะทอส (Mount Athos)นโยบายต่างประเทศความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรปความสัมพันธ์กับสหรัฐอเมริกาความสัมพันธ์กับประเทศไทยนโยบายต่างประเทศ. ความสัมพันธ์กับประเทศไทย. - การทูต ไทยและกรีซได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1958 ในช่วงแรกที่สถาปนาความสัมพันธ์ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโรม ดูแลประเทศกรีซในฐานะประเทศในเขตอาณา ต่อมา ไทยได้เปิดสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเอเธนส์ อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1985 มีหน้าที่ดูแลสาธารณรัฐมอลตาในฐานะประเทศในเขตอาณา และติดตามสถานการณ์ในเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (อดีตสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย) รวมทั้งดูแลความสัมพันธ์ไทย-มาซิโดเนีย อย่างไม่เป็นทางการ นอกจากนี้ มีสำนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ประจำกรุงเอเธนส์ด้วย ในขณะที่ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ และสำนักงานแรงงาน ณ กรุงเอเธนส์ได้ปิดลงก่อนหน้านี้ ส่วนกรีซได้เปิดสถานเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทยเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.1989โดยมีเขตอาณาครอบคลุมประเทศใกล้เคียง อาทิ พม่า ลาว และกัมพูชา และเปิดสำนักงานพาณิชย์เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 ปัจจุบัน นายพฤทธิพงศ์ กุลทนันทน์ เป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำกรีซ ส่วนเอกอัครราชทูตกรีซประจำประเทศไทยได้แก่นายนิโคลาออส วามวูนาคิส (H.E. Mr. Nikolaos Vamvounakis)- การค้าและเศรษฐกิจ การค้ารวมระหว่างไทย-กรีซมีมูลค่าเฉลี่ย 272 ล้านเหรียญสหรัฐ (ตัวเลขฝ่ายไทยโดยเป็นค่าเฉลี่ยในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา) ซึ่งสูงสุดเมื่อเทียบกับประเทศอาเซียนอื่น โดยไทยส่งออก 247 ล้านเหรียญสหรัฐ นำเข้า 25 ล้านเหรียญสหรัฐ และได้เปรียบดุลการค้า 222 ล้านเหรียญสหรัฐ สินค้าสำคัญที่ไทยส่งออก ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เป็นต้น ในขณะที่สินค้าสำคัญที่ไทยนำเข้าประกอบด้วยผัก ผลไม้ และของปรุงแต่งที่ทำจากผลไม้ และยา รักษาโรค เป็นต้น สำหรับการลงทุนระหว่างกัน ยังไม่ปรากฏข้อมูลทางการเกี่ยวกับเรื่องนี้ในปัจจุบัน ในภาพรวม การนำเข้า-ส่งออกสินค้าระหว่างไทยกับกรีซดำเนินไปด้วยดี โดยมักผ่านทางผู้ประกอบการรายย่อย ซึ่งบางครั้งพบอุปสรรคในการตรวจพบสารเคมีในผลิตภัณฑ์อาหารส่งออก และมีปัญหาข้อพิพาทระหว่างกัน เช่น ไม่ชำระเงิน จัดส่งสินค้าไม่ครบ/ล่าช้า/ไม่ถูกต้อง เป็นต้น ความสัมพันธ์ด้านการค้าและการลงทุนระหว่างไทยและกรีซสามารถขยายตัวได้อีกมาก หากนักธุรกิจของทั้งสองฝ่ายจะเพิ่มความสนใจตลาด และศึกษาโอกาส ลู่ทาง และศักยภาพของกันและกันมากกว่าที่ผ่านมา โดยกลุ่มสินค้าที่ไทยมีศักยภาพแข่งขันในระดับโลก ยังคงมีแนวโน้มที่ดีในตลาดกรีซ อาทิ 1) รถบรรทุกเล็ก 2) รถจักรยานยนต์/อุปกรณ์ 3) เครื่องปรับอากาศ/เครื่องทำความเย็น เนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่มีแนวโน้มร้อนขึ้นในกรีซ 4) เสื้อผ้า/เครื่องนุ่งห่ม โดยเฉพาะที่ออกแบบสวยงาม/คุณภาพดี เพื่อสร้างความแตกต่างจากเสื้อผ้านำเข้าราคาถูก 5) เครื่องประดับ อัญมณี 6) สินค้าอาหาร/อาหารกระป๋อง (ปลาทูน่ากระป๋อง สับปะรดกระป๋อง ฯลฯ) และ 7) กลุ่มสินค้าที่เน้นการออกแบบในระดับราคาต่างๆ(เฟอร์นิเจอร์บ้าน/สำนักงาน อุปกรณ์/ของประดับบ้าน ฯลฯ) เป็นต้น นอกจากนี้ การลงทุน และประกอบธุรกิจร่วมระหว่างไทย-กรีซ ก็เป็นเรื่องที่น่าสนใจ ควรศึกษาความเป็นไปได้ เนื่องจากกรีซมีนักธุรกิจร่ำรวยจำนวนมาก ซึ่งนิยมนำเงินไปลงทุนในต่างประเทศ กอปรกับได้ชื่อว่า มีชั้นเชิงทางธุรกิจสูง และมีทักษะเรื่องการตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งตลาดประเทศเพื่อนบ้านของกรีซ ดังนั้น หากนักธุรกิจไทยสามารถหาหุ้นส่วนทางธุรกิจที่เหมาะสมได้ ก็จะช่วยกระจายสินค้าไทยไปสู่ตลาดบอลข่าน ซึ่งไทยยังไม่คุ้นเคยได้เป็นอย่างดี- การท่องเที่ยว ชาวกรีกนิยมเดินทางไปท่องเที่ยวประเทศไทยมากขึ้นตามลำดับ โดยล่าสุดมีจำนวนประมาณ 18,000 คน/ปี เนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวไทยมีความหลากหลายและสวยงาม ราคาไม่สูง คนไทยเป็นมิตร ประทับใจใน การให้บริการ และการบินไทยมีเที่ยวบินตรงระหว่างกรุงเทพฯ และเอเธนส์ สัปดาห์ละ 3 เที่ยวบิน ในขณะที่นักท่องเที่ยวไทยเดินทางไปเยือนกรีซไม่มากนัก เฉลี่ยประมาณ 1,500-2,000 คน/ปี- การเยือน- ฝ่ายไทย - ฝ่ายกรีซกองทัพกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจเศรษฐกิจ. - ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) 172.5 พันล้าน USD (2546) 201.1 พันล้าน USD (2545) - GDP Per Capita 16,223 USD (2546) 19,000 USD (2545) - อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 4.3 (2546) ร้อยละ 3.5 (2545) - อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 3.4 (2546) ร้อยละ 3.6 (2545) - อัตราการว่างงาน ร้อยละ 9.4 (2546) ร้อยละ 10.3 (2545) - ปริมาณการส่งออก 7.8 พันล้าน USD (2546) 12.6 พันล้าน USD (2545) - ปริมาณการนำเข้า 35.2 พันล้าน USD (2546) 31.4 พันล้าน USD (2545) - สินค้าส่งออกสำคัญ อาหารและเครื่องดื่ม สิ่งทอ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม อุปกรณ์ไฟฟ้าและโทรคมนาคม - สินค้าเข้าสำคัญ เครื่องจักรอุตสาหกรรม อุปกรณ์ยานพาหนะ พลังงาน - ตลาดส่งออกสำคัญ อียู (44%) สหรัฐอเมริกา และบัลแกเรีย (5.7%) ไซปรัส (4.8%) FYROM (3.7%) - ตลาดนำเข้าสำคัญ อียู (50.8%) รัสเซีย (5.3%) ซาอุดิอาระเบีย (3.5%) สหรัฐอเมริกา (3.3%) อิหร่าน (3.2%)ประชากรศาสตร์เมืองใหญ่เชื้อชาติ ประชากรศาสตร์. เชื้อชาติ. นิกายกรีกออร์ทอดอกซ์ (Geek Orthodox)ภาษาศาสนา ศาสนา. ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายกรีกออร์ทอดอกซ์ (98%)กีฬาวัฒนธรรมนักปรัชญา วัฒนธรรม. นักปรัชญา. เสาหลักของปรัชญาตะวันตก นักปรัชญากรีซที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่วโลกในฐานะ เสาหลักของปรัชญาตะวันตก มีอยู่3ท่านคือ โสกราตีส เพลโต และอริสโตเติล- โสกราตีส เกิดที่กรุงเอเธนส์ เมื่อ 470 ปีก่อนคริสตกาล เคยได้ เข้าร่วมในการทำสงครามเปลโอปอนนีเซียน หลังจากนั้นเขาอุทิศเป็นผู้สอนวิชาตรรกวิทยา “Know Thyself” ตามสถานที่สาธารณะต่าง ๆ วิธีการสอนของท่านคือการตั้งคำถามและตอบ เมื่ออายุ 70 ปี โสกราตีสต้องโทษตามกฎหมายกรีซให้ดื่มยาพิษ- เพลโต เกิดที่กรุมเอเธนส์เมื่อ 428 ปี ก่อนคริสตกาล ท่านเป็นลูกศิษย์ของโสกราตีสที่เคารพและเทิดทูนโสกราตีสมาก เพลโตได้ตั้งวิทยาลัยสอนวิชาวิทยาศาสตร์และปรัชญาขึ้นเป็นแห่งแรกในกรุงเอเธนส์เมื่อ 387 ปีก่อนคริสต์ศักราช ผลงานเขียนของเพลโตเป็นคำสอนรูปของบทสนทนาในหนังสือชื่อ The Republic ของเพลโต ท่านแยกพลเมืองออกเป็น 3 กลุ่มคือ ประชาชน ทหาร และผู้ปกครองประเทศ เพลโตเป็นผู้ให้หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับอธิปไตยไว้อย่างชัดเจนว่า หญิงและ ชาย มีฐานะเท่าเทียมกันและจะต้องได้รับการศึกษาเหมือนกัน รัฐจะต้องจัดการแต่งงานให้ประชาชน เด็กแรกเกิดจะถูกแยกจากพ่อ แม่เพื่อประชาชนจะได้ไม่มีความผูกพันเป็นส่วนตัวเพื่อให้ประชาชนมีความรู้สึกในความเป็นเจ้าของรัฐแต่เพียงอย่างเดียว- อริสโตเติล เกิดที่เมืองสตากิรา ภูมิภาคมาซีโดเนีย เมื่อ 384 ปีก่อนคริสตกาล ท่านเดินทางไปเอเธนส์เพื่อศึกษาวิชาปรัชญาที่สำนักของเพลโตเมื่อ 367 ปีก่อนคริสตกาลและพำนักอยู่ที่นั่นเป็นเวลา 20 ปี จนกระทั่งเพลโตถึงแก่กรรม จึงเดินทางไปเผยแพร่คำสอนตามหลักปรัชญาของเพลโตในที่ต่าง ๆ เป็นเวลา 10ปี แล้วจึงตั้งสำนักศึกษาของท่านเองชื่อว่า The Lyceum นาน 12 ปี อริสโตเติลเป็นนักคิดคนแรกที่ค้นพบวิชา ตรรกวิทยา โดยอาศัยข้อเท็จจริง 2 ข้อ สนับสนุนกันและกัน เช้น ความดีทุกอย่างควรสรรเสริญ และความกรุณาก็เป็นความดีอันหนึ่ง ฉะนั้นความกรุณาจึงควรได้รับการสรรเสริญด้วย เป็นต้น วรรณคดีนักกวี นักกวี. กวีสมัยโบราณที่ยิ่งใหญ่ของกรีซคือ โฮเมอร์กับ ฮีเสียดทั้ง 2 ท่านได้เขียนมหากาพย์ที่สำคัญ หลายเรื่อง และมหากาพย์เรื่องกรุงทรอยอยู่ด้วย นักเขียนนักค้นคว้าชื่อ เฮ็นริช ชีลมานน์ ได้ค้นคว้าเรื่องเมืองทรอย จนค้นพบว่ามีอยู่จริง ที่เมือง Hissarlik ทางตอนเหนือของตุรกีในอดีตกาล เมื่อพบเมืองทรอยแล้ว ชีลมานน์ขุดค้นพบประวัติศาสตร์ในยุคบรอนซ์ตามที่อ้างในมหากาพย์ของโฮเมอร์ต่อไป การขุดหาสมบัติในวรรณคดีของเขานำไปสู่การค้นพบ 3 นครสำคัญ ที่ได้ชื่อว่า กนกนคร ตามประวัติศาสตร์ในยุคสมัยของโฮเมอร์นั่นคือ Mycenae, Tiryns และ Orchomenos ก่อนที่นักเขียนนักค้นคว้าคนสำคัญของโลกจะตายไป เขาได้เผยให้เห็นเค้าโครงรูปร่างของอาณาจักรมาซิเนียนให้ประจักษ์แก่ตาชาวโลกนักค้นคว้า นักค้นคว้า. นักค้นคว้าชื่อ อาร์เธอร์ อีแวนส์ค้นพบแหล่งอารยธรรมมิโนอัน และร่องรอยของอารยธรรมที่เคยรุ่งเรืองในอดีตของอาณาจักรไมนอส ซึ่งเป็นการยืนยันว่า โฮเมอร์ มหากวีเอกของโลกชาวกรีก ได้บันทึกเรื่องราวของยุคสมัยไว้อย่างถูกต้องตามความเป็นจริง มิได้เขียนขึ้นจากความคิดเพ้อฝันแต่อย่างใดสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม. กรีซมีชื่อเสียงทางเรื่องศิลปะเป็นต้นแบบของงานสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะเด่นและสง่างามของเสาหินแบบวิหารพาร์เธนอน ที่ตกแต่งตรงส่วนบนของหัวเสาด้วยศิลปะแบบกรีกมี 3 แบบ คือ ดอริก, ไอโอนิก และคอรินเธียน จะเห็นเสาหินแบบกรีกเป็นส่วนตกแต่งด้านหน้าของอาคารสำคัญ ๆ และสิ่งก่อสร้างที่เป็นงานสถาปัตยกรรมเลื่องชื่อของโลกตามเมืองหลวงของประเทศต่าง ๆ ในยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย สถานที่ทำงานสำคัญ ๆ ของประเทศที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ ล้วนนำสถาปัตยกรรมศิลป์ของกรีซไปประยุคผสมผสาน ในการก่อสร้างเป็นการยอมรับในอารยธรรมที่รุ่งเรืองของกรีซโบราณและเป็นการถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมที่เคยเฟื่องฟูในอดีตของกรีซไปทุกมุมโลกนอกจาก งานสถาปัตยกรรมที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของกรีซที่เผยแพร่ไปทั่วโลกแล้ว งานจิตรกรรมและประติมากรรมของกรีซยังเป็นมรดกล้ำค่าที่บรรดาพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ต่าง ๆ พยายามเสาะหามาเป็นสมบัติเก็บสะสมไว้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ถึงแม้งานศิลปะชั้นเยี่ยมของกรีซจะกลายเป็นสมบัติของพิพิธภัณฑ์ชั้นนำของประเทศอื่นแต่กรีซก็ยังมีงานศิลปะโบราณอยู่ในประเทศอีกมากอาหาร อาหาร. มะกอกและเฟต้าชีสดนตรี และ นาฎศิลป์การละครยุคกรีก (250 ปีก่อน พ.ศ. – พ.ศ. 250) ดนตรี และ นาฎศิลป์. การละครยุคกรีก (250 ปีก่อน พ.ศ. – พ.ศ. 250). ละครกรีกสันนิษฐานว่า ถือกำเนิดขึ้นประมาณ 800 – 700 ปีก่อนคริสตกาล โดยเริ่มจากการประกวดการร้องรำทำเพลงเป็นหมู่ (Choral dance) ซึ่งเรียกว่า ดิธีแรมบ์ (dithyramb) ในเทศกาลที่จัดขึ้นเพื่อบวงสรวงเทพเจ้าไดโอนีซุส (Dionysus) เทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่นและความอุดมสมบูรณ์ จากการร้องรำทำเพลงเป็นหมู่โดยกลุ่มคนที่เรียกว่า คอรัส (Chorus) ในการแสดง ดิธีแรมบ์ ก็เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การแสดงในรูปแบบของละคร กล่าวคือมีนักแสดงเดี่ยวๆ แยกออกมาต่างหาก และทำการสนทนาโต้ตอบกับกลุ่มคอรัส ฉะนั้น แทนที่จะเป็นเพียงการร้องเพลงเล่าเรื่องจากพวกคอรัสตรงๆ ก็เปลี่ยนเป็นการสนทนาระหว่างตัวละครกับกลุ่มคอรัส ในปี 534 ก่อนคริสตกาล เริ่มมีการประกวดการแต่งบทและการจัดแสดงละครแทรเจดี นักการละครชื่อ เธสพิส (Thespis) เป็นผู้ชนะการประกวดครั้งแรกนี้ ละครของเธสพิสใช้นักแสดงเพียงคนเดียว เล่นทุกบทที่มีอยู่ในละครเรื่องนั้น โดยใช้การเปลี่ยนหน้ากาก เป็นการเปลี่ยนบทที่แสดง และมีคอรัสเป็นตัวเชื่อมโยงเรื่องราวเข้าด้วยกัน 500 ปีก่อนคริสตกาล ถือว่าเป็นยุคทองของการละครกรีก มีการประกวดเขียนบทละครและจัดการแสดงละครในด้านต่างๆ ทำให้การละครรุ่งเรืองมาก บทละครส่วนใหญ่ของกรีกที่เหลือมาถึงปัจจุบัน ก็เป็นบทละครที่เขียนขึ้นในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาลนี่เอง ประเภทของละครกรีก ละครกรีก ที่หลงเหลือมาถึงยุคปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ1. ละครแทรเจดี (Tragedy) ละครแทรเจดีของกรีกแสดงให้เห็นชีวิตตัวละครตัวเอก ที่มีความน่ายกย่องสรรเสริญ แต่ต้องดิ้นรนต่อสู้กับอำนาจของชะตากรรมซึ่งเทพเจ้าเป็นผู้ลิขิต แม้ว่าในที่สุดจะต้องพ่ายแพ้และประสบหายนะ แต่เป็นความพ่ายแพ้ที่ดิ้นรนต่อสู้ถึงที่สุดแล้ว เรื่องราวของละครกรีกยุคแรกๆ เป็นการสรรเสริญและเล่าเรื่องราวเทพเจ้า โดยมักนำโครงเรื่องมาจากมหากาพย์อีเลียด (Iliad) และ โอดิสซี (Odyssey)1. ละครคอมเมดี (Comedy) ละครคอมเมดีเป็นละครที่ให้ความรู้สึกตลกขบขัน เพราะความบกพร่องของมนุษย์ เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสมัยนั้น ซึ่งเกี่ยวกับการเมือง สงครามและสันติภาพ ทัศนะเกี่ยวกับศิลปะในแง่ต่างๆ การโจมตีหรือเสียดสีตัวบุคคล ฯลฯ คอมเมดีเป็นเรื่องที่แต่งขึ้นใหม่ มากกว่านำมาจากตำนานเช่นแทรเจดีสื่อสารมวลชนวันหยุด
| สถานเอกอัครราชทูตไทยในประเทศกรีซอยู่ที่เมืองใด | {
"answer": [
"กรุงเอเธนส์"
],
"answer_begin_position": [
11412
],
"answer_end_position": [
11423
]
} |
2,089 | 2,051 | ประเทศกรีซ กรีซ (; , Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás ) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (; , Ellinikí Dhimokratía ) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู่ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. ประเทศกรีซประกอบด้วยแผ่นดินใหญ่ในทางทิศใต้ไปจนถึงแหลมบอลข่านและเกาะมากมายกว่า 3,000 เกาะ รวมทั้งเกาะครีต (Vrete) เกาะโรดส์ (Rhodes) เกาะไคออส (Chios) เกาะเลสบอส 7 (Euboea) และหมู่เกาะโดเดคะนีส (Dodecanese) และพวกไซแคลดิกทางทะเลอีเจียน ที่เหมือนกับชาวกรีกบนหมู่เกาะไอโอเนียน กรีซมีแนวชายฝั่งทะเลยาว 15,000 กิโลเมตร และเส้นแบ่งเขตแดน ยาว 1,160 กิโลเมตร ราว ๆ 80% ของประเทศกรีซประกอบด้วยภูเขา และเนินเขา ด้วยเหตุนี้จึงทำให้กรีซเป็นประเทศหนึ่งในยุโรปที่มีภูเขามากที่สุด ทางตะวันตกของกรีซจะเป็นทะเลสาบและพื้นที่ชื้นแฉะพินดัส เป็นภูเขาทางตอนกลางซึ่งมีความสูงถึง 2,636 เมตร เมื่อพิจารณาดูแล้ว ภูเขาพินดัสอาจจะมีการขยายออกมาจากเทือกเขาดิแนริดได้ แนวเทือกเขาที่ต่อเนื่องกัน กลายเป็นแหลมเพโลพอนนีส เกาะคีทีรา (Kythera) และเกาะแอนติคีทีรา (Antikythera) พบที่จุดปลายของเกาะกรีก ทางตอนกลางและทางตะวันตกของกรีซ เป็นที่สูงชัน มียอดเขาสูงที่แยกออก เป็นหุบเขาลึกมากมาย และมีลำธารระหว่างหุบเขาต่าง ๆ เช่น ช่องแคบ Meteora และ Vikos มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากแกรนด์แคนยอนในสหรัฐอเมริกา ยอดเขาโอลิมปัสเป็นจุดที่สูงที่สุดของกรีซ คือ 2,919 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ทางตอนเหนือก็ยังมีเทือกเขาสูง ๆ อีก อย่าง Rhodope ที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมาซิโดเนียและเทรซ พื้นที่นี้ถูกปกคลุมไปด้วย ป่าทึบเก่าแก่ขนาดใหญ่ เหมือนกับ Dadia ที่เป็นที่รู้จักกัน ทางตะวันออกของกรีซเต็มไปด้วยทุ่งกว้างมากมาย คือตรงตอนกลางของมาซิโดเนียและเทรซ โวลอสและลาริสซา เป็น 2 เมืองใหญ่ ของทางตะวันออกของกรีซ สภาพอากาศของกรีซ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เทือกเขาแอลป์ และ Temperate แบบแรก ภูมิประเทศแบบฝนตกในฤดูหนาว แห้งแล้งในฤดูร้อน อุณหภูมิไม่ค่อยสูง อย่างไรก็ตามก็มีหิมะตกบางในกรุงเอเธนส์ หมู่เกาะซิคละดิส หรือเกาะครีตมีสภาพอากาศหนาว เทือกเขาแอลป์ก่อตัวมาจากทางตะวันตกของกรีซ สภาพอากาศแบบสุดท้ายก่อตัวจากทางตอนกลางและทางมาซิโดเนียตะวันออก เทรซ Xanthi และ Evros เหนือ มีอากาศหนาว ชื้น ในฤดูหนาว และ แห้งแล้งในฤดูร้อน เป็นสิ่งที่มีค่ามากสำหรับกรุงเอเธนส์ที่ ตั้งอยู่ระหว่างสภาพอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน กับเทือกเขาแอลป์ ดังนั้นชานเมืองทางตอนใต้จะมีสภาพอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ในขณะที่ทางตอนเหนือมีสภาพอากาศแบบ เทือกเขาแอลป์ 50% ของประเทศกรีซ ถูกปกคลุมไปด้วยป่า ที่มีพืชนานาชนิด จากเทือกเขาแอลป์ ป่าสนของทางทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลรอบ ๆ ประเทศกรีซ มีแมวน้ำ เต่าทะเล และสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลที่หายากอาศัยอยู่ ในขณะที่ป่าของกรีซ เป็นที่บ้านหลังสุดท้ายของยุโรปตะวันตก ที่มีหมีสีน้ำตาล แมวป่า กวางโร แกะป่า สุนัขจิ้งจอก และหมูป่าประวัติศาสตร์ยุคโบราณ ประวัติศาสตร์. ยุคโบราณ. ในยุคสำริด 3,000-2,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช เป็นยุคที่อารยธรรมชนเผ่าไซแคลดิกและไมซีแนเอียนกำลังมีอิทธิพลรุ่งเรืองอยู่ในกรีซ แต่พอถึงศตวรรษที่ 11 ก่อนคริสตกาล อิทธิพลของวัฒนธรรมไซแคลดิกและไมซีแนเอียนก็ถึงกาลเสื่อมสลายลง เพราะถูกรุกรานโดยนักรบเผ่าดอเรียนที่รุกมาจากทางเหนือ อารยธรรมต่าง ๆ ในกรีซจึงเริ่มเข้าสู่ยุคมืด ช่วงเวลา 800 ปีก่อนคริสตกาล เป็นช่วงเวลาที่อารยธรรมกรีซเฟื่องฟูขึ้นมาอีกครั้ง วัฒนธรรมและกิจการทหารของกรีซเจริญรุ่งเรืองมากที่สุด เมืองเอเธนส์ลัสปาต้าเป็นศูนย์กลางของอำนาจมหาอาณาจักรกรีซประกอบด้วยอิตาลีทางตอนใต้อันเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของอาณาจักรอันยิ่งใหญ่ กรีซย่างก้าวเข้าสู่ยุคคลาสสิกหรือยุคทอง ในยุคนี้เองนักปราชญ์ชื่อ เพเรอคลิส ผู้ทำให้วิหารพาร์เธนอนเป็นที่รู้จักของชาวโลก โซโฟคลิสได้เขียนมหากาพย์อีดิปุสขึ้น และโสกราตีสหรือซาเครอทิส ได้เริ่มการสอนลูกศิษย์ชาวเอเธนส์ให้รู้จักวิชาตรรกวิทยาและหลักการของประชาธิปไตย ต่อมาไม่นานนักยุคทองของกรีซก็ถึงจุดเสื่อม แล้วกรีซก็เข้าสู่ยุคสงครามเปลโอปอนนีเซียน ซึ่งกองทหารอันเกรียงไกรของเปอร์เซียได้ยกกำลังเข้าบดขยี้ชาวเอเธนส์เสียจนย่อยยับ ในขณะที่กองทัพเปอร์เซียกำลังรุกรานกรีซอย่างย่ามใจทางตอนเหนือ พระเจ้าฟิลิปแห่งอาณาจักรมาซิโดเนียกำลังไล่ตีเมืองเล็กเมืองน้อยรุกคืบเข้ามาใกล้กรีซทุกที แต่ทว่าความทะเยอทะยานที่จะเป็นผู้พิชิตในภูมิภาคนี้ของพระเจ้าฟิลิปก็ถูกบดบังรัศมีโดยโอรสของพระองค์เองคือ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ผู้สามารถยาตราทัพไปถึงเอเชียไมเนอร์และอียิปต์ ซึ่งที่อียิปต์นี้เองพระองค์ได้รับการยกย่องให้เป็นฟาโรห์ ผู้สร้างเมืองอเล็กซานเดรีย พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชสามารถยกทัพไปถึงเปอร์เซียและดินแดนส่วนที่เป็นอินเดียและอัฟกานิสถานในปัจจุบัน ในรัชสมัยของอาณาจักรมาซิโดเนียเรียกกันว่า ยุคเฮลเลนิสติก (Hellenistic Period) เพราะยุคนี้มีการผสมผสานปรัชญาและวัฒนธรรมที่รุ่งเรืองของชนชั้นปกครองจนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบใหม่ที่ศิวิไลซ์ยิ่งขึ้น หลังจากพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชสิ้นพระชนม์ เมื่อพระชนมายุ 33 ปีแล้ว มีกษัตริย์ปกครองกรีซสืบต่อมาอีก 3 รัชกาล ครั้นถึงปีที่ 205 ก่อนคริสต์ศักราช อิทธิพลของโรมันแผ่ขยายเข้ารุกรานกรีซ และเมื่อถึงปี 146 ก่อนคริสตกาล กรีซกับมาซิโดเนียตกอยู่ใต้การปกครองของโรมัน หลังจากที่มีการแบ่งอาณาจักรโรมันเป็นอาณาจักรตะวันออกและตะวันตก กรีซได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรไบแซนไทน์ และเมื่อเกิดสงครามครูเสดขึ้น อิทธิพลของอาณาจักรไบแซนไทน์ก็เสื่อมถอยเพราะถูกรุกรานโดยชาวเวนิส กาตาลา เจนัว แฟรงก์ และนอร์มันยุคกลาง ยุคกลาง. ในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) กรุงคอนสแตนติโนเปิล เมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์ถูกพวกเติร์กยึดครอง และเมื่อถึงปี พ.ศ. 2043 (ค.ศ. 1500) ดินแดนของกรีซทั้งหมดก็ตกอยู่ใต้อำนาจของเติร์ก ดินแดนที่เป็นกรีซในปัจจุบันแต่ก่อนเป็นศูนย์กลางการค้าทางเรือของยุโรปตอนกลางและเป็นที่ชุนนุมนักปราชญ์กับศิลปินของโลก เพราะที่นี่เป็นหมู่บ้านกรีกที่มีประเพณีและวัฒนธรรมของกรีกออร์ทอดอกซ์ ในการทำสงครามเพื่อกู้เอกราชจากเติร์ก กรีซได้รับการสนับสนุนอย่างท่วมท้นจากนักคิด นักเขียน และนักปรัชญา เช่น ไบรอน แชลเลย์ และเกอเธ อย่างไรก็ตามการต่อสู้ที่ขาดเอกภาพของกรีซ ทำให้ฝรั่งเศส รัสเซีย และอังกฤษ ตัดสินใจเข้ามาแทรกแซง หลังจากกรีซได้รับเอกราชแล้ว กลุ่มอำนาจในยุโรปมีความเห็นว่ากรีซควรมีการปกครองระบบกษัตริย์จึงได้จัดการให้กษัตริย์ออตโตแห่งบาวาเรีย เป็นกษัตริย์ปกครองกรีซในปี พ.ศ. 2376 (ค.ศ. 1833) หลังจากนั้นกรีซก็มีกษัตริย์ขึ้นครองราชย์อีกหลายพระองค์ด้วยกัน จนกระทั่งถึงรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 1 จึงได้รับพระราชทานกฎหมายรัฐธรรมนูญให้กรีซในปี พ.ศ. 2407 (ค.ศ. 1864) ทำให้กรีซมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญยุคใหม่ ยุคใหม่. ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 กองทัพกรีซอยู่ข้างฝ่ายสัมพันธมิตร และเข้ายึดครองเมืองเทรซ เมื่อสงครามโลกยุติ กรีซได้ส่งกองกำลังเข้าไปช่วยปลดปล่อยเมืองสเมอร์นาของตุรกี (ปัจจุบันคืออิซมีร์) ให้ได้รับอิสรภาพ เพราะเมืองนี้มีประชาชนชาวกรีกอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก กองกำลังกรีกถูกต่อต้านอย่างแข็งแกร่งจากกองทัพของอตาเติร์ก ซึ่งได้เข่นฆ่าชาวกรีกในเมืองนั้นเสียชีวิตลงเป็นจำนวนมาก ผลของสงครามนี้ทำให้มีการตกลงแลกเปลี่ยนพลเมืองของ 2 ประเทศกันในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) ประชากรกรีกเพิ่มจำนวนประชากรมากขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะมีผู้อพยพชาวคริสเตียนมาอยู่ในกรีซมากถึง 1,300,000 คน ทำให้กรีซมีปัญหาด้านเศรษฐกิจตามมา คนเหล่านี้กระจายกันไปอยู่นอกเมือง ภายหลังมีการก่อตั้งสหภาพแรงงานต่าง ๆ ขึ้นในกลุ่มพวกอพยพที่อาศัยอยู่ตามหัวเมืองรอบนอก และในปี พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936) พรรคคอมมิวนิสต์ในกรีซก็เติบโตและมีอิทธิพลมากขึ้นเรื่อย ๆ จากการสนับสนุนของประชาชนทั่วประเทศ ปี พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936) นายพลเมเตอซัส ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี เขาเป็นผู้ปกครองประเทศที่นิยมการปกครองแบบเผด็จการ ถึงแม้ว่าจะได้เห็นความเป็นไปในชะตากรรมของพวกนาซีเยอรมนี แต่ตัวเขาเองกลับกระทำการต่าง ๆ ที่ทำให้เขาได้รับฉายาว่าเป็นภาพจำลองของอาณาจักรไรน์ในกรีซ นายพลเมเตอซัสทำการต่อต้านไม่ยอมให้เยอรมนีกับอิตาลีเดินทัพผ่านกรีซ ถึงแม้ว่ากลุ่มสัมพันธมิตรจะเข้าช่วยกรีซแต่กรีซก็ต้องตกเป็นของเยอรมนีในปี พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) เป็นผลให้เกิดภาวะข้าวยากหมากแพงขึ้น มีการเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาล เกิดความวุ่นวายขึ้นในประเทศที่มีทั้งฝ่ายสนับสนุนพรรคคอมมิวนิสต์และฝ่ายสนับสนุนสถาบันกษัตริย์ เป็นชนวนให้เกิดสงครามกลางเมืองนองเลือดขึ้นในกรีซ และยุติลงใน พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) โดยฝ่ายนิยมกษัตริย์อ้างชัยชนะ ในช่วงเวลานั้นอเมริกากำลังเคร่งครัดในลัทธิทรูแมน รัฐบาลอเมริกาในขณะนั้น มีนโยบายให้เงินก้อนใหญ่สนับสนุนรัฐบาลที่ต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ แต่ความกลัวลัทธิคอมมิวนิสต์จะครองเมืองทำให้คณะทหารของกรีซทำการปฏิวัติยึดอำนาจจากรัฐบาลเมื่อปี พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) กล่าวกันว่าการปฏิวัติในกรีซเป็นผลมาจากการแทรกแซงทางการเมืองของหน่วยงาน CIA ของสหรัฐอเมริกาที่เข้ามาปฏิบัติการในทวีปยุโรปกลุ่มทหารที่ครองอำนาจในกรัซทำตนมีอำนาจเหนือราษฎรและทำการกดขี่ข่มเหงประชาชน ยิ่งกว่านั้นคณะนายพลของทหารกรีซได้ทำการวางแผนลอบสังหารผู้นำของไซปรัสในขณะนั้น เป็นผลให้ตุรกีฉวยโอกาสเข้ารุกเข้ายึดครองตอนเหนือของไซปรัส ทำใหเหตุการณ์นี้เป็นข้อบาดหมางระหว่างกรีซกับตุรกีมาจนถึงทุกวันนี้ ในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) กรีซเข้าเป็นสมาชิกสมาคมสหภาพยุโรป พรรคสังคมนิยม PASOK นำโดยนายแอนเดรียส์ ปาปันเดรโอ ชนะการเลือกตั้งได้เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลให้สัญญาว่าจะจัดการให้อเมริกาย้ายฐานทัพอากาศออกไปจากกรีซและกรีซจะถอนตัวจากการเป็นสมาชิกของนาโตแต่รัฐบาลทำไม่สำเร็จ สตรีชาวกรีซเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงประเพณีเรื่องสินสอดและเรียกร้องให้กฎหมายสนับสนุนการทำแท้งเสรีความไม่สงบในประเทศทำให้ปาปันเดรโอกับรัฐบาลของเขาเสียอำนาจการปกครองประเทศให้กับรัฐบาลผสมระหว่างพรรคอนุรักษนิยมกับพรรคคอมมิวนิสต์ในปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) การเลือกตั้งในกรีซเมื่อ พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) พรรคอนุรักษนิยมได้ที่นั่งมากที่สุดและได้พยายามที่จะแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศแต่ไม่สำเร็จ การเลือกตั้งใหม่ใน พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) กรีซได้ปาปันเดรโอผู้นำเฒ่าของพรรคเสรีนิยมกลับมาครองอำนาจกลับมาเป็นรัฐบาลอีกครั้ง ท่านผู้นำถึงแก่อนิจกรรมใน พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) หลังจากที่ท่านลาออกจากตำแหน่งทางการเมืองกรีซได้ผู้นำคนใหม่ชื่อ คอสทาส สมิทิส ต่อมากรีซกับตุรกีขัดแย้งกันอย่างหนักจนใกล้จะระเบิดสงครามเมื่อผู้สื่อข่าวของตุรกีได้นำธงชาติกรีซมาย่ำยีเล่น สมิทิสได้รับการเลือกตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีกรีซอีกครั้ง รัฐบาลใหม่ให้สัญญากับประชาชนว่าจะเร่งการนำประเทศเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มอียู นายกรัฐมนตรีเป็นเพื่อนร่วมชั้นกับรัฐมนตรีโทนี แบลร์ของอังกฤษตั้งแต่สมิทิสมีอำนาจในการบริหารประเทศเขามีนโยบายเห็นด้วยกับกลุ่มฝ่ายค้านพรรคประชาธิปไตยใหม่แทบทุกเรื่องการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. กรีซมีการปกครองแบบสาธารณรัฐรัฐสภา หลังจากที่ประชาชนลงมติให้เลิกล้มการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญไปเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1974 วันประกาศอิสรภาพของกรีซคือวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1821 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันของกรีซประกาศใช้เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1975 แก้ไขเพิ่มเติม 2 ครั้ง คือ เดือนมีนาคม ค.ศ. 1986 และเดือนเมษายน ค.ศ. 2001 ระบบกฎหมายของกรีซมีพื้นฐานมาจากหลักกฎหมายของโรมัน กรีซมีประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ ประธานาธิบดีได้มาจากการเลือกตั้งของรัฐสภา อยู่ตำแหน่งคราวละ 5 ปี ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยประธานาธิบดีที่ได้มาจากการเสนอชื่อของนายกรัฐมนตรี สมาชิกนิติบัญญัติได้มาจากการเลือกตั้งทั่วไป มีจำนวน 300 ที่นั่ง อยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปีการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. กรีซแบ่งการปกครองประเทศออกเป็น 13 ภูมิภาค (regions) มี 9 ภูมิภาคบนพื้นแผ่นดินใหญ่ และ 4 ภูมิภาคบนหมู่เกาะ* ภูมิภาคต่าง ๆ จะแบ่งเป็นจังหวัด รวม 54 จังหวัด (prefectures - nomos) นอกจากนี้ทางแถบมาซิโดเนีย ยังมี เขตปกครองตนเอง (autonomous region) ของสงฆ์หนึ่งแห่ง คือ เมานต์อะทอส (Mount Athos)นโยบายต่างประเทศความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรปความสัมพันธ์กับสหรัฐอเมริกาความสัมพันธ์กับประเทศไทยนโยบายต่างประเทศ. ความสัมพันธ์กับประเทศไทย. - การทูต ไทยและกรีซได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1958 ในช่วงแรกที่สถาปนาความสัมพันธ์ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโรม ดูแลประเทศกรีซในฐานะประเทศในเขตอาณา ต่อมา ไทยได้เปิดสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเอเธนส์ อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1985 มีหน้าที่ดูแลสาธารณรัฐมอลตาในฐานะประเทศในเขตอาณา และติดตามสถานการณ์ในเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (อดีตสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย) รวมทั้งดูแลความสัมพันธ์ไทย-มาซิโดเนีย อย่างไม่เป็นทางการ นอกจากนี้ มีสำนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ประจำกรุงเอเธนส์ด้วย ในขณะที่ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ และสำนักงานแรงงาน ณ กรุงเอเธนส์ได้ปิดลงก่อนหน้านี้ ส่วนกรีซได้เปิดสถานเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทยเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.1989โดยมีเขตอาณาครอบคลุมประเทศใกล้เคียง อาทิ พม่า ลาว และกัมพูชา และเปิดสำนักงานพาณิชย์เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 ปัจจุบัน นายพฤทธิพงศ์ กุลทนันทน์ เป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำกรีซ ส่วนเอกอัครราชทูตกรีซประจำประเทศไทยได้แก่นายนิโคลาออส วามวูนาคิส (H.E. Mr. Nikolaos Vamvounakis)- การค้าและเศรษฐกิจ การค้ารวมระหว่างไทย-กรีซมีมูลค่าเฉลี่ย 272 ล้านเหรียญสหรัฐ (ตัวเลขฝ่ายไทยโดยเป็นค่าเฉลี่ยในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา) ซึ่งสูงสุดเมื่อเทียบกับประเทศอาเซียนอื่น โดยไทยส่งออก 247 ล้านเหรียญสหรัฐ นำเข้า 25 ล้านเหรียญสหรัฐ และได้เปรียบดุลการค้า 222 ล้านเหรียญสหรัฐ สินค้าสำคัญที่ไทยส่งออก ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เป็นต้น ในขณะที่สินค้าสำคัญที่ไทยนำเข้าประกอบด้วยผัก ผลไม้ และของปรุงแต่งที่ทำจากผลไม้ และยา รักษาโรค เป็นต้น สำหรับการลงทุนระหว่างกัน ยังไม่ปรากฏข้อมูลทางการเกี่ยวกับเรื่องนี้ในปัจจุบัน ในภาพรวม การนำเข้า-ส่งออกสินค้าระหว่างไทยกับกรีซดำเนินไปด้วยดี โดยมักผ่านทางผู้ประกอบการรายย่อย ซึ่งบางครั้งพบอุปสรรคในการตรวจพบสารเคมีในผลิตภัณฑ์อาหารส่งออก และมีปัญหาข้อพิพาทระหว่างกัน เช่น ไม่ชำระเงิน จัดส่งสินค้าไม่ครบ/ล่าช้า/ไม่ถูกต้อง เป็นต้น ความสัมพันธ์ด้านการค้าและการลงทุนระหว่างไทยและกรีซสามารถขยายตัวได้อีกมาก หากนักธุรกิจของทั้งสองฝ่ายจะเพิ่มความสนใจตลาด และศึกษาโอกาส ลู่ทาง และศักยภาพของกันและกันมากกว่าที่ผ่านมา โดยกลุ่มสินค้าที่ไทยมีศักยภาพแข่งขันในระดับโลก ยังคงมีแนวโน้มที่ดีในตลาดกรีซ อาทิ 1) รถบรรทุกเล็ก 2) รถจักรยานยนต์/อุปกรณ์ 3) เครื่องปรับอากาศ/เครื่องทำความเย็น เนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่มีแนวโน้มร้อนขึ้นในกรีซ 4) เสื้อผ้า/เครื่องนุ่งห่ม โดยเฉพาะที่ออกแบบสวยงาม/คุณภาพดี เพื่อสร้างความแตกต่างจากเสื้อผ้านำเข้าราคาถูก 5) เครื่องประดับ อัญมณี 6) สินค้าอาหาร/อาหารกระป๋อง (ปลาทูน่ากระป๋อง สับปะรดกระป๋อง ฯลฯ) และ 7) กลุ่มสินค้าที่เน้นการออกแบบในระดับราคาต่างๆ(เฟอร์นิเจอร์บ้าน/สำนักงาน อุปกรณ์/ของประดับบ้าน ฯลฯ) เป็นต้น นอกจากนี้ การลงทุน และประกอบธุรกิจร่วมระหว่างไทย-กรีซ ก็เป็นเรื่องที่น่าสนใจ ควรศึกษาความเป็นไปได้ เนื่องจากกรีซมีนักธุรกิจร่ำรวยจำนวนมาก ซึ่งนิยมนำเงินไปลงทุนในต่างประเทศ กอปรกับได้ชื่อว่า มีชั้นเชิงทางธุรกิจสูง และมีทักษะเรื่องการตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งตลาดประเทศเพื่อนบ้านของกรีซ ดังนั้น หากนักธุรกิจไทยสามารถหาหุ้นส่วนทางธุรกิจที่เหมาะสมได้ ก็จะช่วยกระจายสินค้าไทยไปสู่ตลาดบอลข่าน ซึ่งไทยยังไม่คุ้นเคยได้เป็นอย่างดี- การท่องเที่ยว ชาวกรีกนิยมเดินทางไปท่องเที่ยวประเทศไทยมากขึ้นตามลำดับ โดยล่าสุดมีจำนวนประมาณ 18,000 คน/ปี เนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวไทยมีความหลากหลายและสวยงาม ราคาไม่สูง คนไทยเป็นมิตร ประทับใจใน การให้บริการ และการบินไทยมีเที่ยวบินตรงระหว่างกรุงเทพฯ และเอเธนส์ สัปดาห์ละ 3 เที่ยวบิน ในขณะที่นักท่องเที่ยวไทยเดินทางไปเยือนกรีซไม่มากนัก เฉลี่ยประมาณ 1,500-2,000 คน/ปี- การเยือน- ฝ่ายไทย - ฝ่ายกรีซกองทัพกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจเศรษฐกิจ. - ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) 172.5 พันล้าน USD (2546) 201.1 พันล้าน USD (2545) - GDP Per Capita 16,223 USD (2546) 19,000 USD (2545) - อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 4.3 (2546) ร้อยละ 3.5 (2545) - อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 3.4 (2546) ร้อยละ 3.6 (2545) - อัตราการว่างงาน ร้อยละ 9.4 (2546) ร้อยละ 10.3 (2545) - ปริมาณการส่งออก 7.8 พันล้าน USD (2546) 12.6 พันล้าน USD (2545) - ปริมาณการนำเข้า 35.2 พันล้าน USD (2546) 31.4 พันล้าน USD (2545) - สินค้าส่งออกสำคัญ อาหารและเครื่องดื่ม สิ่งทอ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม อุปกรณ์ไฟฟ้าและโทรคมนาคม - สินค้าเข้าสำคัญ เครื่องจักรอุตสาหกรรม อุปกรณ์ยานพาหนะ พลังงาน - ตลาดส่งออกสำคัญ อียู (44%) สหรัฐอเมริกา และบัลแกเรีย (5.7%) ไซปรัส (4.8%) FYROM (3.7%) - ตลาดนำเข้าสำคัญ อียู (50.8%) รัสเซีย (5.3%) ซาอุดิอาระเบีย (3.5%) สหรัฐอเมริกา (3.3%) อิหร่าน (3.2%)ประชากรศาสตร์เมืองใหญ่เชื้อชาติ ประชากรศาสตร์. เชื้อชาติ. นิกายกรีกออร์ทอดอกซ์ (Geek Orthodox)ภาษาศาสนา ศาสนา. ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายกรีกออร์ทอดอกซ์ (98%)กีฬาวัฒนธรรมนักปรัชญา วัฒนธรรม. นักปรัชญา. เสาหลักของปรัชญาตะวันตก นักปรัชญากรีซที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่วโลกในฐานะ เสาหลักของปรัชญาตะวันตก มีอยู่3ท่านคือ โสกราตีส เพลโต และอริสโตเติล- โสกราตีส เกิดที่กรุงเอเธนส์ เมื่อ 470 ปีก่อนคริสตกาล เคยได้ เข้าร่วมในการทำสงครามเปลโอปอนนีเซียน หลังจากนั้นเขาอุทิศเป็นผู้สอนวิชาตรรกวิทยา “Know Thyself” ตามสถานที่สาธารณะต่าง ๆ วิธีการสอนของท่านคือการตั้งคำถามและตอบ เมื่ออายุ 70 ปี โสกราตีสต้องโทษตามกฎหมายกรีซให้ดื่มยาพิษ- เพลโต เกิดที่กรุมเอเธนส์เมื่อ 428 ปี ก่อนคริสตกาล ท่านเป็นลูกศิษย์ของโสกราตีสที่เคารพและเทิดทูนโสกราตีสมาก เพลโตได้ตั้งวิทยาลัยสอนวิชาวิทยาศาสตร์และปรัชญาขึ้นเป็นแห่งแรกในกรุงเอเธนส์เมื่อ 387 ปีก่อนคริสต์ศักราช ผลงานเขียนของเพลโตเป็นคำสอนรูปของบทสนทนาในหนังสือชื่อ The Republic ของเพลโต ท่านแยกพลเมืองออกเป็น 3 กลุ่มคือ ประชาชน ทหาร และผู้ปกครองประเทศ เพลโตเป็นผู้ให้หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับอธิปไตยไว้อย่างชัดเจนว่า หญิงและ ชาย มีฐานะเท่าเทียมกันและจะต้องได้รับการศึกษาเหมือนกัน รัฐจะต้องจัดการแต่งงานให้ประชาชน เด็กแรกเกิดจะถูกแยกจากพ่อ แม่เพื่อประชาชนจะได้ไม่มีความผูกพันเป็นส่วนตัวเพื่อให้ประชาชนมีความรู้สึกในความเป็นเจ้าของรัฐแต่เพียงอย่างเดียว- อริสโตเติล เกิดที่เมืองสตากิรา ภูมิภาคมาซีโดเนีย เมื่อ 384 ปีก่อนคริสตกาล ท่านเดินทางไปเอเธนส์เพื่อศึกษาวิชาปรัชญาที่สำนักของเพลโตเมื่อ 367 ปีก่อนคริสตกาลและพำนักอยู่ที่นั่นเป็นเวลา 20 ปี จนกระทั่งเพลโตถึงแก่กรรม จึงเดินทางไปเผยแพร่คำสอนตามหลักปรัชญาของเพลโตในที่ต่าง ๆ เป็นเวลา 10ปี แล้วจึงตั้งสำนักศึกษาของท่านเองชื่อว่า The Lyceum นาน 12 ปี อริสโตเติลเป็นนักคิดคนแรกที่ค้นพบวิชา ตรรกวิทยา โดยอาศัยข้อเท็จจริง 2 ข้อ สนับสนุนกันและกัน เช้น ความดีทุกอย่างควรสรรเสริญ และความกรุณาก็เป็นความดีอันหนึ่ง ฉะนั้นความกรุณาจึงควรได้รับการสรรเสริญด้วย เป็นต้น วรรณคดีนักกวี นักกวี. กวีสมัยโบราณที่ยิ่งใหญ่ของกรีซคือ โฮเมอร์กับ ฮีเสียดทั้ง 2 ท่านได้เขียนมหากาพย์ที่สำคัญ หลายเรื่อง และมหากาพย์เรื่องกรุงทรอยอยู่ด้วย นักเขียนนักค้นคว้าชื่อ เฮ็นริช ชีลมานน์ ได้ค้นคว้าเรื่องเมืองทรอย จนค้นพบว่ามีอยู่จริง ที่เมือง Hissarlik ทางตอนเหนือของตุรกีในอดีตกาล เมื่อพบเมืองทรอยแล้ว ชีลมานน์ขุดค้นพบประวัติศาสตร์ในยุคบรอนซ์ตามที่อ้างในมหากาพย์ของโฮเมอร์ต่อไป การขุดหาสมบัติในวรรณคดีของเขานำไปสู่การค้นพบ 3 นครสำคัญ ที่ได้ชื่อว่า กนกนคร ตามประวัติศาสตร์ในยุคสมัยของโฮเมอร์นั่นคือ Mycenae, Tiryns และ Orchomenos ก่อนที่นักเขียนนักค้นคว้าคนสำคัญของโลกจะตายไป เขาได้เผยให้เห็นเค้าโครงรูปร่างของอาณาจักรมาซิเนียนให้ประจักษ์แก่ตาชาวโลกนักค้นคว้า นักค้นคว้า. นักค้นคว้าชื่อ อาร์เธอร์ อีแวนส์ค้นพบแหล่งอารยธรรมมิโนอัน และร่องรอยของอารยธรรมที่เคยรุ่งเรืองในอดีตของอาณาจักรไมนอส ซึ่งเป็นการยืนยันว่า โฮเมอร์ มหากวีเอกของโลกชาวกรีก ได้บันทึกเรื่องราวของยุคสมัยไว้อย่างถูกต้องตามความเป็นจริง มิได้เขียนขึ้นจากความคิดเพ้อฝันแต่อย่างใดสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม. กรีซมีชื่อเสียงทางเรื่องศิลปะเป็นต้นแบบของงานสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะเด่นและสง่างามของเสาหินแบบวิหารพาร์เธนอน ที่ตกแต่งตรงส่วนบนของหัวเสาด้วยศิลปะแบบกรีกมี 3 แบบ คือ ดอริก, ไอโอนิก และคอรินเธียน จะเห็นเสาหินแบบกรีกเป็นส่วนตกแต่งด้านหน้าของอาคารสำคัญ ๆ และสิ่งก่อสร้างที่เป็นงานสถาปัตยกรรมเลื่องชื่อของโลกตามเมืองหลวงของประเทศต่าง ๆ ในยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย สถานที่ทำงานสำคัญ ๆ ของประเทศที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ ล้วนนำสถาปัตยกรรมศิลป์ของกรีซไปประยุคผสมผสาน ในการก่อสร้างเป็นการยอมรับในอารยธรรมที่รุ่งเรืองของกรีซโบราณและเป็นการถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมที่เคยเฟื่องฟูในอดีตของกรีซไปทุกมุมโลกนอกจาก งานสถาปัตยกรรมที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของกรีซที่เผยแพร่ไปทั่วโลกแล้ว งานจิตรกรรมและประติมากรรมของกรีซยังเป็นมรดกล้ำค่าที่บรรดาพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ต่าง ๆ พยายามเสาะหามาเป็นสมบัติเก็บสะสมไว้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ถึงแม้งานศิลปะชั้นเยี่ยมของกรีซจะกลายเป็นสมบัติของพิพิธภัณฑ์ชั้นนำของประเทศอื่นแต่กรีซก็ยังมีงานศิลปะโบราณอยู่ในประเทศอีกมากอาหาร อาหาร. มะกอกและเฟต้าชีสดนตรี และ นาฎศิลป์การละครยุคกรีก (250 ปีก่อน พ.ศ. – พ.ศ. 250) ดนตรี และ นาฎศิลป์. การละครยุคกรีก (250 ปีก่อน พ.ศ. – พ.ศ. 250). ละครกรีกสันนิษฐานว่า ถือกำเนิดขึ้นประมาณ 800 – 700 ปีก่อนคริสตกาล โดยเริ่มจากการประกวดการร้องรำทำเพลงเป็นหมู่ (Choral dance) ซึ่งเรียกว่า ดิธีแรมบ์ (dithyramb) ในเทศกาลที่จัดขึ้นเพื่อบวงสรวงเทพเจ้าไดโอนีซุส (Dionysus) เทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่นและความอุดมสมบูรณ์ จากการร้องรำทำเพลงเป็นหมู่โดยกลุ่มคนที่เรียกว่า คอรัส (Chorus) ในการแสดง ดิธีแรมบ์ ก็เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การแสดงในรูปแบบของละคร กล่าวคือมีนักแสดงเดี่ยวๆ แยกออกมาต่างหาก และทำการสนทนาโต้ตอบกับกลุ่มคอรัส ฉะนั้น แทนที่จะเป็นเพียงการร้องเพลงเล่าเรื่องจากพวกคอรัสตรงๆ ก็เปลี่ยนเป็นการสนทนาระหว่างตัวละครกับกลุ่มคอรัส ในปี 534 ก่อนคริสตกาล เริ่มมีการประกวดการแต่งบทและการจัดแสดงละครแทรเจดี นักการละครชื่อ เธสพิส (Thespis) เป็นผู้ชนะการประกวดครั้งแรกนี้ ละครของเธสพิสใช้นักแสดงเพียงคนเดียว เล่นทุกบทที่มีอยู่ในละครเรื่องนั้น โดยใช้การเปลี่ยนหน้ากาก เป็นการเปลี่ยนบทที่แสดง และมีคอรัสเป็นตัวเชื่อมโยงเรื่องราวเข้าด้วยกัน 500 ปีก่อนคริสตกาล ถือว่าเป็นยุคทองของการละครกรีก มีการประกวดเขียนบทละครและจัดการแสดงละครในด้านต่างๆ ทำให้การละครรุ่งเรืองมาก บทละครส่วนใหญ่ของกรีกที่เหลือมาถึงปัจจุบัน ก็เป็นบทละครที่เขียนขึ้นในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาลนี่เอง ประเภทของละครกรีก ละครกรีก ที่หลงเหลือมาถึงยุคปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ1. ละครแทรเจดี (Tragedy) ละครแทรเจดีของกรีกแสดงให้เห็นชีวิตตัวละครตัวเอก ที่มีความน่ายกย่องสรรเสริญ แต่ต้องดิ้นรนต่อสู้กับอำนาจของชะตากรรมซึ่งเทพเจ้าเป็นผู้ลิขิต แม้ว่าในที่สุดจะต้องพ่ายแพ้และประสบหายนะ แต่เป็นความพ่ายแพ้ที่ดิ้นรนต่อสู้ถึงที่สุดแล้ว เรื่องราวของละครกรีกยุคแรกๆ เป็นการสรรเสริญและเล่าเรื่องราวเทพเจ้า โดยมักนำโครงเรื่องมาจากมหากาพย์อีเลียด (Iliad) และ โอดิสซี (Odyssey)1. ละครคอมเมดี (Comedy) ละครคอมเมดีเป็นละครที่ให้ความรู้สึกตลกขบขัน เพราะความบกพร่องของมนุษย์ เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสมัยนั้น ซึ่งเกี่ยวกับการเมือง สงครามและสันติภาพ ทัศนะเกี่ยวกับศิลปะในแง่ต่างๆ การโจมตีหรือเสียดสีตัวบุคคล ฯลฯ คอมเมดีเป็นเรื่องที่แต่งขึ้นใหม่ มากกว่านำมาจากตำนานเช่นแทรเจดีสื่อสารมวลชนวันหยุด
| ประเทศกรีซมีชื่ออย่างเป็นทางการว่าอะไร | {
"answer": [
"สาธารณรัฐเฮลเลนิก"
],
"answer_begin_position": [
165
],
"answer_end_position": [
182
]
} |
2,090 | 2,051 | ประเทศกรีซ กรีซ (; , Elládha เอลาฑา หรือ Ελλάς, Ellás ) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเฮลเลนิก (; , Ellinikí Dhimokratía ) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป ตอนใต้สุดของคาบสมุทรบอลข่าน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศบัลแกเรีย มาซิโดเนีย และแอลเบเนีย มีพรมแดนทางตะวันออกติดกับประเทศตุรกี อยู่ติดทะเลอีเจียนทางด้านตะวันออก ติดทะเลไอโอเนียนและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านตะวันตกและใต้ กรีซนับว่าเป็นแหล่งอารยธรรมตะวันตกอันยิ่งใหญ่ และมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึ่งกรีซได้แผ่อิทธิพลไปยัง 3 ทวีป ชาวกรีกเรียกประเทศตัวเองว่า Hellas ซึ่งภาษากรีกในปัจจุบันออกเสียง ว่า Ellas โดยในการพูดทั่วไปจะใช้คำว่า Ellada และมักจะเรียกตัวเองว่า Hellenes แม้กระทั่งในภาษาอังกฤษ ซึ่งคำภาษาอังกฤษ "Greece" มาจากชื่อละตินว่า Graecia หมายถึงพื้นที่ทางเหนือของกรีซในปัจจุบัน ซึ่งมีกลุ่มคนที่เรียกว่า Graikos อาศัยอยู่ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. ประเทศกรีซประกอบด้วยแผ่นดินใหญ่ในทางทิศใต้ไปจนถึงแหลมบอลข่านและเกาะมากมายกว่า 3,000 เกาะ รวมทั้งเกาะครีต (Vrete) เกาะโรดส์ (Rhodes) เกาะไคออส (Chios) เกาะเลสบอส 7 (Euboea) และหมู่เกาะโดเดคะนีส (Dodecanese) และพวกไซแคลดิกทางทะเลอีเจียน ที่เหมือนกับชาวกรีกบนหมู่เกาะไอโอเนียน กรีซมีแนวชายฝั่งทะเลยาว 15,000 กิโลเมตร และเส้นแบ่งเขตแดน ยาว 1,160 กิโลเมตร ราว ๆ 80% ของประเทศกรีซประกอบด้วยภูเขา และเนินเขา ด้วยเหตุนี้จึงทำให้กรีซเป็นประเทศหนึ่งในยุโรปที่มีภูเขามากที่สุด ทางตะวันตกของกรีซจะเป็นทะเลสาบและพื้นที่ชื้นแฉะพินดัส เป็นภูเขาทางตอนกลางซึ่งมีความสูงถึง 2,636 เมตร เมื่อพิจารณาดูแล้ว ภูเขาพินดัสอาจจะมีการขยายออกมาจากเทือกเขาดิแนริดได้ แนวเทือกเขาที่ต่อเนื่องกัน กลายเป็นแหลมเพโลพอนนีส เกาะคีทีรา (Kythera) และเกาะแอนติคีทีรา (Antikythera) พบที่จุดปลายของเกาะกรีก ทางตอนกลางและทางตะวันตกของกรีซ เป็นที่สูงชัน มียอดเขาสูงที่แยกออก เป็นหุบเขาลึกมากมาย และมีลำธารระหว่างหุบเขาต่าง ๆ เช่น ช่องแคบ Meteora และ Vikos มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากแกรนด์แคนยอนในสหรัฐอเมริกา ยอดเขาโอลิมปัสเป็นจุดที่สูงที่สุดของกรีซ คือ 2,919 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ทางตอนเหนือก็ยังมีเทือกเขาสูง ๆ อีก อย่าง Rhodope ที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมาซิโดเนียและเทรซ พื้นที่นี้ถูกปกคลุมไปด้วย ป่าทึบเก่าแก่ขนาดใหญ่ เหมือนกับ Dadia ที่เป็นที่รู้จักกัน ทางตะวันออกของกรีซเต็มไปด้วยทุ่งกว้างมากมาย คือตรงตอนกลางของมาซิโดเนียและเทรซ โวลอสและลาริสซา เป็น 2 เมืองใหญ่ ของทางตะวันออกของกรีซ สภาพอากาศของกรีซ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เทือกเขาแอลป์ และ Temperate แบบแรก ภูมิประเทศแบบฝนตกในฤดูหนาว แห้งแล้งในฤดูร้อน อุณหภูมิไม่ค่อยสูง อย่างไรก็ตามก็มีหิมะตกบางในกรุงเอเธนส์ หมู่เกาะซิคละดิส หรือเกาะครีตมีสภาพอากาศหนาว เทือกเขาแอลป์ก่อตัวมาจากทางตะวันตกของกรีซ สภาพอากาศแบบสุดท้ายก่อตัวจากทางตอนกลางและทางมาซิโดเนียตะวันออก เทรซ Xanthi และ Evros เหนือ มีอากาศหนาว ชื้น ในฤดูหนาว และ แห้งแล้งในฤดูร้อน เป็นสิ่งที่มีค่ามากสำหรับกรุงเอเธนส์ที่ ตั้งอยู่ระหว่างสภาพอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน กับเทือกเขาแอลป์ ดังนั้นชานเมืองทางตอนใต้จะมีสภาพอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ในขณะที่ทางตอนเหนือมีสภาพอากาศแบบ เทือกเขาแอลป์ 50% ของประเทศกรีซ ถูกปกคลุมไปด้วยป่า ที่มีพืชนานาชนิด จากเทือกเขาแอลป์ ป่าสนของทางทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลรอบ ๆ ประเทศกรีซ มีแมวน้ำ เต่าทะเล และสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลที่หายากอาศัยอยู่ ในขณะที่ป่าของกรีซ เป็นที่บ้านหลังสุดท้ายของยุโรปตะวันตก ที่มีหมีสีน้ำตาล แมวป่า กวางโร แกะป่า สุนัขจิ้งจอก และหมูป่าประวัติศาสตร์ยุคโบราณ ประวัติศาสตร์. ยุคโบราณ. ในยุคสำริด 3,000-2,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช เป็นยุคที่อารยธรรมชนเผ่าไซแคลดิกและไมซีแนเอียนกำลังมีอิทธิพลรุ่งเรืองอยู่ในกรีซ แต่พอถึงศตวรรษที่ 11 ก่อนคริสตกาล อิทธิพลของวัฒนธรรมไซแคลดิกและไมซีแนเอียนก็ถึงกาลเสื่อมสลายลง เพราะถูกรุกรานโดยนักรบเผ่าดอเรียนที่รุกมาจากทางเหนือ อารยธรรมต่าง ๆ ในกรีซจึงเริ่มเข้าสู่ยุคมืด ช่วงเวลา 800 ปีก่อนคริสตกาล เป็นช่วงเวลาที่อารยธรรมกรีซเฟื่องฟูขึ้นมาอีกครั้ง วัฒนธรรมและกิจการทหารของกรีซเจริญรุ่งเรืองมากที่สุด เมืองเอเธนส์ลัสปาต้าเป็นศูนย์กลางของอำนาจมหาอาณาจักรกรีซประกอบด้วยอิตาลีทางตอนใต้อันเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของอาณาจักรอันยิ่งใหญ่ กรีซย่างก้าวเข้าสู่ยุคคลาสสิกหรือยุคทอง ในยุคนี้เองนักปราชญ์ชื่อ เพเรอคลิส ผู้ทำให้วิหารพาร์เธนอนเป็นที่รู้จักของชาวโลก โซโฟคลิสได้เขียนมหากาพย์อีดิปุสขึ้น และโสกราตีสหรือซาเครอทิส ได้เริ่มการสอนลูกศิษย์ชาวเอเธนส์ให้รู้จักวิชาตรรกวิทยาและหลักการของประชาธิปไตย ต่อมาไม่นานนักยุคทองของกรีซก็ถึงจุดเสื่อม แล้วกรีซก็เข้าสู่ยุคสงครามเปลโอปอนนีเซียน ซึ่งกองทหารอันเกรียงไกรของเปอร์เซียได้ยกกำลังเข้าบดขยี้ชาวเอเธนส์เสียจนย่อยยับ ในขณะที่กองทัพเปอร์เซียกำลังรุกรานกรีซอย่างย่ามใจทางตอนเหนือ พระเจ้าฟิลิปแห่งอาณาจักรมาซิโดเนียกำลังไล่ตีเมืองเล็กเมืองน้อยรุกคืบเข้ามาใกล้กรีซทุกที แต่ทว่าความทะเยอทะยานที่จะเป็นผู้พิชิตในภูมิภาคนี้ของพระเจ้าฟิลิปก็ถูกบดบังรัศมีโดยโอรสของพระองค์เองคือ พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ผู้สามารถยาตราทัพไปถึงเอเชียไมเนอร์และอียิปต์ ซึ่งที่อียิปต์นี้เองพระองค์ได้รับการยกย่องให้เป็นฟาโรห์ ผู้สร้างเมืองอเล็กซานเดรีย พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชสามารถยกทัพไปถึงเปอร์เซียและดินแดนส่วนที่เป็นอินเดียและอัฟกานิสถานในปัจจุบัน ในรัชสมัยของอาณาจักรมาซิโดเนียเรียกกันว่า ยุคเฮลเลนิสติก (Hellenistic Period) เพราะยุคนี้มีการผสมผสานปรัชญาและวัฒนธรรมที่รุ่งเรืองของชนชั้นปกครองจนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบใหม่ที่ศิวิไลซ์ยิ่งขึ้น หลังจากพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชสิ้นพระชนม์ เมื่อพระชนมายุ 33 ปีแล้ว มีกษัตริย์ปกครองกรีซสืบต่อมาอีก 3 รัชกาล ครั้นถึงปีที่ 205 ก่อนคริสต์ศักราช อิทธิพลของโรมันแผ่ขยายเข้ารุกรานกรีซ และเมื่อถึงปี 146 ก่อนคริสตกาล กรีซกับมาซิโดเนียตกอยู่ใต้การปกครองของโรมัน หลังจากที่มีการแบ่งอาณาจักรโรมันเป็นอาณาจักรตะวันออกและตะวันตก กรีซได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรไบแซนไทน์ และเมื่อเกิดสงครามครูเสดขึ้น อิทธิพลของอาณาจักรไบแซนไทน์ก็เสื่อมถอยเพราะถูกรุกรานโดยชาวเวนิส กาตาลา เจนัว แฟรงก์ และนอร์มันยุคกลาง ยุคกลาง. ในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) กรุงคอนสแตนติโนเปิล เมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์ถูกพวกเติร์กยึดครอง และเมื่อถึงปี พ.ศ. 2043 (ค.ศ. 1500) ดินแดนของกรีซทั้งหมดก็ตกอยู่ใต้อำนาจของเติร์ก ดินแดนที่เป็นกรีซในปัจจุบันแต่ก่อนเป็นศูนย์กลางการค้าทางเรือของยุโรปตอนกลางและเป็นที่ชุนนุมนักปราชญ์กับศิลปินของโลก เพราะที่นี่เป็นหมู่บ้านกรีกที่มีประเพณีและวัฒนธรรมของกรีกออร์ทอดอกซ์ ในการทำสงครามเพื่อกู้เอกราชจากเติร์ก กรีซได้รับการสนับสนุนอย่างท่วมท้นจากนักคิด นักเขียน และนักปรัชญา เช่น ไบรอน แชลเลย์ และเกอเธ อย่างไรก็ตามการต่อสู้ที่ขาดเอกภาพของกรีซ ทำให้ฝรั่งเศส รัสเซีย และอังกฤษ ตัดสินใจเข้ามาแทรกแซง หลังจากกรีซได้รับเอกราชแล้ว กลุ่มอำนาจในยุโรปมีความเห็นว่ากรีซควรมีการปกครองระบบกษัตริย์จึงได้จัดการให้กษัตริย์ออตโตแห่งบาวาเรีย เป็นกษัตริย์ปกครองกรีซในปี พ.ศ. 2376 (ค.ศ. 1833) หลังจากนั้นกรีซก็มีกษัตริย์ขึ้นครองราชย์อีกหลายพระองค์ด้วยกัน จนกระทั่งถึงรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 1 จึงได้รับพระราชทานกฎหมายรัฐธรรมนูญให้กรีซในปี พ.ศ. 2407 (ค.ศ. 1864) ทำให้กรีซมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญยุคใหม่ ยุคใหม่. ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 กองทัพกรีซอยู่ข้างฝ่ายสัมพันธมิตร และเข้ายึดครองเมืองเทรซ เมื่อสงครามโลกยุติ กรีซได้ส่งกองกำลังเข้าไปช่วยปลดปล่อยเมืองสเมอร์นาของตุรกี (ปัจจุบันคืออิซมีร์) ให้ได้รับอิสรภาพ เพราะเมืองนี้มีประชาชนชาวกรีกอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก กองกำลังกรีกถูกต่อต้านอย่างแข็งแกร่งจากกองทัพของอตาเติร์ก ซึ่งได้เข่นฆ่าชาวกรีกในเมืองนั้นเสียชีวิตลงเป็นจำนวนมาก ผลของสงครามนี้ทำให้มีการตกลงแลกเปลี่ยนพลเมืองของ 2 ประเทศกันในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) ประชากรกรีกเพิ่มจำนวนประชากรมากขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะมีผู้อพยพชาวคริสเตียนมาอยู่ในกรีซมากถึง 1,300,000 คน ทำให้กรีซมีปัญหาด้านเศรษฐกิจตามมา คนเหล่านี้กระจายกันไปอยู่นอกเมือง ภายหลังมีการก่อตั้งสหภาพแรงงานต่าง ๆ ขึ้นในกลุ่มพวกอพยพที่อาศัยอยู่ตามหัวเมืองรอบนอก และในปี พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936) พรรคคอมมิวนิสต์ในกรีซก็เติบโตและมีอิทธิพลมากขึ้นเรื่อย ๆ จากการสนับสนุนของประชาชนทั่วประเทศ ปี พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936) นายพลเมเตอซัส ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรี เขาเป็นผู้ปกครองประเทศที่นิยมการปกครองแบบเผด็จการ ถึงแม้ว่าจะได้เห็นความเป็นไปในชะตากรรมของพวกนาซีเยอรมนี แต่ตัวเขาเองกลับกระทำการต่าง ๆ ที่ทำให้เขาได้รับฉายาว่าเป็นภาพจำลองของอาณาจักรไรน์ในกรีซ นายพลเมเตอซัสทำการต่อต้านไม่ยอมให้เยอรมนีกับอิตาลีเดินทัพผ่านกรีซ ถึงแม้ว่ากลุ่มสัมพันธมิตรจะเข้าช่วยกรีซแต่กรีซก็ต้องตกเป็นของเยอรมนีในปี พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) เป็นผลให้เกิดภาวะข้าวยากหมากแพงขึ้น มีการเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาล เกิดความวุ่นวายขึ้นในประเทศที่มีทั้งฝ่ายสนับสนุนพรรคคอมมิวนิสต์และฝ่ายสนับสนุนสถาบันกษัตริย์ เป็นชนวนให้เกิดสงครามกลางเมืองนองเลือดขึ้นในกรีซ และยุติลงใน พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) โดยฝ่ายนิยมกษัตริย์อ้างชัยชนะ ในช่วงเวลานั้นอเมริกากำลังเคร่งครัดในลัทธิทรูแมน รัฐบาลอเมริกาในขณะนั้น มีนโยบายให้เงินก้อนใหญ่สนับสนุนรัฐบาลที่ต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ แต่ความกลัวลัทธิคอมมิวนิสต์จะครองเมืองทำให้คณะทหารของกรีซทำการปฏิวัติยึดอำนาจจากรัฐบาลเมื่อปี พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) กล่าวกันว่าการปฏิวัติในกรีซเป็นผลมาจากการแทรกแซงทางการเมืองของหน่วยงาน CIA ของสหรัฐอเมริกาที่เข้ามาปฏิบัติการในทวีปยุโรปกลุ่มทหารที่ครองอำนาจในกรัซทำตนมีอำนาจเหนือราษฎรและทำการกดขี่ข่มเหงประชาชน ยิ่งกว่านั้นคณะนายพลของทหารกรีซได้ทำการวางแผนลอบสังหารผู้นำของไซปรัสในขณะนั้น เป็นผลให้ตุรกีฉวยโอกาสเข้ารุกเข้ายึดครองตอนเหนือของไซปรัส ทำใหเหตุการณ์นี้เป็นข้อบาดหมางระหว่างกรีซกับตุรกีมาจนถึงทุกวันนี้ ในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) กรีซเข้าเป็นสมาชิกสมาคมสหภาพยุโรป พรรคสังคมนิยม PASOK นำโดยนายแอนเดรียส์ ปาปันเดรโอ ชนะการเลือกตั้งได้เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลให้สัญญาว่าจะจัดการให้อเมริกาย้ายฐานทัพอากาศออกไปจากกรีซและกรีซจะถอนตัวจากการเป็นสมาชิกของนาโตแต่รัฐบาลทำไม่สำเร็จ สตรีชาวกรีซเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงประเพณีเรื่องสินสอดและเรียกร้องให้กฎหมายสนับสนุนการทำแท้งเสรีความไม่สงบในประเทศทำให้ปาปันเดรโอกับรัฐบาลของเขาเสียอำนาจการปกครองประเทศให้กับรัฐบาลผสมระหว่างพรรคอนุรักษนิยมกับพรรคคอมมิวนิสต์ในปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) การเลือกตั้งในกรีซเมื่อ พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) พรรคอนุรักษนิยมได้ที่นั่งมากที่สุดและได้พยายามที่จะแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศแต่ไม่สำเร็จ การเลือกตั้งใหม่ใน พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) กรีซได้ปาปันเดรโอผู้นำเฒ่าของพรรคเสรีนิยมกลับมาครองอำนาจกลับมาเป็นรัฐบาลอีกครั้ง ท่านผู้นำถึงแก่อนิจกรรมใน พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) หลังจากที่ท่านลาออกจากตำแหน่งทางการเมืองกรีซได้ผู้นำคนใหม่ชื่อ คอสทาส สมิทิส ต่อมากรีซกับตุรกีขัดแย้งกันอย่างหนักจนใกล้จะระเบิดสงครามเมื่อผู้สื่อข่าวของตุรกีได้นำธงชาติกรีซมาย่ำยีเล่น สมิทิสได้รับการเลือกตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีกรีซอีกครั้ง รัฐบาลใหม่ให้สัญญากับประชาชนว่าจะเร่งการนำประเทศเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มอียู นายกรัฐมนตรีเป็นเพื่อนร่วมชั้นกับรัฐมนตรีโทนี แบลร์ของอังกฤษตั้งแต่สมิทิสมีอำนาจในการบริหารประเทศเขามีนโยบายเห็นด้วยกับกลุ่มฝ่ายค้านพรรคประชาธิปไตยใหม่แทบทุกเรื่องการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. กรีซมีการปกครองแบบสาธารณรัฐรัฐสภา หลังจากที่ประชาชนลงมติให้เลิกล้มการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญไปเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1974 วันประกาศอิสรภาพของกรีซคือวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1821 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันของกรีซประกาศใช้เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1975 แก้ไขเพิ่มเติม 2 ครั้ง คือ เดือนมีนาคม ค.ศ. 1986 และเดือนเมษายน ค.ศ. 2001 ระบบกฎหมายของกรีซมีพื้นฐานมาจากหลักกฎหมายของโรมัน กรีซมีประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ ประธานาธิบดีได้มาจากการเลือกตั้งของรัฐสภา อยู่ตำแหน่งคราวละ 5 ปี ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยประธานาธิบดีที่ได้มาจากการเสนอชื่อของนายกรัฐมนตรี สมาชิกนิติบัญญัติได้มาจากการเลือกตั้งทั่วไป มีจำนวน 300 ที่นั่ง อยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปีการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. กรีซแบ่งการปกครองประเทศออกเป็น 13 ภูมิภาค (regions) มี 9 ภูมิภาคบนพื้นแผ่นดินใหญ่ และ 4 ภูมิภาคบนหมู่เกาะ* ภูมิภาคต่าง ๆ จะแบ่งเป็นจังหวัด รวม 54 จังหวัด (prefectures - nomos) นอกจากนี้ทางแถบมาซิโดเนีย ยังมี เขตปกครองตนเอง (autonomous region) ของสงฆ์หนึ่งแห่ง คือ เมานต์อะทอส (Mount Athos)นโยบายต่างประเทศความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรปความสัมพันธ์กับสหรัฐอเมริกาความสัมพันธ์กับประเทศไทยนโยบายต่างประเทศ. ความสัมพันธ์กับประเทศไทย. - การทูต ไทยและกรีซได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1958 ในช่วงแรกที่สถาปนาความสัมพันธ์ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโรม ดูแลประเทศกรีซในฐานะประเทศในเขตอาณา ต่อมา ไทยได้เปิดสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเอเธนส์ อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1985 มีหน้าที่ดูแลสาธารณรัฐมอลตาในฐานะประเทศในเขตอาณา และติดตามสถานการณ์ในเซอร์เบียและมอนเตเนโกร (อดีตสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย) รวมทั้งดูแลความสัมพันธ์ไทย-มาซิโดเนีย อย่างไม่เป็นทางการ นอกจากนี้ มีสำนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ประจำกรุงเอเธนส์ด้วย ในขณะที่ สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ และสำนักงานแรงงาน ณ กรุงเอเธนส์ได้ปิดลงก่อนหน้านี้ ส่วนกรีซได้เปิดสถานเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทยเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.1989โดยมีเขตอาณาครอบคลุมประเทศใกล้เคียง อาทิ พม่า ลาว และกัมพูชา และเปิดสำนักงานพาณิชย์เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 ปัจจุบัน นายพฤทธิพงศ์ กุลทนันทน์ เป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำกรีซ ส่วนเอกอัครราชทูตกรีซประจำประเทศไทยได้แก่นายนิโคลาออส วามวูนาคิส (H.E. Mr. Nikolaos Vamvounakis)- การค้าและเศรษฐกิจ การค้ารวมระหว่างไทย-กรีซมีมูลค่าเฉลี่ย 272 ล้านเหรียญสหรัฐ (ตัวเลขฝ่ายไทยโดยเป็นค่าเฉลี่ยในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา) ซึ่งสูงสุดเมื่อเทียบกับประเทศอาเซียนอื่น โดยไทยส่งออก 247 ล้านเหรียญสหรัฐ นำเข้า 25 ล้านเหรียญสหรัฐ และได้เปรียบดุลการค้า 222 ล้านเหรียญสหรัฐ สินค้าสำคัญที่ไทยส่งออก ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เป็นต้น ในขณะที่สินค้าสำคัญที่ไทยนำเข้าประกอบด้วยผัก ผลไม้ และของปรุงแต่งที่ทำจากผลไม้ และยา รักษาโรค เป็นต้น สำหรับการลงทุนระหว่างกัน ยังไม่ปรากฏข้อมูลทางการเกี่ยวกับเรื่องนี้ในปัจจุบัน ในภาพรวม การนำเข้า-ส่งออกสินค้าระหว่างไทยกับกรีซดำเนินไปด้วยดี โดยมักผ่านทางผู้ประกอบการรายย่อย ซึ่งบางครั้งพบอุปสรรคในการตรวจพบสารเคมีในผลิตภัณฑ์อาหารส่งออก และมีปัญหาข้อพิพาทระหว่างกัน เช่น ไม่ชำระเงิน จัดส่งสินค้าไม่ครบ/ล่าช้า/ไม่ถูกต้อง เป็นต้น ความสัมพันธ์ด้านการค้าและการลงทุนระหว่างไทยและกรีซสามารถขยายตัวได้อีกมาก หากนักธุรกิจของทั้งสองฝ่ายจะเพิ่มความสนใจตลาด และศึกษาโอกาส ลู่ทาง และศักยภาพของกันและกันมากกว่าที่ผ่านมา โดยกลุ่มสินค้าที่ไทยมีศักยภาพแข่งขันในระดับโลก ยังคงมีแนวโน้มที่ดีในตลาดกรีซ อาทิ 1) รถบรรทุกเล็ก 2) รถจักรยานยนต์/อุปกรณ์ 3) เครื่องปรับอากาศ/เครื่องทำความเย็น เนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่มีแนวโน้มร้อนขึ้นในกรีซ 4) เสื้อผ้า/เครื่องนุ่งห่ม โดยเฉพาะที่ออกแบบสวยงาม/คุณภาพดี เพื่อสร้างความแตกต่างจากเสื้อผ้านำเข้าราคาถูก 5) เครื่องประดับ อัญมณี 6) สินค้าอาหาร/อาหารกระป๋อง (ปลาทูน่ากระป๋อง สับปะรดกระป๋อง ฯลฯ) และ 7) กลุ่มสินค้าที่เน้นการออกแบบในระดับราคาต่างๆ(เฟอร์นิเจอร์บ้าน/สำนักงาน อุปกรณ์/ของประดับบ้าน ฯลฯ) เป็นต้น นอกจากนี้ การลงทุน และประกอบธุรกิจร่วมระหว่างไทย-กรีซ ก็เป็นเรื่องที่น่าสนใจ ควรศึกษาความเป็นไปได้ เนื่องจากกรีซมีนักธุรกิจร่ำรวยจำนวนมาก ซึ่งนิยมนำเงินไปลงทุนในต่างประเทศ กอปรกับได้ชื่อว่า มีชั้นเชิงทางธุรกิจสูง และมีทักษะเรื่องการตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งตลาดประเทศเพื่อนบ้านของกรีซ ดังนั้น หากนักธุรกิจไทยสามารถหาหุ้นส่วนทางธุรกิจที่เหมาะสมได้ ก็จะช่วยกระจายสินค้าไทยไปสู่ตลาดบอลข่าน ซึ่งไทยยังไม่คุ้นเคยได้เป็นอย่างดี- การท่องเที่ยว ชาวกรีกนิยมเดินทางไปท่องเที่ยวประเทศไทยมากขึ้นตามลำดับ โดยล่าสุดมีจำนวนประมาณ 18,000 คน/ปี เนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวไทยมีความหลากหลายและสวยงาม ราคาไม่สูง คนไทยเป็นมิตร ประทับใจใน การให้บริการ และการบินไทยมีเที่ยวบินตรงระหว่างกรุงเทพฯ และเอเธนส์ สัปดาห์ละ 3 เที่ยวบิน ในขณะที่นักท่องเที่ยวไทยเดินทางไปเยือนกรีซไม่มากนัก เฉลี่ยประมาณ 1,500-2,000 คน/ปี- การเยือน- ฝ่ายไทย - ฝ่ายกรีซกองทัพกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจเศรษฐกิจ. - ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) 172.5 พันล้าน USD (2546) 201.1 พันล้าน USD (2545) - GDP Per Capita 16,223 USD (2546) 19,000 USD (2545) - อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 4.3 (2546) ร้อยละ 3.5 (2545) - อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 3.4 (2546) ร้อยละ 3.6 (2545) - อัตราการว่างงาน ร้อยละ 9.4 (2546) ร้อยละ 10.3 (2545) - ปริมาณการส่งออก 7.8 พันล้าน USD (2546) 12.6 พันล้าน USD (2545) - ปริมาณการนำเข้า 35.2 พันล้าน USD (2546) 31.4 พันล้าน USD (2545) - สินค้าส่งออกสำคัญ อาหารและเครื่องดื่ม สิ่งทอ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม อุปกรณ์ไฟฟ้าและโทรคมนาคม - สินค้าเข้าสำคัญ เครื่องจักรอุตสาหกรรม อุปกรณ์ยานพาหนะ พลังงาน - ตลาดส่งออกสำคัญ อียู (44%) สหรัฐอเมริกา และบัลแกเรีย (5.7%) ไซปรัส (4.8%) FYROM (3.7%) - ตลาดนำเข้าสำคัญ อียู (50.8%) รัสเซีย (5.3%) ซาอุดิอาระเบีย (3.5%) สหรัฐอเมริกา (3.3%) อิหร่าน (3.2%)ประชากรศาสตร์เมืองใหญ่เชื้อชาติ ประชากรศาสตร์. เชื้อชาติ. นิกายกรีกออร์ทอดอกซ์ (Geek Orthodox)ภาษาศาสนา ศาสนา. ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายกรีกออร์ทอดอกซ์ (98%)กีฬาวัฒนธรรมนักปรัชญา วัฒนธรรม. นักปรัชญา. เสาหลักของปรัชญาตะวันตก นักปรัชญากรีซที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่วโลกในฐานะ เสาหลักของปรัชญาตะวันตก มีอยู่3ท่านคือ โสกราตีส เพลโต และอริสโตเติล- โสกราตีส เกิดที่กรุงเอเธนส์ เมื่อ 470 ปีก่อนคริสตกาล เคยได้ เข้าร่วมในการทำสงครามเปลโอปอนนีเซียน หลังจากนั้นเขาอุทิศเป็นผู้สอนวิชาตรรกวิทยา “Know Thyself” ตามสถานที่สาธารณะต่าง ๆ วิธีการสอนของท่านคือการตั้งคำถามและตอบ เมื่ออายุ 70 ปี โสกราตีสต้องโทษตามกฎหมายกรีซให้ดื่มยาพิษ- เพลโต เกิดที่กรุมเอเธนส์เมื่อ 428 ปี ก่อนคริสตกาล ท่านเป็นลูกศิษย์ของโสกราตีสที่เคารพและเทิดทูนโสกราตีสมาก เพลโตได้ตั้งวิทยาลัยสอนวิชาวิทยาศาสตร์และปรัชญาขึ้นเป็นแห่งแรกในกรุงเอเธนส์เมื่อ 387 ปีก่อนคริสต์ศักราช ผลงานเขียนของเพลโตเป็นคำสอนรูปของบทสนทนาในหนังสือชื่อ The Republic ของเพลโต ท่านแยกพลเมืองออกเป็น 3 กลุ่มคือ ประชาชน ทหาร และผู้ปกครองประเทศ เพลโตเป็นผู้ให้หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับอธิปไตยไว้อย่างชัดเจนว่า หญิงและ ชาย มีฐานะเท่าเทียมกันและจะต้องได้รับการศึกษาเหมือนกัน รัฐจะต้องจัดการแต่งงานให้ประชาชน เด็กแรกเกิดจะถูกแยกจากพ่อ แม่เพื่อประชาชนจะได้ไม่มีความผูกพันเป็นส่วนตัวเพื่อให้ประชาชนมีความรู้สึกในความเป็นเจ้าของรัฐแต่เพียงอย่างเดียว- อริสโตเติล เกิดที่เมืองสตากิรา ภูมิภาคมาซีโดเนีย เมื่อ 384 ปีก่อนคริสตกาล ท่านเดินทางไปเอเธนส์เพื่อศึกษาวิชาปรัชญาที่สำนักของเพลโตเมื่อ 367 ปีก่อนคริสตกาลและพำนักอยู่ที่นั่นเป็นเวลา 20 ปี จนกระทั่งเพลโตถึงแก่กรรม จึงเดินทางไปเผยแพร่คำสอนตามหลักปรัชญาของเพลโตในที่ต่าง ๆ เป็นเวลา 10ปี แล้วจึงตั้งสำนักศึกษาของท่านเองชื่อว่า The Lyceum นาน 12 ปี อริสโตเติลเป็นนักคิดคนแรกที่ค้นพบวิชา ตรรกวิทยา โดยอาศัยข้อเท็จจริง 2 ข้อ สนับสนุนกันและกัน เช้น ความดีทุกอย่างควรสรรเสริญ และความกรุณาก็เป็นความดีอันหนึ่ง ฉะนั้นความกรุณาจึงควรได้รับการสรรเสริญด้วย เป็นต้น วรรณคดีนักกวี นักกวี. กวีสมัยโบราณที่ยิ่งใหญ่ของกรีซคือ โฮเมอร์กับ ฮีเสียดทั้ง 2 ท่านได้เขียนมหากาพย์ที่สำคัญ หลายเรื่อง และมหากาพย์เรื่องกรุงทรอยอยู่ด้วย นักเขียนนักค้นคว้าชื่อ เฮ็นริช ชีลมานน์ ได้ค้นคว้าเรื่องเมืองทรอย จนค้นพบว่ามีอยู่จริง ที่เมือง Hissarlik ทางตอนเหนือของตุรกีในอดีตกาล เมื่อพบเมืองทรอยแล้ว ชีลมานน์ขุดค้นพบประวัติศาสตร์ในยุคบรอนซ์ตามที่อ้างในมหากาพย์ของโฮเมอร์ต่อไป การขุดหาสมบัติในวรรณคดีของเขานำไปสู่การค้นพบ 3 นครสำคัญ ที่ได้ชื่อว่า กนกนคร ตามประวัติศาสตร์ในยุคสมัยของโฮเมอร์นั่นคือ Mycenae, Tiryns และ Orchomenos ก่อนที่นักเขียนนักค้นคว้าคนสำคัญของโลกจะตายไป เขาได้เผยให้เห็นเค้าโครงรูปร่างของอาณาจักรมาซิเนียนให้ประจักษ์แก่ตาชาวโลกนักค้นคว้า นักค้นคว้า. นักค้นคว้าชื่อ อาร์เธอร์ อีแวนส์ค้นพบแหล่งอารยธรรมมิโนอัน และร่องรอยของอารยธรรมที่เคยรุ่งเรืองในอดีตของอาณาจักรไมนอส ซึ่งเป็นการยืนยันว่า โฮเมอร์ มหากวีเอกของโลกชาวกรีก ได้บันทึกเรื่องราวของยุคสมัยไว้อย่างถูกต้องตามความเป็นจริง มิได้เขียนขึ้นจากความคิดเพ้อฝันแต่อย่างใดสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม. กรีซมีชื่อเสียงทางเรื่องศิลปะเป็นต้นแบบของงานสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะเด่นและสง่างามของเสาหินแบบวิหารพาร์เธนอน ที่ตกแต่งตรงส่วนบนของหัวเสาด้วยศิลปะแบบกรีกมี 3 แบบ คือ ดอริก, ไอโอนิก และคอรินเธียน จะเห็นเสาหินแบบกรีกเป็นส่วนตกแต่งด้านหน้าของอาคารสำคัญ ๆ และสิ่งก่อสร้างที่เป็นงานสถาปัตยกรรมเลื่องชื่อของโลกตามเมืองหลวงของประเทศต่าง ๆ ในยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย สถานที่ทำงานสำคัญ ๆ ของประเทศที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ ล้วนนำสถาปัตยกรรมศิลป์ของกรีซไปประยุคผสมผสาน ในการก่อสร้างเป็นการยอมรับในอารยธรรมที่รุ่งเรืองของกรีซโบราณและเป็นการถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมที่เคยเฟื่องฟูในอดีตของกรีซไปทุกมุมโลกนอกจาก งานสถาปัตยกรรมที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของกรีซที่เผยแพร่ไปทั่วโลกแล้ว งานจิตรกรรมและประติมากรรมของกรีซยังเป็นมรดกล้ำค่าที่บรรดาพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ต่าง ๆ พยายามเสาะหามาเป็นสมบัติเก็บสะสมไว้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ถึงแม้งานศิลปะชั้นเยี่ยมของกรีซจะกลายเป็นสมบัติของพิพิธภัณฑ์ชั้นนำของประเทศอื่นแต่กรีซก็ยังมีงานศิลปะโบราณอยู่ในประเทศอีกมากอาหาร อาหาร. มะกอกและเฟต้าชีสดนตรี และ นาฎศิลป์การละครยุคกรีก (250 ปีก่อน พ.ศ. – พ.ศ. 250) ดนตรี และ นาฎศิลป์. การละครยุคกรีก (250 ปีก่อน พ.ศ. – พ.ศ. 250). ละครกรีกสันนิษฐานว่า ถือกำเนิดขึ้นประมาณ 800 – 700 ปีก่อนคริสตกาล โดยเริ่มจากการประกวดการร้องรำทำเพลงเป็นหมู่ (Choral dance) ซึ่งเรียกว่า ดิธีแรมบ์ (dithyramb) ในเทศกาลที่จัดขึ้นเพื่อบวงสรวงเทพเจ้าไดโอนีซุส (Dionysus) เทพเจ้าแห่งเหล้าองุ่นและความอุดมสมบูรณ์ จากการร้องรำทำเพลงเป็นหมู่โดยกลุ่มคนที่เรียกว่า คอรัส (Chorus) ในการแสดง ดิธีแรมบ์ ก็เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การแสดงในรูปแบบของละคร กล่าวคือมีนักแสดงเดี่ยวๆ แยกออกมาต่างหาก และทำการสนทนาโต้ตอบกับกลุ่มคอรัส ฉะนั้น แทนที่จะเป็นเพียงการร้องเพลงเล่าเรื่องจากพวกคอรัสตรงๆ ก็เปลี่ยนเป็นการสนทนาระหว่างตัวละครกับกลุ่มคอรัส ในปี 534 ก่อนคริสตกาล เริ่มมีการประกวดการแต่งบทและการจัดแสดงละครแทรเจดี นักการละครชื่อ เธสพิส (Thespis) เป็นผู้ชนะการประกวดครั้งแรกนี้ ละครของเธสพิสใช้นักแสดงเพียงคนเดียว เล่นทุกบทที่มีอยู่ในละครเรื่องนั้น โดยใช้การเปลี่ยนหน้ากาก เป็นการเปลี่ยนบทที่แสดง และมีคอรัสเป็นตัวเชื่อมโยงเรื่องราวเข้าด้วยกัน 500 ปีก่อนคริสตกาล ถือว่าเป็นยุคทองของการละครกรีก มีการประกวดเขียนบทละครและจัดการแสดงละครในด้านต่างๆ ทำให้การละครรุ่งเรืองมาก บทละครส่วนใหญ่ของกรีกที่เหลือมาถึงปัจจุบัน ก็เป็นบทละครที่เขียนขึ้นในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาลนี่เอง ประเภทของละครกรีก ละครกรีก ที่หลงเหลือมาถึงยุคปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ1. ละครแทรเจดี (Tragedy) ละครแทรเจดีของกรีกแสดงให้เห็นชีวิตตัวละครตัวเอก ที่มีความน่ายกย่องสรรเสริญ แต่ต้องดิ้นรนต่อสู้กับอำนาจของชะตากรรมซึ่งเทพเจ้าเป็นผู้ลิขิต แม้ว่าในที่สุดจะต้องพ่ายแพ้และประสบหายนะ แต่เป็นความพ่ายแพ้ที่ดิ้นรนต่อสู้ถึงที่สุดแล้ว เรื่องราวของละครกรีกยุคแรกๆ เป็นการสรรเสริญและเล่าเรื่องราวเทพเจ้า โดยมักนำโครงเรื่องมาจากมหากาพย์อีเลียด (Iliad) และ โอดิสซี (Odyssey)1. ละครคอมเมดี (Comedy) ละครคอมเมดีเป็นละครที่ให้ความรู้สึกตลกขบขัน เพราะความบกพร่องของมนุษย์ เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสมัยนั้น ซึ่งเกี่ยวกับการเมือง สงครามและสันติภาพ ทัศนะเกี่ยวกับศิลปะในแง่ต่างๆ การโจมตีหรือเสียดสีตัวบุคคล ฯลฯ คอมเมดีเป็นเรื่องที่แต่งขึ้นใหม่ มากกว่านำมาจากตำนานเช่นแทรเจดีสื่อสารมวลชนวันหยุด
| ประเทศกรีซตั้งอยู่ทางทิศใดของทวีปยุโรป | {
"answer": [
"ตะวันออกเฉียงใต้"
],
"answer_begin_position": [
235
],
"answer_end_position": [
251
]
} |
718 | 23,316 | ประเทศสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ (; อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง ค.ศ. 1603 เมื่อพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ครองบัลลังก์อังกฤษโดยทรงใช้พระนามว่า พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ จึงมีผลให้ทั้งสองประเทศมีพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวกัน เรียกว่า การรวมราชบัลลังก์ (Union of the Crowns) อย่างไรก็ตาม รัฐบาลของทั้งสองยังคงแยกจากกันอยู่จนกระทั่งวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1707 ในรัชสมัยของสมเด็จพระราชินีแอนน์ อังกฤษและสกอตแลนด์ได้รวมตัวกันด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ ตามพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 มีผลให้รวมเข้ากับราชอาณาจักรอังกฤษ และกลายเป็นราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ ระบบกฎหมายของสกอตแลนด์ยังแยกจากระบบกฎหมายของอังกฤษ เวลส์และไอร์แลนด์เหนือ และสกอตแลนด์อยู่ในเขตอำนาจศาลต่างหาก ทั้งในทางกฎหมายมหาชนและเอกชน การคงไว้ซึ่งสถาบันกฎหมาย การศึกษาและศาสนาของตน แยกจากสถาบันของสหราชอาณาจักร ล้วนส่งผลให้มีความต่อเนื่องของวัฒนธรรมสกอตแลนด์และอัตลักษณ์แห่งชาตินับแต่การรวมเข้าเป็นสหภาพ ค.ศ. 1707 ใน ค.ศ. 1999 รัฐสภาสกอตแลนด์ สภานิติบัญญัติแบบระบบสภาเดี่ยวที่จัดตั้งขึ้น(ใหม่)ตามกระบวนการถ่ายโอนอำนาจ และการลงประชามติ ค.ศ. 1997 เปิดประชุมใหม่โดยมีอำนาจเหนือกิจการภายในหลายด้าน ฯ ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2011 พรรคชาติสกอตแลนด์ชนะฝ่ายข้างมากในรัฐสภาสกอตแลนด์ ทำให้นำไปสู่การลงประชามติเอกราชสกอตแลนด์ ซึ่งมีขึ้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 2014 ซึ่งประชากรสกอตแลนด์ข้างมากปฏิเสธ สกอตแลนด์เป็นชาติสมาชิกสภาบริเตน–ไอร์แลนด์ และสมัชชารัฐสภาบริเตน–ไอร์แลนด์ประวัติศาสตร์สังเขปนิรุกติศาสตร์ของชื่อ ประวัติศาสตร์สังเขป. นิรุกติศาสตร์ของชื่อ. "สกอตแลนด์" มาจากคำว่า Scoti ชื่อภาษาละตินสำหรับใช้เรียกพวก Gaels คำละตินในยุคท้ายว่า Scotia ("ดินแดนของ Gaels") เป็นภาษาละตินที่ใช้เรียกไอร์แลนด์มาก่อน เมื่อถึงศตวรรษที่ 11 Scotia เริ่มถูกใช้เพื่ออ้างถึงสก็อตแลนด์ (ส่วนที่พูดภาษาเกลิค) ทางตอนเหนือของแม่น้ำฟอร์ธ ใกล้กับ อัลเบเนีย หรือ อัลบานี ซึ่งทั้งสองมาจากคำภาษาเกลิคว่า Alba (อัลเบอะ) การใช้คำว่า สกอต และ สกอตแลนด์ เพื่อรวมทุกสิ่งที่กลายมาเป็นสกอตแลนด์ กลายมาเป็นปกตินิยมในช่วงปลายยุคกลางการแบ่งเขตการปกครอง
| ประเทศสกอตแลนด์มีพรมแดนทางทิศใต้ร่วมกับประเทศใด | {
"answer": [
"อังกฤษ"
],
"answer_begin_position": [
265
],
"answer_end_position": [
271
]
} |
719 | 2,768 | ประเทศวานูอาตู วานูอาตู (บิสลามา, อังกฤษ และ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐวานูอาตู (บิสลามา: ; ; ) เป็นประเทศหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย 1,750 กม. และตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของนิวแคลิโดเนีย ทางทิศตะวันตกของประเทศฟีจี และทางทิศใต้ของหมู่เกาะโซโลมอน 500 กม. ชื่อของประเทศนี้ในยุคอาณานิคม คือ นิวเฮบริดีส์ (New Hebrides) ประเทศวานูอาตู เป็นประเทศที่มีความสุขมากที่สุดในโลก จากดัชนีความสุขโลกของนิวอีโคโนมิกส์ฟาวเดชั่นส์ (เอ็นอีเอฟ)ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. วานูอาตูมิได้เป็นเกาะเพียงเกาะเดียว ความจริงแล้วเป็นหมู่เกาะ มีเกาะน้อยใหญ่ทั้งหมด 83 เกาะ ในจำนวนนี้ มีอยู่ 2 เกาะ ได้แก่ เกาะแมตทิว (Matthew) และเกาะฮันเตอร์ ซึ่งถือเป็นดินแดนของนิวแคลิโดเนีย (ฝรั่งเศส) ในบรรดาเกาะทั้ง 83 เกาะนั้น มี 14 เกาะที่มีเนื้อที่มากกว่า 100 ตารางกิโลเมตร ได้แก่1. เกาะเอสปีรีตูซันตู (Espiritu Santo) : 3,956 ตารางกิโลเมตร 2. เกาะมาลากูลา (Malakula) : 2041 ตารางกิโลเมตร 3. เกาะเอฟาเต (Éfaté) : 900 ตารางกิโลเมตร 4. เกาะเอร์โรมันโก (Erromango) : 888 ตารางกิโลเมตร 5. เกาะแอมบริม (Ambrym) : 678 ตารางกิโลเมตร 6. เกาะแทนนา (Tanna) : 555 ตารางกิโลเมตร 7. เกาะปองต์โกต (Pentecôte) : 491 ตารางกิโลเมตร 8. เกาะเอปี (Épi) : 445 ตารางกิโลเมตร 9. เกาะแอมเบ (Ambae) หรือ เอาบา (Aoba) : 402 ตารางกิโลเมตร 10. เกาะวานัวลาวา (Vanua Lava) : 334 ตารางกิโลเมตร 11. เกาะซันตามาเรีย (Santa Maria) : 328 ตารางกิโลเมตร 12. เกาะมาเอโว (Maéwo) : 304 ตารางกิโลเมตร 13. เกาะมาโล (Malo) : 180 ตารางกิโลเมตร) และ 14. เกาะอะนาตอม (Anatom) หรือ อาเนติอุม (Aneityum) : 159 ตารางกิโลเมตร เกาะส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง เดินเป็นภูเขาไฟมาก่อน มีสภาพอากาศแบบเขตร้อน หรือกึ่งเขตร้อน เมืองที่ใหญ่สุด คือเมืองหลวง ชื่อว่า "พอร์ตวิลา" ตั้งอยู่บนเกาะเอฟาเต และเมืองลูแกงวีล บนเกาะเอสปีรีตูซันตู จุดที่สูงสุดของวานูอาตู คือภูเขา Tabwemasana มีความสูง 1,879 เมตร (6,158 ฟุต) อยู่บนเกาะเอสปิริตู ซานโต เช่นเดียวกันนิเวศวิทยา นิเวศวิทยา. วานูอาตูถือเป็นภูมิภาคนิเวศบกที่โดดเด่นแห่งหนึ่ง เรียกว่า "ป่าฝนวานูอาตู" วานูอาตูยังเป็นส่วนหนึ่งของเขตนิเวศออสตราเลเชีย (Australasia ecozone) ซึ่งรวมถึงพื้นที่ใกล้เคียงอย่างนิวแคลิโดเนีย และ หมู่เกาะโซโลมอน รวมทั้งออสเตรเลีย ปาปัวนิวกีนี และ นิวซีแลนด์ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. เกาะจำนวนมากของวานูอาตูมีผู้อาศัยมานานนับพัน ๆ ปี หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุด พบว่ามีอายุย้อนไปถึงประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล และเมื่อ ค.ศ. 1606 นักสำรวจชาวโปรตุเกส ชื่อ เปโดร เฟร์นันเดซ เด กีโรส (Pedro Fernández de Quirós) ก็นับเป็นชาวยุโรปคนแรกที่เดินทางมาถึงหมู่เกาะนี้ ชาวยุโรปเริ่มตั้งถิ่นฐานในหมู่เกาะดังกล่าวในปลายศตวรรษที่ 18 หลังจากกัปตันเจมส์ คุก นักสำรวจชาวอังกฤษได้เดินทางมายังหมู่เกาะแห่งนี้ เมื่อระหว่างการเดินทางครั้งที่ 2 ของเขา เมื่อ ค.ศ. 1906 ฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรตกลงที่จะปกครองดินแดนนี้ร่วมกัน โดยเรียกหมู่เกาะแห่งนี้ว่า "นิวเฮบริดีส์" ครั้นถึงทศวรรษ 1960 ประชากรชาววานูอาตูเริ่มกดดันเพื่อก่อตั้งรัฐบาลของตนเอง และภายหลังก็เรียกร้องเอกราชคืน และในที่สุดฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรก็ยอมคืนอำนาจอธิปไตยอย่างสมบูรณ์สู่เจ้าของพื้นที่อีกครั้ง เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 (พ.ศ. 2523) ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 วานูอาตูประสบความผันผวนทางการเมือง และในที่สุดก็นำไปสู่รัฐบาลแบบกระจายอำนาจมากขึ้น บางท่านถือว่าวานูอาตูเป็นหนึ่งในเกาะสวรรค์ที่ยังคงสภาพดังเดิมอย่างแท้จริงการเมืองบริหารนิติบัญญัติ การเมือง. นิติบัญญัติ. รัฐสภาของวานูอาตูเป็นแบบสภานิติบัญญัติสภาเดียว มีสมาชิก 52 คน สมาชิกเหล่านี้ได้รับการเลือกตั้งทุกๆ 4 ปี จากการลงคะแนนเสียง ผู้นำพรรคหลักในรัฐสภา มักจะได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี และเป็นผู้นำคณะรัฐบาล สำหรับประมุขของรัฐ คือประธานาธิบดี ได้รับเลือกคราวละ 5 ปี จากรัฐสภาและประธานรัฐบาลท้องถิ่น 6 จังหวัด อย่างไรก็ตามการจัดตั้งรัฐบาลนั้นยังปรากฏปัญหาหลายต่อหลายครั้ง อันเนื่องมาจากแตกแยกระหว่างผู้พูดภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสสถานการณ์ทางการเมือง สถานการณ์ทางการเมือง. พรรครัฐบาลปัจจุบันประกอบด้วยพรรคเล็ก 8 พรรค และอาจจะทำให้พรรคเล็กเหล่านั้นไปอยู่กับฝ่ายค้านก็ได้ ทำให้รัฐบาลวานูอาตูอาจจะโดนมติไม่ไว้วางใจในเร็ว ๆ นี้ตุลาการการบังคับใช้กฎหมายสิทธิมนุษยชนการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. วาตูอาตูแบ่งการปกครองเป็น 6 จังหวัด (province) ดังนี้- จังหวัดมาลัมปา (Malampa) - จังหวัดเปนามา (Penama) - จังหวัดซันมา (Sanma) - จังหวัดเชฟา (Shefa) - จังหวัดตาเฟีย (Tafea) - จังหวัดตอร์บา (Torba)กองทัพกองทัพบกกองทัพอากาศกองทัพเรือกองกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ. เศรษฐกิจนั้นส่วนใหญ่จะอิงกับเศรษฐกิจแบบเลี้ยงชีพ หรือเกษตรกรรมขนาดเล็ก ซึ่งเลี้ยงชีพประชากรราว 65% สำหรับการประมง บริการการเงินนอกประเทศ และการท่องเที่ยว (เมื่อปี ค.ศ. 1997 มีนักท่องเที่ยวประมาณ 50,000 คน) เป็นเศรษฐกิจหลักอันดับรองลงมา นอกจากนี้ก็ยังมีอุตสาหกรรมขนาดเล็ก รายได้จากการเก็บภาษีส่วนใหญ่มาจากภาษีนำเข้า และ 12.5% เป็นภาษีมูลค่าเพิ่มจากสินค้าและบริการ การเติบโตของเศรษฐกิจนั้นต้องชะลอลงอันเนื่องจากส่วนใหญ่ต้องอาศัยสินค้านำเข้าสำหรับใช้ในชีวิตประจำวัน การประสบภัยธรรมชาติ และระยะทางที่ยาวไกลจากตลาดหลักและระหว่างเกาะน้อยใหญ่ แผ่นดินไหวอย่างรุนแรงในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1999 และตามด้วยสึนามิ ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากต่อเกาะทางตอนเหนือ ทำให้ประชากรหลายพันคนไร้ที่อยู่อาศัยแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงอีกครั้งหนึ่ง เมื่อเดือนมกราคม 2002 ก่อให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ในเมืองหลวง และพื้นที่โดยรอบ ทั้งยังประสบภัยจากสึนามิในเวลาต่อมาด้วย ค่าจีดีพีของวานูอาตูเติบโตโดยเฉลี่ยไม่ถึง 3% ในทศวรรษ 1990 และตอบสนองความสนใจจากต่างประเทศ รัฐบาลจึงได้สัญญาที่จะเข้มงวดกับระเบียบด้านการเงินนอกประเทศ เมื่อกลางปี 2005 รัฐบาลได้เพิ่มความพยายามที่จะเร่งตลาดท่องเที่ยว ประเทศออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ เป็นผู้สนับสนุนหลักจากต่างประเทศของวานูอาตู วานูอาตูเป็นเมืองปลอดภาษี ซึ่งไม่เปิดเผยข้อมูลบัญชีแก่รัฐบาลใดๆ และหน่วยงานควบคุมกฎหมาย ในวานูอาตูนั้น ไม่มีภาษีเงินได้ ไม่มีการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรา บริษัทต่างๆ เลือกที่จะลงทุนในวานูอาตู เพื่อหลีกเลี่ยงกฎระเบียบ และการกระทำผิดกฎหมายการท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม และ โทรคมนาคมการศึกษาสาธารณสุขประชากร ประชากร. ประชากร : 202,609 คน (กรกฎาคม 2547) ประชากรส่วนใหญ่ของวานูอาตูเป็นชาวเมลานีเซียพื้นเมือง หรือนีวานูอาตู ส่วนที่เหลือประกอบด้วยชาวยุโรป เอเชีย และชาวหมู่เกาะอื่นๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก ภาษาที่ใช้อย่างเป็นทางการมีด้วยกัน 3 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาบิสลามา อันเป็นภาษาลูกผสมแบบหนึ่ง ที่มีรากฐานจากภาษาอังกฤษ นอกจากนี้แล้วยังมีภาษาถิ่นต่างๆ อีกกว่า 100 ภาษาที่ใช้พูดกันในหมู่เกาะนี้ นับเป็นพื้นที่ซึ่งมีความหนาแน่นของภาษาสูงที่สุดในภูมิภาคใดๆ ของโลก (โดยเฉลี่ยมีผู้พูดเพียง 2,000 คนต่อ 1 ภาษา) พื้นที่ซึ่งมีความหนาแน่นใกล้เคียงกันก็คือ ปาปัวนิวกินี ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่ประชากรนับถือมากที่สุดในวานูอาตู มีหลายคณะนิกายด้วยกัน สำหรับ Presbyterian เป็นนิกายที่มีผู้นับถือมากที่สุด นั่นคือมีผู้นับถืออยู่ประมาณ 1 ใน 3 ของประชากรทั้งหมด สำหรับลัทธิคาร์โก (Cargo) ก็ได้รับความนิยมนับถือจากผู้ศรัทธาจำนวนหนึ่งวัฒนธรรม วัฒนธรรม. วานูอาตูยังคงมีความหลากหลายของวัฒนธรรมอย่างเหนียวแน่น ทั้งที่เป็นวัฒนธรรมในท้องถิ่น และได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ วัฒนธรรมของวานูอาตูอาจแบ่งได้ตามภูมิภาคหลักๆ 3 ภาคดังนี้- ภาคเหนือ ความมั่งคั่งจะพิจารณาได้จากว่าผู้คนสามารถให้ทรัพย์สินได้มากเท่าใด (โดยเฉพาะสุกร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของความมั่งคั่ง ทั่วทั้งหมู่เกาะแห่งนี้) - ภาคกลาง ถือเป็นแหล่งวัฒนธรรมโปลีนีเซียแบบดั้งเดิมมากกว่า - ภาคใต้ มีวัฒนธรรมการมอบตำแหน่งที่เกี่ยวกับสิทธิพิเศษ นอกจากนี้ชายหนุ่มจะมีพิธีต่าง ๆ เกี่ยวกับการเข้าสู่ความเป็นผู้ใหญ่ เพื่อการเริ่มต้นชีวิตวัยผู้ใหญ่สื่อมวลชนวันหยุดกีฬารักบี้
| ชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศวานูอาตูคืออะไร | {
"answer": [
"สาธารณรัฐวานูอาตู"
],
"answer_begin_position": [
149
],
"answer_end_position": [
166
]
} |
720 | 673,326 | เกรจ วาเลนไทน์ เกรโกรี วิสนิสกี () เกิดวันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 1951 เป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อว่า เกรจ วาเลนไทน์ () ในหลักสูตรของอาชีพของเขาซึ่งได้ยาวนานกว่าสี่ทศวรรษที่ผ่านมา, วาเลนไทน์ได้แชมป์ทั้งหมด 40 แชมป์รวมทั้งแชมป์ NWA United States Heavyweight สหรัฐอเมริกาแชมป์รุ่นและสากลแชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัล WWF เป็นศิษย์เก่าของ WWE และ WCW และได้รับบรรจุชื่อเข้าสู่ หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี ประจำปี 2004ผลงานแชมป์ผลงานแชมป์. - Alabama Wrestling Federation- AWF Heavyweight Championship - AWF Tag Team Championship - with Brutus Beefcake - American Wrestling Association- AWA Midwest Tag Team Championship (2 times) - with Jerry Miller- American Wrestling Federation- AWF Tag Team Championship (1 time) - with Tommy Rich- Bad Boys of Wrestling- BBOW Heavyweight Championship (1 time)- Canadian Grand-Prix Wrestling- CGPW Heavyweight Championship (1 time)- International World Class Championship Wrestling- IWCCW Heavyweight Championship (1 time)- International Wrestling Association- IWA Heavyweight Championship (1 time)- Legends Pro Wrestling- Inducted into the LPW Hall of Fame (1/29/11)- Maple Leaf Wrestling- NWA Canadian Heavyweight Championship (Toronto version) (1 time)- Mid-Atlantic Championship Wrestling / World Championship Wrestling- NWA Mid-Atlantic Heavyweight Championship (2 times) - NWA Mid-Atlantic Tag Team Championship (1 time) - with Ric Flair - NWA Mid-Atlantic Television Championship (2 times) - NWA Television Championship (2 times) - NWA United States Heavyweight Championship (3 times) - NWA World Tag Team Championship (Mid-Atlantic version) (4 times) - with Baron Von Raschke (1), Ray Stevens (1), and Ric Flair (2) - WCW United States Tag Team Championship (1 time) - with Terry Taylor- National Wrestling Alliance- NWA North American Heavyweight Championship (1 time)- NWA Hollywood Wrestling- NWA Americas Heavyweight Championship (2 times) - NWA Beat the Champ Television Championship (2 times)- New England Wrestling Alliance- NEWA Hall of Fame (Class of 2013)- North State Wrestling Alliance- NSWA Tag Team Championship (1 time) - with The Honky Tonk Man- NWA Texas- NWA North American Heavyweight Championship (1 time)- NWA Tri-State- NWA United States Tag Team Championship (Tri-State version) (2 times) - with Bill Watts (1) and Gorgeous George, Jr. (1)- NWA Western States Sports- NWA Western States Tag Team Championship (1 time) - with Don Fargo- National Wrestling Federation- NWF World Tag Team Championship (2 times) - with Don Fargo- Prime Wrestling- Prime Tag Team Championship (1 time) – with Jim Neidhart- Portland Wrestling- Portland Pacific Northwest Heavyweight Championship (2 times)- Professional Wrestling Federation- PWF Heavyweight Championship (1 time)- Pro Wrestling Illustrated- PWI Most Hated Wrestler of the Year (1975, 1979, 1983) - PWI ranked him #49 of the top 500 singles wrestlers in the PWI 500 in 1992 - PWI ranked him #119 of the top 500 singles wrestlers of the "PWI Years" in 2003- Pro Wrestling Ohio- PWO Tag Team Championship (1 time) - with Jim Neidhart- Pro Wrestling Revolution- PWR Heavyweight Championship (1 time)- Windy City Pro Wrestling- WCPW League Heavyweight Championship (1 time)- World Wrestling Council- WWC Caribbean Heavyweight Championship (1 time) - WWC Universal Heavyweight Championship (1 time)- World Wrestling Federation / World Wrestling Entertainment- WWF Intercontinental Championship (1 time) - WWF Tag Team Championship (1 time) - with Brutus Beefcake - WWE Hall of Fame (Class of 2004)
| เกรจ วาเลนไทน์ นักมวยปล้ำชาวอเมริกันได้แชมป์ทั้งหมดกี่แชมป์ | {
"answer": [
"40 แชมป์"
],
"answer_begin_position": [
319
],
"answer_end_position": [
327
]
} |
1,893 | 673,326 | เกรจ วาเลนไทน์ เกรโกรี วิสนิสกี () เกิดวันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 1951 เป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อว่า เกรจ วาเลนไทน์ () ในหลักสูตรของอาชีพของเขาซึ่งได้ยาวนานกว่าสี่ทศวรรษที่ผ่านมา, วาเลนไทน์ได้แชมป์ทั้งหมด 40 แชมป์รวมทั้งแชมป์ NWA United States Heavyweight สหรัฐอเมริกาแชมป์รุ่นและสากลแชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัล WWF เป็นศิษย์เก่าของ WWE และ WCW และได้รับบรรจุชื่อเข้าสู่ หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี ประจำปี 2004ผลงานแชมป์ผลงานแชมป์. - Alabama Wrestling Federation- AWF Heavyweight Championship - AWF Tag Team Championship - with Brutus Beefcake - American Wrestling Association- AWA Midwest Tag Team Championship (2 times) - with Jerry Miller- American Wrestling Federation- AWF Tag Team Championship (1 time) - with Tommy Rich- Bad Boys of Wrestling- BBOW Heavyweight Championship (1 time)- Canadian Grand-Prix Wrestling- CGPW Heavyweight Championship (1 time)- International World Class Championship Wrestling- IWCCW Heavyweight Championship (1 time)- International Wrestling Association- IWA Heavyweight Championship (1 time)- Legends Pro Wrestling- Inducted into the LPW Hall of Fame (1/29/11)- Maple Leaf Wrestling- NWA Canadian Heavyweight Championship (Toronto version) (1 time)- Mid-Atlantic Championship Wrestling / World Championship Wrestling- NWA Mid-Atlantic Heavyweight Championship (2 times) - NWA Mid-Atlantic Tag Team Championship (1 time) - with Ric Flair - NWA Mid-Atlantic Television Championship (2 times) - NWA Television Championship (2 times) - NWA United States Heavyweight Championship (3 times) - NWA World Tag Team Championship (Mid-Atlantic version) (4 times) - with Baron Von Raschke (1), Ray Stevens (1), and Ric Flair (2) - WCW United States Tag Team Championship (1 time) - with Terry Taylor- National Wrestling Alliance- NWA North American Heavyweight Championship (1 time)- NWA Hollywood Wrestling- NWA Americas Heavyweight Championship (2 times) - NWA Beat the Champ Television Championship (2 times)- New England Wrestling Alliance- NEWA Hall of Fame (Class of 2013)- North State Wrestling Alliance- NSWA Tag Team Championship (1 time) - with The Honky Tonk Man- NWA Texas- NWA North American Heavyweight Championship (1 time)- NWA Tri-State- NWA United States Tag Team Championship (Tri-State version) (2 times) - with Bill Watts (1) and Gorgeous George, Jr. (1)- NWA Western States Sports- NWA Western States Tag Team Championship (1 time) - with Don Fargo- National Wrestling Federation- NWF World Tag Team Championship (2 times) - with Don Fargo- Prime Wrestling- Prime Tag Team Championship (1 time) – with Jim Neidhart- Portland Wrestling- Portland Pacific Northwest Heavyweight Championship (2 times)- Professional Wrestling Federation- PWF Heavyweight Championship (1 time)- Pro Wrestling Illustrated- PWI Most Hated Wrestler of the Year (1975, 1979, 1983) - PWI ranked him #49 of the top 500 singles wrestlers in the PWI 500 in 1992 - PWI ranked him #119 of the top 500 singles wrestlers of the "PWI Years" in 2003- Pro Wrestling Ohio- PWO Tag Team Championship (1 time) - with Jim Neidhart- Pro Wrestling Revolution- PWR Heavyweight Championship (1 time)- Windy City Pro Wrestling- WCPW League Heavyweight Championship (1 time)- World Wrestling Council- WWC Caribbean Heavyweight Championship (1 time) - WWC Universal Heavyweight Championship (1 time)- World Wrestling Federation / World Wrestling Entertainment- WWF Intercontinental Championship (1 time) - WWF Tag Team Championship (1 time) - with Brutus Beefcake - WWE Hall of Fame (Class of 2004)
| เกรจ วาเลนไทน์ นักมวยปล้ำชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"20"
],
"answer_begin_position": [
135
],
"answer_end_position": [
137
]
} |
721 | 51,845 | วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ วัดพระฝาง หรือชื่อเต็มว่า วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ ตั้งอยู่ที่บ้านฝาง หมู่ที่ 3 ต.ผาจุก อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ เป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ตามทะเบียนวัดระบุว่า ประมาณปี พ.ศ. 1700 (ก่อนสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช) วัดพระฝางนับว่าเป็นกลุ่มโบราณสถานของศูนย์กลางเมืองฝางสวางคบุรี เพียงแห่งเดียวที่ยังหลงเหลืออยู่ วัดนี้เป็นวัดพระมหาธาตุประจำเมืองสวางคบุรี ซึ่งในอดีตได้รับการนับถือเทียบเท่ากับพระธาตุเจดีย์หริภุญชัย และพระพุทธบาทสระบุรี นอกจากนี้ วัดพระฝางนั้น ยังเคยเป็นวัดที่จำพรรษาของ “เจ้าพระฝาง” เมืองสวางคบุรี ผู้นำชุมนุมเจ้าพระฝางในคราวเสียสมัยกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 อีกด้วย วัดพระฝาง มีปูชนียสถานที่สำคัญที่สุดคือพระธาตุเจดีย์ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ตั้งอยู่กลางกลุ่มโบราณสถานวัดพระฝาง สันนิษฐานว่าพระเจดีย์องค์นี้สร้างในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นพระบรมธาตุศักดิ์สิทธิ์สำคัญของอาณาจักรมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์ ราชทูตจากราชสำนักฝรั่งเศสซึ่งเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้บันทึกไว้ในหนังสือของท่านว่า พระมหาธาตุองค์นี้ได้รับการเคารพนับถือว่าเป็นพุทธปูชนียสถานสำคัญของอาณาจักรคู่กับรอยพระพุทธบาทสระบุรี ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์ได้เสด็จขึ้นทำศึกชนะเจ้าพระฝางและตั้งงานสมโภชพระมหาธาตุเมืองพระฝางถึง 3 วัน เทียบเท่างานนมัสการพระพุทธชินราช แต่ความศรัทธาในพระมหาธาตุเมืองฝางคงได้เสื่อมถอยลงในช่วงหลัง จากความเสื่อมของเมืองสวางคบุรี หลังชุมนุมเจ้าพระฝางถูกตีแตกในสมัยธนบุรี จนในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ พระเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์องค์เดิมได้ปรักหักพังไปมาก ทำให้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้มีการบูรณะพระมหาธาตุเมืองพระฝางใหม่ แปลงเป็นแบบเจดีย์ทรงลังกาดังที่เห็นในปัจจุบัน นอกจากนี้ วัดพระฝางยังมีอุโบสถมหาอุด (มีประตูทางเข้าบานเดียว) อยู่ด้านทิศตะวันตกของกลุ่มโบราณสถาน ตัวอุโบสถมีสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งเดิมภายในอุโบสถเคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปพระฝาง ซึ่งปัจจุบันตัวอุโบสถยังคงมีบานประตูไม้และหน้าบันแกะสลักศิลปะสมัยอยุธยาอันสวยงามอยู่ (บานปัจจุบันเป็นบานจำลอง) และด้านทิศตะวันออกของกลุ่มโบราณสถานมีพระวิหารหลวง เดิมเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปเชียงแสน ปัจจุบันในพระวิหารหลวงมีบานประตูไม้แกะสลักวัดพระฝาง (เป็นบานประตูบานจำลอง สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2551 เพื่อนำมาติดตั้งแทนที่บานประตูเดิมที่ได้นำไปเก็บรักษาที่วัดธรรมาธิปไตยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494) ปัจจุบัน วัดพระฝางมีพระมหาณรงค์ กิตติสาโร เป็นเจ้าอาวาส พระลูกวัดทั้งสิ้น 15 รูป วัดแห่งนี้ ได้รับขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 52 ลงวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 มีพื้นที่ได้รับประกาศเป็นโบราณสถานประมาณ 32 ไร่ 3 งาน 90 ตารางวาประวัติ ประวัติ. วัดพระฝางปรากฏชื่ออยู่ในศิลาจารึกหลักที่ 2 ซึ่งได้กล่าวถึงพระมหาเถรศรีศรัทธา ซึ่งเชื่อว่าเป็นหลานของพ่อขุนผาเมือง ว่าก่อนที่ท่านจะเดินทางไปจาริกแสวงบุญที่ลังกา ในสมัยพญาเลอไท ได้แวะมานมัสการพระธาตุวัดพระฝาง แล้วจึงเดินทางต่อไปยังเมืองแพร่ ลำพูน และลงเรือที่อ่าวเมาะตะมะไปลังกา นอกจากนี้ในศิลาจารึกหลักที่ 3 ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 1900 ก็ได้ปรากฏชื่อเมืองฝางอยู่ด้วยเช่นกัน ในจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ อัครราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ซึ่งเข้ามาทูลพระราชสาส์นในปลายรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2230) ก็ได้กล่าวถึงความศรัทธาของคนสยามต่อพระทันตธาตุเมืองพระฝางไว้เช่นเดียวกัน แสดงถึงความสำคัญของพระบรมธาตุเมืองฝางในสมัยนั้นได้เป็นอย่างดี ในปี พ.ศ. 2310 ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา วัดพระฝางมีความสำคัญมาก คือ เป็นศูนย์กลางของชุมชนพระฝาง ซึ่งมี "เจ้าพระฝาง" (เรือน) เป็นหัวหน้าสามารถขยายอาณาเขตกว้างขวางจากทิศเหนือ ถึงเมืองแพร่ เมืองน่าน ทิศใต้ถึงเมืองพิษณุโลก ทิศตะวันออกถึงลาว และทิศตะวันตกถึงเมืองศรีสัชนาลัย เป็นชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นชุมนุมสุดท้ายที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงรวบรวมเป็นอาณาเขตเดียวกันกับกรุงธนบุรี เมื่อ พ.ศ. 2313 วันที่ 25 ต.ค. พ.ศ. 2444 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้เสด็จฯ มาสักการะวัดพระฝาง ปรากฏข้อความในพระราชนิพนธ์ของพระองค์ตอนหนึ่งว่า “เมื่อถึงหน้าเมืองฝางก็มีหาดโต เมืองนั้นตั้งอยู่ฝั่งตะวันออก มีพระวิหารกลางใหญ่ มีลายประตูเป็นลายสลักก้านขดหน้าสัตว์ต่าง ๆ เช่น บานวัดสุทัศน์ แต่เด่นออกมามากกว่าวัดสุทัศน์ ทำงามดีมาก” พระฝางเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ทรงเครื่องอย่างจักรพรรดิราช ศิลปะสมัยอยุธยาวัสดุสัมฤทธิ์ลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง 1 ศอก 1 คืบเศษ สร้างขึ้นสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศแห่งกรุงศรีอยุธยาประมาณ พ.ศ. 2280 มีพุทธลักษณะที่งดงาม เป็นพระพุทธรูปที่สำคัญของแผ่นดินไทยอีกองค์หนึ่ง สันนิษฐานว่าผู้สร้างคือเจ้าพระฝาง ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัดพระฝาง เป็นพระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถวัดพระฝางหรือวัดสว่างคบุรีมุนีนาถ พ.ศ. 2313 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ยกทัพหลวงมาตีชุมนุมพระฝางได้ และโปรดเกล้าฯ ให้รับละครขึ้นมาสมโภช ที่วัดพระฝางถึง 3 วัน เท่ากันกับการสมโภชพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ ซึ่งนับว่าเป็นพระพุทธรูปสำคัญคู่บ้านคู่เมืองไทยองค์หนึ่ง ในรัชสมัยของสมเด็จพระปิยมหาราช (รัชกาลที่5) ได้โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระฝางไปประดิษฐานที่วัดเบญจมบพิตรฯจนถึงปัจจุบันปูชนียสถาน โบราณวัตถุ ปูชนียสถาน โบราณวัตถุ. "เจดีย์พระธาตุวัดพระฝาง" ซึ่งบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ สร้างขึ้นในสมัยสุโขทัย ได้มีการบูรณะครั้งใหญ่ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ "วิหารใหญ่และพระอุโบสถเก่า" สำหรับวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบสุโขทัยลักษณะเดียวกับวัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง แต่เดิมมีพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนประดิษฐานอยู่ แต่ปัจจุบันได้ถูกโจรกรรมไปแล้ว ด้านหลังวิหารเป็นองค์พระธาตุ มีกำแพงล้อมรอบ บริเวณหลังสุดมีพระอุโบสถเก่าอยู่อีกหลังหนึ่ง สภาพโดยทั่วไปชำรุดทรุดโทรมมาก เดิมมีบานประตูแกะสลักสวยงาม แต่ก็ได้ถูกขโมยไปแล้วเช่นกัน ด้านหน้าโบสถ์มีต้นมะม่วงใหญ่อายุหลายร้อยปีอยู่ต้นหนึ่ง บริเวณรอบนอกวัดด้านหลังเป็นป่าละเมาะ ส่วนด้านหน้ามีบ้านคนอยู่บ้างแต่ไม่หนาแน่น จากหลักฐาน แสดงความสำคัญทางประวัติศาสตร์ รวมทั้งการบูรณะพระบรมธาตุสวางคบุรี ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พอประมวลได้ดังนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2410 โปรดเกล้า ฯให้พระยามหาอำมาตยาธิบดีเป็นแม่กองสักเลข หัวเมืองฝ่ายเหนือขึ้นไป ตั้งอยู่ ณ เมืองพิษณุโลก และโปรดให้พระยาอุตรดิตถาภิบาล ผู้สำเร็จราชการเมืองอุตรดิตถ์เป็นแม่กองรับจ่ายเลข ข้าพระโยมสงฆ์ตามหัวเมืองฝ่ายเหนือ ทำการปฏิสังขรณ์พระเจดีย์วัดพระธาตุในเมืองสวางคบุรีที่เรียกกันว่า เมืองฝาง พระเจดีย์นั้นชำรุดมาก ต้องรื้อลงมาถึงชั้นทักษิณที่สาม เมื่อรื้ออิฐเก่าที่หักพังออกก็พบแผ่นเหล็กเป็นรูปฝาชีหุ้มผนึกไว้แน่น เมื่อตัดแผ่นเหล็กออกจึงพบผอบทองเหลือง บนฝาผอบมีพระพุทธรูปองค์เล็กบุทองคำฐานเงินอยู่องค์หนึ่ง ในผอบมีพระบรมธาตุขนาดน้อยสีดอกพิกุลแห้ง 1,000 เศษ แหวน 2 วง พลอยต่างสี 13 เม็ด เมื่อพระยาอุตรดิตถาภิบาลมีใบบอกมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้า ฯ ให้จัดเรือม่านทองให้ข้าหลวงขึ้นไปรับ เชิญพระบรมธาตุมาขึ้นที่กรุงเก่า เชิญขึ้นไว้ที่พระตำหนักวังป้อมเพชร แล้วจัดเรือพระที่นั่งสยามอรสุมพลมีปี่พาทย์ แตรสังข์ รับเชิญลงมากรุงเทพ ฯ เชิญขึ้นไว้ ณ พระตำหนักน้ำ ทำการสมโภชแล้วเชิญไปประดิษฐานไว้ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีพระราชดำริว่าควรที่จะส่งพระบรมธาตุคืน ให้ไปบรรจุไว้ตามที่ดังเก่าบ้าง แบ่งไว้สักการบูชา ณ กรุงเทพ ฯ บ้าง จึงโปรดเกล้า ฯ ให้ช่างหลวงทำกล่องทองคำเป็นที่บรรจุพระบรมธาตุชั้นใน แล้วใส่กล่องเงินเป็นชั้นที่สอง ใส่ในพระเจดีย์กาไหล่เงินเป็นชั้นที่สาม แล้วใส่ในพระเจดีย์ทองเหลืองเป็นชั้นที่สี่ แล้วใส่ครอบศิลาตรึงไว้แน่นหนา ให้เจ้าพนักงานเชิญพระบรมธาตุใส่พระเสลี่ยงน้อยกั้นพระกรด ไปตั้งบนบุษบกที่พระตำหนักน้ำ พร้อมเครื่องสักการบูชา มีเรือกรมการและราษฎรเมืองนนทบุรี แห่เป็นกระบวนขึ้นไปส่งถึงเมืองปทุม แล้วผู้สำเร็จราชการเมืองกรมการตั้งแต่เมืองปทุมธานีขึ้นไป จัดแจงทำสักการบูชา แล้วจัดเรือแห่มีปี่พาทย์ฆ้องกลองเล่นสมโภชตามมีรับส่งต่อ ๆ จนถึงเมืองสวางคบุรีบานประตูวัดพระฝาง บานประตูวัดพระฝาง. บานประตูเก่าวิหารวัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ เดิมนั้นอยู่วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ แต่เนื่องจากวิหารชำรุดทรุดโทรมมาก อีกทั้งวัดพระฝางในขณะนั้นไม่มีพระภิกษุสามเณรอยู่จำพรรษา พระสุธรรมเมธี (บันลือ ธมฺมธโช) เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ในสมัยนั้นจึงได้ขออนุญาตกรมศิลปากรนำมาเก็บรักษาไว้ที่ อาคารธรรมสภา วัดธรรมาธิปไตย เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 ทิ้งไว้แต่ตัววิหารปล่าว ปราศจากบานประตูอันวิจิตรตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา บานประตูคู่นี้แกะสลักในสมัยอยุธยา แต่ละบานขนาดกว้าง 1.2 เมตร สูง 5.3 เมตร และหนาถึง 16 เซนติเมตร ทำจากไม้ปรุแกะสลักเป็นลายกนกก้านขด ลายพุ่มทรงข้าวบิณฑ์ บานละ 7 พุ่ม ระหว่างพุ่มทรงข้าวบิณฑ์มีกนกใบเทศขนาบ สองข้างขวามือด้านบนมีอกเลาประตูอยู่ตรงกลาง แกะสลักเป็นลายเทพพนม ตอนบนอกเลา 4 องค์ตอนล่างอกเลา 4 องค์ กล่าวกันว่างดงามเป็นที่สองรองจากประตูวิหารวัดสุทัศน์ในกรุงเทพฯ ในปี พ.ศ. 2534 กรมศิลปากรได้ส่งเจ้าหน้าที่มาอนุรักษ์เนื้อด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ บานประตูวัดพระฝางจึงมีสภาพอย่างที่เห็นในปัจจุบัน ในปีพ.ศ. 2550 ได้มีการจัดสร้างบานประตูไม้แกะสลักวิหารวัดพระฝางคู่ใหม่ เพื่อนำกลับไปติดตั้งยังวิหารหลวงวัดพระฝาง (ติดตั้งในเดือนเมษายน พ.ศ. 2551) ซึ่งบานประตูคู่ใหม่นี้มีลักษณะวิจิตรสวยงามเหมือนของเดิมทุกประการ โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกรมศิลปากรในการจัดสร้างประวัติเจ้าพระฝาง "ชุมนุมเจ้าพระฝาง" ประวัติเจ้าพระฝาง "ชุมนุมเจ้าพระฝาง". "เจ้าพระฝาง"เป็นชาวเหนือ บวชพระแล้ว ลงมาร่ำเรียนพระไตรปิฎกที่อยุธยา สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เชี่ยวชาญได้ชั้นมหา เรียกตามชื่อเดิมว่า “มหาเรือน” โปรดเกล้าฯ เป็นพระราชาคณะ ที่ พระพากุลเถระ อยู่วัดศรีโยธยาได้ไม่นาน ก็โปรดเกล้าฯ...ให้เป็น พระสังฆราชา ณ เมืองสวางคบุรี (เมืองฝาง) มีผู้คนเคารพนับถือมาก สร้างพระประธานองค์สำคัญไว้ในโบสถ์วัดสวางคบุรี ครั้นเมื่อรู้ว่ากรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า เจ้าพระฝางก็ซ่องสุมผู้คนได้หลายเมือง ตั้งตัวเป็นเจ้า แต่ไม่ยอมสึกจากพระ เปลี่ยนสีจีวรจากสีเหลืองเป็นสีแดง นับเป็นชุมนุมใหญ่ฝ่ายเหนือ ประชาชนเรียกกันว่า “เจ้าพระฝาง” ปีชวด พ.ศ. 2311 เจ้าพิษณุโลก ผู้นำชุมนุมสำคัญถึงแก่พิราลัย พระอินทรอากรผู้น้องขึ้นครองเมือง เจ้าพระฝางยกกองทัพไปตีพิษณุโลก สู้รบกันสามเดือน ชาวเมืองไม่ชอบเจ้าพิษณุโลกองค์ใหม่ แอบเปิดประตูรับกองทัพเจ้าพระฝางเข้าเมือง ชนะพิษณุโลก ประหารพระอินทรอากรแล้ว เจ้าพระฝางก็สั่งให้ขนทรัพย์สินจากเมืองพิษณุโลก และอพยพผู้คนไปปักหลักอยู่ที่เมืองสวางคบุรี ชื่อ เสียงของชุมนุมเจ้าพระฝางก็ยิ่งเลื่องลือระบือไกล สองปีต่อมา กรมการเมืองอุทัยธานี และเมืองชัยนาท กราบทูลพระเจ้ากรุงธนบุรีว่า เจ้าพระฝางประพฤติเป็นพาลและทุศีลมากขึ้น ตัวยังห่มผ้าเหมือนพระ แต่ ประกอบกรรมปาราชิก พวกพระที่เป็นแม่ทัพนายกองก็ออกปล้นข้าวปลาอาหารจากราษฎร เดือดร้อนกันไปทั่ว พระเจ้ากรุงธนฯ โปรดให้พระยาพิชัยราชา คุมทัพไปทางตะวันตก ให้พระยายมราช (กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ในรัชกาลที่ 1) คุมทัพไปทางตะวันออก สองทัพสมทบกันโจมตีเมืองสวางคบุรี สภาพเมืองสวางคบุรี ที่มั่นเจ้าพระฝาง ไม่มีกำแพง มีแต่ระเนียดไม้ขอนสักถมเชิงเทินดิน เจ้าพระฝางสู้ได้สามวันก็แตกพ่ายหนี พาลูกช้างพังเผือกหนีไปด้วย กองทัพพระเจ้ากรุงธนฯติดตามไป ได้ช้างพังเผือกคืน ตัวเจ้าพระฝางหายสาบสูญไป โปรดให้มีละครหญิง สมโภชพระประธานวัดสวางคบุรี 7 วัน นับเป็นงานใหญ่เทียบเท่างานสมโภชพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ ที่พิษณุโลกอัญเชิญพระฝางไปยังวัดเบญจมบพิตร อัญเชิญพระฝางไปยังวัดเบญจมบพิตร. ในปี พ.ศ. 2444 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) โปรดให้อัญเชิญองค์พระประธาน ที่เรียกกันว่า “พระฝาง” ลงมายังวัดเบญจมบพิตร กรุงเทพฯ โดยทิ้งฐานพระไว้ที่เดิม พ.ศ. 2451 ปรากฏพระราชหัตถเลขา ถึงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ความว่า “ให้จำลองรูปพระฝาง ได้สั่งให้ช่างรีบปั้นหุ่นถ่ายรูปไว้แล้ว ให้กระทรวงมหาดไทยคิดจัดพระฝางกลับคืนไปไว้ที่เมืองฝางตามเดิมให้ทันฤดูน้ำ นี้” แต่ในปัจจุบันนี้ เกินเวลาหนึ่งร้อยปีแล้ว องค์พระฝางก็ยังประดิษฐานอยู่วัดเบญจมบพิตร มิได้กลับคืนไปอุตรดิตถ์ ตามพระราชดำริแต่ประการใด ในปี พ.ศ. 2549 คณะสงฆ์และหน่วยงานราชการในจังหวัดอุตรดิตถ์ ได้ร่วมใจหล่อพระฝางทรงเครื่อง (จำลอง) องค์ใหม่ โดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงประกอบพิธีเททองหล่อพระฝางทรงเครื่อง ณ วัดเบญจมบพิตร เมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 เพื่อนำ พระฝางทรงเครื่อง (จำลอง) ที่ได้หล่อขึ้นใหม่ กลับสู่จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อเป็นขวัญกำลังใจและเคารพสักการะของชาวพระฝางและชาวจังหวัดอุตรดิตถ์สืบไป ดูเพิ่มได้ที่ พระฝาง (พระพุทธรูป)วัดพระฝางในปัจจุบัน วัดพระฝางในปัจจุบัน. ปัจจุบันภายในวัดพระฝางยังมีปรากฏหลักฐานเป็นหมู่โบราณสถานอยู่ในบริเวณวัด มีพระวิหารหลวงกับองค์เจดีย์ประธานตั้งอยู่แนวทิศตะวันออก ทิศตะวันตกมีกำแพงด้านหน้า กำแพงแก้วล้อมรอบวิหารและเจดีย์โดยตลอด ด้านหลังเจดีย์เป็นกุฏิพระสังกัจจายณ์ซึ่งปฏิสังขรณ์ใหม่ แต่ยังรักษาเค้าโครงเดิมอยู่ภายนอกกำแพงแก้วออกมาข้างพระเจดีย์ด้านทิศใต้มีศาลาพระพุทธบาทอยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมมาก เป็นอาคารที่สร้างขึ้นใหม่ แบบช่างพื้นบ้านทั่วไป ส่วนโบสถ์ที่นับว่าสำคัญมากอยู่เยื้องทิศตะวันตกเฉียงใต้ ห่างจากวิหารหลวงประมาณ 50 เมตร ซึ่งแต่เดิมเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปพระฝางทรงเครื่อง เป็นศิลปะแบบกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ด้านหลังของโบสถ์มีต้นมะม่วงไข่กายืนต้นขนาดใหญ่ และ บริเวณ หน้าพระวิหารหลวง เป็นที่ตั้งของ พิพิธภัณฑ์วัตถุโบราณของวัดพระฝาง ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมวัตถุโบราณที่ขุดพบในชุมชนบ้านพระฝาง และวัตถุโบราณที่ค้นพบได้จากบริเวณวัดและบริเวณหาดแม่น้ำน่านในปัจจุบัน โดยในวันขึ้น 12 ค่ำ เดือน 4 ของทุกปี ทางวัดพระฝางจะได้จัด "ปฏิบัติธรรมพระอยู่ปริวาสกรรม" และ ก่อนเข้าพรรษา 20 วัน โดยมีพระภิกษุ จากทั่วทุกภาคของประเทศไทย มาร่วมอยู่ปฏิบัติธรรมอยู่ปริวาสกรรม เป็นจำนวนมากทุกปี
| วัดพระฝางจังหวัดอุตรดิตถ์นับว่าเป็นกลุ่มโบราณสถานของศูนย์กลางเมืองใด | {
"answer": [
"เมืองฝางสวางคบุรี"
],
"answer_begin_position": [
392
],
"answer_end_position": [
409
]
} |
1,739 | 51,845 | วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ วัดพระฝาง หรือชื่อเต็มว่า วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ ตั้งอยู่ที่บ้านฝาง หมู่ที่ 3 ต.ผาจุก อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ เป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ตามทะเบียนวัดระบุว่า ประมาณปี พ.ศ. 1700 (ก่อนสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช) วัดพระฝางนับว่าเป็นกลุ่มโบราณสถานของศูนย์กลางเมืองฝางสวางคบุรี เพียงแห่งเดียวที่ยังหลงเหลืออยู่ วัดนี้เป็นวัดพระมหาธาตุประจำเมืองสวางคบุรี ซึ่งในอดีตได้รับการนับถือเทียบเท่ากับพระธาตุเจดีย์หริภุญชัย และพระพุทธบาทสระบุรี นอกจากนี้ วัดพระฝางนั้น ยังเคยเป็นวัดที่จำพรรษาของ “เจ้าพระฝาง” เมืองสวางคบุรี ผู้นำชุมนุมเจ้าพระฝางในคราวเสียสมัยกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 อีกด้วย วัดพระฝาง มีปูชนียสถานที่สำคัญที่สุดคือพระธาตุเจดีย์ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ตั้งอยู่กลางกลุ่มโบราณสถานวัดพระฝาง สันนิษฐานว่าพระเจดีย์องค์นี้สร้างในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นพระบรมธาตุศักดิ์สิทธิ์สำคัญของอาณาจักรมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์ ราชทูตจากราชสำนักฝรั่งเศสซึ่งเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้บันทึกไว้ในหนังสือของท่านว่า พระมหาธาตุองค์นี้ได้รับการเคารพนับถือว่าเป็นพุทธปูชนียสถานสำคัญของอาณาจักรคู่กับรอยพระพุทธบาทสระบุรี ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์ได้เสด็จขึ้นทำศึกชนะเจ้าพระฝางและตั้งงานสมโภชพระมหาธาตุเมืองพระฝางถึง 3 วัน เทียบเท่างานนมัสการพระพุทธชินราช แต่ความศรัทธาในพระมหาธาตุเมืองฝางคงได้เสื่อมถอยลงในช่วงหลัง จากความเสื่อมของเมืองสวางคบุรี หลังชุมนุมเจ้าพระฝางถูกตีแตกในสมัยธนบุรี จนในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ พระเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์องค์เดิมได้ปรักหักพังไปมาก ทำให้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้มีการบูรณะพระมหาธาตุเมืองพระฝางใหม่ แปลงเป็นแบบเจดีย์ทรงลังกาดังที่เห็นในปัจจุบัน นอกจากนี้ วัดพระฝางยังมีอุโบสถมหาอุด (มีประตูทางเข้าบานเดียว) อยู่ด้านทิศตะวันตกของกลุ่มโบราณสถาน ตัวอุโบสถมีสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งเดิมภายในอุโบสถเคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปพระฝาง ซึ่งปัจจุบันตัวอุโบสถยังคงมีบานประตูไม้และหน้าบันแกะสลักศิลปะสมัยอยุธยาอันสวยงามอยู่ (บานปัจจุบันเป็นบานจำลอง) และด้านทิศตะวันออกของกลุ่มโบราณสถานมีพระวิหารหลวง เดิมเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปเชียงแสน ปัจจุบันในพระวิหารหลวงมีบานประตูไม้แกะสลักวัดพระฝาง (เป็นบานประตูบานจำลอง สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2551 เพื่อนำมาติดตั้งแทนที่บานประตูเดิมที่ได้นำไปเก็บรักษาที่วัดธรรมาธิปไตยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494) ปัจจุบัน วัดพระฝางมีพระมหาณรงค์ กิตติสาโร เป็นเจ้าอาวาส พระลูกวัดทั้งสิ้น 15 รูป วัดแห่งนี้ ได้รับขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 52 ลงวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 มีพื้นที่ได้รับประกาศเป็นโบราณสถานประมาณ 32 ไร่ 3 งาน 90 ตารางวาประวัติ ประวัติ. วัดพระฝางปรากฏชื่ออยู่ในศิลาจารึกหลักที่ 2 ซึ่งได้กล่าวถึงพระมหาเถรศรีศรัทธา ซึ่งเชื่อว่าเป็นหลานของพ่อขุนผาเมือง ว่าก่อนที่ท่านจะเดินทางไปจาริกแสวงบุญที่ลังกา ในสมัยพญาเลอไท ได้แวะมานมัสการพระธาตุวัดพระฝาง แล้วจึงเดินทางต่อไปยังเมืองแพร่ ลำพูน และลงเรือที่อ่าวเมาะตะมะไปลังกา นอกจากนี้ในศิลาจารึกหลักที่ 3 ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 1900 ก็ได้ปรากฏชื่อเมืองฝางอยู่ด้วยเช่นกัน ในจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ อัครราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ซึ่งเข้ามาทูลพระราชสาส์นในปลายรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2230) ก็ได้กล่าวถึงความศรัทธาของคนสยามต่อพระทันตธาตุเมืองพระฝางไว้เช่นเดียวกัน แสดงถึงความสำคัญของพระบรมธาตุเมืองฝางในสมัยนั้นได้เป็นอย่างดี ในปี พ.ศ. 2310 ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา วัดพระฝางมีความสำคัญมาก คือ เป็นศูนย์กลางของชุมชนพระฝาง ซึ่งมี "เจ้าพระฝาง" (เรือน) เป็นหัวหน้าสามารถขยายอาณาเขตกว้างขวางจากทิศเหนือ ถึงเมืองแพร่ เมืองน่าน ทิศใต้ถึงเมืองพิษณุโลก ทิศตะวันออกถึงลาว และทิศตะวันตกถึงเมืองศรีสัชนาลัย เป็นชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นชุมนุมสุดท้ายที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงรวบรวมเป็นอาณาเขตเดียวกันกับกรุงธนบุรี เมื่อ พ.ศ. 2313 วันที่ 25 ต.ค. พ.ศ. 2444 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้เสด็จฯ มาสักการะวัดพระฝาง ปรากฏข้อความในพระราชนิพนธ์ของพระองค์ตอนหนึ่งว่า “เมื่อถึงหน้าเมืองฝางก็มีหาดโต เมืองนั้นตั้งอยู่ฝั่งตะวันออก มีพระวิหารกลางใหญ่ มีลายประตูเป็นลายสลักก้านขดหน้าสัตว์ต่าง ๆ เช่น บานวัดสุทัศน์ แต่เด่นออกมามากกว่าวัดสุทัศน์ ทำงามดีมาก” พระฝางเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ทรงเครื่องอย่างจักรพรรดิราช ศิลปะสมัยอยุธยาวัสดุสัมฤทธิ์ลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง 1 ศอก 1 คืบเศษ สร้างขึ้นสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศแห่งกรุงศรีอยุธยาประมาณ พ.ศ. 2280 มีพุทธลักษณะที่งดงาม เป็นพระพุทธรูปที่สำคัญของแผ่นดินไทยอีกองค์หนึ่ง สันนิษฐานว่าผู้สร้างคือเจ้าพระฝาง ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัดพระฝาง เป็นพระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถวัดพระฝางหรือวัดสว่างคบุรีมุนีนาถ พ.ศ. 2313 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ยกทัพหลวงมาตีชุมนุมพระฝางได้ และโปรดเกล้าฯ ให้รับละครขึ้นมาสมโภช ที่วัดพระฝางถึง 3 วัน เท่ากันกับการสมโภชพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ ซึ่งนับว่าเป็นพระพุทธรูปสำคัญคู่บ้านคู่เมืองไทยองค์หนึ่ง ในรัชสมัยของสมเด็จพระปิยมหาราช (รัชกาลที่5) ได้โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระฝางไปประดิษฐานที่วัดเบญจมบพิตรฯจนถึงปัจจุบันปูชนียสถาน โบราณวัตถุ ปูชนียสถาน โบราณวัตถุ. "เจดีย์พระธาตุวัดพระฝาง" ซึ่งบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ สร้างขึ้นในสมัยสุโขทัย ได้มีการบูรณะครั้งใหญ่ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ "วิหารใหญ่และพระอุโบสถเก่า" สำหรับวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบสุโขทัยลักษณะเดียวกับวัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง แต่เดิมมีพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนประดิษฐานอยู่ แต่ปัจจุบันได้ถูกโจรกรรมไปแล้ว ด้านหลังวิหารเป็นองค์พระธาตุ มีกำแพงล้อมรอบ บริเวณหลังสุดมีพระอุโบสถเก่าอยู่อีกหลังหนึ่ง สภาพโดยทั่วไปชำรุดทรุดโทรมมาก เดิมมีบานประตูแกะสลักสวยงาม แต่ก็ได้ถูกขโมยไปแล้วเช่นกัน ด้านหน้าโบสถ์มีต้นมะม่วงใหญ่อายุหลายร้อยปีอยู่ต้นหนึ่ง บริเวณรอบนอกวัดด้านหลังเป็นป่าละเมาะ ส่วนด้านหน้ามีบ้านคนอยู่บ้างแต่ไม่หนาแน่น จากหลักฐาน แสดงความสำคัญทางประวัติศาสตร์ รวมทั้งการบูรณะพระบรมธาตุสวางคบุรี ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พอประมวลได้ดังนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2410 โปรดเกล้า ฯให้พระยามหาอำมาตยาธิบดีเป็นแม่กองสักเลข หัวเมืองฝ่ายเหนือขึ้นไป ตั้งอยู่ ณ เมืองพิษณุโลก และโปรดให้พระยาอุตรดิตถาภิบาล ผู้สำเร็จราชการเมืองอุตรดิตถ์เป็นแม่กองรับจ่ายเลข ข้าพระโยมสงฆ์ตามหัวเมืองฝ่ายเหนือ ทำการปฏิสังขรณ์พระเจดีย์วัดพระธาตุในเมืองสวางคบุรีที่เรียกกันว่า เมืองฝาง พระเจดีย์นั้นชำรุดมาก ต้องรื้อลงมาถึงชั้นทักษิณที่สาม เมื่อรื้ออิฐเก่าที่หักพังออกก็พบแผ่นเหล็กเป็นรูปฝาชีหุ้มผนึกไว้แน่น เมื่อตัดแผ่นเหล็กออกจึงพบผอบทองเหลือง บนฝาผอบมีพระพุทธรูปองค์เล็กบุทองคำฐานเงินอยู่องค์หนึ่ง ในผอบมีพระบรมธาตุขนาดน้อยสีดอกพิกุลแห้ง 1,000 เศษ แหวน 2 วง พลอยต่างสี 13 เม็ด เมื่อพระยาอุตรดิตถาภิบาลมีใบบอกมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้า ฯ ให้จัดเรือม่านทองให้ข้าหลวงขึ้นไปรับ เชิญพระบรมธาตุมาขึ้นที่กรุงเก่า เชิญขึ้นไว้ที่พระตำหนักวังป้อมเพชร แล้วจัดเรือพระที่นั่งสยามอรสุมพลมีปี่พาทย์ แตรสังข์ รับเชิญลงมากรุงเทพ ฯ เชิญขึ้นไว้ ณ พระตำหนักน้ำ ทำการสมโภชแล้วเชิญไปประดิษฐานไว้ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีพระราชดำริว่าควรที่จะส่งพระบรมธาตุคืน ให้ไปบรรจุไว้ตามที่ดังเก่าบ้าง แบ่งไว้สักการบูชา ณ กรุงเทพ ฯ บ้าง จึงโปรดเกล้า ฯ ให้ช่างหลวงทำกล่องทองคำเป็นที่บรรจุพระบรมธาตุชั้นใน แล้วใส่กล่องเงินเป็นชั้นที่สอง ใส่ในพระเจดีย์กาไหล่เงินเป็นชั้นที่สาม แล้วใส่ในพระเจดีย์ทองเหลืองเป็นชั้นที่สี่ แล้วใส่ครอบศิลาตรึงไว้แน่นหนา ให้เจ้าพนักงานเชิญพระบรมธาตุใส่พระเสลี่ยงน้อยกั้นพระกรด ไปตั้งบนบุษบกที่พระตำหนักน้ำ พร้อมเครื่องสักการบูชา มีเรือกรมการและราษฎรเมืองนนทบุรี แห่เป็นกระบวนขึ้นไปส่งถึงเมืองปทุม แล้วผู้สำเร็จราชการเมืองกรมการตั้งแต่เมืองปทุมธานีขึ้นไป จัดแจงทำสักการบูชา แล้วจัดเรือแห่มีปี่พาทย์ฆ้องกลองเล่นสมโภชตามมีรับส่งต่อ ๆ จนถึงเมืองสวางคบุรีบานประตูวัดพระฝาง บานประตูวัดพระฝาง. บานประตูเก่าวิหารวัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ เดิมนั้นอยู่วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ แต่เนื่องจากวิหารชำรุดทรุดโทรมมาก อีกทั้งวัดพระฝางในขณะนั้นไม่มีพระภิกษุสามเณรอยู่จำพรรษา พระสุธรรมเมธี (บันลือ ธมฺมธโช) เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ในสมัยนั้นจึงได้ขออนุญาตกรมศิลปากรนำมาเก็บรักษาไว้ที่ อาคารธรรมสภา วัดธรรมาธิปไตย เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 ทิ้งไว้แต่ตัววิหารปล่าว ปราศจากบานประตูอันวิจิตรตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา บานประตูคู่นี้แกะสลักในสมัยอยุธยา แต่ละบานขนาดกว้าง 1.2 เมตร สูง 5.3 เมตร และหนาถึง 16 เซนติเมตร ทำจากไม้ปรุแกะสลักเป็นลายกนกก้านขด ลายพุ่มทรงข้าวบิณฑ์ บานละ 7 พุ่ม ระหว่างพุ่มทรงข้าวบิณฑ์มีกนกใบเทศขนาบ สองข้างขวามือด้านบนมีอกเลาประตูอยู่ตรงกลาง แกะสลักเป็นลายเทพพนม ตอนบนอกเลา 4 องค์ตอนล่างอกเลา 4 องค์ กล่าวกันว่างดงามเป็นที่สองรองจากประตูวิหารวัดสุทัศน์ในกรุงเทพฯ ในปี พ.ศ. 2534 กรมศิลปากรได้ส่งเจ้าหน้าที่มาอนุรักษ์เนื้อด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ บานประตูวัดพระฝางจึงมีสภาพอย่างที่เห็นในปัจจุบัน ในปีพ.ศ. 2550 ได้มีการจัดสร้างบานประตูไม้แกะสลักวิหารวัดพระฝางคู่ใหม่ เพื่อนำกลับไปติดตั้งยังวิหารหลวงวัดพระฝาง (ติดตั้งในเดือนเมษายน พ.ศ. 2551) ซึ่งบานประตูคู่ใหม่นี้มีลักษณะวิจิตรสวยงามเหมือนของเดิมทุกประการ โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกรมศิลปากรในการจัดสร้างประวัติเจ้าพระฝาง "ชุมนุมเจ้าพระฝาง" ประวัติเจ้าพระฝาง "ชุมนุมเจ้าพระฝาง". "เจ้าพระฝาง"เป็นชาวเหนือ บวชพระแล้ว ลงมาร่ำเรียนพระไตรปิฎกที่อยุธยา สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เชี่ยวชาญได้ชั้นมหา เรียกตามชื่อเดิมว่า “มหาเรือน” โปรดเกล้าฯ เป็นพระราชาคณะ ที่ พระพากุลเถระ อยู่วัดศรีโยธยาได้ไม่นาน ก็โปรดเกล้าฯ...ให้เป็น พระสังฆราชา ณ เมืองสวางคบุรี (เมืองฝาง) มีผู้คนเคารพนับถือมาก สร้างพระประธานองค์สำคัญไว้ในโบสถ์วัดสวางคบุรี ครั้นเมื่อรู้ว่ากรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า เจ้าพระฝางก็ซ่องสุมผู้คนได้หลายเมือง ตั้งตัวเป็นเจ้า แต่ไม่ยอมสึกจากพระ เปลี่ยนสีจีวรจากสีเหลืองเป็นสีแดง นับเป็นชุมนุมใหญ่ฝ่ายเหนือ ประชาชนเรียกกันว่า “เจ้าพระฝาง” ปีชวด พ.ศ. 2311 เจ้าพิษณุโลก ผู้นำชุมนุมสำคัญถึงแก่พิราลัย พระอินทรอากรผู้น้องขึ้นครองเมือง เจ้าพระฝางยกกองทัพไปตีพิษณุโลก สู้รบกันสามเดือน ชาวเมืองไม่ชอบเจ้าพิษณุโลกองค์ใหม่ แอบเปิดประตูรับกองทัพเจ้าพระฝางเข้าเมือง ชนะพิษณุโลก ประหารพระอินทรอากรแล้ว เจ้าพระฝางก็สั่งให้ขนทรัพย์สินจากเมืองพิษณุโลก และอพยพผู้คนไปปักหลักอยู่ที่เมืองสวางคบุรี ชื่อ เสียงของชุมนุมเจ้าพระฝางก็ยิ่งเลื่องลือระบือไกล สองปีต่อมา กรมการเมืองอุทัยธานี และเมืองชัยนาท กราบทูลพระเจ้ากรุงธนบุรีว่า เจ้าพระฝางประพฤติเป็นพาลและทุศีลมากขึ้น ตัวยังห่มผ้าเหมือนพระ แต่ ประกอบกรรมปาราชิก พวกพระที่เป็นแม่ทัพนายกองก็ออกปล้นข้าวปลาอาหารจากราษฎร เดือดร้อนกันไปทั่ว พระเจ้ากรุงธนฯ โปรดให้พระยาพิชัยราชา คุมทัพไปทางตะวันตก ให้พระยายมราช (กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ในรัชกาลที่ 1) คุมทัพไปทางตะวันออก สองทัพสมทบกันโจมตีเมืองสวางคบุรี สภาพเมืองสวางคบุรี ที่มั่นเจ้าพระฝาง ไม่มีกำแพง มีแต่ระเนียดไม้ขอนสักถมเชิงเทินดิน เจ้าพระฝางสู้ได้สามวันก็แตกพ่ายหนี พาลูกช้างพังเผือกหนีไปด้วย กองทัพพระเจ้ากรุงธนฯติดตามไป ได้ช้างพังเผือกคืน ตัวเจ้าพระฝางหายสาบสูญไป โปรดให้มีละครหญิง สมโภชพระประธานวัดสวางคบุรี 7 วัน นับเป็นงานใหญ่เทียบเท่างานสมโภชพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ ที่พิษณุโลกอัญเชิญพระฝางไปยังวัดเบญจมบพิตร อัญเชิญพระฝางไปยังวัดเบญจมบพิตร. ในปี พ.ศ. 2444 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) โปรดให้อัญเชิญองค์พระประธาน ที่เรียกกันว่า “พระฝาง” ลงมายังวัดเบญจมบพิตร กรุงเทพฯ โดยทิ้งฐานพระไว้ที่เดิม พ.ศ. 2451 ปรากฏพระราชหัตถเลขา ถึงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ความว่า “ให้จำลองรูปพระฝาง ได้สั่งให้ช่างรีบปั้นหุ่นถ่ายรูปไว้แล้ว ให้กระทรวงมหาดไทยคิดจัดพระฝางกลับคืนไปไว้ที่เมืองฝางตามเดิมให้ทันฤดูน้ำ นี้” แต่ในปัจจุบันนี้ เกินเวลาหนึ่งร้อยปีแล้ว องค์พระฝางก็ยังประดิษฐานอยู่วัดเบญจมบพิตร มิได้กลับคืนไปอุตรดิตถ์ ตามพระราชดำริแต่ประการใด ในปี พ.ศ. 2549 คณะสงฆ์และหน่วยงานราชการในจังหวัดอุตรดิตถ์ ได้ร่วมใจหล่อพระฝางทรงเครื่อง (จำลอง) องค์ใหม่ โดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงประกอบพิธีเททองหล่อพระฝางทรงเครื่อง ณ วัดเบญจมบพิตร เมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 เพื่อนำ พระฝางทรงเครื่อง (จำลอง) ที่ได้หล่อขึ้นใหม่ กลับสู่จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อเป็นขวัญกำลังใจและเคารพสักการะของชาวพระฝางและชาวจังหวัดอุตรดิตถ์สืบไป ดูเพิ่มได้ที่ พระฝาง (พระพุทธรูป)วัดพระฝางในปัจจุบัน วัดพระฝางในปัจจุบัน. ปัจจุบันภายในวัดพระฝางยังมีปรากฏหลักฐานเป็นหมู่โบราณสถานอยู่ในบริเวณวัด มีพระวิหารหลวงกับองค์เจดีย์ประธานตั้งอยู่แนวทิศตะวันออก ทิศตะวันตกมีกำแพงด้านหน้า กำแพงแก้วล้อมรอบวิหารและเจดีย์โดยตลอด ด้านหลังเจดีย์เป็นกุฏิพระสังกัจจายณ์ซึ่งปฏิสังขรณ์ใหม่ แต่ยังรักษาเค้าโครงเดิมอยู่ภายนอกกำแพงแก้วออกมาข้างพระเจดีย์ด้านทิศใต้มีศาลาพระพุทธบาทอยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมมาก เป็นอาคารที่สร้างขึ้นใหม่ แบบช่างพื้นบ้านทั่วไป ส่วนโบสถ์ที่นับว่าสำคัญมากอยู่เยื้องทิศตะวันตกเฉียงใต้ ห่างจากวิหารหลวงประมาณ 50 เมตร ซึ่งแต่เดิมเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปพระฝางทรงเครื่อง เป็นศิลปะแบบกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ด้านหลังของโบสถ์มีต้นมะม่วงไข่กายืนต้นขนาดใหญ่ และ บริเวณ หน้าพระวิหารหลวง เป็นที่ตั้งของ พิพิธภัณฑ์วัตถุโบราณของวัดพระฝาง ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมวัตถุโบราณที่ขุดพบในชุมชนบ้านพระฝาง และวัตถุโบราณที่ค้นพบได้จากบริเวณวัดและบริเวณหาดแม่น้ำน่านในปัจจุบัน โดยในวันขึ้น 12 ค่ำ เดือน 4 ของทุกปี ทางวัดพระฝางจะได้จัด "ปฏิบัติธรรมพระอยู่ปริวาสกรรม" และ ก่อนเข้าพรรษา 20 วัน โดยมีพระภิกษุ จากทั่วทุกภาคของประเทศไทย มาร่วมอยู่ปฏิบัติธรรมอยู่ปริวาสกรรม เป็นจำนวนมากทุกปี
| วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ ตั้งอยู่ที่บ้านฝาง หมู่ที่ 3 ต.ผาจุก อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ สร้างขึ้นประมาณ พ.ศ. ใด | {
"answer": [
"1700"
],
"answer_begin_position": [
311
],
"answer_end_position": [
315
]
} |
722 | 305,337 | เลอปุย-อ็อง-เวอแล เลอปุย-อ็อง-เวอแล (, Puy-en-Velay#fr ฟังเสียง; ) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดโอต-ลัวร์ในแคว้นโอแวร์ญในประเทศฝรั่งเศส เมืองเลอปุย-อ็อง-เวอแลตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส ชาวเมืองเลอปุย-อ็อง-เวอแล เรียกว่า "Ponots" เลอปุย-อ็อง-เวอแลเป็นที่ตั้งของมหาวิหารนอเทรอดามแห่งปุย และชาเปล Saint Michel d'Aiguilhe บนยอดเนินภูเขาไฟที่สูง 85 เมตรไม่ไกลจากตัวเมืองนัก
| เลอปุย-อ็อง-เวอแล เป็นเมืองหลวงของจังหวัดใดในประเทศฝรั่งเศส | {
"answer": [
"จังหวัดโอต-ลัวร์"
],
"answer_begin_position": [
175
],
"answer_end_position": [
191
]
} |
1,821 | 305,337 | เลอปุย-อ็อง-เวอแล เลอปุย-อ็อง-เวอแล (, Puy-en-Velay#fr ฟังเสียง; ) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดโอต-ลัวร์ในแคว้นโอแวร์ญในประเทศฝรั่งเศส เมืองเลอปุย-อ็อง-เวอแลตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส ชาวเมืองเลอปุย-อ็อง-เวอแล เรียกว่า "Ponots" เลอปุย-อ็อง-เวอแลเป็นที่ตั้งของมหาวิหารนอเทรอดามแห่งปุย และชาเปล Saint Michel d'Aiguilhe บนยอดเนินภูเขาไฟที่สูง 85 เมตรไม่ไกลจากตัวเมืองนัก
| เลอปุย-อ็อง-เวอแล เป็นที่ตั้งของมหาวิหารชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"มหาวิหารนอเทรอดามแห่งปุย"
],
"answer_begin_position": [
358
],
"answer_end_position": [
382
]
} |
723 | 933,175 | เฟลิกซ์ ดเซียร์จินสกี เฟลิกซ์ เอดมุนโดวิช ดเซียร์จินสกี (; ;) ชื่อเล่น ไอออนเฟลิกซ์ เป็นนักปฏิวัติบอลเชวิคชาวรัสเซียเชื้อสายโปแลนด์ และรัฐบุรุษชาวโซเวียต เขามีชื่อปลอมในพรรคคือ Yatsek, Yakub, Pereplyotchik (meaning "bookbinder"), Franek, Astronom, Yuzef และ Domanski. เขาเป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการปฏิวัติชั่วคราวโปแลนด์ ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่รัสเซียและโซเวียต ดเซียร์จินสกีเป็นที่รู้จักในฐานะผู้สถาปนาหน่วยตำรวจลับโซเวียต โดยดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี 1917 ถึง 1926 ต่อมาเขาเป็นสมาชิกของรัฐบาลโซเวียต ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ตรวจการ และ ผู้บัญชาการหน่วยตำรวจลับโซเวียต
| เฟลิกซ์ เอดมุนโดวิช ดเซียร์จินสกี มีชื่อเล่นว่าอะไร | {
"answer": [
"ไอออนเฟลิกซ์"
],
"answer_begin_position": [
167
],
"answer_end_position": [
179
]
} |
1,728 | 933,175 | เฟลิกซ์ ดเซียร์จินสกี เฟลิกซ์ เอดมุนโดวิช ดเซียร์จินสกี (; ;) ชื่อเล่น ไอออนเฟลิกซ์ เป็นนักปฏิวัติบอลเชวิคชาวรัสเซียเชื้อสายโปแลนด์ และรัฐบุรุษชาวโซเวียต เขามีชื่อปลอมในพรรคคือ Yatsek, Yakub, Pereplyotchik (meaning "bookbinder"), Franek, Astronom, Yuzef และ Domanski. เขาเป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการปฏิวัติชั่วคราวโปแลนด์ ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่รัสเซียและโซเวียต ดเซียร์จินสกีเป็นที่รู้จักในฐานะผู้สถาปนาหน่วยตำรวจลับโซเวียต โดยดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี 1917 ถึง 1926 ต่อมาเขาเป็นสมาชิกของรัฐบาลโซเวียต ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ตรวจการ และ ผู้บัญชาการหน่วยตำรวจลับโซเวียต
| ใครเป็นผู้สถาปนาหน่วยตรวจลับโซเวียต โดยดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี 1917 ถึง 1926 | {
"answer": [
"เฟลิกซ์ เอดมุนโดวิช ดเซียร์จินสกี"
],
"answer_begin_position": [
118
],
"answer_end_position": [
151
]
} |
724 | 97,736 | พิมพ์ใจ ใจเย็น ศาสตราจารย์ พิมพ์ใจ ใจเย็น (25 ธันวาคม 2513 - ) เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาชีวเคมี ประจำปี พ.ศ. 2548 และรางวัล ประจำปี พ.ศ. 2546 จากผลงานการวิจัยศึกษากลไกการทำงานของเอ็นไซม์ เพื่อกำจัดสารพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อมประวัติ ประวัติ. ศาสตราจารย์ พิมพ์ใจ ใจเย็น หรือที่รู้จักในนาม ศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ใจ ใจเย็น เกิดเมื่อ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2513 ที่จังหวัดภูเก็ต เป็นบุตรสาวคนโตของนายอดุลย์ และนางซุ่ยลู้ ใจเย็น มีน้องสาว 1 คน คือ พญ.นัยเนตร ใจเย็น ศาสตราจารย์ ดร. พิมพ์ใจ ใจเย็น สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมต้นและมัธยมปลาย จากโรงเรียนสตรีภูเก็ต และโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย โดยได้รับทุนโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจนถึงปริญญาเอก จบปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) สาขาเคมี จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2535 และปริญญาเอก สาขาชีวเคมี จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน แอนน์อาร์เบอร์ (University of Michigan, Ann Arbor) ตลอดเวลาที่เรียน ได้รับรางวัลผลการเรียนดีเด่นต่างๆ อยู่เสมอ อาทิ รางวัลพระราชทานนักเรียนเรียนดีในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รางวัลจากมูลนิธิ ดร. แถบ นีละนิธิ ในระดับปริญญาตรี รางวัล Chrisman Award สำหรับนักศึกษาปริญญาเอกที่มีผลการเรียนผลงานวิจัยดี และรางวัล Murphy Award สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาที่มีผลงานตีพิมพ์ดีเยี่ยม จากมหาวิทยาลัยมิชิแกนการทำงาน การทำงาน. ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นักวิจัยประจำหน่วยวิจัยเพื่อความเป็นเลิศโครงสร้างและการทำงานของโปรตีน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกรรมการบริหารชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยงานวิจัย งานวิจัย. ศ.ดร. พิมพ์ใจ สนใจศึกษาความรู้พื้นฐานในด้านกลไกการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์ โดยเฉพาะเอนไซม์ในกลุ่มที่มีสารประกอบประเภทวิตามินบีสอง (Flavin) เป็นตัวช่วยในการเร่งปฏิกิริยา นอกจากใช้วิธีการทดลองทางด้านชีวเคมีทั่วไปในการศึกษาแล้ว มีการใช้ข้อมูลทางจลนศาสตร์และอุณหพลศาสตร์ ซึ่งได้มาจากการทำการทดลองกับเครื่องมือ stopped-flow spectrometer ควบคู่ไปกับการวัดสมบัติทางด้านสเปคโตรสโกปีชนิดต่างๆ เพื่อเป็นตัวบ่งชี้ถึงกลไกการเกิดปฏิกิริยาด้วย รวมทั้งการศึกษาโครงสร้างทางสามมิติของเอนไซม์ต่างๆ เอนไซม์หลักที่ศึกษา มี 4 กลุ่ม ได้แก่ 1. เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ย่อยสารประกอบอะโรมาติก ซึ่งทำให้จุลินทรีย์สามารถบำบัดของเสียในสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการทางชีวภาพได้ 2. เอนไซม์ลูซิเฟอเรส (luciferase) ที่สามารถเร่งปฏิกิริยาการเรืองแสงจากสิ่งมีชีวิต โดยได้ทำการแยกเอนไซม์ชนิดนี้จากแบคทีเรียเรืองแสงในทะเล 3. เอนไซม์ไพราโนสออกซิเดส (pyranose oxidase) ในการสังเคราะห์สารให้ความหวาน โดยศึกษาถึงข้อมูลเชิงลึกในการเกิดปฏิกิริยา เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้งานเอนไซม์ตัวนี้ในภาคอุตสาหกรรมได้ดีขึ้น 4. เอนไซม์เซอรีนไฮดรอกซีเมททิลทรานสเฟอเรส (serine hydroxymethyl transferase, SHMT) เพื่อการนำไปสู่การพัฒนายาต้านมาลาเรียตัวใหม่ต่อไป ผลงานวิจัยของ ศ.ดร. พิมพ์ใจ เป็นที่ยอมรับในวงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก และสามารถตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการชั้นนำได้ เช่น วารสาร Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America (PNAS) , Journal of Biological Chemistry เป็นต้นเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - พ.ศ. 2552 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
| ดร. พิมพ์ใจ ใจเย็น สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมต้นที่โรงเรียนอะไร | {
"answer": [
"โรงเรียนสตรีภูเก็ต"
],
"answer_begin_position": [
645
],
"answer_end_position": [
663
]
} |
1,765 | 97,736 | พิมพ์ใจ ใจเย็น ศาสตราจารย์ พิมพ์ใจ ใจเย็น (25 ธันวาคม 2513 - ) เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาชีวเคมี ประจำปี พ.ศ. 2548 และรางวัล ประจำปี พ.ศ. 2546 จากผลงานการวิจัยศึกษากลไกการทำงานของเอ็นไซม์ เพื่อกำจัดสารพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อมประวัติ ประวัติ. ศาสตราจารย์ พิมพ์ใจ ใจเย็น หรือที่รู้จักในนาม ศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ใจ ใจเย็น เกิดเมื่อ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2513 ที่จังหวัดภูเก็ต เป็นบุตรสาวคนโตของนายอดุลย์ และนางซุ่ยลู้ ใจเย็น มีน้องสาว 1 คน คือ พญ.นัยเนตร ใจเย็น ศาสตราจารย์ ดร. พิมพ์ใจ ใจเย็น สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมต้นและมัธยมปลาย จากโรงเรียนสตรีภูเก็ต และโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย โดยได้รับทุนโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจนถึงปริญญาเอก จบปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) สาขาเคมี จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2535 และปริญญาเอก สาขาชีวเคมี จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน แอนน์อาร์เบอร์ (University of Michigan, Ann Arbor) ตลอดเวลาที่เรียน ได้รับรางวัลผลการเรียนดีเด่นต่างๆ อยู่เสมอ อาทิ รางวัลพระราชทานนักเรียนเรียนดีในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รางวัลจากมูลนิธิ ดร. แถบ นีละนิธิ ในระดับปริญญาตรี รางวัล Chrisman Award สำหรับนักศึกษาปริญญาเอกที่มีผลการเรียนผลงานวิจัยดี และรางวัล Murphy Award สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาที่มีผลงานตีพิมพ์ดีเยี่ยม จากมหาวิทยาลัยมิชิแกนการทำงาน การทำงาน. ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นักวิจัยประจำหน่วยวิจัยเพื่อความเป็นเลิศโครงสร้างและการทำงานของโปรตีน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และกรรมการบริหารชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยงานวิจัย งานวิจัย. ศ.ดร. พิมพ์ใจ สนใจศึกษาความรู้พื้นฐานในด้านกลไกการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์ โดยเฉพาะเอนไซม์ในกลุ่มที่มีสารประกอบประเภทวิตามินบีสอง (Flavin) เป็นตัวช่วยในการเร่งปฏิกิริยา นอกจากใช้วิธีการทดลองทางด้านชีวเคมีทั่วไปในการศึกษาแล้ว มีการใช้ข้อมูลทางจลนศาสตร์และอุณหพลศาสตร์ ซึ่งได้มาจากการทำการทดลองกับเครื่องมือ stopped-flow spectrometer ควบคู่ไปกับการวัดสมบัติทางด้านสเปคโตรสโกปีชนิดต่างๆ เพื่อเป็นตัวบ่งชี้ถึงกลไกการเกิดปฏิกิริยาด้วย รวมทั้งการศึกษาโครงสร้างทางสามมิติของเอนไซม์ต่างๆ เอนไซม์หลักที่ศึกษา มี 4 กลุ่ม ได้แก่ 1. เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ย่อยสารประกอบอะโรมาติก ซึ่งทำให้จุลินทรีย์สามารถบำบัดของเสียในสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการทางชีวภาพได้ 2. เอนไซม์ลูซิเฟอเรส (luciferase) ที่สามารถเร่งปฏิกิริยาการเรืองแสงจากสิ่งมีชีวิต โดยได้ทำการแยกเอนไซม์ชนิดนี้จากแบคทีเรียเรืองแสงในทะเล 3. เอนไซม์ไพราโนสออกซิเดส (pyranose oxidase) ในการสังเคราะห์สารให้ความหวาน โดยศึกษาถึงข้อมูลเชิงลึกในการเกิดปฏิกิริยา เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้งานเอนไซม์ตัวนี้ในภาคอุตสาหกรรมได้ดีขึ้น 4. เอนไซม์เซอรีนไฮดรอกซีเมททิลทรานสเฟอเรส (serine hydroxymethyl transferase, SHMT) เพื่อการนำไปสู่การพัฒนายาต้านมาลาเรียตัวใหม่ต่อไป ผลงานวิจัยของ ศ.ดร. พิมพ์ใจ เป็นที่ยอมรับในวงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก และสามารถตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการชั้นนำได้ เช่น วารสาร Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America (PNAS) , Journal of Biological Chemistry เป็นต้นเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - พ.ศ. 2552 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
| ศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ใจ ใจเย็น เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"25"
],
"answer_begin_position": [
447
],
"answer_end_position": [
449
]
} |
725 | 35,819 | ประเทศบอตสวานา บอตสวานา (อังกฤษและ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐบอตสวานา (; ) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาใต้ และเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตดังนี้ ทิศใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ ทิศตะวันตกติดกับประเทศนามิเบีย ทิศเหนือติดกับประเทศแซมเบีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศซิมบับเวภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. บอตสวานามีพื้นที่ 600,370 ตารางกิโลเมตรและใหญ่เป็นอันดับที่ 45 ของโลก (มีขนาดใกล้เคียงกับประเทศมาดากัสการ์) พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ และพื้นดินกว่าร้อยละ 70 ถูกครอบคลุมโดยทะเลทรายกาลาฮารี บอตสวานามีโอคาวันโกเดลตาซึ่งเป็นพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ทางตะวันตก และมัคกาดิคกาดี ซึ่งเป็นทะเลสาบเกลือที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ทางตอนเหนือ ด้านตะวันออกเฉียงใต้เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำลิมโปโป ซึ่งเป็นภูมิลักษณ์ของพื้นที่ส่วนใหญ่ในแอฟริกาใต้ แม่น้ำโชบีอยู่ทางเหนือของประเทศและเป็นเขตพรมแดนกั้นระหว่างบอตสวานาและนามิเบียประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. ดินแดนนี้เป็นที่อยู่ของชาวบุชแมนมาก่อนที่ชาวบันตูจะเคลื่อนย้ายเข้ามา ในช่วงทศวรรษที่ 19 เกิดสงครามระหว่างชนพื้นเมือง โชนา ที่อาศัยอยู่ใน บัตสวานากับชนเผ่าเดเบเล่ที่อพยพมาจาก อาณานิคมในทะเลทรายกาลาฮารี ความตึงเครียดจากพวกบัวร์ในทรานสวาล พ.ศ. 2429 บอตสวานากลายเป็นดินแดนในอารักขาของอังกฤษเพื่อป้องกันการโจมตีของพวกบัวร์และเยอรมัน ได้รับเอกราช เมื่อ 30 กันยายน พ.ศ. 2509การเมืองการปกครองการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. ประเทศบอตสวานาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 10 เขต (district) ได้แก่1. เขตเซนทรัล 2. เขตกาฮันซี 3. เขตคกาลากาดี 4. เขตคกาตเลง 5. เขตคเวเนง 6. เขตนอร์ทอีสต์ 7. เขตนอร์ทเวสต์ 8. เขตเซาท์อีสต์ 9. เขตเซาเทิร์น 10. เขตโชเบเศรษฐกิจโครงสร้าง เศรษฐกิจ. โครงสร้าง. ตั้งแต่ได้รับเอกราช บอตสวานาเป็นหนึ่งในประเทศที่มีอัตราเจริญเติบโตของรายได้เฉลี่ยต่อหัวสูงที่สุดในโลก และสามารถพัฒนาตัวเองขึ้นจากหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในโลกมาเป็นประเทศรายได้ระดับกลางซึ่งมีจีดีพีเฉลี่ย (PPP) 16,516 ดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2550 มีการประเมินว่าบอตสวานามีรายได้มวลรวมประชาชาติโดยวัดจากความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อสูงเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา ทำให้มีมาตรฐานการครองชีพใกล้เคียงกับเม็กซิโกและตุรกี จากสถิติของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ บอตสวานามีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 9 ตั้งแต่ปี 2509 ถึง 2542 บอตสวานามีเสรีภาพทางเศรษฐกิจที่สูงเมื่อเทียบกับประเทศแอฟริกาอื่น ๆ เป็นประเทศที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือสูงที่สุดในแอฟริกา และมีเงินสำรองแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศมากกว่า 7 พันล้านดอลลาร์ในปี 2548-2549 (ซึ่งคิดเป็นมูลค่าการนำเข้าประมาณ 2 ปีครึ่ง) สภาพเศรษฐกิจที่มั่นคงของบอตสวานามีรากฐานมาจากการนำรายได้จากการทำเหมืองเพชรในประเทศมาพัฒนาประเทศผ่านนโยบายทางการเงินและนโยบายต่างประเทศที่รอบคอบ อย่างไรก็ตาม การพัฒนาประเทศที่มีพื้นฐานจากอุตสาหกรรมเพชรนี้ทำให้โครงสร้างทางเศรษฐกิจผิดเพี้ยนในหลายรูปแบบ เช่นรัฐบาลมีอำนาจมากจนทำให้ภาคเอกชนไม่พัฒนา อัตราว่างงานสูง รัฐบาลถือหุ้นร้อยละ 50 ของเดบสวานา ซึ่งเป็นบริษัทเหมืองเพชรที่ใหญ่ที่สุดในบอตสวานา. อุตสาหกรรมการทำเหมืองแร่สร้างรายได้ให้รัฐบาลถึงร้อยละ 40 ของรายได้ทั้งหมด ในต้นพุทธทศวรรษที่ 2550 มีการค้นพบแร่ยูเรเนียมในบอตสวานาและโครงการเหมืองแร่ยูเรเนียมมีกำหนดจะเริ่มในปี พ.ศ. 2553 บริษัทเหมืองแร่ข้ามชาติหลายแห่งที่ตั้งสำนักงานใหญ่ประจำพื้นที่ในบอตสวานาโดยหวังที่จะมีโอกาสทำเหมืองเพชร ทอง ยูเรเนียม ทองแดง หรือแม้แต่น้ำมัน รัฐบาลบอตสวานาประกาศเมื่อต้นปี 2552 ว่าจะพยายามลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมเพชรให้น้อยลง เนื่องจากความกังวลจากการพยากรณ์ว่าเพชรจะหมดไปจากบอตสวานาในอีกไม่กี่สิบปีข้างหน้าเกษตรกรรมการท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานประชากรศาสตร์วัฒนธรรม
| ประเทศบอตสวานามีพื้นที่กี่ตารางกิโลเมตร | {
"answer": [
"600,370"
],
"answer_begin_position": [
420
],
"answer_end_position": [
427
]
} |
726 | 35,819 | ประเทศบอตสวานา บอตสวานา (อังกฤษและ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐบอตสวานา (; ) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาใต้ และเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตดังนี้ ทิศใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ ทิศตะวันตกติดกับประเทศนามิเบีย ทิศเหนือติดกับประเทศแซมเบีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศซิมบับเวภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. บอตสวานามีพื้นที่ 600,370 ตารางกิโลเมตรและใหญ่เป็นอันดับที่ 45 ของโลก (มีขนาดใกล้เคียงกับประเทศมาดากัสการ์) พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ และพื้นดินกว่าร้อยละ 70 ถูกครอบคลุมโดยทะเลทรายกาลาฮารี บอตสวานามีโอคาวันโกเดลตาซึ่งเป็นพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ทางตะวันตก และมัคกาดิคกาดี ซึ่งเป็นทะเลสาบเกลือที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ทางตอนเหนือ ด้านตะวันออกเฉียงใต้เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำลิมโปโป ซึ่งเป็นภูมิลักษณ์ของพื้นที่ส่วนใหญ่ในแอฟริกาใต้ แม่น้ำโชบีอยู่ทางเหนือของประเทศและเป็นเขตพรมแดนกั้นระหว่างบอตสวานาและนามิเบียประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. ดินแดนนี้เป็นที่อยู่ของชาวบุชแมนมาก่อนที่ชาวบันตูจะเคลื่อนย้ายเข้ามา ในช่วงทศวรรษที่ 19 เกิดสงครามระหว่างชนพื้นเมือง โชนา ที่อาศัยอยู่ใน บัตสวานากับชนเผ่าเดเบเล่ที่อพยพมาจาก อาณานิคมในทะเลทรายกาลาฮารี ความตึงเครียดจากพวกบัวร์ในทรานสวาล พ.ศ. 2429 บอตสวานากลายเป็นดินแดนในอารักขาของอังกฤษเพื่อป้องกันการโจมตีของพวกบัวร์และเยอรมัน ได้รับเอกราช เมื่อ 30 กันยายน พ.ศ. 2509การเมืองการปกครองการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. ประเทศบอตสวานาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 10 เขต (district) ได้แก่1. เขตเซนทรัล 2. เขตกาฮันซี 3. เขตคกาลากาดี 4. เขตคกาตเลง 5. เขตคเวเนง 6. เขตนอร์ทอีสต์ 7. เขตนอร์ทเวสต์ 8. เขตเซาท์อีสต์ 9. เขตเซาเทิร์น 10. เขตโชเบเศรษฐกิจโครงสร้าง เศรษฐกิจ. โครงสร้าง. ตั้งแต่ได้รับเอกราช บอตสวานาเป็นหนึ่งในประเทศที่มีอัตราเจริญเติบโตของรายได้เฉลี่ยต่อหัวสูงที่สุดในโลก และสามารถพัฒนาตัวเองขึ้นจากหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในโลกมาเป็นประเทศรายได้ระดับกลางซึ่งมีจีดีพีเฉลี่ย (PPP) 16,516 ดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2550 มีการประเมินว่าบอตสวานามีรายได้มวลรวมประชาชาติโดยวัดจากความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อสูงเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา ทำให้มีมาตรฐานการครองชีพใกล้เคียงกับเม็กซิโกและตุรกี จากสถิติของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ บอตสวานามีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 9 ตั้งแต่ปี 2509 ถึง 2542 บอตสวานามีเสรีภาพทางเศรษฐกิจที่สูงเมื่อเทียบกับประเทศแอฟริกาอื่น ๆ เป็นประเทศที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือสูงที่สุดในแอฟริกา และมีเงินสำรองแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศมากกว่า 7 พันล้านดอลลาร์ในปี 2548-2549 (ซึ่งคิดเป็นมูลค่าการนำเข้าประมาณ 2 ปีครึ่ง) สภาพเศรษฐกิจที่มั่นคงของบอตสวานามีรากฐานมาจากการนำรายได้จากการทำเหมืองเพชรในประเทศมาพัฒนาประเทศผ่านนโยบายทางการเงินและนโยบายต่างประเทศที่รอบคอบ อย่างไรก็ตาม การพัฒนาประเทศที่มีพื้นฐานจากอุตสาหกรรมเพชรนี้ทำให้โครงสร้างทางเศรษฐกิจผิดเพี้ยนในหลายรูปแบบ เช่นรัฐบาลมีอำนาจมากจนทำให้ภาคเอกชนไม่พัฒนา อัตราว่างงานสูง รัฐบาลถือหุ้นร้อยละ 50 ของเดบสวานา ซึ่งเป็นบริษัทเหมืองเพชรที่ใหญ่ที่สุดในบอตสวานา. อุตสาหกรรมการทำเหมืองแร่สร้างรายได้ให้รัฐบาลถึงร้อยละ 40 ของรายได้ทั้งหมด ในต้นพุทธทศวรรษที่ 2550 มีการค้นพบแร่ยูเรเนียมในบอตสวานาและโครงการเหมืองแร่ยูเรเนียมมีกำหนดจะเริ่มในปี พ.ศ. 2553 บริษัทเหมืองแร่ข้ามชาติหลายแห่งที่ตั้งสำนักงานใหญ่ประจำพื้นที่ในบอตสวานาโดยหวังที่จะมีโอกาสทำเหมืองเพชร ทอง ยูเรเนียม ทองแดง หรือแม้แต่น้ำมัน รัฐบาลบอตสวานาประกาศเมื่อต้นปี 2552 ว่าจะพยายามลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมเพชรให้น้อยลง เนื่องจากความกังวลจากการพยากรณ์ว่าเพชรจะหมดไปจากบอตสวานาในอีกไม่กี่สิบปีข้างหน้าเกษตรกรรมการท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานประชากรศาสตร์วัฒนธรรม
| ทะเลสาบใดในประเทศบอตสวานาที่ถือว่าเป็นทะเลสาบเกลือที่ใหญ่ที่สุดในโลก | {
"answer": [
"มัคกาดิคกาดี"
],
"answer_begin_position": [
691
],
"answer_end_position": [
703
]
} |
727 | 5,944 | ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (; บอสเนีย: ) บางครั้งย่อเป็น Bosnia, BiH, БиХ เป็นประเทศบอลข่านตะวันตกที่มีภูเขามาก เมืองหลวงชื่อซาราเยโว เดิมเป็นหนึ่งในหกสาธารณรัฐของอดีตยูโกสลาเวีย ได้รับเอกราชในสงครามยูโกสลาเวียในช่วงทศวรรษ 1990 และเนื่องจากข้อตกลงเดย์ตัน จึงเป็นรัฐในอารักขาของชุมชนนานาชาติ ปกครองโดยตัวแทนระดับสูงที่เลือกโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติการเมืองการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. ตามข้อตกลงเดย์ตัน ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาแบ่งเขตการบริหารหลักออกเป็น- สหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา แบ่งออกเป็น 10 รัฐ (cantons) ได้แก่1. รัฐอูนา-ซานา 2. รัฐพอซาวีนา 3. รัฐทุซลา 4. รัฐเซนีตซา-ดอบอย 5. รัฐบอสเนียนพอดรินเย 6. รัฐเซนทรัลบอสเนีย 7. รัฐเฮอร์เซโกวีนา-เนเรตวา 8. รัฐเวสต์เฮอร์เซโกวีนา 9. รัฐซาราเยโว 10. รัฐเวสต์บอสเนีย- สาธารณรัฐเซิร์ปสกา แบ่งออกเป็น 7 เขต (regions) ได้แก่1. เขตบันยาลูคา 2. เขตดอบอย 3. เขตบีเยลยีนา 4. เขตวลาเซนีตซา 5. เขตซาราเยโว-รอมานียา 6. เขตฟอตชา 7. เขตเทรบินเย- เขตเบิตช์โค เป็นหน่วยบริหารที่ปกครองตนเองภายใต้อำนาจอธิปไตยของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เป็นส่วนหนึ่งของทั้งสหพันธรัฐบอสเนียฯ และสาธารณรัฐเซิร์ปสกากองทัพ กองทัพ. บอสเนียมีทหารกองประจำการประมาณ 14,000 นาย โดยบอสเนียวางกำลังทหารอยู่ตามแนวป่าและชายแดนประเทศ เพื่อป้องกันประเทศของตน บอสเนียจัดกลุ่มทหารตามป่าอยู่ประมาณ 3.000-4.000 คน ส่วนชายแดนมีประมาณ 5.000-10.000 คน รถถังส่วนใหญ่ใช้รุ่น T-55 จำนวน 155 คัน และ M-60A3 จำนวน 45 รวมถึงยานเกราะลำเลียงพล M-113 ที่ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ รถเกราะติดปืนกล55.ม.ม. ถึงบอสเนียจะมีกำลังทหารน้อย แต่ก็แข็งแกร่งมากภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. ยูโกสลาเวียเดิมประกอบด้วย 6 สาธารณรัฐ กล่าวคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย โครเอเทีย เซอร์เบีย บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา มอนเตนิโกร และมาซิโดเนีย รวมทั้งคอซอวอและวอยวอดีนา ซึ่งเป็นจังหวัดปกครองตนเองราชอาณาจักรบอสเนีย ราชอาณาจักรบอสเนีย. ราชอาณาจักรบอสเนีย ก่อตั้งราวปี 753 โดยชาวบอสเนีย ซึ่งนับถือศาสนาคริสต์นิกายบอสเนียนออร์ทอดอกซ์ และเข้าเป็นสมาชิกของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนถึงปี 1463 ชาวบอสเนียเริ่มหันเข้ารับอิสลาม และรวมชาติเข้ากับ จักรวรรดิออตโตมัน ทำให้จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์หมดสิทธิปกครองบอสเนียต่อไปสมัยออตโตมัน(1463-1887) สมัยออตโตมัน(1463-1887). จักรวรรดิออตโตมันได้รวมบอสเนียเป็นแคว้นของจักรวรรดิบอสเนีย คล้ายกับจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์หรือจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เช่นเดียวกับเซอร์เบีย และดินแดนอื่นๆใกล้เคียงสมัยออสเตรีย(1887-1908) สมัยออสเตรีย(1887-1908). จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี สามารถยึดบอสเนียจาก ออตโตมันในปี 1887 และครองมาได้จนปี 1908 ออตโตมันก็กลับมาปกครอง ออสเตรียได้นำบอสเนียสู่การเป็นประเทศองค์ประกอบของออสเตรียสมัยออตโตมัน(1908) สมัยออตโตมัน(1908). ในปี1908ออตโตมันสามารถยึดครองบอสเนียอีกครั้ง แต่ก็ครองได้หนึ่งปี ออสเตรียก็กลับมายึดครองต่อสมัยออสเตรีย(1908-1918) สมัยออสเตรีย(1908-1918). ในปลายปี1908 ออสเตรียปกครองบอสเนีย ได้นำบอสเนียสู่การเป็นประเทศองค์ประกอบของจักรวรรดือีกครั้ง แต่ในปี1918 ชาวบอสเนีย ร่วมมือกับชาวโครแอทและชาวเซิร์บขับไล่ชาวออสเตรียออกจากประเทศ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่1 ก่อตั้งรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย(1918-1943) ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย(1918-1943). เพิ่มเติมในราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ราชอาณาจักรยูโกสลาเวียก่อตั้งขึ้นโดยการรวมตัวของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นและราชอาณาจักรเซอร์เบียที่เป็นราชอาณาจักรอิสระ ราชอาณาจักรมอนเตเนโกรตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของเซอร์เบียก่อนหน้านั้นแล้ว ราชอาณาจักรยูโกสลาเวียล้มสลายเมื่อ กองทัพนาซีเยอรมันบุกยูโกสลาเวียสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย(1943-1992) สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย(1943-1992). เพิ่มเติมในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ในป1943 พรรคคอมมิวนิสต์ยูโกสลาเวียก็สามารถปลดปล่อยยุโกสลาเวียได้ ภายใต้การนำของ ยอซีป บรอซ ตีโต ในปี1991 มาซิโดเนีย โครเอเชียและสโลเวเนีย แยกประเทศ และในปี1992 เมื่อบอสเนียและเซอร์เบียแตกคอและทำสงครามกัน เนื่องจากบอสเนียไม่พอใจที่เซอร์เบียรุกรานโครเอเชีย ทำให้ยุโกสลาเวียล้มสลาย และเกิดสงครามยูโกสลาเวียสงครามกลางเมืองบอสเนีย(1992-1995) สงครามกลางเมืองบอสเนีย(1992-1995). เพิ่มเติมในสงครามบอสเนีย สงครามบอสเนีย หรือ สงครามกลางเมืองบอสเนีย เป็นสงครามความขัดแย้งชาติพันธุ์ระหว่างชาวโครแอต ชาวเซิร์บ และชาวบอสเนียซึ่งเป็นชาวมุสลิม สงครามปะทุในวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1992 เมื่อชาวเซิร์บได้ก่อจลาจลเพื่อแยกตัวเป็นอิสระ ในขณะเดียวกันชาวโครแอตก็แยกดินแดนเป็นอิสระเช่นเดียวกัน ในช่วงสัปดาห์เดียวบอสเนียเกือบทั้งประเทศกลายเป็นทะเลเพลิง สงครามขยายวงกว้างไม่เว้นแต่กรุงซาราเยโว เมืองหลวงของบอสเนียเศรษฐกิจประชากร ประชากร. ประเทศบอสเนีบมีประชากรประมาณ 3790000 คน โดยแบ่งเป็น ชาวบอสเนีย 50.11% ชาวเซิร์บ 30.78% ชาวโครแอต 15.43%
| เมืองหลวงของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนามีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"ซาราเยโว"
],
"answer_begin_position": [
252
],
"answer_end_position": [
260
]
} |
729 | 5,944 | ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (; บอสเนีย: ) บางครั้งย่อเป็น Bosnia, BiH, БиХ เป็นประเทศบอลข่านตะวันตกที่มีภูเขามาก เมืองหลวงชื่อซาราเยโว เดิมเป็นหนึ่งในหกสาธารณรัฐของอดีตยูโกสลาเวีย ได้รับเอกราชในสงครามยูโกสลาเวียในช่วงทศวรรษ 1990 และเนื่องจากข้อตกลงเดย์ตัน จึงเป็นรัฐในอารักขาของชุมชนนานาชาติ ปกครองโดยตัวแทนระดับสูงที่เลือกโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติการเมืองการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. ตามข้อตกลงเดย์ตัน ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาแบ่งเขตการบริหารหลักออกเป็น- สหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา แบ่งออกเป็น 10 รัฐ (cantons) ได้แก่1. รัฐอูนา-ซานา 2. รัฐพอซาวีนา 3. รัฐทุซลา 4. รัฐเซนีตซา-ดอบอย 5. รัฐบอสเนียนพอดรินเย 6. รัฐเซนทรัลบอสเนีย 7. รัฐเฮอร์เซโกวีนา-เนเรตวา 8. รัฐเวสต์เฮอร์เซโกวีนา 9. รัฐซาราเยโว 10. รัฐเวสต์บอสเนีย- สาธารณรัฐเซิร์ปสกา แบ่งออกเป็น 7 เขต (regions) ได้แก่1. เขตบันยาลูคา 2. เขตดอบอย 3. เขตบีเยลยีนา 4. เขตวลาเซนีตซา 5. เขตซาราเยโว-รอมานียา 6. เขตฟอตชา 7. เขตเทรบินเย- เขตเบิตช์โค เป็นหน่วยบริหารที่ปกครองตนเองภายใต้อำนาจอธิปไตยของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เป็นส่วนหนึ่งของทั้งสหพันธรัฐบอสเนียฯ และสาธารณรัฐเซิร์ปสกากองทัพ กองทัพ. บอสเนียมีทหารกองประจำการประมาณ 14,000 นาย โดยบอสเนียวางกำลังทหารอยู่ตามแนวป่าและชายแดนประเทศ เพื่อป้องกันประเทศของตน บอสเนียจัดกลุ่มทหารตามป่าอยู่ประมาณ 3.000-4.000 คน ส่วนชายแดนมีประมาณ 5.000-10.000 คน รถถังส่วนใหญ่ใช้รุ่น T-55 จำนวน 155 คัน และ M-60A3 จำนวน 45 รวมถึงยานเกราะลำเลียงพล M-113 ที่ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ รถเกราะติดปืนกล55.ม.ม. ถึงบอสเนียจะมีกำลังทหารน้อย แต่ก็แข็งแกร่งมากภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. ยูโกสลาเวียเดิมประกอบด้วย 6 สาธารณรัฐ กล่าวคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย โครเอเทีย เซอร์เบีย บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา มอนเตนิโกร และมาซิโดเนีย รวมทั้งคอซอวอและวอยวอดีนา ซึ่งเป็นจังหวัดปกครองตนเองราชอาณาจักรบอสเนีย ราชอาณาจักรบอสเนีย. ราชอาณาจักรบอสเนีย ก่อตั้งราวปี 753 โดยชาวบอสเนีย ซึ่งนับถือศาสนาคริสต์นิกายบอสเนียนออร์ทอดอกซ์ และเข้าเป็นสมาชิกของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนถึงปี 1463 ชาวบอสเนียเริ่มหันเข้ารับอิสลาม และรวมชาติเข้ากับ จักรวรรดิออตโตมัน ทำให้จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์หมดสิทธิปกครองบอสเนียต่อไปสมัยออตโตมัน(1463-1887) สมัยออตโตมัน(1463-1887). จักรวรรดิออตโตมันได้รวมบอสเนียเป็นแคว้นของจักรวรรดิบอสเนีย คล้ายกับจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์หรือจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เช่นเดียวกับเซอร์เบีย และดินแดนอื่นๆใกล้เคียงสมัยออสเตรีย(1887-1908) สมัยออสเตรีย(1887-1908). จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี สามารถยึดบอสเนียจาก ออตโตมันในปี 1887 และครองมาได้จนปี 1908 ออตโตมันก็กลับมาปกครอง ออสเตรียได้นำบอสเนียสู่การเป็นประเทศองค์ประกอบของออสเตรียสมัยออตโตมัน(1908) สมัยออตโตมัน(1908). ในปี1908ออตโตมันสามารถยึดครองบอสเนียอีกครั้ง แต่ก็ครองได้หนึ่งปี ออสเตรียก็กลับมายึดครองต่อสมัยออสเตรีย(1908-1918) สมัยออสเตรีย(1908-1918). ในปลายปี1908 ออสเตรียปกครองบอสเนีย ได้นำบอสเนียสู่การเป็นประเทศองค์ประกอบของจักรวรรดือีกครั้ง แต่ในปี1918 ชาวบอสเนีย ร่วมมือกับชาวโครแอทและชาวเซิร์บขับไล่ชาวออสเตรียออกจากประเทศ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่1 ก่อตั้งรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย(1918-1943) ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย(1918-1943). เพิ่มเติมในราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ราชอาณาจักรยูโกสลาเวียก่อตั้งขึ้นโดยการรวมตัวของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นและราชอาณาจักรเซอร์เบียที่เป็นราชอาณาจักรอิสระ ราชอาณาจักรมอนเตเนโกรตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของเซอร์เบียก่อนหน้านั้นแล้ว ราชอาณาจักรยูโกสลาเวียล้มสลายเมื่อ กองทัพนาซีเยอรมันบุกยูโกสลาเวียสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย(1943-1992) สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย(1943-1992). เพิ่มเติมในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ในป1943 พรรคคอมมิวนิสต์ยูโกสลาเวียก็สามารถปลดปล่อยยุโกสลาเวียได้ ภายใต้การนำของ ยอซีป บรอซ ตีโต ในปี1991 มาซิโดเนีย โครเอเชียและสโลเวเนีย แยกประเทศ และในปี1992 เมื่อบอสเนียและเซอร์เบียแตกคอและทำสงครามกัน เนื่องจากบอสเนียไม่พอใจที่เซอร์เบียรุกรานโครเอเชีย ทำให้ยุโกสลาเวียล้มสลาย และเกิดสงครามยูโกสลาเวียสงครามกลางเมืองบอสเนีย(1992-1995) สงครามกลางเมืองบอสเนีย(1992-1995). เพิ่มเติมในสงครามบอสเนีย สงครามบอสเนีย หรือ สงครามกลางเมืองบอสเนีย เป็นสงครามความขัดแย้งชาติพันธุ์ระหว่างชาวโครแอต ชาวเซิร์บ และชาวบอสเนียซึ่งเป็นชาวมุสลิม สงครามปะทุในวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1992 เมื่อชาวเซิร์บได้ก่อจลาจลเพื่อแยกตัวเป็นอิสระ ในขณะเดียวกันชาวโครแอตก็แยกดินแดนเป็นอิสระเช่นเดียวกัน ในช่วงสัปดาห์เดียวบอสเนียเกือบทั้งประเทศกลายเป็นทะเลเพลิง สงครามขยายวงกว้างไม่เว้นแต่กรุงซาราเยโว เมืองหลวงของบอสเนียเศรษฐกิจประชากร ประชากร. ประเทศบอสเนีบมีประชากรประมาณ 3790000 คน โดยแบ่งเป็น ชาวบอสเนีย 50.11% ชาวเซิร์บ 30.78% ชาวโครแอต 15.43%
| สหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาแบ่งออกเป็นกี่รัฐ | {
"answer": [
"10"
],
"answer_begin_position": [
655
],
"answer_end_position": [
657
]
} |
728 | 537,780 | ไมค์ ทินดัลล์ ไมเคิล เจมส์ ทินดัล () (เกิด 18 ตุลาคม 1978) เป็นนักรักบี้ชาวอังกฤษ สังกัดทีมกลอสเตอร์ เขาสมรสกับซารา ฟิลลิปส์ธิดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีกับมาร์ก ฟิลลิปส์ พระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรกับเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ
| ไมเคิล เจมส์ ทินดัล นักรักบี้ชาวอังกฤษสมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"ซารา ฟิลลิปส์"
],
"answer_begin_position": [
199
],
"answer_end_position": [
212
]
} |
1,875 | 537,780 | ไมค์ ทินดัลล์ ไมเคิล เจมส์ ทินดัล () (เกิด 18 ตุลาคม 1978) เป็นนักรักบี้ชาวอังกฤษ สังกัดทีมกลอสเตอร์ เขาสมรสกับซารา ฟิลลิปส์ธิดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีกับมาร์ก ฟิลลิปส์ พระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรกับเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ
| ไมเคิล เจมส์ ทินดัล นักรักบี้ชาวอังกฤษเกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"18"
],
"answer_begin_position": [
131
],
"answer_end_position": [
133
]
} |
730 | 47,634 | ประเทศบาร์เบโดส บาร์เบโดส () เป็นประเทศที่เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก ทางตะวันออกของทะเลแคริบเบียนเล็กน้อย ที่ 13 องศาเหนือและ 59 องศาตะวันตก ตั้งอยู่ค่อนข้างใกล้กับอเมริกาใต้โดยตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเวเนซุเอลาประมาณ 434.5 กิโลเมตร (270 ไมล์) เกาะที่อยู่ใกล้บาร์เบโดสมากที่สุดคือเซนต์ลูเซีย และเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซึ่งทั้ง 2 ประเทศตั้งอยู่ทางตะวันตก และเมื่อรวมกับบาร์เบโดสแล้ว เกาะเหล่านี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) ในภูมิภาคแคริบเบียน บาร์เบโดสเป็นหนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานชีวิตและความสามารถในการอ่านออกเขียนได้สูงที่สุดในโลกที่กำลังพัฒนา และจาก UNDP (United Nations Development Programme) บาร์เบโดสเป็นประเทศที่พัฒนาเป็นอันดับ 4 ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา นอกจากนี้ บาร์เบโดสยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวด้วยภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. บาร์เบโดสมีพื้นที่แผ่นดินประมาณ 430 ตารางกิโลเมตร (166 ตารางไมล์) และส่วนใหญ่มีพื้นที่ต่ำ มีบางส่วนที่สูงที่ตอนในของเกาะ พื้นที่ของบาร์เบโดสคาดว่ามาจากภูเขาไฟและประกอบด้วยหินปูนและหินปะการัง บรรยากาศของบาร์เบโดสเป็นกึ่งเขตร้อน โดยมีลมพัดมาจากมหาสมุทรแอตแลนติกตลอดเวลา และพื้นที่ที่ไม่มีการพัฒนาบางส่วนมีบึงและหนองน้ำบริเวณป่าชายเลน ส่วนอื่น ๆ ของตอนในของเกาะที่เป็นส่วนเกษตรกรรมจองบาร์เบโดส มีไร่อ้อยขนาดใหญ่ประปราย และทุ่งเลี้ยงสัตว์ที่กว้างและลาดเอียงไม่มากที่สามารถมองเห็นทะเลได้ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. เป็นรัฐในเครือจักรภพ การปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2เป็นพระมหากษัตริย์ ทรงใช้พระราชอำนาจผ่านผู้สำเร็จราชการนิติบัญญัติ นิติบัญญัติ. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ แบบ 2 สภา วุฒิสมาชิก (21 คน แต่งตั้งโดยผู้สำเร็จราชการ) สภาผู้แทนราษฎร (30 คน ด้วยการเลือกตั้งโดยตรงทุก 5 ปี)บริหาร บริหาร. ผู้สำเร็จราชการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี ตามคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้นำรัฐบาลและหัวหน้าคณะรัฐมนตรี พรรคการเมืองหลัก พรรค Barbados Labor Party, Democratic Labor Party, People's Empowerment Partyตุลาการ ตุลาการ. ฝ่ายตุลาการ ระบบกฎหมายมหาชนแบบอังกฤษ ใช้ศาลสูงสุด โดยมีคณะกรรมาธิการด้านตุลาการแต่ตั้งผู้พิพากษาอำนาจในการพิจารณาไต่สวน อยู่ภายใต้อำนาจของศาลสูงสุดแคริบเบียนตะวันออก ("") โดยมีผู้พิพากษา 1 คนสิทธิมนุษยชนนโยบายต่างประเทศการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. แบ่งการปกครองออกเป็น 11 เขต (parish) + 1 เมืองหลวงกองทัพเศรษฐกิจโครงสร้างสถานการณ์ เศรษฐกิจ. สถานการณ์. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติรวม (2550) 5.53 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (2550) ร้อยละ 4 โครงสร้างผลิตภัณฑ์ประชาชาติ พื้นฐานเศรษฐกิจมาจากการปลูกอ้อยและกิจการท่องเที่ยว เริ่มหันมามีรายได้หลักจากอุตสาหกรรมขั้นต้น โดยมีการบริการด้าน offshore finance and information services รายได้ประชาชาติต่อหัว (2550) 19,700 ดอลลาร์สหรัฐ จำนวนแรงงาน (2544) 128,500 ว่างงาน ร้อยละ 8.7 (2549) อัตราเงินเฟ้อ (2550) ร้อยละ 5.5 หนี้สินต่างประเทศ (2546) 668 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทรัพยากรธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปลา ก๊าซธรรมชาติ อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว น้ำตาล อุตสาหกรรมชิ้นส่วนเพื่อส่งออก เกษตรกรรม อ้อย ผัก และฝ้ายการท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม และ โทรคมนาคมคมนาคมโทรคมนาคมสาธารณูปโภควิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษาสาธารณสุขสวัสดิการสังคมประชากรศาสตร์เชื้อชาติ ประชากรศาสตร์. เชื้อชาติ. ประชากรในประเทศนี้มีจำนวน 281,968 คน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2551)ศาสนา ศาสนา. นับถือศาสนาโปรเตสแตนท์ 67% โรมันคาทอลิก 4% ไม่นับถือศาสนา 17% อื่นๆ 12%ภาษาวัฒนธรรมดนตรีอาหารสื่อสารมวลชนวันหยุดกีฬา
| จำนวนคนว่างงานของประเทศบาร์เบโดสในปี 2549 คิดเป็นอัตราร้อยละเท่าไร | {
"answer": [
"8.7"
],
"answer_begin_position": [
2721
],
"answer_end_position": [
2724
]
} |
731 | 450,731 | สายเอซาชิ รถไฟฮกไกโด สายเอะซะชิ () เป็นรถไฟสายชนบท ในจังหวัดฮกไกโด ระหว่างสถานีโกเรียวกะกุ เมืองฮะโกะดะเตะ ถึง สถานีเอะซะชิ เมืองเอะซะชิ ดำเนินการโดย JR ฮกไกโด ปัจจุบันให้เปิดให้บริการเฉพาะช่วงสถานีฮะโกะดะเตะถึงสถานีคิโกะไนเท่านั้น ส่วนช่วงสถานีคิโกะไนถึงสถานีเอะซะชิหยุดให้บริการแล้วตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2557สถานี สถานี. ราง: ∥: รางคู่, ∨: สิ้นสุดรางคู่, ◇: อาจเปลี่ยนขบวน |: ไม่มีการเปลี่ยนขบวนระเบียงภาพข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลเพิ่มเติม. - เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ JR ฮกไกโด - เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ JR ฮกไกโด
| รถไฟฮกไกโดสายเอะซะชิเป็นรถไฟสายชนบท ในจังหวัดอะไรในประเทศญี่ปุ่น | {
"answer": [
"จังหวัดฮกไกโด"
],
"answer_begin_position": [
137
],
"answer_end_position": [
150
]
} |
1,863 | 450,731 | สายเอซาชิ รถไฟฮกไกโด สายเอะซะชิ () เป็นรถไฟสายชนบท ในจังหวัดฮกไกโด ระหว่างสถานีโกเรียวกะกุ เมืองฮะโกะดะเตะ ถึง สถานีเอะซะชิ เมืองเอะซะชิ ดำเนินการโดย JR ฮกไกโด ปัจจุบันให้เปิดให้บริการเฉพาะช่วงสถานีฮะโกะดะเตะถึงสถานีคิโกะไนเท่านั้น ส่วนช่วงสถานีคิโกะไนถึงสถานีเอะซะชิหยุดให้บริการแล้วตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2557สถานี สถานี. ราง: ∥: รางคู่, ∨: สิ้นสุดรางคู่, ◇: อาจเปลี่ยนขบวน |: ไม่มีการเปลี่ยนขบวนระเบียงภาพข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลเพิ่มเติม. - เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ JR ฮกไกโด - เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ JR ฮกไกโด
| สถานีรถไฟจากคิโกะไนถึงเอะซะชิหยุดให้บริการแล้วตั้งแต่เดือนอะไร | {
"answer": [
"พฤษภาคม"
],
"answer_begin_position": [
380
],
"answer_end_position": [
387
]
} |
732 | 481,805 | เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (เพ็ญกุล) เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (สกุลเดิม เพ็ญกุล) เป็นธิดาคนหนึ่งของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) กับท่านผู้หญิงหุ่น ซึ่งบิดาของเจ้าจอมเป็นข้าหลวงเดิม รับราชการสนองพระเดชพระคุณพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ยังผนวชจนเป็นที่โปรดปราน กล่าวกันว่าทรงเลี้ยงนายเพ็งดุจบุตรบุญธรรม เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเถลิงถวัลยราชสมบัติเจ้าพระยามหินทรศักดิธำรง จึงได้ถวายธิดาที่เกิดแต่ท่านหุ่นให้รับราชการเป็นเจ้าจอม หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต เจ้าจอมทับทิมจึงได้ออกจากพระบรมมหาราชวังมาพำนักกับบิดา ซึ่งภายหลังเจ้าจอมทับทิมได้ออกไปวิวาหมงคลกับพระยาราชานุประพันธ์ (สุดใจ บุนนาค) เจ้าจอมทับทิมมีพี่น้องที่ได้รับราชการฝ่ายในคือเจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5
| เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 สกุลเดิมคืออะไร | {
"answer": [
"เพ็ญกุล"
],
"answer_begin_position": [
188
],
"answer_end_position": [
195
]
} |
1,871 | 481,805 | เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (เพ็ญกุล) เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (สกุลเดิม เพ็ญกุล) เป็นธิดาคนหนึ่งของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) กับท่านผู้หญิงหุ่น ซึ่งบิดาของเจ้าจอมเป็นข้าหลวงเดิม รับราชการสนองพระเดชพระคุณพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ยังผนวชจนเป็นที่โปรดปราน กล่าวกันว่าทรงเลี้ยงนายเพ็งดุจบุตรบุญธรรม เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเถลิงถวัลยราชสมบัติเจ้าพระยามหินทรศักดิธำรง จึงได้ถวายธิดาที่เกิดแต่ท่านหุ่นให้รับราชการเป็นเจ้าจอม หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต เจ้าจอมทับทิมจึงได้ออกจากพระบรมมหาราชวังมาพำนักกับบิดา ซึ่งภายหลังเจ้าจอมทับทิมได้ออกไปวิวาหมงคลกับพระยาราชานุประพันธ์ (สุดใจ บุนนาค) เจ้าจอมทับทิมมีพี่น้องที่ได้รับราชการฝ่ายในคือเจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5
| เจ้าจอมทับทิมมีพี่น้องที่ได้รับราชการฝ่ายใน มีนามว่าอะไร | {
"answer": [
"เจ้าจอมมารดามรกฎ"
],
"answer_begin_position": [
822
],
"answer_end_position": [
838
]
} |
733 | 13,251 | ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ (; ; ) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (; ; ) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้วยภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์กายภาพ. นอร์เวย์ครอบคลุมพื้นที่ทางตะวันตกของสแกนดิเนเวียในยุโรปเหนือ มีพรมแดนส่วนที่ติดต่อกับสวีเดนและฟินแลนด์ยาว 2,542 กิโลเมตร และพรมแดนสั้นๆติดต่อกับรัสเซียทางทิศตะวันออก ทางทิศตะวันตกและใต้ติดต่อกับทะเลนอร์เวเจียน ทะเลเหนือ และ Skagerak ทางทิศเหนือติดต่อกับทะเลแบเรนต์ส ภูมิอากาศ และสภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ : ภูเขาน้ำแข็งปกคลุมมากกว่าครึ่งประเทศ โดยเฉพาะพื้นที่สูงและภูเขาสูงจะมีน้ำแข็งปกคลุมตลอดทั้งปี พื้นที่หลายแห่งมีภูเขาสลับซับซ้อน มีช่องเขาแคบ ๆ สลับที่ราบหลายแห่ง ชายฝั่งทะเลส่วนใหญ่เป็นฟยอร์ดที่มีน้ำลึกแต่นิ่ง เหมาะในการสร้างท่าเรือ ภูมิอากาศ : ปกคลุมไปด้วยน้ำแข็ง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและภูเขาสูงแยกกันโดย หุบเขาที่ อุดมสมบูรณ์ มีที่ราบขนาดเล็ก กระจายอยู่ทั่วไป ตามชายฝั่งมีธารน้ำแข็ง (Fjords) จำนวนมาก มีที่ทุ่งหญ้าทุนดราที่ไม่มีต้นไม้ทางทิศเหนือ บริเวณชายฝั่งอากาศเย็นสบาย ด้วยอิทธิพลของกระแสน้ำอุ่นแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Current) พื้นที่ด้านในทวีปมีอากาศเย็นกว่าและมีปริมาณน้ำที่ตกจากฟ้า (ในรูปฝนหรือหิมะ หรืออื่นๆ) มากกว่า ฤดูร้อนก็มีอากาศเย็นกว่า ฝนตกตลอดทั้งปี ในบริเวณชายฝั่งตะวันตกประวัติศาสตร์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ยุคสำริดยุคโลหะการอพยพย้ายถิ่น ประวัติศาสตร์. การอพยพย้ายถิ่น. ชาวนอร์เวย์เองก็อพยพไปยังประเทศอื่นเช่นเดียวกัน ในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 และในตอนต้นของศตวรรษที่ 20 ชาวนอร์เวย์ประมาณ 800,000 คนอพยพไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา เนื่องจากเศรษฐกิจของนอร์เวย์ไม่ดีนักและประชากรหางานทำได้ยากมาก หลายคนฝันว่าจะไปเริ่มชีวิตใหม่ในประเทศสหรัฐอเมริกา เพราะได้ยินว่าที่นั่นมีโอกาสดี ๆ มากมาย หลายคนพบว่าชีวิตในประเทศใหม่นี้มีความยากลำบากในช่วงแรก ในขณะที่คนส่วนใหญ่ก็สามารถผ่านพ้นไปได้ด้วยดี ปัจจุบันชาวนอร์เวย์เป็นจำนวนมากทำงานหรือศึกษาในต่างประเทศ คนเหล่านี้ใช้เวลาเรียนรู้วัฒนธรรมอื่น ๆ และเรียนรู้ภาษาใหม่ ๆ ชาวนอร์เวย์ที่เป็นผู้ใหญ่ช่วงต้นมักใช้เวลาสองถึงสามเดือนหรือตลอดทั้งปีเดินทางไปรอบโลกเพื่อชมและหาประสบการณ์ใหม่ ๆ ในประเทศและวัฒนธรรมที่แตกต่าง ผู้อพยพชุดล่าสุดของนอร์เวย์คือกลุ่มที่เดินทางไปยังประเทศเขตร้อนและอาศัยอยู่ในระยะเวลาที่ต่างกัน ผู้ชราภาพที่กินบำนาญหลายรายต้องการออกจากพื้นที่เขตหนาวของนอร์เวย์ในช่วงฤดูหนาว หลายคนย้ายถิ่นฐานไปยังประเทศอื่น เช่น สเปน อย่างถาวร ในขณะที่อีกหลายคนอาศัยอยู่ในประเทศเหล่านี้ในช่วงฤดูหนาวและกลับมานอร์เวย์ในช่วงฤดูร้อน นอร์เวย์เป็นถิ่นอาศัยของกลุ่มคนที่มีพื้นเพหลากหลายมาเป็นเวลายาวนาน ชาวซามีอาศัยอยู่ทางนอร์เวย์ตอนเหนือมาเป็นเวลาสองพันปี และมีคนเดินทางมายังนอร์เวย์เพื่อมาหางานทำนับเป็นร้อยปีมาแล้ว ผู้ย้ายถิ่นฐานชุดแรกที่เข้ามาทำงานที่นี่มาจากประเทศเพื่อนบ้านและในยุโรปตะวันตก ปัจจุบันประชากรจากกว่า 200 ประเทศอาศัยอยู่ที่นี่ เศรษฐกิจของนอร์เวย์ปรับตัวดีขึ้นนับตั้งแต่ปี 1960 เป็นต้นมา ทำให้มีความต้องการแรงงานและมีคนเป็นจำนวนมากจากหลายประเทศเดินทางเข้ามาเพื่อหางานทำ คนกลุ่มแรกที่เข้ามามาจากยุโรป และนับตั้งแต่ช่วงปี 1970 เป็นต้นมา หลายคนมาจากเอเชีย อาฟริกาและละตินอเมริกา นอกจากนี้ยังมีชาวปากีสถานและชาวเตอร์กที่เดินทางมาเพื่อทำงานที่นี่ หลายคนยังคงอาศัยอยู่ในนอร์เวย์ในปัจจุบัน ในปี 1975 การย้ายถิ่นฐานถูกชะลอไว้ชั่วคราวเนื่องจากอัตราการว่างงานที่เพิ่มขึ้นและปัญหาด้านการจัดหาที่อยู่อาศัยให้กับคนที่เดินทางเข้ามาในประเทศ ปัจจุบันประชากรจากประเทศใน EEA สามารถรับใบอนุญาตผู้พำนักและใบอนุญาตทำงานในนอร์เวย์ได้ นอกจากนี้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในสาขางานที่นอร์เวย์ต้องการก็สามารถขอรับใบอนุญาตทำงานได้เช่นกัน ในช่วงปีที่ผ่านมา ผู้ลี้ภัยทางการเมืองหลายคนเดินทางมายังนอร์เวย์จากส่วนต่าง ๆ ของโลก ผู้ที่ลี้ภัยสงครามและกรณีความรุนแรงสามารถยื่นขอลี้ภัยทางการเมืองในนอร์เวย์ได้ยุคไวกิ้ง ยุคไวกิ้ง. เราเรียกช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศักราช 800 – 1100 ว่าเป็นยุคไวกิ้ง นอร์เวย์ไม่ได้เป็นประเทศที่เป็นรัฐเดียว แต่เป้นราชอาณาจักรเล็ก ๆ หลายอาณาจักร ฮาร์รรัลด์ แฟร์แฮร์ (Harald Hårfagre) เป็นพระราชาของดินแดนที่ใหญ่ในปี 872 ชาวไวกิ้งเดินทางไปหลายประเทศ และชาวไวกิ้งบางส่วนคือ พ่อค้า จากการซื้อและขายของต่าง ๆ ชาวเหนือที่อาศัยในแถบสแกนดิเนเวีย มีพื้นที่เพาะปลูกน้อย จึงหันมายึดอาชีพการประมง และพัฒนาการต่อเรือเดินทะเล ซึ่งต่อมามีประชากรเพิ่มมากขึ้น จึงจำเป็นต้องออกทะเลเพื่อค้าขายแต่พวกนี้ชอบทำตัวเป็นโจรสลัด เที่ยวรุกรานใครต่อใคร ทำให้ผู้คนส่วนใหญ่เรียกชาวเหนือพวกนี้ว่า "V iking" (ชาวนอร์วิเจียนออกเสียงว่า วีคิง) เรือเดินทะเลดั้งเดิม ซึ่งมีความยาว 22 เมตร กลางลำกว้าง 5 เมตร ลึก 1.5 เมตร มีฝีพาย 30-32 คน ตรงกลางมีเสากระโดงสำหรับติดเรือใบ ท้องเรือแบนเหมาะแก่การโต้คลื่น หัวงอน ท้ายงอน ช่วยให้ปราดเปรียว โดยเฉพาะหัวเรือนั้น ทำเป็นหัวงู เนื่องจากมีความเชื่อว่าสัตว์เลื้อยคลานชนิดนี้จะช่วยขจัดความชั่วร้าย จะเห็นได้ว่าส่วนประกอบที่ทำเป็นลำเรือนั้นคือไม้โอ๊ก ซึ่งตีประกบกันเป็นเกล็ด แล้วเคลือบด้วยน้ำมันเหนียว ๆ ซึ่งมีความแข็งแรงมากกว่าเรือไม้อื่น ๆ ส่วนหางเสือนั้นทำเป็นแบบถอดได้ ลำเรือมีน้ำหนักเบา พอขึ้นฝั่งก็ถอดหางเรือ เข็นเรือเกยตื้นได้คล่อง ครั้นจะออกทะเลก็เข็นลงน้ำ ติดหางเสือพร้อมกับเร่งฝีพาย ชักใบเรือขึ้นเสากระโดง มีเรือไวกิ้งตั้งแสดงไว้ 3 ลำ แต่ละลำมีอายุราว ๆ 1,000 ปี ดูเหมือนกว่าลำที่ขุดพบแรกสุดเมื่อร้อยปีเศษมานี้ แม้จะผุพังไปมาก แต่เขาได้ใช้ความพยายามเอาชิ้นส่วนที่ยังใช้ได้มาประกอบรวมกับของใหม่ ซึ่งของเดิมนั้นจะมีสีคล้ำกว่าอย่างเห็นได้ชัด ส่วนช่วงหลังของอาคาร ใช้เป็นที่แสดงสิ่งของที่ขุดพบในซากเรือและในจำนวนเรือไวกิ้งหรือเรือเดินทะเลทั้ง 3 ลำนี้ มีเพียงลำเดียวที่มีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์เนื่องจากจมอยู่ในโคลน อีกทั้งได้พบหลักฐานว่าไม่เคยออกทะเล แต่ใช้เป็นที่ฝังศพของหญิงสูงศักดิ์ชาวไวกิ้ง 2 คน พร้อมกับสิ่งของเครื่องใช้สำหรับผู้ตายให้เอาไปใช้ในภพหน้า และมีอยู่ลำหนึ่งเสียหายมาก เพราะโดนแทร็กเตอร์ของคนงานก่อสร้างโดยบังเอิญ ส่วนแพ Kon-Tiki ได้ตั้งแสดงไว้อีกพิพิธภัณฑ์ ในที่นั้นยังมีเรือฟาง Ra II อีกลำ ซึ่งสร้างขึ้นมาเพื่อใช้พิสูจน์ความจริงบางประการเมื่อไม่นานมานี้สหภาพคาลมาร์เดนมาร์ก-นอร์เวย์ เดนมาร์ก-นอร์เวย์. ระหว่างศตวรรษที่ 14 เดนมาร์กมีอิทธิพลเหนือนอร์เวย์เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ใน ค.ศ. 1397 นอร์เวย์อยู่ในสหภาพเดียวกับเดนมาร์กและสวีเดนอย่างเป็นทางการ สหภาพถูกปกครองโดยกษัตริย์ร่วมกัน สวีเดนค่อย ๆ ถอนตัวออกมาจากสหภาพนี้ แต่เดนมาร์กและนอร์เวย์ยังคงรวมกันจนกระทั่งค.ศ. 1814 สหภาพถูกปกครองจากเดนมาร์ก โคเปนเฮเกนเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมของสหภาพและชาวนอร์เวย์อ่านและเขียนเป็นภาษาเดนมาร์ก เกษตกรชาวนอร์เวย์จ่ายภาษีให้กับกษัตริย์ในโคเปนเฮเกนสหราชอาณาจักรการประกาศเอกราช การประกาศเอกราช. สหภาพกับสวีเดนล่มสลายใน ค.ศ. 1905 มีความขัดแย้งทางการเมืองเป็นเวลาหลายปีระหว่างรัฐสภาของนอร์เวย์และกษัตริย์ในประเทศสวีเดน และในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 มีความเชื่อมากขึ้นเรื่อยๆ ว่านอร์เวย์ควรเป็นประเทศเอกราชและมีเสรีภาพ วันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1905 รัฐสภาประกาศว่ากษัตริย์แห่งสวีเดนไม่ได้เป็นกษัตริย์ของนอร์เวย์อีกต่อไป และสหภาพกับสวีเดนก็ล่มสลายตามา ปฏิกิริยาตอบกลับในสวีเดนรุนแรงและสงครามระหว่างนอร์เวย์และสวีเดนใกล้จะเริ่มขึ้น เนื่องมากจากการลงประชามติสองครั้งเกิดขึ้นในปีเดียวกัน จึงเป็นตัวกำหนดให้สหภาพกับสวีเดนล่มสลายและชาติใหม่ของนอร์เวย์เป็นการปกครองโดยมีกษัตริย์เป็นประมุข เจ้าชายคาร์ลแห่งเดนมาร์กถูกเลือกให้เป็นกษัตริย์คนใหม่ของนอร์เวย์ เขามีชื่อทางราชวงศ์ของนอร์เวย์ว่า ฮากอน กษัตริย์ฮากอนเป็นกษัตริย์องค์ที่ 7 ของนอร์เวย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1905 จนกระทั่งตายใน ค.ศ. 1957สงครามโลก สงครามโลก. นอร์เวย์ถูกยึดครองโดยนาซีเยอรมนีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2483 ถึง 2488 และถูกทำลายในช่วงสงครามไปมาก อาคารบ้านเรือน โรงงานและเมืองต่าง ๆ ถูกทิ้งระเบิดและเผาทำลาย สินค้าส่วนใหญ่มีไม่เพียงพอต่อความต้องการและประชาชนต้องประสบกับความยากลำบาก สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มขึ้นในเดือนกันยายนปี 1939 เมื่อครั้งที่โปแลนด์ถูกรุกรานโดยทหารเยอรมัน ทหารเยอรมันรุกรานนอร์เวย์เมื่อวันที่ 9 เมษายน 1940 มีการต่อสู้ช่วงสั้น ๆ เกิดขึ้นหลายแห่งในประเทศ แต่ระยะเวลาเพียงไม่กี่วันเยอรมันก็สามารถควบคุมนอร์เวย์ได้ทั้งหมด กษัตริย์และเจ้าหน้าที่รัฐบาลต่างหลบหนีไปที่ลอนดอนประเทศอังกฤษและดำเนินการต่อต้านจากที่นั่น ระหว่างสงครามช่วงสองสามวันแรก ยังไม่มีการต่อต้านเกิดขึ้นมากนักในนอร์เวย์ เจ้าหน้าที่ตำรวจถูกพวกนาซีควบคุม โดยรัฐบาลใหม่ที่เข้าพวกกับนาซีได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อบริหารประเทศแทน รัฐบาลชุดนี้ไม่ได้ถูกเลือกขึ้นตามระบอบประชาธิปไตย ชาวนอร์เวย์หลายคนประกอบกิจกรรมที่ผิดกฎหมายระหว่างช่วงสงคราม มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างไม่มีการปิดกั้น ทั้งทางหนังสือพิมพ์และใบปลิว และมีอีกหลายคนที่ช่วยคนให้หลบหนีจากพวกนาซีไปยังประเทศอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสวีเดนและอังกฤษ หลายคนถูกจับกุมและขังไว้ในค่ายกักกัน แม้ว่าประเทศจะถูกยึดครอง แต่คนส่วนใหญ่ยังไปทำงานตามปกติและเด็ก ๆ ก็ยังคงไปเรียนหนังสือได้ตามเดิม อย่างไรก็ตาม อาหาร เสื้อผ้าและปัจจัยอื่น ๆ ถูกแบ่งสรรจากฝ่ายควบคุม ทำให้หลายคนเกิดความไม่แน่ใจในอนาคต นอร์เวย์มีเรือพาณิชย์ก่อนช่วงสงครามเป็นจำนวนมาก ระหว่างช่วงสงครามปี 1940-1945 เรือหลายลำในจำนวนนี้ส่งสินค้าไปยังประเทศที่ทำสงครามกับเยอรมัน โดยรัฐบาลนอร์เวย์ในลอนดอนเป็นผู้เตรียมการขนส่งเหล่านี้ ประมาณครึ่งหนึ่งของกองเรือถูกทิ้งตอร์ปิโดหรือถล่มด้วยระเบิด ลูกเรือชาวนอร์เวย์เกือบ 4,000 คนต้องเสียชีวิตระหว่างสงคราม ชายและหญิงชาวนอร์เวย์ประมาณ 10,000 คนเสียชีวิตเนื่องจากสงคราม ประมาณ 700 คนจากนี้เป็นชาวยิวที่ถูกส่งไปยังค่ายกักกันส่วนกลางในเยอรมันและโปแลนด์ ในวันที่ 8 พฤษภาคม 1945 เยอรมันยอมจำนน นอร์เวย์จึงเป็นประเทศเอกราชอีกครั้ง ชาวนอร์เวย์ประมาณ 50,000 คนต้องข้อหากบฏหลังจากสงครามสิ้นสุด คนเหล่านี้เป็นสมาชิกของพรรคสังคมนิยมแห่งชาตินอร์เวย์ Nasjonal Samling ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ฝักใฝ่กับพวกนาซี โดย25 คนถูกประหารชีวิตด้วยข้อหากบฏหลังสงครามยุคฟื้นฟูประเทศ ยุคฟื้นฟูประเทศ. หลังปี 1945 ประเทศได้เริ่มบูรณะตัวเองใหม่อีกครั้ง ซึ่งนับเป็นช่วงเวลาที่ตื่นตัวมาก ทั้งการผลิตและการส่งออกอยู่ในอัตราที่เพิ่มขึ้น กองเรือพาณิชย์เองก็ถูกบูรณะขึ้นใหม่อีกครั้ง หลายคนสามารถหางานทำได้ และแม้ว่าค่าแรงจะไม่สูงมากนัก แต่ปัญหาความยากจนก็ลดลงไปได้บ้าง คนส่วนใหญ่มีมุมมองที่ดีและหลายคนคาดหวังที่จะมีส่วนร่วมในการบูรณะประเทศนอร์เวย์ขึ้นอีกครั้ง ความเท่าเทียมกัน และคุณค่าที่เท่ากันกลายเป็นสิ่งที่มีความสำคัญสำหรับคนส่วนใหญ่ เศรษฐกิจของนอร์เวย์ค่อย ๆ พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ แม้ว่าจะยังคงต้องแบ่งสรรสินค้าใช้อยู่จนช่วงปลายทศวรรษที่ 1950 ระหว่างช่วงทศวรรษหลังสงคราม มีการปฏิรูปมากมายเกิดขึ้นเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของทุกคน ชั่วโมงการทำงานถูกกำหนดให้สั้นลง และวันหยุดยาวนานขึ้น ในปี 1967 ได้มีการประกาศใช้กฎหมายหลักประกันแห่งชาติ กฎหมายนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นหลักประกันทางเศรษฐกิจให้กับประชากรทุกคน รวมทั้งคนชราและคนป่วยการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. นอร์เวย์มีการปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และระบอบรัฐสภา ประมุขแห่งรัฐของนอร์เวย์คือพระมหากษัตริย์ โดยพระองค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 บทบาทของกษัตริย์ในปัจจุบัน จำกัดอยู่เพียงด้านพิธีการและสัญลักษณ์บริหาร บริหาร. ประมุขของรัฐคือ พระมหากษัตริย์ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล พระมหากษัตริย์แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีโดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา ตำแหน่งประมุขของรัฐสืบทอดโดยการสืบสันตติวงศ์ ตามด้วยการเลือกตั้งรัฐสภา โดยทั่วไปผู้นำพรรคการเมืองเสียงข้างมากหรือผู้นำคณะรัฐบาลผสมจะได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีนิติบัญญัติ นิติบัญญัติ. สภานิติบัญญัติของนอร์เวย์ (Storting) มีลักษณะเป็นรัฐสภาเดี่ยวที่ได้มีการปรับให้เหมาะกับประเทศ (modified unicameral parliament) สมาชิกจำนวน 169 ที่น่ง ได้รับการเลือกตั้งในระบบคะแนนนิยมแบบสัดส่วน วาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปีตุลาการ ตุลาการ. ศาลสูงสุด หรือ Hoyesterett ซึ่งผู้พิพากษาได้รับการแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์การแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. ประเทศนอร์เวย์แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 19 เทศมณฑล (fylker) และ 431 เทศบาล (kommuner) เทศมณฑลในนอร์เวย์ เป็นระดับการปกครองที่อยู่ระหว่างรัฐกับเทศบาล แต่ในปี พ.ศ. 2553 เทศมณฑลทั้ง 19 แห่ง จะถูกจัดแบ่งใหม่เป็นเขตที่ใหญ่ขึ้น 5 - 9 เขต เทศมณฑลและศูนย์กลางการบริหารทั้ง 19 แห่ง ได้แก่- อาเคร์สฮูส – ออสโล - แออุสต์-อักแดร์ – อาเรนดาล - บุสเครุด – ดรัมเมน - ฟินน์มาร์ก – วาดเซอ - เฮดมาร์ก – ฮามาร์ - ฮอร์ดาลันด์ – แบร์เก็น - เมอเรอ็อกร็อมสดาล – มอลเด - นอร์ลันด์ – บูเดอ - นอร์-เทรินเดลาก – สเตนแคร์ - ออปป์ลันด์ – ลิลเลฮัมเมร์ - เทศมณฑลและกรุงออสโล - เอิสต์ฟอลด์ – ซาร์ปสบอร์ก - รูกาลันด์ – สตาวังเงร์ - ซองน์อ็อกฟยอร์ดาเน – เลย์คังเงร์ - เซอร์-เทรินเดลาก – ทรอนด์เฮม - เทเลมาร์ก – เชียน - ทรุมส์ – ทรูมเซอ - เวสต์-อักแดร์ – คริสเตียนซันด์ - เวสต์ฟอลด์ – เทินสแบร์กความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย. ประเทศไทยเริ่มมีความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการกับนอร์เวย์ เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 หลังจากที่นอร์เวย์ได้ประกาศเอกราชและแยกตัวออกจากสวีเดนโดยสันติ เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2448 ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับนอร์เวย์ใกล้ชิดมากขึ้นจากการเสด็จฯ เยือนนอร์เวย์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อเดือนมิถุนายน 2450 ซึ่งได้ทรงลงพระนามาภิไธยย่อ จปร ไว้บนก้อนหิน ณ บริเวณนอร์ดแคปป์ (Nordkapp) ต่อมา ได้มีการจัดสร้างพิพิธภัณฑสถานไทย ณ นอร์ดแคปป์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯ เยือนนอร์เวย์ เพื่อทรงเปิดพิพิธภัณฑ์ดังกล่าว เมื่อปี 2532 ในปี 2495 ได้มีการแลกเปลี่ยนผู้แทนทางการทูตในระดับอัครราชทูต และได้ยกฐานะความสัมพันธ์ขึ้นเป็นระดับเอกอัครราชทูตตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม 2503 จากนั้น นอร์เวย์ได้แต่งตั้งเอกอัครราชทูตมาประจำประเทศไทยตลอดมา ส่วนไทยได้เปิดสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงออสโล เมื่อเดือนสิงหาคม 2530 และต่อมา เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2544 คณะรัฐมนตรีมีมติให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงออสโล มีเขตอาณาครอบคลุมสาธารณรัฐลัตเวีย นอกจากนี้ ไทยยังมีสถานกงสุล ณ เมืองเบอร์เกน อีกด้วย ไทยและนอร์เวย์ได้เฉลิมฉลองการครบรอบ 100 ปี แห่งความสัมพันธ์ทางการทูตในปี 2548 ในโอกาสดังกล่าว เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ และเจ้าหญิงเมตเต-มาริต พระชายา ได้เสด็จฯ เยือนไทยอย่างเป็นทางการในฐานะพระราชอาคันตุกะของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 23 - 26 พฤศจิกายน 2547 นอกจากนี้ นอร์เวย์เคยมีบทบาทที่สร้างสรรค์ในการเชื่อมความสัมพันธ์ไทย - จีน โดยเมื่อต้นปี 2514 นอร์เวย์ได้เริ่มทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการจัดให้ผู้แทนฝ่ายไทยและฝ่ายจีนได้พบปะหารือกัน เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2514 โดยนายอานันท์ ปันยารชุน เอกอัครราชทูตประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก และนายเจียว กง หัว (Chiao Kuan-Hua) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศจีน ได้พบปะหารือกันที่นครนิวยอร์ก อันนำไปสู่การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2518 นอร์เวย์ถ่ายทอดประสบการณ์และองค์ความรู้ต่าง ๆ ให้ไทย เช่น การเก็บกู้ทุ่นระเบิดบริเวณแนวชายแดน เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เป็นต้น และใช้ไทยเป็นจุดประสานงานหลักในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ประเทศเพื่อนบ้านของไทยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ความสัมพันธ์ด้านการค้า ความสัมพันธ์ด้านการค้า. ไทยและนอร์เวย์มีกรอบการส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจภายใต้คณะกรรมาธิการร่วมทางเศรษฐกิจ การเดินเรือ อุตสาหกรรม วิชาการและการค้า ไทย-นอร์เวย์ ซึ่งได้มีการประชุมมาแล้ว 4 ครั้ง ระหว่างปี 2529 - 2542 ไทยและนอร์เวย์ยังได้ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจในกรอบพหุภาคี คือ การเจรจาจัดทำความตกลงเขตการค้าเสรีระหว่างไทยกับสมาคมการค้าเสรียุโรป (European Free Trade Association EFTA) ซึ่งมีสมาชิก 4 ประเทศ ได้แก่ ไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์ และสวิตเซอร์แลนด์ โดยทั้งสองฝ่ายได้เริ่มดำเนินการเจรจาตั้งแต่ปี 2548 และได้หยุดชะงักไปเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของไทยเมื่อเดือนกันยายน 2549 โดยล่าสุด ที่ประชุมร่วมรัฐสภาไทยเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2556 ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบร่างกรอบการเจรจาความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับ EFTA แล้ว และจะมีการเจรจารอบแรก ในช่วงต้นปี 2557กองทัพ กองทัพ. กองทัพนอร์เวย์ปัจจุบันมีประมาณ 23,000 คน รวมทั้งพนักงานพลเรือน ตามที่ในปัจจุบัน (ค.ศ. 2009) ความพรั่งพร้อมในการเรียกระดมพลเต็มจะอยู่ที่ประมาณ 83,000 คน นอร์เวย์มีการเกณฑ์ทหารสำหรับเพศชาย (6-12 เดือนของการฝึกอบรม) และ พลอาสาสมัครสำหรับเพศหญิง กองทัพนอร์เวย์เป็นผู้ใต้บังคับบัญชากระทรวงกลาโหม ทหารของนอร์เวย์จะแบ่งออกเป็นสาขาต่อไปนี้: กองทัพ, กองทัพเรือ, กองทัพอากาศ และ กองอาสารักษาดินแดนเศรษฐกิจโครงสร้าง เศรษฐกิจ. โครงสร้าง. นอร์เวย์เป็นประเทศที่ต้องพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติทางพื้นดิน ป่าไม้ และทะเลอย่างมาก โดยมีอุตสาหกรรมหลัก คือ อุตสาหกรรมการประมง อุตสาหกรรมผลิตภัณท์ป่าไม้ อุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังน้ำ อุตสาหกรรมแร่ธาตุ จำพวกอะลูมิเนียม สังกะสี ตะกั่ว และทองแดง และอุตสาหกรรมการต่อเรือ และอุปกรณ์ด้านการเดินเรือทะเล นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังมีอุตสาหกรรมการเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติทางตอนใต้ของทะเลเหนือ รัฐบาลนอร์เวย์จึงพยายามที่จะดำเนินนโยบายที่จะให้หลักประกันต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นประโยชน์มากที่สุดเพื่อผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต นอร์เวย์เป็นรัฐสวัสดิการ ซึ่งมีนโยบายที่เน้นการนำรายได้ของรัฐมาสนับสนุนภาคบริการเพื่อเป็นหลักประกันทางสังคมแก่ประชาชนในด้านต่างๆ อาทิ การบริการรักษาพยาบาล การศึกษา การจัดระบบบำเหน็จบำนาญ และการดูแลผู้พิการและผู้สูงอายุ เป็นต้น ลักษณะสำคัญของสังคมนอร์เวย์อีกประการหนึ่ง คือ การเน้นความเท่าเทียมกันในเรื่องเพศ ซึ่งทำให้สตรีชาวนอร์เวย์ได้รับสิทธิในการทำงานและสิทธิทางด้านสังคมอื่นๆ เช่นเดียวกับบุรุษ สำหรับความร่วมมือทางเศรษฐกิจของนอร์เวย์ในระดับภูมิภาคยุโรป นอกเหนือจากการส่งเสริมความร่วมมือในกลุ่มประเทศนอร์ดิก (Nordic) ซึ่งประกอบด้วยเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน แล้ว นอร์เวย์ยังเป็นสมาชิกสมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (European Free Trade Association - EFTA) ซึ่งมีสมาชิกประเทศ ได้แก่ ไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์ และสวิตเซอร์แลนด์ โดยไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ และนอร์เวย์ได้เจรจากับสหภาพยุโรป (European Union - EU) เพื่อจัดตั้งเขตเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Area - EEA) ซึ่งมีผลตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2537การท่องเที่ยว การท่องเที่ยว. ชาวนอร์เวย์เดินทางมาท่องเที่ยวในไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ. 2549 มีจำนวน 101,920 คน ปี พ.ศ. 2550 จำนวน 110,076 คน ปี พ.ศ. 2551 จำนวน 127,976 คน และปี พ.ศ. 2552 จำนวน 151,572 คน ซึ่งมีสัดส่วนสูงเมื่อเทียบกับจำนวนประชากรนอร์เวย์ซึ่งมีจำนวน 4.8 ล้านคน ในขณะที่เมื่อปี พ.ศ. 2552 มีนักท่องเที่ยวไทยเดินทางไปท่องเที่ยวนอร์เวย์จำนวนประมาณ 8,000 คน แหล่งท่องเที่ยวที่ชาวนอร์เวย์นิยม คือ แหล่งท่องเที่ยวชายทะเลของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งจังหวัดภูเก็ต ปัจจัยที่ ทำให้ชาวนอร์เวย์นิยมเดินทางมาท่องเที่ยวในไทย คือ ความสามารถสนองตอบต่อความต้องการของนักท่องเที่ยวนอร์เวย์ในการท่องเที่ยวประเภทหาดทราย ชายทะเลของไทย และการที่ไทยมีค่าครองชีพที่ไม่สูง เมื่อกลางเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2552 การบินไทยได้เปิดเส้นทางบินตรงไทย – นอร์เวย์ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวชาวนอร์เวย์และนักธุรกิจ ด้วยเครื่องแอร์บัส 340-500 ประกอบด้วยชั้นธุรกิจ 60 ที่นั่ง ชั้นประหยัด 42 ที่นั่ง และชั้นประหยัด 113 ที่นั่ง โดยในปัจจุบัน บินออกจากนอร์เวย์ทุกวัน ใช้เวลาบินราว 10 ชั่วโมงครึ่งโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคม และ โทรคมนาคมเส้นทางคมนาคมโครงสร้างพื้นฐาน. การคมนาคม และ โทรคมนาคม. เส้นทางคมนาคม. - ทางรถไฟ เนื่องจากความหนาแน่นของประชากรต่ำ รูปร่างแคบและชายฝั่งที่ยาว การขนส่งสาธารณะในประเทศนอร์เวย์ได้รับการพัฒนาน้อยกว่าในหลายประเทศในยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตนอกเมือง อย่างเช่นมีประเพณีการขนส่งทางน้ำเก่าของนอร์เวย์ แต่กระทรวงคมนาคมนอร์เวย์ในปีที่ผ่านมา การขนส่งทางรถไฟ ถนน และทางอากาศดำเนินการผ่านบริษัทย่อยจำนวนมากเพื่อที่จะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ เมื่อเร็ว ๆ นี้ได้มีการเป็นไปได้ของการสร้างใหม่ระบบรถไฟความเร็วสูงระหว่างเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ เครือข่ายรถไฟของนอร์เวย์หลักยาว 4,114 กิโลเมตร (2,556 ไมล์) ของขนาดความกว้างรางรถไฟมาตรฐาน ซึ่ง 242 กิโลเมตร (150 ไมล์) คือรางคู่และ 64 กิโลเมตร (40 ไมล์) เป็นทางรถไฟความเร็วสูง (210 กม. / ชม. ) ขณะที่ 62% เป็นไฟฟ้าที่ 15 kV 16 ⅔ AC เฮิร์ตซ์ รถไฟขนส่งผู้โดยสารได้อย่างมากที่สุด 56,827,000 คน และสินค้า 24,783,000 ตัน เครือข่ายทั้งหมดเป็นของการรถไฟบริหารนอร์เวย์แห่งชาติ ในขณะที่รถไฟด่วนสนามบินกำลังดำเนินการโดย การรถไฟนอร์เวย์ (NSB) และยังมีอีกหลายบริษัทที่ดำเนินการขนส่งสินค้าทางรถไฟ- ทางอากาศ มีท่าอากาศยาน 97 แห่งในนอร์เวย์ มีอยู่เจ็ดสนามบินมีผู้โดยสารมากกว่าหนึ่งล้านคนเป็นประจำทุกปี ท่าอากาศยานหลักของนอร์เวย์คือ ท่าอากาศยานนานาชาติออสโลโทรคมนาคมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษา การศึกษา. การศึกษาระดับอุดมศึกษาในนอร์เวย์จะมีบริการตามช่วงของ 7 มหาวิทยาลัย 5 วิทยาลัยเฉพาะ 25 วิทยาลัยมหาวิทยาลัย เช่นเดียวกันกับช่วงของวิทยาลัยเอกชน กระบวนการที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ โบโลญญาตรี 3 ปี, ปริญญาโท 2 ปี และปริญญาเอก 3 ปี นอกจากนี้ยังมีการศึกษาสาธารณะฟรีโดยไม่คำนึงถึงสัญชาติสาธารณสุขรัฐสวัสดิการประชากรศาสตร์ ประชากรศาสตร์. จำนวนประชากรนอร์เวย์มีประมาณ 4.9 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นชาวนอร์เวย์และชาวเยอรมันเหนือ ชาวซามิอาศัยอยู่ในภาคกลางและภาคเหนือของนอร์เวย์และสวีเดน เช่นเดียวกันกับทางตอนเหนือของฟินแลนด์และรัสเซียในคาบสมุทร Kolaการย้ายถิ่นฐานศาสนาภาษา ภาษา. ภาษานอร์เวย์ เป็นภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก เป็นภาษาราชการของประเทศนอร์เวย์ และมีความใกล้ชิดกับภาษาสวีเดนและเดนมาร์ก ภาษานอร์เวย์มีรูปแบบการเขียน 2 แบบ คือ ภาษาบุ๊กมอล (Bokmål) (หมายถึง "ภาษาหนังสือ") และ ภาษานือนอสก์ (Nynorsk) (หมายถึง "ภาษานอร์เวย์ใหม่") ภาษานอร์เวย์อยู่ในอันดับที่ 108 ผู้พูด 4.7 ล้านคน ตระกูลภาษามาจากสแกนดิเนเวียตะวันออกและตะวันตก แต่คนนอร์เวย์ส่วนใหญ่นิยมใช้ภาษาบุ๊กมอลมากกว่า ทั้งหนังสือพิมพ์หรือรายการทีวีต่าง ๆ นอกจากนี้เด็ก ๆ ทุกคนต้องเรียนภาษาอังกฤษด้วย ปัจจุบันคนนอร์เวย์ส่วนใหญ่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้กีฬาฟุตบอลวัฒนธรรมวรรณกรรม วัฒนธรรม. วรรณกรรม. ราวกลางศตวรรษที่ 19 การเคลื่อนไหวในศิลปะและวัฒนธรรมเริ่มปรากฏออกมาให้เห็น ซึ่งเราเรียกว่า จิตนิยมของชาติ ส่วนสำคัญของการเคลื่นไหวคือการเน้นที่ลักษณะของประเทศรวมถึงการขยายและการเสริมแต่ง ในนอร์เวย์ มุ่งเน้นเบื้องต้นในเรื่องความสวยงามของประเทศตามธรรมชาติ ชุมชนเกษตรกรรมถูกมองว่าเป็น “ชาวนอร์เวย์ที่เป็นแบบอย่าง” จิตนิยมของชาติแสดงออกในรูปแบบของวรรณกรรม ทัศนศิลป์และดนตรี ในระหว่างช่วงเวลานี้ ชาวนอร์เวย์เริ่มพัฒนาความรู้สึกของเอกลักษณ์ของชาติมากขึ้น ความรู้สึกภูมิใจที่ได้เป็นชาวนอร์เวย์ที่ถูกพัฒนายอย่างมากมายนี้ส่งผลให้ความปรารถนาอย่างแรงกล้าสำหรับประเทศคือการได้รับเอกราช หลังจากเริ่มต้นในสหภาพกับเดนมาร์กเป็นเวลาหลายศตวรรษ ภาษเขียนของนอร์เวย์คือภาษาเดนมาร์ก ภาษาเขียนที่เราอ้างถึงในปัจจุบันคือ bokmål เป็นการพัฒนาในอนาคตของภาษานี้ ในระหว่างช่วงเวลาจิตนิยมของชาติ คนจำนวนมากเชื่อว่าชาวนอร์เวย์ควรจะมาภาษาเขียนของตัวเองซึ่งไม่ได้มีพื้นฐานมาจากภาษาเดนมาร์ก ด้วยเหตุผลนี้ นักภาษาศาสตร์ชื่อ Ivar Aasen (ค.ศ. 1813 – 1896) เดินทางรอบประเทศเพื่อเก็บตัวอย่างจากภาษาพื้นเมืองหลายหลายภาษา เขาใช้ตัวอย่างเหล่านี้สร้างภาษาเขียนใหม่เรียกว่า nynorsk (ภาษานอร์เวย์ใหม่). ทั้ง nynorsk และ bokmål มีการพัฒนาอย่างมากตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 แต่นอร์เวย์ก็ยังคงมีสิ่งที่แตกต่างกันอย่างเป็นทางการ 2 สิ่ง นอกเหนือจาก Sami และ Kven (kvensk)สถาปัตยกรรมดนตรีอาหาร อาหาร. อาหารที่จำหน่ายในนอร์เวย์จะต้องเคร่งครัดต่อกฎระเบียบเรื่องสุขลักษณะเป็นอย่างมาก จึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค คนนอร์เวย์บริโภคนม ขนมปังสีน้ำตาล และปลา เป็นจำนวนมาก ประเพณีการทำอาหารของนอร์เวย์ แสดงอิทธิพลของประเพณีการเดินเรือและการทำฟาร์มระยะเวลายาวนานกับปลาแซลมอน , ปลาคอดแฮร์ริ่ง , ปลาเทราท์ และอาหารทะเลอื่น ๆ และจานถ้วยชามนอร์เวย์ดั้งเดิม เช่น lutefisk, smalahove, pinnekjøtt และ fårikål อาหารประจำชาติของนอร์เวย์ คือ เลฟซ่า ทำมาจากมันฝรั่งต้มบด จะมีลักษณะคล้าย ๆ กับโรตีแผ่นใหญ่ เวลากินมักจะทาเนยอยู่ด้านบน, ไส้กรอกจะห่อด้วยแผ่นโรตี, อีกทั้งอาหารส่วนใหญ่ทำมาจากปลา เพราะประเทศนี้หาปลาง่ายสื่อสารมวลชนวันหยุด
| ใครเป็นผู้ยึดครองประเทศนอร์เวย์ในช่วงสงครามโลก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2483 ถึง 2488 | {
"answer": [
"นาซีเยอรมนี"
],
"answer_begin_position": [
7453
],
"answer_end_position": [
7464
]
} |
734 | 101,380 | พระเจ้ามโหตรประเทศ พระเจ้ามโหตรประเทศ () (พระนามเดิม เจ้าหนานมหาวงศ์) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงครองราชย์ในระหว่างปี พ.ศ. 2390 ถึงปี พ.ศ. 2397พระราชประวัติ พระราชประวัติ. พระเจ้ามโหตรประเทศ เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 5 พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2397 พระนามเดิมคือเจ้าหนานมหาวงส์ เป็นราชโอรสองค์ที่ 2 ใน พระยาธรรมลังกา เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 และเป็นราชปนัดดา (เหลนปู่) ในพระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง) (พระญาสุละวะฤๅไชยสงคราม) กับแม่เจ้าพิมพาราชเทวี ซึ่งเป็นองค์ปฐมวงศ์ "ราชวงศ์ทิพย์จักร (เจ้าเจ็ดตน)" พระเจ้ามโหตรประเทศ มีพระภคินี พระเชษฏา พระอนุชาและพระขนิษฐา รวม 16 พระองค์ มีพระนามตามลำดับ ดังนี้- เจ้าศรีปิมปา ณ เชียงใหม่ - พระเจ้ามโหตรประเทศ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5 - พระยารัตนอาณาเขต (น้อยคำแสน ณ เชียงใหม่) เจ้าเมืองเชียงราย - พระยาาอุปราชน้อยหน่อคำ ณ เชียงใหม่ พระยาอุปราชนครเชียงใหม่- เจ้าปู่ใน "เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)" ซึ่งเจ้าไชยสงครามฯ เป็นเจ้าปู่ในเจ้าธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง" และ เป็นเจ้าตาทวดใน พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร, อดีตนายกรัฐมนตรี" - เจ้าน้อยพรหมา ณ เชียงใหม่ - เจ้าหนานอินตา ณ เชียงใหม่ - เจ้าสุธรรมมา ณ เชียงใหม่ - เจ้าปทุมมา ณ เชียงใหม่ - เจ้าคำทิพย์ ณ เชียงใหม่ - ชายา "เจ้าน้อยจักรคำ ณ เชียงใหม่" ราชโอรสใน "เจ้าหลวงเศรษฐีคำฝั้น, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3" - เจ้าบัวคำ ณ เชียงใหม่ - เจ้าองค์ทิพย์ ณ เชียงใหม่ - เจ้ากาบแก้ว ณ เชียงใหม่ - เจ้าบุญปั๋น ณ เชียงใหม่ - เจ้ามารดาใน "เจ้ามหาวงศ์ ณ เชียงใหม่, พระยามหิทธิวงศา เจ้าเมืองฝาง" - เจ้าเกี๋ยงคำ (ณ เชียงใหม่) ตุงคนาคร - ชายา "เจ้าราชภาติกวงษ์ น้อยดวงทิพย์ ตุงคนาคร, เจ้าราชภาติกวงษ์นครลำพูน" เจ้านายราชวงศ์มังราย จากเมืองเชียงตุง ซึ่งอพยพเข้ามาอยู่นครเชียงใหม่ตั้งแต่ปี 2348 ได้รับพระราชทานนามสกุลจาก ร.6 - เจ้าจันทร์เป็ง ณ เชียงใหม่ - แม่เจ้าแก้วยวงคำ, เทวีใน เจ้าหลวง หนานสุยะ, พระยารัตนอาณาเขต เจ้าเมืองเชียงรายราชโอรส ราชธิดา ราชโอรส ราชธิดา. พระเจ้ามโหตรประเทศ อภิเษกสมรสกับแม่เจ้าสุวรรณคำแผ่นราชเทวี มีราชโอรสธิดา รวม 19 พระองค์ อยู่ในราชตระกูลณ เชียงใหม่ มีพระนามตามลำดับ ดังนี้- เจ้าอุตรการโกศล (น้อยมหาพรหม ณ เชียงใหม่) - พระอัยกา (เจ้าตา) ใน เจ้าจอมมารดาทิพเกสร ในรัชกาลที่ 5 และพระไปยกา (เจ้าตาทวด) ใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิสัยนรบดี พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว - เจ้าราชบุตร หนานสุริยวงศ์ ณ เชียงใหม่ - เจ้าบิดาในเจ้าหญิงสุคันธา (ณ เชียงใหม่) สิโรรส ชายาใน "เจ้าสุริยวงศ์ (คำตัน สิโรรส), เจ้าสุริยวงศ์นครเชียงใหม่" เจ้าราชบุตรฯ เป็นเจ้าตาทวดในหลวงมาลากุลวิวัฒน์ (หม่อมหลวงเทียม มาลากุล)" - เจ้าน้อยเทพวงศ์ ณ เชียงใหม่ - เจ้าหนานไชยวงศ์ ณ เชียงใหม่ - สามเณร เจ้ามหันต์ยศ ณ เชียงใหม่ - พลัดตกน้ำ ถึงแก่พิราลัย ณ วังกุลา ห้วยแก้ว - เจ้าหนานไชยเทพ ณ เชียงใหม่ - เจ้าหนานมหาเทพ ณ เชียงใหม่ - เจ้าบิดาใน "เจ้าราชบุตร น้อยสมพมิตร ณ เชียงใหม่, เจ้าราชบุตรนครเชียงใหม่" และ "เจ้าทิพเนตร ชายาในเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์" เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 - เจ้าน้อยคำกิ้ง ณ เชียงใหม่ - เจ้าอุปราช ปัญญา ณ เชียงใหม่, เจ้าอุปราชเมืองเชียงแสน - รั้งตำแหน่ง เจ้าหลวงเชียงแสน องค์ที่ 1 - เจ้าบุญปั๋น ณ เชียงใหม่ - เจ้าน้อยก้อนแก้ว ณ เชียงใหม่ - เจ้าคำปวน ณ เชียงใหม่ - เจ้ายอดเรือน (ณ เชียงใหม่) ณ ลำพูน - ชายา "เจ้าบุรีรัตน์มหาเทพ ณ ลำพูน, เจ้าบุรีรัตน์นครลำพูน" - เจ้าอุษา ชายาในพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงษ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 6 - เจ้าบัวทิพย์ (ณ เชียงใหม่) ณ ลำปาง - สมรสกับ "เจ้าน้อยมหาวงศ์ ณ ลำปาง" โอรสใน "เจ้าราชวงศ์ คำมูล ณ ลำปาง, เจ้าราชวงศ์นครเชียงใหม่" - เจ้าคำหลอ (ณ เชียงใหม่) ณ เชียงใหม่ - สมรสกับ "เจ้าน้อยมหาวัน ณ เชียงใหม่" โอรสใน "เจ้าอุปราชพิมพิสาร ณ เชียงใหม่, เจ้าอุปราชนครเชียงใหม่" - เจ้าปิมปา ณ เชียงใหม่ - เจ้าอโนชา ณ เชียงใหม่ - เจ้าตุ่นแก้ว ณ เชียงใหม่พระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. หลังจากพระยาพุทธวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 4 ถึงแก่พิราลัยเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2389 พระยาอุปราช (หนานมหาวงศ์) ก็ได้รั้งเมืองสืบมา จนถึง พ.ศ. 2390 พระยาอุปราช (มหาวงศ์) แห่งนครเชียงใหม่ และเจ้าพิมพิสาร ณ เชียงใหม่ ได้นำช้างพลายสีประหลาดลงไปถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งนั้นได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระยาอุปราชมหาวงศ์เป็นพระยาเชียงใหม่ และแต่งตั้งเจ้าพิมพิสารเป็นพระยาอุปราชเมืองเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2396 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้พระยาสีหราชฤทธิไกรเชิญพระสุพรรณบัฏ กับเครื่องสูงมาพระราชทานถวายพระยาเชียงใหม่มหาวงศ์ และโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระเจ้ามโหตรประเทศราชาธิบดี นพิสีมหานคราธิฐาน ภูบาลบพิตร สถิตในอุตมชิยางคราชวงศ์ เจ้านครเชียงใหม่ ในขณะนั้นยังประชวรอยู่ ครั้นได้เป็นพระเจ้าประเทศราชได้ 5 เดือนกับ 28 วัน ถึงวันเดือนยี่เหนือ แรม 9 ค่ำ ปีจุลศักราช 1216 (ตรงกับวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397) พระโรคกำเริบมากขึ้น พระเจ้ามโหตรประเทศฯ ก็ถึงแก่พิราลัย รวมเวลาที่ทรงครองนครเชียงใหม่ได้ 7 ปีเศษพงศาวลี
| พระเจ้ามโหตรประเทศเป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 5 พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2397 พระนามเดิมเรียกว่าอะไร | {
"answer": [
"เจ้าหนานมหาวงศ์"
],
"answer_begin_position": [
146
],
"answer_end_position": [
161
]
} |
735 | 101,380 | พระเจ้ามโหตรประเทศ พระเจ้ามโหตรประเทศ () (พระนามเดิม เจ้าหนานมหาวงศ์) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงครองราชย์ในระหว่างปี พ.ศ. 2390 ถึงปี พ.ศ. 2397พระราชประวัติ พระราชประวัติ. พระเจ้ามโหตรประเทศ เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 5 พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2397 พระนามเดิมคือเจ้าหนานมหาวงส์ เป็นราชโอรสองค์ที่ 2 ใน พระยาธรรมลังกา เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 และเป็นราชปนัดดา (เหลนปู่) ในพระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง) (พระญาสุละวะฤๅไชยสงคราม) กับแม่เจ้าพิมพาราชเทวี ซึ่งเป็นองค์ปฐมวงศ์ "ราชวงศ์ทิพย์จักร (เจ้าเจ็ดตน)" พระเจ้ามโหตรประเทศ มีพระภคินี พระเชษฏา พระอนุชาและพระขนิษฐา รวม 16 พระองค์ มีพระนามตามลำดับ ดังนี้- เจ้าศรีปิมปา ณ เชียงใหม่ - พระเจ้ามโหตรประเทศ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5 - พระยารัตนอาณาเขต (น้อยคำแสน ณ เชียงใหม่) เจ้าเมืองเชียงราย - พระยาาอุปราชน้อยหน่อคำ ณ เชียงใหม่ พระยาอุปราชนครเชียงใหม่- เจ้าปู่ใน "เจ้าไชยสงคราม (สมพมิตร ณ เชียงใหม่)" ซึ่งเจ้าไชยสงครามฯ เป็นเจ้าปู่ในเจ้าธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง" และ เป็นเจ้าตาทวดใน พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร, อดีตนายกรัฐมนตรี" - เจ้าน้อยพรหมา ณ เชียงใหม่ - เจ้าหนานอินตา ณ เชียงใหม่ - เจ้าสุธรรมมา ณ เชียงใหม่ - เจ้าปทุมมา ณ เชียงใหม่ - เจ้าคำทิพย์ ณ เชียงใหม่ - ชายา "เจ้าน้อยจักรคำ ณ เชียงใหม่" ราชโอรสใน "เจ้าหลวงเศรษฐีคำฝั้น, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3" - เจ้าบัวคำ ณ เชียงใหม่ - เจ้าองค์ทิพย์ ณ เชียงใหม่ - เจ้ากาบแก้ว ณ เชียงใหม่ - เจ้าบุญปั๋น ณ เชียงใหม่ - เจ้ามารดาใน "เจ้ามหาวงศ์ ณ เชียงใหม่, พระยามหิทธิวงศา เจ้าเมืองฝาง" - เจ้าเกี๋ยงคำ (ณ เชียงใหม่) ตุงคนาคร - ชายา "เจ้าราชภาติกวงษ์ น้อยดวงทิพย์ ตุงคนาคร, เจ้าราชภาติกวงษ์นครลำพูน" เจ้านายราชวงศ์มังราย จากเมืองเชียงตุง ซึ่งอพยพเข้ามาอยู่นครเชียงใหม่ตั้งแต่ปี 2348 ได้รับพระราชทานนามสกุลจาก ร.6 - เจ้าจันทร์เป็ง ณ เชียงใหม่ - แม่เจ้าแก้วยวงคำ, เทวีใน เจ้าหลวง หนานสุยะ, พระยารัตนอาณาเขต เจ้าเมืองเชียงรายราชโอรส ราชธิดา ราชโอรส ราชธิดา. พระเจ้ามโหตรประเทศ อภิเษกสมรสกับแม่เจ้าสุวรรณคำแผ่นราชเทวี มีราชโอรสธิดา รวม 19 พระองค์ อยู่ในราชตระกูลณ เชียงใหม่ มีพระนามตามลำดับ ดังนี้- เจ้าอุตรการโกศล (น้อยมหาพรหม ณ เชียงใหม่) - พระอัยกา (เจ้าตา) ใน เจ้าจอมมารดาทิพเกสร ในรัชกาลที่ 5 และพระไปยกา (เจ้าตาทวด) ใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิสัยนรบดี พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว - เจ้าราชบุตร หนานสุริยวงศ์ ณ เชียงใหม่ - เจ้าบิดาในเจ้าหญิงสุคันธา (ณ เชียงใหม่) สิโรรส ชายาใน "เจ้าสุริยวงศ์ (คำตัน สิโรรส), เจ้าสุริยวงศ์นครเชียงใหม่" เจ้าราชบุตรฯ เป็นเจ้าตาทวดในหลวงมาลากุลวิวัฒน์ (หม่อมหลวงเทียม มาลากุล)" - เจ้าน้อยเทพวงศ์ ณ เชียงใหม่ - เจ้าหนานไชยวงศ์ ณ เชียงใหม่ - สามเณร เจ้ามหันต์ยศ ณ เชียงใหม่ - พลัดตกน้ำ ถึงแก่พิราลัย ณ วังกุลา ห้วยแก้ว - เจ้าหนานไชยเทพ ณ เชียงใหม่ - เจ้าหนานมหาเทพ ณ เชียงใหม่ - เจ้าบิดาใน "เจ้าราชบุตร น้อยสมพมิตร ณ เชียงใหม่, เจ้าราชบุตรนครเชียงใหม่" และ "เจ้าทิพเนตร ชายาในเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์" เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 - เจ้าน้อยคำกิ้ง ณ เชียงใหม่ - เจ้าอุปราช ปัญญา ณ เชียงใหม่, เจ้าอุปราชเมืองเชียงแสน - รั้งตำแหน่ง เจ้าหลวงเชียงแสน องค์ที่ 1 - เจ้าบุญปั๋น ณ เชียงใหม่ - เจ้าน้อยก้อนแก้ว ณ เชียงใหม่ - เจ้าคำปวน ณ เชียงใหม่ - เจ้ายอดเรือน (ณ เชียงใหม่) ณ ลำพูน - ชายา "เจ้าบุรีรัตน์มหาเทพ ณ ลำพูน, เจ้าบุรีรัตน์นครลำพูน" - เจ้าอุษา ชายาในพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงษ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 6 - เจ้าบัวทิพย์ (ณ เชียงใหม่) ณ ลำปาง - สมรสกับ "เจ้าน้อยมหาวงศ์ ณ ลำปาง" โอรสใน "เจ้าราชวงศ์ คำมูล ณ ลำปาง, เจ้าราชวงศ์นครเชียงใหม่" - เจ้าคำหลอ (ณ เชียงใหม่) ณ เชียงใหม่ - สมรสกับ "เจ้าน้อยมหาวัน ณ เชียงใหม่" โอรสใน "เจ้าอุปราชพิมพิสาร ณ เชียงใหม่, เจ้าอุปราชนครเชียงใหม่" - เจ้าปิมปา ณ เชียงใหม่ - เจ้าอโนชา ณ เชียงใหม่ - เจ้าตุ่นแก้ว ณ เชียงใหม่พระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. หลังจากพระยาพุทธวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 4 ถึงแก่พิราลัยเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2389 พระยาอุปราช (หนานมหาวงศ์) ก็ได้รั้งเมืองสืบมา จนถึง พ.ศ. 2390 พระยาอุปราช (มหาวงศ์) แห่งนครเชียงใหม่ และเจ้าพิมพิสาร ณ เชียงใหม่ ได้นำช้างพลายสีประหลาดลงไปถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งนั้นได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระยาอุปราชมหาวงศ์เป็นพระยาเชียงใหม่ และแต่งตั้งเจ้าพิมพิสารเป็นพระยาอุปราชเมืองเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2396 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้พระยาสีหราชฤทธิไกรเชิญพระสุพรรณบัฏ กับเครื่องสูงมาพระราชทานถวายพระยาเชียงใหม่มหาวงศ์ และโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระเจ้ามโหตรประเทศราชาธิบดี นพิสีมหานคราธิฐาน ภูบาลบพิตร สถิตในอุตมชิยางคราชวงศ์ เจ้านครเชียงใหม่ ในขณะนั้นยังประชวรอยู่ ครั้นได้เป็นพระเจ้าประเทศราชได้ 5 เดือนกับ 28 วัน ถึงวันเดือนยี่เหนือ แรม 9 ค่ำ ปีจุลศักราช 1216 (ตรงกับวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397) พระโรคกำเริบมากขึ้น พระเจ้ามโหตรประเทศฯ ก็ถึงแก่พิราลัย รวมเวลาที่ทรงครองนครเชียงใหม่ได้ 7 ปีเศษพงศาวลี
| พระเจ้ามโหตรประเทศ ทรงครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2390 ถึงปี พ.ศ. 2397 เป็นเจ้าผู้ครองนครอะไร | {
"answer": [
"นครเชียงใหม่"
],
"answer_begin_position": [
334
],
"answer_end_position": [
346
]
} |
736 | 41,074 | ประเทศนามิเบีย นามิเบีย () หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนามิเบีย () เป็นประเทศในทวีปแอฟริกาตอนใต้ ริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มีพรมแดนติดด้านเหนือกับประเทศแองโกลา และแซมเบีย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับซิมบับเว ทางตะวันออกติดกับบอตสวานา และทางใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ นามิเนียได้รับเอกราชคืนจากประเทศแอฟริกาใต้เมื่อ พ.ศ. 2533 มีเมืองหลวงชื่อวินด์ฮุกภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. เนื่องจากมีสภาพเป็นทะเลทรายจึงทำให้อากาศแห้งแล้งภูมิประเทศ ภูมิประเทศ. ประกอบไปด้วยพื้นที่สูงและทะเลทรายภูมิอากาศ ภูมิอากาศ. แห้งแล้ง และกึ่งแห้งแล้งประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์. - ปลายพุทธทศวรรษที่ 20 บาร์โธโลมิวส์ (Bartholomius) ชาวโปรตุเกสเป็นชาวยุโรปคนแรกที่เดินทางไปนามิเบีย - พ.ศ. 2427 ตกเป็นเมืองขึ้นของเยอรมนี (ยกเว้น Walvis Bay ที่ตกเป็นของอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2421 - พ.ศ. 2458 ตกเป็นเมืองขึ้นของแอฟริกาใต้ และตกอยู่ภายใต้การปกครองตามกฎหมายในปี พ.ศ. 2463 โดยเป็นผลมาจากสนธิสัญญาแวร์ซายส์ - พ.ศ. 2501 South West African People's Organization (SWAPO) ก่อตั้งขึ้นเพื่อเคลื่อนไหวทางด้านแรงงาน (Anti - contract Labour Movement) - พ.ศ. 2509 แอฟริกาใต้ประกาศใช้กฎหมายแบ่งแยกสีผิว ท่ามกลางการต่อต้านของสหประชาชาติ SWAPO ใช้กำลังต่อสู้เพื่อเรียกร้องเสรีภาพ - พ.ศ. 2510 มีการจัดตั้ง UN Council for South West Africa - พ.ศ. 2511 องค์การสหประชาชาติเปลี่ยนชื่อ South West Africa เป็นนามิเบีย - พ.ศ. 2514 ศาลโลกตัดสินว่าการคงอยู่ในนามิเบียของแอฟริกาใต้เป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย และยืนยันหน้าที่รับผิดชอบขององค์การสหประชาชาติต่อนามิเบีย - พ.ศ. 2516 องค์การสหประชาชาติให้การรับรองว่า SWAPO เป็นตัวแทนที่ถูกต้องของชาวนามิเบีย มีการแต่งตั้ง UN Commissioner for Namibia - พ.ศ. 2518 แอฟริกาใต้จัดตั้งผู้นำในประเทศและหัวหน้าเผ่าจากเผ่าต่าง ๆ เข้าสู่ Turnhalle Conference ซึ่งไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ - พ.ศ. 2519 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติประณามการกระทำของแอฟริกาใต้ในนามิเบียอย่างเป็นเอกฉันท์ - พ.ศ. 2521 คณะมนตรีความมั่นคงมีมติที่ 435 จัดให้มีการเลือกตั้งภายใต้การดูแลขององค์การสหประชาชาติและยุติการต่อสู้ระหว่างแอฟริกาใต้กับ SWAPO แต่องค์การสหประชาชาติก็ปฏิเสธการเลือกตั้งที่มีแอฟริกาใต้อยู่เบื้องหลังครั้งนั้น - พ.ศ. 2528 แอฟริกาใต้จัดให้มีรัฐบาลชั่วคราว โดยแต่งตั้งผู้แทนผิวดำจากพรรคต่าง ๆ เพื่อร่างรัฐธรรมนูญของประเทศ - พ.ศ. 2531 แอฟริกาใต้ปฏิเสธร่างรัฐธรรมนูญของรัฐบาลชั่วคราว รัฐบาลของแอฟริกาใต้ แองโกลา คิวบา สหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกา ยอมรับเอกราชของนามิเบียตามนัยของมติที่ 435 ของคณะมนตรีความมั่นคง - พ.ศ. 2532 UN Transition Assistance Group ได้จัดการเลือกตั้งที่ยุติธรรมขึ้น แซม นูโจมา ผู้นำของ SWAPO ได้รับการเลือกตั้ง และจัดตั้งคณะรัฐมนตรี - 21 มีนาคม พ.ศ. 2533 ได้รับเอกราชอย่างเป็นทางการจาก สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ - 23 เมษายน พ.ศ. 2533 เข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 160 ขององค์การสหประชาชาติ และต่อมาเป็นสมาชิกลำดับที่ 50 ของเครือจักรภพการเมืองการปกครองบริหารนิติบัญญัติตุลาการการบังคับใช้กฎหมายสิทธิมนุษยชนเขตการปกครอง เขตการปกครอง. ประเทศนามิเบียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 แคว้น (Region) ได้แก่1. แคว้นคัปปรีวี 2. แคว้นอีรองโก 3. แคว้นฮาร์ดาป 4. แคว้นคาราส 5. แคว้นคาวังโก 6. แคว้นคโฮมาส 7. แคว้นคูเนเน 8. แคว้นโอฮังเวนา 9. แคว้นโอมาเฮเก 10. แคว้นโอมูซาตี 11. แคว้นโอชานา 12. แคว้นโอชีโคโต 13. แคว้นโอตโจซอนด์จูปานโยบายประเทศ นโยบายประเทศ. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนั้นมีความใกล้ชิดมากกับแอฟริกาใต้ แต่มีปัญหาทางด้านพรมแดนกับบอตสวานา และ แองโกลาความสัมพันธ์กับแองโกลา ความสัมพันธ์กับแองโกลา. นับแต่ปี 2536 ความสัมพันธ์กับประเทศแองโกลาไม่สู้จะราบรื่นนัก เนื่องจากในปี พ.ศ. 2536 กลุ่ม UNITA กล่าวหาว่ากองกำลังของนามิเบียข้ามไปยังชายแดนภาคใต้ของแองโกลาเพื่อช่วยรัฐบาลแองโกลาต่อสู้กับ UNITA แต่นามิเบียปฏิเสธ และต่อมาในปี พ.ศ. 2537 นามิเบียก็ได้ปิดพรมแดนส่วนที่ติดกับแองโกลา หลังจากที่เกิดการต่อสู้ในบริเวณนั้น และชาวนามิเบียถูกฆ่าตาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ทั้งสองฝ่ายตกลงกันที่จะเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยบริเวณชายแดนความสัมพันธ์กับบอตสวานา ความสัมพันธ์กับบอตสวานา. ความสัมพันธ์กับบอตสวานาดำเนินมาด้วยดี จนกระทั่งในต้นปี พ.ศ. 2539 มีข้อขัดแย้งกันเรื่องการปักปันเขตแดนบริเวณแม่น้ำโชเบความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้ ความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้. ความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้เป็นไปอย่างใกล้ชิด ในการเดินทางไปเยือนนามิเบียเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2537 ประธานาธิบดีเนลสัน มันเดลา แถลงว่ามีความเป็นไปได้ที่แอฟริกาใต้จะยกเลิกหนี้สิน จำนวน 826.6 ล้านดอลลาร์นามิเบีย ที่นามิเบียมีต่อแอฟริกาใต้ตั้งแต่ครั้งยังไม่ได้รับเอกราช และเมื่อประธานาธิบดีแซม นูโจมา ไปเยือนแอฟริกาใต้ในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2539 ก็ได้ร้องขอต่อสภาแอฟริกาใต้ให้ยกเลิกหนี้สินดังกล่าว และขอให้แอฟริกาใต้ไปลงทุนในนามิเบีย แม้ว่านโยบายต่างประเทศของนามิเบียแตกต่างจากนโยบายของแอฟริกาใต้บางประการ อาทิ นามิเบียสนับสนุนนโยบายของจีน ในการอ้างสิทธิเหนือไต้หวัน และการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับรัฐบาลไนจีเรีย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองก็ยังคงดำเนินไปด้วยดี เนื่องจากนามิเบียต้องพึ่งพาแอฟริกาใต้ทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมากองค์กรระหว่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ. นามิเบียเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ กลุ่ม 77 กลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (Non-aligned Movement - NAM) องค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity - OAU) สหภาพศุลกากรแอฟริกาใต้ (Southern Africa Customs Union - SACU) ประชาคมด้านการพัฒนาแห่งภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้ (Southern African Development Community - SADC)กองทัพกองกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจโครงสร้างเศรษฐกิจเศรษฐกิจ. โครงสร้างเศรษฐกิจ. - อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 3 (2542) - รายได้ประชาชาติต่อหัว 4,300 ดอลลาร์สหรัฐ (2542) - ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น 7.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2542) - อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 8.5 (2542) - ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ เพชร ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี ยูเรเนียม เงิน - ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่สำคัญ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง โคกระบือ - อุตสาหกรรมที่สำคัญ ผลิตภัณฑ์เนื้อบรรจุกระป๋อง ผลิตภัณฑ์นม ฟอกหนัง ทอผ้า เสื้อผ้าสำเร็จรูป - หนี้สินต่างประเทศ 140 ล้านดอลลาร์สหรัฐ - ดุลการค้า นำเข้า 1.55 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และส่งออก 1.45 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ - สินค้าเข้าที่สำคัญ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและเชื้อเพลิง เครื่องจักรและอุปกรณ์เคมีภัณฑ์ - สินค้าออกที่สำคัญ เพชร ทองแดง ทองคำ สังกะสี ตะกั่ว - ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ นำเข้า จากประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศเยอรมนี สหรัฐอเมริกา - ส่งออก ประเทศอังกฤษ ประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศสเปน ประเทศญี่ปุ่น - สกุลเงิน 1 ดอลลาร์นามิเบีย (NAD) เท่ากับ 100 เซนต์ (cents) - อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 6.12 ดอลลาร์นามิเบีย (2543) - อัตราการว่างงานสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก (33.8% ในปีพ.ศ. 2547))การท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม และ โทรคมนาคมการคมนาคมโครงสร้างพื้นฐาน. คมนาคม และ โทรคมนาคม. การคมนาคม. - ถนน ในปี 2534 ถนนทั้งหมดมีความยาว 41,815 กิโลเมตร ซึ่งในจำนวนนี้เป็นถนนลาดยาง 4,572 กิโลเมตร และมียานพาหนะจำนวน 132,331 คัน - ทางรถไฟ ระบบทางรถไฟของนามิเบียเชื่อมกับทางรถไฟสายหลักของแอฟริกาใต้ที่เมือง อาเรียมสว์เลอิ ทางรถไฟในประเทศมีความยาว 2,382 กิโลเมตร ในช่วงปี 2538-2539 มีผู้โดยสารรถไฟ 124,000 คน และมีการขนส่งสินค้า 1.7 ล้านตัน - การบินพลเรือน สายการบินแห่งชาติที่เป็นของรัฐชื่อแอร์นามิเบีย มีสนามบินนานาชาติที่เมืองวินด์ฮุกและสนามบินภายในประเทศที่เมืองอีรอส ผู้โดยสารระหว่างประเทศมีจำนวน 215,175 คน และสินค้า 2.8 ล้านกิโลกรัม ส่วนผู้โดยสารภายในประเทศมีจำนวน 7,117 คน และสินค้า 211,218 กิโลกรัม นอกจากนี้ ยังมีสายการบินอื่นที่บินผ่าน ได้แก่ แอร์ บอตสวานา, แอร์ ซิมบับเว, คอมเมอร์เชียล แอร์เวย์, ลัฟทันซา, เซาท์ แอฟริกัน แอร์เวย์ - การเดินเรือ ท่าเรือที่สำคัญ ได้แก่ วอลวิส เบย์ (ตรงอ่าววอลวิส)โทรคมนาคมโทรคมนาคม. - โทรคมนาคม ในปี 2535 มีที่ทำการไปรษณีย์ 72 แห่ง และมีโทรศัพท์ 89,722 เครื่อง สถานีวิทยุนามิเบียมี 3 สถานี และมีสถานีโทรทัศน์ 10 สถานี ในปี 2536 มีโทรทัศน์ จำนวน 27,000 เครื่อง และวิทยุจำนวน 195,000 เครื่องวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษาสาธารณสุขประชากรศาสตร์ ประชากรศาสตร์. 2,031,000 โดยมีอัตราการเจริญเติบโตร้อยละ 1.57เชื้อชาติศาสนา ศาสนา. ศาสนาคริสต์ร้อยละ 90%ภาษา ภาษา. ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ นอกจากนี้ ก็มีการใช้ภาษาแอฟริกันและภาษาเยอรมันกีฬาฟุตบอลรักบี้มวยสากลวัฒนธรรมสถาปัตยกรรมเครื่องดนตรีพื้นเมืองวัฒนธรรมร่วมสมัยสื่อมวลชนวันหยุด
| ประเทศนามิเบียมีพรมแดนด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอะไร | {
"answer": [
"ซิมบับเว"
],
"answer_begin_position": [
284
],
"answer_end_position": [
292
]
} |
738 | 41,074 | ประเทศนามิเบีย นามิเบีย () หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนามิเบีย () เป็นประเทศในทวีปแอฟริกาตอนใต้ ริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มีพรมแดนติดด้านเหนือกับประเทศแองโกลา และแซมเบีย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับซิมบับเว ทางตะวันออกติดกับบอตสวานา และทางใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ นามิเนียได้รับเอกราชคืนจากประเทศแอฟริกาใต้เมื่อ พ.ศ. 2533 มีเมืองหลวงชื่อวินด์ฮุกภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. เนื่องจากมีสภาพเป็นทะเลทรายจึงทำให้อากาศแห้งแล้งภูมิประเทศ ภูมิประเทศ. ประกอบไปด้วยพื้นที่สูงและทะเลทรายภูมิอากาศ ภูมิอากาศ. แห้งแล้ง และกึ่งแห้งแล้งประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์. - ปลายพุทธทศวรรษที่ 20 บาร์โธโลมิวส์ (Bartholomius) ชาวโปรตุเกสเป็นชาวยุโรปคนแรกที่เดินทางไปนามิเบีย - พ.ศ. 2427 ตกเป็นเมืองขึ้นของเยอรมนี (ยกเว้น Walvis Bay ที่ตกเป็นของอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2421 - พ.ศ. 2458 ตกเป็นเมืองขึ้นของแอฟริกาใต้ และตกอยู่ภายใต้การปกครองตามกฎหมายในปี พ.ศ. 2463 โดยเป็นผลมาจากสนธิสัญญาแวร์ซายส์ - พ.ศ. 2501 South West African People's Organization (SWAPO) ก่อตั้งขึ้นเพื่อเคลื่อนไหวทางด้านแรงงาน (Anti - contract Labour Movement) - พ.ศ. 2509 แอฟริกาใต้ประกาศใช้กฎหมายแบ่งแยกสีผิว ท่ามกลางการต่อต้านของสหประชาชาติ SWAPO ใช้กำลังต่อสู้เพื่อเรียกร้องเสรีภาพ - พ.ศ. 2510 มีการจัดตั้ง UN Council for South West Africa - พ.ศ. 2511 องค์การสหประชาชาติเปลี่ยนชื่อ South West Africa เป็นนามิเบีย - พ.ศ. 2514 ศาลโลกตัดสินว่าการคงอยู่ในนามิเบียของแอฟริกาใต้เป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย และยืนยันหน้าที่รับผิดชอบขององค์การสหประชาชาติต่อนามิเบีย - พ.ศ. 2516 องค์การสหประชาชาติให้การรับรองว่า SWAPO เป็นตัวแทนที่ถูกต้องของชาวนามิเบีย มีการแต่งตั้ง UN Commissioner for Namibia - พ.ศ. 2518 แอฟริกาใต้จัดตั้งผู้นำในประเทศและหัวหน้าเผ่าจากเผ่าต่าง ๆ เข้าสู่ Turnhalle Conference ซึ่งไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ - พ.ศ. 2519 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติประณามการกระทำของแอฟริกาใต้ในนามิเบียอย่างเป็นเอกฉันท์ - พ.ศ. 2521 คณะมนตรีความมั่นคงมีมติที่ 435 จัดให้มีการเลือกตั้งภายใต้การดูแลขององค์การสหประชาชาติและยุติการต่อสู้ระหว่างแอฟริกาใต้กับ SWAPO แต่องค์การสหประชาชาติก็ปฏิเสธการเลือกตั้งที่มีแอฟริกาใต้อยู่เบื้องหลังครั้งนั้น - พ.ศ. 2528 แอฟริกาใต้จัดให้มีรัฐบาลชั่วคราว โดยแต่งตั้งผู้แทนผิวดำจากพรรคต่าง ๆ เพื่อร่างรัฐธรรมนูญของประเทศ - พ.ศ. 2531 แอฟริกาใต้ปฏิเสธร่างรัฐธรรมนูญของรัฐบาลชั่วคราว รัฐบาลของแอฟริกาใต้ แองโกลา คิวบา สหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกา ยอมรับเอกราชของนามิเบียตามนัยของมติที่ 435 ของคณะมนตรีความมั่นคง - พ.ศ. 2532 UN Transition Assistance Group ได้จัดการเลือกตั้งที่ยุติธรรมขึ้น แซม นูโจมา ผู้นำของ SWAPO ได้รับการเลือกตั้ง และจัดตั้งคณะรัฐมนตรี - 21 มีนาคม พ.ศ. 2533 ได้รับเอกราชอย่างเป็นทางการจาก สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ - 23 เมษายน พ.ศ. 2533 เข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 160 ขององค์การสหประชาชาติ และต่อมาเป็นสมาชิกลำดับที่ 50 ของเครือจักรภพการเมืองการปกครองบริหารนิติบัญญัติตุลาการการบังคับใช้กฎหมายสิทธิมนุษยชนเขตการปกครอง เขตการปกครอง. ประเทศนามิเบียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 แคว้น (Region) ได้แก่1. แคว้นคัปปรีวี 2. แคว้นอีรองโก 3. แคว้นฮาร์ดาป 4. แคว้นคาราส 5. แคว้นคาวังโก 6. แคว้นคโฮมาส 7. แคว้นคูเนเน 8. แคว้นโอฮังเวนา 9. แคว้นโอมาเฮเก 10. แคว้นโอมูซาตี 11. แคว้นโอชานา 12. แคว้นโอชีโคโต 13. แคว้นโอตโจซอนด์จูปานโยบายประเทศ นโยบายประเทศ. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนั้นมีความใกล้ชิดมากกับแอฟริกาใต้ แต่มีปัญหาทางด้านพรมแดนกับบอตสวานา และ แองโกลาความสัมพันธ์กับแองโกลา ความสัมพันธ์กับแองโกลา. นับแต่ปี 2536 ความสัมพันธ์กับประเทศแองโกลาไม่สู้จะราบรื่นนัก เนื่องจากในปี พ.ศ. 2536 กลุ่ม UNITA กล่าวหาว่ากองกำลังของนามิเบียข้ามไปยังชายแดนภาคใต้ของแองโกลาเพื่อช่วยรัฐบาลแองโกลาต่อสู้กับ UNITA แต่นามิเบียปฏิเสธ และต่อมาในปี พ.ศ. 2537 นามิเบียก็ได้ปิดพรมแดนส่วนที่ติดกับแองโกลา หลังจากที่เกิดการต่อสู้ในบริเวณนั้น และชาวนามิเบียถูกฆ่าตาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ทั้งสองฝ่ายตกลงกันที่จะเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยบริเวณชายแดนความสัมพันธ์กับบอตสวานา ความสัมพันธ์กับบอตสวานา. ความสัมพันธ์กับบอตสวานาดำเนินมาด้วยดี จนกระทั่งในต้นปี พ.ศ. 2539 มีข้อขัดแย้งกันเรื่องการปักปันเขตแดนบริเวณแม่น้ำโชเบความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้ ความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้. ความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้เป็นไปอย่างใกล้ชิด ในการเดินทางไปเยือนนามิเบียเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2537 ประธานาธิบดีเนลสัน มันเดลา แถลงว่ามีความเป็นไปได้ที่แอฟริกาใต้จะยกเลิกหนี้สิน จำนวน 826.6 ล้านดอลลาร์นามิเบีย ที่นามิเบียมีต่อแอฟริกาใต้ตั้งแต่ครั้งยังไม่ได้รับเอกราช และเมื่อประธานาธิบดีแซม นูโจมา ไปเยือนแอฟริกาใต้ในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2539 ก็ได้ร้องขอต่อสภาแอฟริกาใต้ให้ยกเลิกหนี้สินดังกล่าว และขอให้แอฟริกาใต้ไปลงทุนในนามิเบีย แม้ว่านโยบายต่างประเทศของนามิเบียแตกต่างจากนโยบายของแอฟริกาใต้บางประการ อาทิ นามิเบียสนับสนุนนโยบายของจีน ในการอ้างสิทธิเหนือไต้หวัน และการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับรัฐบาลไนจีเรีย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองก็ยังคงดำเนินไปด้วยดี เนื่องจากนามิเบียต้องพึ่งพาแอฟริกาใต้ทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมากองค์กรระหว่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ. นามิเบียเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ กลุ่ม 77 กลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (Non-aligned Movement - NAM) องค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity - OAU) สหภาพศุลกากรแอฟริกาใต้ (Southern Africa Customs Union - SACU) ประชาคมด้านการพัฒนาแห่งภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้ (Southern African Development Community - SADC)กองทัพกองกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจโครงสร้างเศรษฐกิจเศรษฐกิจ. โครงสร้างเศรษฐกิจ. - อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 3 (2542) - รายได้ประชาชาติต่อหัว 4,300 ดอลลาร์สหรัฐ (2542) - ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น 7.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2542) - อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 8.5 (2542) - ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ เพชร ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี ยูเรเนียม เงิน - ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่สำคัญ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง โคกระบือ - อุตสาหกรรมที่สำคัญ ผลิตภัณฑ์เนื้อบรรจุกระป๋อง ผลิตภัณฑ์นม ฟอกหนัง ทอผ้า เสื้อผ้าสำเร็จรูป - หนี้สินต่างประเทศ 140 ล้านดอลลาร์สหรัฐ - ดุลการค้า นำเข้า 1.55 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และส่งออก 1.45 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ - สินค้าเข้าที่สำคัญ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและเชื้อเพลิง เครื่องจักรและอุปกรณ์เคมีภัณฑ์ - สินค้าออกที่สำคัญ เพชร ทองแดง ทองคำ สังกะสี ตะกั่ว - ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ นำเข้า จากประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศเยอรมนี สหรัฐอเมริกา - ส่งออก ประเทศอังกฤษ ประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศสเปน ประเทศญี่ปุ่น - สกุลเงิน 1 ดอลลาร์นามิเบีย (NAD) เท่ากับ 100 เซนต์ (cents) - อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 6.12 ดอลลาร์นามิเบีย (2543) - อัตราการว่างงานสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก (33.8% ในปีพ.ศ. 2547))การท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม และ โทรคมนาคมการคมนาคมโครงสร้างพื้นฐาน. คมนาคม และ โทรคมนาคม. การคมนาคม. - ถนน ในปี 2534 ถนนทั้งหมดมีความยาว 41,815 กิโลเมตร ซึ่งในจำนวนนี้เป็นถนนลาดยาง 4,572 กิโลเมตร และมียานพาหนะจำนวน 132,331 คัน - ทางรถไฟ ระบบทางรถไฟของนามิเบียเชื่อมกับทางรถไฟสายหลักของแอฟริกาใต้ที่เมือง อาเรียมสว์เลอิ ทางรถไฟในประเทศมีความยาว 2,382 กิโลเมตร ในช่วงปี 2538-2539 มีผู้โดยสารรถไฟ 124,000 คน และมีการขนส่งสินค้า 1.7 ล้านตัน - การบินพลเรือน สายการบินแห่งชาติที่เป็นของรัฐชื่อแอร์นามิเบีย มีสนามบินนานาชาติที่เมืองวินด์ฮุกและสนามบินภายในประเทศที่เมืองอีรอส ผู้โดยสารระหว่างประเทศมีจำนวน 215,175 คน และสินค้า 2.8 ล้านกิโลกรัม ส่วนผู้โดยสารภายในประเทศมีจำนวน 7,117 คน และสินค้า 211,218 กิโลกรัม นอกจากนี้ ยังมีสายการบินอื่นที่บินผ่าน ได้แก่ แอร์ บอตสวานา, แอร์ ซิมบับเว, คอมเมอร์เชียล แอร์เวย์, ลัฟทันซา, เซาท์ แอฟริกัน แอร์เวย์ - การเดินเรือ ท่าเรือที่สำคัญ ได้แก่ วอลวิส เบย์ (ตรงอ่าววอลวิส)โทรคมนาคมโทรคมนาคม. - โทรคมนาคม ในปี 2535 มีที่ทำการไปรษณีย์ 72 แห่ง และมีโทรศัพท์ 89,722 เครื่อง สถานีวิทยุนามิเบียมี 3 สถานี และมีสถานีโทรทัศน์ 10 สถานี ในปี 2536 มีโทรทัศน์ จำนวน 27,000 เครื่อง และวิทยุจำนวน 195,000 เครื่องวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษาสาธารณสุขประชากรศาสตร์ ประชากรศาสตร์. 2,031,000 โดยมีอัตราการเจริญเติบโตร้อยละ 1.57เชื้อชาติศาสนา ศาสนา. ศาสนาคริสต์ร้อยละ 90%ภาษา ภาษา. ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ นอกจากนี้ ก็มีการใช้ภาษาแอฟริกันและภาษาเยอรมันกีฬาฟุตบอลรักบี้มวยสากลวัฒนธรรมสถาปัตยกรรมเครื่องดนตรีพื้นเมืองวัฒนธรรมร่วมสมัยสื่อมวลชนวันหยุด
| ผู้ใดที่ถือว่าเป็นชาวยุโรปคนแรกที่เดินทางไปประเทศนามิเบีย | {
"answer": [
"บาร์โธโลมิวส์"
],
"answer_begin_position": [
655
],
"answer_end_position": [
668
]
} |
3,959 | 41,074 | ประเทศนามิเบีย นามิเบีย () หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนามิเบีย () เป็นประเทศในทวีปแอฟริกาตอนใต้ ริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มีพรมแดนติดด้านเหนือกับประเทศแองโกลา และแซมเบีย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับซิมบับเว ทางตะวันออกติดกับบอตสวานา และทางใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ นามิเนียได้รับเอกราชคืนจากประเทศแอฟริกาใต้เมื่อ พ.ศ. 2533 มีเมืองหลวงชื่อวินด์ฮุกภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. เนื่องจากมีสภาพเป็นทะเลทรายจึงทำให้อากาศแห้งแล้งภูมิประเทศ ภูมิประเทศ. ประกอบไปด้วยพื้นที่สูงและทะเลทรายภูมิอากาศ ภูมิอากาศ. แห้งแล้ง และกึ่งแห้งแล้งประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์. - ปลายพุทธทศวรรษที่ 20 บาร์โธโลมิวส์ (Bartholomius) ชาวโปรตุเกสเป็นชาวยุโรปคนแรกที่เดินทางไปนามิเบีย - พ.ศ. 2427 ตกเป็นเมืองขึ้นของเยอรมนี (ยกเว้น Walvis Bay ที่ตกเป็นของอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2421 - พ.ศ. 2458 ตกเป็นเมืองขึ้นของแอฟริกาใต้ และตกอยู่ภายใต้การปกครองตามกฎหมายในปี พ.ศ. 2463 โดยเป็นผลมาจากสนธิสัญญาแวร์ซายส์ - พ.ศ. 2501 South West African People's Organization (SWAPO) ก่อตั้งขึ้นเพื่อเคลื่อนไหวทางด้านแรงงาน (Anti - contract Labour Movement) - พ.ศ. 2509 แอฟริกาใต้ประกาศใช้กฎหมายแบ่งแยกสีผิว ท่ามกลางการต่อต้านของสหประชาชาติ SWAPO ใช้กำลังต่อสู้เพื่อเรียกร้องเสรีภาพ - พ.ศ. 2510 มีการจัดตั้ง UN Council for South West Africa - พ.ศ. 2511 องค์การสหประชาชาติเปลี่ยนชื่อ South West Africa เป็นนามิเบีย - พ.ศ. 2514 ศาลโลกตัดสินว่าการคงอยู่ในนามิเบียของแอฟริกาใต้เป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย และยืนยันหน้าที่รับผิดชอบขององค์การสหประชาชาติต่อนามิเบีย - พ.ศ. 2516 องค์การสหประชาชาติให้การรับรองว่า SWAPO เป็นตัวแทนที่ถูกต้องของชาวนามิเบีย มีการแต่งตั้ง UN Commissioner for Namibia - พ.ศ. 2518 แอฟริกาใต้จัดตั้งผู้นำในประเทศและหัวหน้าเผ่าจากเผ่าต่าง ๆ เข้าสู่ Turnhalle Conference ซึ่งไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ - พ.ศ. 2519 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติประณามการกระทำของแอฟริกาใต้ในนามิเบียอย่างเป็นเอกฉันท์ - พ.ศ. 2521 คณะมนตรีความมั่นคงมีมติที่ 435 จัดให้มีการเลือกตั้งภายใต้การดูแลขององค์การสหประชาชาติและยุติการต่อสู้ระหว่างแอฟริกาใต้กับ SWAPO แต่องค์การสหประชาชาติก็ปฏิเสธการเลือกตั้งที่มีแอฟริกาใต้อยู่เบื้องหลังครั้งนั้น - พ.ศ. 2528 แอฟริกาใต้จัดให้มีรัฐบาลชั่วคราว โดยแต่งตั้งผู้แทนผิวดำจากพรรคต่าง ๆ เพื่อร่างรัฐธรรมนูญของประเทศ - พ.ศ. 2531 แอฟริกาใต้ปฏิเสธร่างรัฐธรรมนูญของรัฐบาลชั่วคราว รัฐบาลของแอฟริกาใต้ แองโกลา คิวบา สหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกา ยอมรับเอกราชของนามิเบียตามนัยของมติที่ 435 ของคณะมนตรีความมั่นคง - พ.ศ. 2532 UN Transition Assistance Group ได้จัดการเลือกตั้งที่ยุติธรรมขึ้น แซม นูโจมา ผู้นำของ SWAPO ได้รับการเลือกตั้ง และจัดตั้งคณะรัฐมนตรี - 21 มีนาคม พ.ศ. 2533 ได้รับเอกราชอย่างเป็นทางการจาก สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ - 23 เมษายน พ.ศ. 2533 เข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 160 ขององค์การสหประชาชาติ และต่อมาเป็นสมาชิกลำดับที่ 50 ของเครือจักรภพการเมืองการปกครองบริหารนิติบัญญัติตุลาการการบังคับใช้กฎหมายสิทธิมนุษยชนเขตการปกครอง เขตการปกครอง. ประเทศนามิเบียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 แคว้น (Region) ได้แก่1. แคว้นคัปปรีวี 2. แคว้นอีรองโก 3. แคว้นฮาร์ดาป 4. แคว้นคาราส 5. แคว้นคาวังโก 6. แคว้นคโฮมาส 7. แคว้นคูเนเน 8. แคว้นโอฮังเวนา 9. แคว้นโอมาเฮเก 10. แคว้นโอมูซาตี 11. แคว้นโอชานา 12. แคว้นโอชีโคโต 13. แคว้นโอตโจซอนด์จูปานโยบายประเทศ นโยบายประเทศ. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนั้นมีความใกล้ชิดมากกับแอฟริกาใต้ แต่มีปัญหาทางด้านพรมแดนกับบอตสวานา และ แองโกลาความสัมพันธ์กับแองโกลา ความสัมพันธ์กับแองโกลา. นับแต่ปี 2536 ความสัมพันธ์กับประเทศแองโกลาไม่สู้จะราบรื่นนัก เนื่องจากในปี พ.ศ. 2536 กลุ่ม UNITA กล่าวหาว่ากองกำลังของนามิเบียข้ามไปยังชายแดนภาคใต้ของแองโกลาเพื่อช่วยรัฐบาลแองโกลาต่อสู้กับ UNITA แต่นามิเบียปฏิเสธ และต่อมาในปี พ.ศ. 2537 นามิเบียก็ได้ปิดพรมแดนส่วนที่ติดกับแองโกลา หลังจากที่เกิดการต่อสู้ในบริเวณนั้น และชาวนามิเบียถูกฆ่าตาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ทั้งสองฝ่ายตกลงกันที่จะเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยบริเวณชายแดนความสัมพันธ์กับบอตสวานา ความสัมพันธ์กับบอตสวานา. ความสัมพันธ์กับบอตสวานาดำเนินมาด้วยดี จนกระทั่งในต้นปี พ.ศ. 2539 มีข้อขัดแย้งกันเรื่องการปักปันเขตแดนบริเวณแม่น้ำโชเบความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้ ความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้. ความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้เป็นไปอย่างใกล้ชิด ในการเดินทางไปเยือนนามิเบียเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2537 ประธานาธิบดีเนลสัน มันเดลา แถลงว่ามีความเป็นไปได้ที่แอฟริกาใต้จะยกเลิกหนี้สิน จำนวน 826.6 ล้านดอลลาร์นามิเบีย ที่นามิเบียมีต่อแอฟริกาใต้ตั้งแต่ครั้งยังไม่ได้รับเอกราช และเมื่อประธานาธิบดีแซม นูโจมา ไปเยือนแอฟริกาใต้ในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2539 ก็ได้ร้องขอต่อสภาแอฟริกาใต้ให้ยกเลิกหนี้สินดังกล่าว และขอให้แอฟริกาใต้ไปลงทุนในนามิเบีย แม้ว่านโยบายต่างประเทศของนามิเบียแตกต่างจากนโยบายของแอฟริกาใต้บางประการ อาทิ นามิเบียสนับสนุนนโยบายของจีน ในการอ้างสิทธิเหนือไต้หวัน และการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับรัฐบาลไนจีเรีย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองก็ยังคงดำเนินไปด้วยดี เนื่องจากนามิเบียต้องพึ่งพาแอฟริกาใต้ทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมากองค์กรระหว่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ. นามิเบียเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ กลุ่ม 77 กลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (Non-aligned Movement - NAM) องค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity - OAU) สหภาพศุลกากรแอฟริกาใต้ (Southern Africa Customs Union - SACU) ประชาคมด้านการพัฒนาแห่งภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้ (Southern African Development Community - SADC)กองทัพกองกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจโครงสร้างเศรษฐกิจเศรษฐกิจ. โครงสร้างเศรษฐกิจ. - อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 3 (2542) - รายได้ประชาชาติต่อหัว 4,300 ดอลลาร์สหรัฐ (2542) - ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น 7.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2542) - อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 8.5 (2542) - ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ เพชร ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี ยูเรเนียม เงิน - ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่สำคัญ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง โคกระบือ - อุตสาหกรรมที่สำคัญ ผลิตภัณฑ์เนื้อบรรจุกระป๋อง ผลิตภัณฑ์นม ฟอกหนัง ทอผ้า เสื้อผ้าสำเร็จรูป - หนี้สินต่างประเทศ 140 ล้านดอลลาร์สหรัฐ - ดุลการค้า นำเข้า 1.55 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และส่งออก 1.45 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ - สินค้าเข้าที่สำคัญ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและเชื้อเพลิง เครื่องจักรและอุปกรณ์เคมีภัณฑ์ - สินค้าออกที่สำคัญ เพชร ทองแดง ทองคำ สังกะสี ตะกั่ว - ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ นำเข้า จากประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศเยอรมนี สหรัฐอเมริกา - ส่งออก ประเทศอังกฤษ ประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศสเปน ประเทศญี่ปุ่น - สกุลเงิน 1 ดอลลาร์นามิเบีย (NAD) เท่ากับ 100 เซนต์ (cents) - อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 6.12 ดอลลาร์นามิเบีย (2543) - อัตราการว่างงานสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก (33.8% ในปีพ.ศ. 2547))การท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม และ โทรคมนาคมการคมนาคมโครงสร้างพื้นฐาน. คมนาคม และ โทรคมนาคม. การคมนาคม. - ถนน ในปี 2534 ถนนทั้งหมดมีความยาว 41,815 กิโลเมตร ซึ่งในจำนวนนี้เป็นถนนลาดยาง 4,572 กิโลเมตร และมียานพาหนะจำนวน 132,331 คัน - ทางรถไฟ ระบบทางรถไฟของนามิเบียเชื่อมกับทางรถไฟสายหลักของแอฟริกาใต้ที่เมือง อาเรียมสว์เลอิ ทางรถไฟในประเทศมีความยาว 2,382 กิโลเมตร ในช่วงปี 2538-2539 มีผู้โดยสารรถไฟ 124,000 คน และมีการขนส่งสินค้า 1.7 ล้านตัน - การบินพลเรือน สายการบินแห่งชาติที่เป็นของรัฐชื่อแอร์นามิเบีย มีสนามบินนานาชาติที่เมืองวินด์ฮุกและสนามบินภายในประเทศที่เมืองอีรอส ผู้โดยสารระหว่างประเทศมีจำนวน 215,175 คน และสินค้า 2.8 ล้านกิโลกรัม ส่วนผู้โดยสารภายในประเทศมีจำนวน 7,117 คน และสินค้า 211,218 กิโลกรัม นอกจากนี้ ยังมีสายการบินอื่นที่บินผ่าน ได้แก่ แอร์ บอตสวานา, แอร์ ซิมบับเว, คอมเมอร์เชียล แอร์เวย์, ลัฟทันซา, เซาท์ แอฟริกัน แอร์เวย์ - การเดินเรือ ท่าเรือที่สำคัญ ได้แก่ วอลวิส เบย์ (ตรงอ่าววอลวิส)โทรคมนาคมโทรคมนาคม. - โทรคมนาคม ในปี 2535 มีที่ทำการไปรษณีย์ 72 แห่ง และมีโทรศัพท์ 89,722 เครื่อง สถานีวิทยุนามิเบียมี 3 สถานี และมีสถานีโทรทัศน์ 10 สถานี ในปี 2536 มีโทรทัศน์ จำนวน 27,000 เครื่อง และวิทยุจำนวน 195,000 เครื่องวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษาสาธารณสุขประชากรศาสตร์ ประชากรศาสตร์. 2,031,000 โดยมีอัตราการเจริญเติบโตร้อยละ 1.57เชื้อชาติศาสนา ศาสนา. ศาสนาคริสต์ร้อยละ 90%ภาษา ภาษา. ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ นอกจากนี้ ก็มีการใช้ภาษาแอฟริกันและภาษาเยอรมันกีฬาฟุตบอลรักบี้มวยสากลวัฒนธรรมสถาปัตยกรรมเครื่องดนตรีพื้นเมืองวัฒนธรรมร่วมสมัยสื่อมวลชนวันหยุด
| ประเทศนามิเบียได้รับเอกราชคืนจากประเทศแอฟริกาใต้เมื่อปี พ.ศ. ใด | {
"answer": [
"2533"
],
"answer_begin_position": [
404
],
"answer_end_position": [
408
]
} |
3,960 | 41,074 | ประเทศนามิเบีย นามิเบีย () หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนามิเบีย () เป็นประเทศในทวีปแอฟริกาตอนใต้ ริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มีพรมแดนติดด้านเหนือกับประเทศแองโกลา และแซมเบีย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับซิมบับเว ทางตะวันออกติดกับบอตสวานา และทางใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ นามิเนียได้รับเอกราชคืนจากประเทศแอฟริกาใต้เมื่อ พ.ศ. 2533 มีเมืองหลวงชื่อวินด์ฮุกภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. เนื่องจากมีสภาพเป็นทะเลทรายจึงทำให้อากาศแห้งแล้งภูมิประเทศ ภูมิประเทศ. ประกอบไปด้วยพื้นที่สูงและทะเลทรายภูมิอากาศ ภูมิอากาศ. แห้งแล้ง และกึ่งแห้งแล้งประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์. - ปลายพุทธทศวรรษที่ 20 บาร์โธโลมิวส์ (Bartholomius) ชาวโปรตุเกสเป็นชาวยุโรปคนแรกที่เดินทางไปนามิเบีย - พ.ศ. 2427 ตกเป็นเมืองขึ้นของเยอรมนี (ยกเว้น Walvis Bay ที่ตกเป็นของอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2421 - พ.ศ. 2458 ตกเป็นเมืองขึ้นของแอฟริกาใต้ และตกอยู่ภายใต้การปกครองตามกฎหมายในปี พ.ศ. 2463 โดยเป็นผลมาจากสนธิสัญญาแวร์ซายส์ - พ.ศ. 2501 South West African People's Organization (SWAPO) ก่อตั้งขึ้นเพื่อเคลื่อนไหวทางด้านแรงงาน (Anti - contract Labour Movement) - พ.ศ. 2509 แอฟริกาใต้ประกาศใช้กฎหมายแบ่งแยกสีผิว ท่ามกลางการต่อต้านของสหประชาชาติ SWAPO ใช้กำลังต่อสู้เพื่อเรียกร้องเสรีภาพ - พ.ศ. 2510 มีการจัดตั้ง UN Council for South West Africa - พ.ศ. 2511 องค์การสหประชาชาติเปลี่ยนชื่อ South West Africa เป็นนามิเบีย - พ.ศ. 2514 ศาลโลกตัดสินว่าการคงอยู่ในนามิเบียของแอฟริกาใต้เป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย และยืนยันหน้าที่รับผิดชอบขององค์การสหประชาชาติต่อนามิเบีย - พ.ศ. 2516 องค์การสหประชาชาติให้การรับรองว่า SWAPO เป็นตัวแทนที่ถูกต้องของชาวนามิเบีย มีการแต่งตั้ง UN Commissioner for Namibia - พ.ศ. 2518 แอฟริกาใต้จัดตั้งผู้นำในประเทศและหัวหน้าเผ่าจากเผ่าต่าง ๆ เข้าสู่ Turnhalle Conference ซึ่งไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ - พ.ศ. 2519 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติประณามการกระทำของแอฟริกาใต้ในนามิเบียอย่างเป็นเอกฉันท์ - พ.ศ. 2521 คณะมนตรีความมั่นคงมีมติที่ 435 จัดให้มีการเลือกตั้งภายใต้การดูแลขององค์การสหประชาชาติและยุติการต่อสู้ระหว่างแอฟริกาใต้กับ SWAPO แต่องค์การสหประชาชาติก็ปฏิเสธการเลือกตั้งที่มีแอฟริกาใต้อยู่เบื้องหลังครั้งนั้น - พ.ศ. 2528 แอฟริกาใต้จัดให้มีรัฐบาลชั่วคราว โดยแต่งตั้งผู้แทนผิวดำจากพรรคต่าง ๆ เพื่อร่างรัฐธรรมนูญของประเทศ - พ.ศ. 2531 แอฟริกาใต้ปฏิเสธร่างรัฐธรรมนูญของรัฐบาลชั่วคราว รัฐบาลของแอฟริกาใต้ แองโกลา คิวบา สหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกา ยอมรับเอกราชของนามิเบียตามนัยของมติที่ 435 ของคณะมนตรีความมั่นคง - พ.ศ. 2532 UN Transition Assistance Group ได้จัดการเลือกตั้งที่ยุติธรรมขึ้น แซม นูโจมา ผู้นำของ SWAPO ได้รับการเลือกตั้ง และจัดตั้งคณะรัฐมนตรี - 21 มีนาคม พ.ศ. 2533 ได้รับเอกราชอย่างเป็นทางการจาก สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ - 23 เมษายน พ.ศ. 2533 เข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 160 ขององค์การสหประชาชาติ และต่อมาเป็นสมาชิกลำดับที่ 50 ของเครือจักรภพการเมืองการปกครองบริหารนิติบัญญัติตุลาการการบังคับใช้กฎหมายสิทธิมนุษยชนเขตการปกครอง เขตการปกครอง. ประเทศนามิเบียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 แคว้น (Region) ได้แก่1. แคว้นคัปปรีวี 2. แคว้นอีรองโก 3. แคว้นฮาร์ดาป 4. แคว้นคาราส 5. แคว้นคาวังโก 6. แคว้นคโฮมาส 7. แคว้นคูเนเน 8. แคว้นโอฮังเวนา 9. แคว้นโอมาเฮเก 10. แคว้นโอมูซาตี 11. แคว้นโอชานา 12. แคว้นโอชีโคโต 13. แคว้นโอตโจซอนด์จูปานโยบายประเทศ นโยบายประเทศ. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนั้นมีความใกล้ชิดมากกับแอฟริกาใต้ แต่มีปัญหาทางด้านพรมแดนกับบอตสวานา และ แองโกลาความสัมพันธ์กับแองโกลา ความสัมพันธ์กับแองโกลา. นับแต่ปี 2536 ความสัมพันธ์กับประเทศแองโกลาไม่สู้จะราบรื่นนัก เนื่องจากในปี พ.ศ. 2536 กลุ่ม UNITA กล่าวหาว่ากองกำลังของนามิเบียข้ามไปยังชายแดนภาคใต้ของแองโกลาเพื่อช่วยรัฐบาลแองโกลาต่อสู้กับ UNITA แต่นามิเบียปฏิเสธ และต่อมาในปี พ.ศ. 2537 นามิเบียก็ได้ปิดพรมแดนส่วนที่ติดกับแองโกลา หลังจากที่เกิดการต่อสู้ในบริเวณนั้น และชาวนามิเบียถูกฆ่าตาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ทั้งสองฝ่ายตกลงกันที่จะเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยบริเวณชายแดนความสัมพันธ์กับบอตสวานา ความสัมพันธ์กับบอตสวานา. ความสัมพันธ์กับบอตสวานาดำเนินมาด้วยดี จนกระทั่งในต้นปี พ.ศ. 2539 มีข้อขัดแย้งกันเรื่องการปักปันเขตแดนบริเวณแม่น้ำโชเบความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้ ความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้. ความสัมพันธ์กับแอฟริกาใต้เป็นไปอย่างใกล้ชิด ในการเดินทางไปเยือนนามิเบียเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2537 ประธานาธิบดีเนลสัน มันเดลา แถลงว่ามีความเป็นไปได้ที่แอฟริกาใต้จะยกเลิกหนี้สิน จำนวน 826.6 ล้านดอลลาร์นามิเบีย ที่นามิเบียมีต่อแอฟริกาใต้ตั้งแต่ครั้งยังไม่ได้รับเอกราช และเมื่อประธานาธิบดีแซม นูโจมา ไปเยือนแอฟริกาใต้ในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2539 ก็ได้ร้องขอต่อสภาแอฟริกาใต้ให้ยกเลิกหนี้สินดังกล่าว และขอให้แอฟริกาใต้ไปลงทุนในนามิเบีย แม้ว่านโยบายต่างประเทศของนามิเบียแตกต่างจากนโยบายของแอฟริกาใต้บางประการ อาทิ นามิเบียสนับสนุนนโยบายของจีน ในการอ้างสิทธิเหนือไต้หวัน และการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับรัฐบาลไนจีเรีย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองก็ยังคงดำเนินไปด้วยดี เนื่องจากนามิเบียต้องพึ่งพาแอฟริกาใต้ทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมากองค์กรระหว่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ. นามิเบียเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ กลุ่ม 77 กลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (Non-aligned Movement - NAM) องค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity - OAU) สหภาพศุลกากรแอฟริกาใต้ (Southern Africa Customs Union - SACU) ประชาคมด้านการพัฒนาแห่งภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้ (Southern African Development Community - SADC)กองทัพกองกำลังกึ่งทหารเศรษฐกิจโครงสร้างเศรษฐกิจเศรษฐกิจ. โครงสร้างเศรษฐกิจ. - อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 3 (2542) - รายได้ประชาชาติต่อหัว 4,300 ดอลลาร์สหรัฐ (2542) - ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น 7.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2542) - อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 8.5 (2542) - ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ เพชร ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี ยูเรเนียม เงิน - ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่สำคัญ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง โคกระบือ - อุตสาหกรรมที่สำคัญ ผลิตภัณฑ์เนื้อบรรจุกระป๋อง ผลิตภัณฑ์นม ฟอกหนัง ทอผ้า เสื้อผ้าสำเร็จรูป - หนี้สินต่างประเทศ 140 ล้านดอลลาร์สหรัฐ - ดุลการค้า นำเข้า 1.55 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และส่งออก 1.45 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ - สินค้าเข้าที่สำคัญ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและเชื้อเพลิง เครื่องจักรและอุปกรณ์เคมีภัณฑ์ - สินค้าออกที่สำคัญ เพชร ทองแดง ทองคำ สังกะสี ตะกั่ว - ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ นำเข้า จากประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศเยอรมนี สหรัฐอเมริกา - ส่งออก ประเทศอังกฤษ ประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศสเปน ประเทศญี่ปุ่น - สกุลเงิน 1 ดอลลาร์นามิเบีย (NAD) เท่ากับ 100 เซนต์ (cents) - อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 6.12 ดอลลาร์นามิเบีย (2543) - อัตราการว่างงานสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก (33.8% ในปีพ.ศ. 2547))การท่องเที่ยวโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม และ โทรคมนาคมการคมนาคมโครงสร้างพื้นฐาน. คมนาคม และ โทรคมนาคม. การคมนาคม. - ถนน ในปี 2534 ถนนทั้งหมดมีความยาว 41,815 กิโลเมตร ซึ่งในจำนวนนี้เป็นถนนลาดยาง 4,572 กิโลเมตร และมียานพาหนะจำนวน 132,331 คัน - ทางรถไฟ ระบบทางรถไฟของนามิเบียเชื่อมกับทางรถไฟสายหลักของแอฟริกาใต้ที่เมือง อาเรียมสว์เลอิ ทางรถไฟในประเทศมีความยาว 2,382 กิโลเมตร ในช่วงปี 2538-2539 มีผู้โดยสารรถไฟ 124,000 คน และมีการขนส่งสินค้า 1.7 ล้านตัน - การบินพลเรือน สายการบินแห่งชาติที่เป็นของรัฐชื่อแอร์นามิเบีย มีสนามบินนานาชาติที่เมืองวินด์ฮุกและสนามบินภายในประเทศที่เมืองอีรอส ผู้โดยสารระหว่างประเทศมีจำนวน 215,175 คน และสินค้า 2.8 ล้านกิโลกรัม ส่วนผู้โดยสารภายในประเทศมีจำนวน 7,117 คน และสินค้า 211,218 กิโลกรัม นอกจากนี้ ยังมีสายการบินอื่นที่บินผ่าน ได้แก่ แอร์ บอตสวานา, แอร์ ซิมบับเว, คอมเมอร์เชียล แอร์เวย์, ลัฟทันซา, เซาท์ แอฟริกัน แอร์เวย์ - การเดินเรือ ท่าเรือที่สำคัญ ได้แก่ วอลวิส เบย์ (ตรงอ่าววอลวิส)โทรคมนาคมโทรคมนาคม. - โทรคมนาคม ในปี 2535 มีที่ทำการไปรษณีย์ 72 แห่ง และมีโทรศัพท์ 89,722 เครื่อง สถานีวิทยุนามิเบียมี 3 สถานี และมีสถานีโทรทัศน์ 10 สถานี ในปี 2536 มีโทรทัศน์ จำนวน 27,000 เครื่อง และวิทยุจำนวน 195,000 เครื่องวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษาสาธารณสุขประชากรศาสตร์ ประชากรศาสตร์. 2,031,000 โดยมีอัตราการเจริญเติบโตร้อยละ 1.57เชื้อชาติศาสนา ศาสนา. ศาสนาคริสต์ร้อยละ 90%ภาษา ภาษา. ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ นอกจากนี้ ก็มีการใช้ภาษาแอฟริกันและภาษาเยอรมันกีฬาฟุตบอลรักบี้มวยสากลวัฒนธรรมสถาปัตยกรรมเครื่องดนตรีพื้นเมืองวัฒนธรรมร่วมสมัยสื่อมวลชนวันหยุด
| เมืองหลวงของประเทศนามิเบียชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"วินด์ฮุก"
],
"answer_begin_position": [
424
],
"answer_end_position": [
432
]
} |
737 | 237,905 | ปกรณ์ มะโน ปกรณ์ มะโน หรือชื่อเดิม (ประกิต ศิริภัทร์) หรือ ตุ้ย เกิดวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2527 ตุ้ยนั้นเป็น 1 ใน 8 ดาวดวงใหม่ของละครค่าย Exact ของ บอย ถกลเกียรติ วีรวรรณ ตุ้ยเคยมีผลงานโฆษณา Ivy Condo และ Nok Air ล่าสุดได้รับบทพระรองในละคร "บ่วงรักกามเทพ" อีกด้วย ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ปี 4 คณะอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ มหาวิทยาลัยรังสิตผลงานต่างๆของเขาที่เคยแสดง ผลงานต่างๆของเขาที่เคยแสดง. ผลงานโฆษณา- Ivy Condo - Nok Air ผลงานละคร- บ่วงรักกามเทพ ทางช่อง ททบ.5 รับบทเป็น ทวี
| ปกรณ์ มะโน เกิดวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2527 มีชื่อเดิมเรียกว่าอะไร | {
"answer": [
"ประกิต ศิริภัทร์"
],
"answer_begin_position": [
121
],
"answer_end_position": [
137
]
} |
1,806 | 237,905 | ปกรณ์ มะโน ปกรณ์ มะโน หรือชื่อเดิม (ประกิต ศิริภัทร์) หรือ ตุ้ย เกิดวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2527 ตุ้ยนั้นเป็น 1 ใน 8 ดาวดวงใหม่ของละครค่าย Exact ของ บอย ถกลเกียรติ วีรวรรณ ตุ้ยเคยมีผลงานโฆษณา Ivy Condo และ Nok Air ล่าสุดได้รับบทพระรองในละคร "บ่วงรักกามเทพ" อีกด้วย ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ปี 4 คณะอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ มหาวิทยาลัยรังสิตผลงานต่างๆของเขาที่เคยแสดง ผลงานต่างๆของเขาที่เคยแสดง. ผลงานโฆษณา- Ivy Condo - Nok Air ผลงานละคร- บ่วงรักกามเทพ ทางช่อง ททบ.5 รับบทเป็น ทวี
| ปกรณ์ มะโน หรือชื่อเดิม ประกิต ศิริภัทร์ เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"10"
],
"answer_begin_position": [
160
],
"answer_end_position": [
162
]
} |
739 | 215,606 | สามก๊ก ฉบับคนเดินดิน สามก๊ก ฉบับคนเดินดิน เป็นผลงานของ สุขสันต์ วิเวกเมธากร โดยใช้นามปากกาว่า เล่า ชวน หัว จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เคล็ดไทยเล่มแรกที่จัดทำคือ เปิดหน้ากากขงเบ้งภาค 1พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พฤษภาคม พ.ศ. 2533และได้มีการทำเล่มอื่นๆตามมาเนื้อหาภายในเรื่องนี้เป็นการวิจารร์ตัวละครเด่นๆในสามก๊ก ในปัจจุบันได้มีการจัดพิมพ์ สามก๊ก ฉบับคนเดินดิน ซ้ำหลายครั้งแล้ว ในตอนนี้มีอยู่ทั้งหมด 9 เล่ม ดังนี้- เปิดหน้ากากขงเบ้ง ภาค 1 , 2และ3 - ชำแหละกึ๋นเล่าปี่ - ผ่าสมองโจโฉ - แหวะหัวใจซุนกวน - ล้วงคอสุมาอี้ - เทิดศักดิ์ศรีจูล่ง - ลอยเรือชม จิวยี่
| สามก๊ก ฉบับคนเดินดินที่ใช้นามปากกาว่า เล่า ชวน หัว เป็นผลงานของใคร | {
"answer": [
"สุขสันต์ วิเวกเมธากร"
],
"answer_begin_position": [
150
],
"answer_end_position": [
170
]
} |
740 | 215,606 | สามก๊ก ฉบับคนเดินดิน สามก๊ก ฉบับคนเดินดิน เป็นผลงานของ สุขสันต์ วิเวกเมธากร โดยใช้นามปากกาว่า เล่า ชวน หัว จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เคล็ดไทยเล่มแรกที่จัดทำคือ เปิดหน้ากากขงเบ้งภาค 1พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พฤษภาคม พ.ศ. 2533และได้มีการทำเล่มอื่นๆตามมาเนื้อหาภายในเรื่องนี้เป็นการวิจารร์ตัวละครเด่นๆในสามก๊ก ในปัจจุบันได้มีการจัดพิมพ์ สามก๊ก ฉบับคนเดินดิน ซ้ำหลายครั้งแล้ว ในตอนนี้มีอยู่ทั้งหมด 9 เล่ม ดังนี้- เปิดหน้ากากขงเบ้ง ภาค 1 , 2และ3 - ชำแหละกึ๋นเล่าปี่ - ผ่าสมองโจโฉ - แหวะหัวใจซุนกวน - ล้วงคอสุมาอี้ - เทิดศักดิ์ศรีจูล่ง - ลอยเรือชม จิวยี่
| สุขสันต์ วิเวกเมธากร เขียนหนังสือเรื่องสามก๊กฉบับคนเดินดิน โดยใช้นามปากกาว่าอะไร | {
"answer": [
"เล่า ชวน หัว"
],
"answer_begin_position": [
189
],
"answer_end_position": [
201
]
} |
741 | 650,485 | ทูนทิน พลจัตวา ทูนทิน (, ; เกิด 19 มีนาคม พ.ศ. 2462) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของประเทศพม่า เขาได้ดำรงตำแหน่งเพียงไม่กี่เดือนในปี พ.ศ. 2531 ก่อนที่จะได้เป็นนายกรัฐมนตรี พลจัตวา ทูนทิน ได้ดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ในรัฐบาลทหารของพลเอก เนวีน ต่อมาเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 ทูนทินได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีแทนมองมองคะ เนื่องจากนายกรัฐมนตรีคนก่อนไม่สามารถแก้ปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศได้ และเขาก็ได้ทำหน้าที่ไปจนถึงวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2531 ปัจจุบันทูนทิน วางมือจากการเมืองแล้ว
| พลจัตวาทูนทิน ได้ดำรงตำแหน่งต่างๆ ในรัฐบาลทหารของผู้ใดก่อนขึ้นเป็นนายกของประเทศพม่า | {
"answer": [
"พลเอก เนวีน"
],
"answer_begin_position": [
300
],
"answer_end_position": [
311
]
} |
1,890 | 650,485 | ทูนทิน พลจัตวา ทูนทิน (, ; เกิด 19 มีนาคม พ.ศ. 2462) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของประเทศพม่า เขาได้ดำรงตำแหน่งเพียงไม่กี่เดือนในปี พ.ศ. 2531 ก่อนที่จะได้เป็นนายกรัฐมนตรี พลจัตวา ทูนทิน ได้ดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ในรัฐบาลทหารของพลเอก เนวีน ต่อมาเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 ทูนทินได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีแทนมองมองคะ เนื่องจากนายกรัฐมนตรีคนก่อนไม่สามารถแก้ปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศได้ และเขาก็ได้ทำหน้าที่ไปจนถึงวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2531 ปัจจุบันทูนทิน วางมือจากการเมืองแล้ว
| พลจัตวาทูนทินเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของประเทศพม่า เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"19"
],
"answer_begin_position": [
113
],
"answer_end_position": [
115
]
} |
742 | 2,896 | ประเทศนาอูรู นาอูรู (, ; ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐนาอูรู (; ) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศนาอูรูตั้งอยู่ใกล้กับเกาะบานาบาของประเทศคิริบาสมากที่สุด โดยอยู่ห่างกัน 300 กิโลเมตร ไปทางตะวันออก ประเทศนาอูรูเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กที่สุดในมหาสมุทรแปซิฟิกและเล็กเป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากประเทศโมนาโกและนครรัฐวาติกัน โดยมีพื้นที่ และมีประชากรอาศัยอยู่ทั้งสิ้น 9,488 คนcvv ดินแดนที่เป็นประเทศนาอูรูในปัจจุบันมีชาวไมโครนีเซียและโพลินีเซียเข้ามาอยู่อาศัย ในระยะเวลาต่อมาจักรวรรดิเยอรมนีได้ผนวกดินแดนนาอูรูเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติโดยมีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักรเป็นผู้บริหารกิจการต่าง ๆ ในเกาะแห่งนี้ร่วมกัน ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองนาอูรู เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีและได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1968 เกาะนาอูรูเป็นเกาะหินฟอสเฟต โดยปริมาณของหินฟอสเฟตมีอยู่เป็นจำนวนมากตามผิวดิน ทำให้สามารถทำเหมืองเปิดได้โดยง่าย อย่างไรก็ตามแหล่งฟอสเฟตบางส่วนไม่สามารถสกัดออกมาใช้ได้ เนื่องจากไม่คุ้มค่าต่อการลงทุนสกัดด้วยเทคโนโลยีปัจจุบัน ในช่วงระหว่างปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 ถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 นาอูรูเป็นประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวสูงมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโลก แต่เมื่อแหล่งแร่ฟอสเฟตเริ่มหมดลง รวมไปถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการทำเหมืองแร่ฟอสเฟต ส่งผลให้ความน่าเชื่อถือทางการเงินของประเทศนี้ลดลงไป ด้วยเหตุนี้เองทำให้นาอูรูต้องหารายได้จากแหล่งอื่น โดยนาอูรูได้กลายเป็นที่หลบภาษี (Tax haven) และศูนย์กลางของการฟอกเงิน นอกจากนี้นาอูรูยังมีรายได้จากการบริจาคของประเทศออสเตรเลีย โดยแลกเปลี่ยนกับการที่นาอูรูยินยอมให้มีการจัดตั้งศูนย์กักกันของออสเตรเลียในประเทศนาอูรูประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. ชาวไมโครนีเซียและเมลานีเซียได้เดินทางเข้ามาอาศัยอยู่ในเกาะนาอูรูอย่างน้อย 3,000 ปีขึ้นไป โดยกลุ่มคนที่เข้ามาอาศัยอยู่ในนาอูรูสามารถแบ่งออกได้เป็น 12 เผ่า ซึ่งธงชาติของประเทศนาอูรูในปัจจุบันนั้น แทนเผ่าต่างๆเหล่านี้ด้วยดาว 12 แฉก ในธรรมเนียมดั้งเดิมของชาวนาอูรูจะนับญาติทางสายมารดาเป็นหลัก ประชากรเหล่านี้นิยมเลี้ยงและเพาะพันธุ์ปลาไว้ในลากูนบูอาดา เพื่อเป็นแหล่งอาหารให้กับประชากร ในขณะที่แหล่งอาหารในท้องถิ่นอื่น ๆ ที่ปลูกในพื้นที่เกาะคือมะพร้าวและเตยทะเล สำหรับในส่วนของชื่อ นาอูรู นั้นมีการสันนิษฐานว่ามาจากศัพท์คำว่า Anáoero ในภาษานาอูรู ซึ่งมีความหมายว่าฉันไปที่ชายหาด จอห์น เฟิร์น นักล่าวาฬชาวอังกฤษเป็นชาวยุโรปคนแรกที่เดินทางมาถึงเกาะนาอูรูในปี ค.ศ. 1798 โดยเขาได้ตั้งชื่อเกาะแห่งนี้ว่า "เกาะพลีแซนต์" (Pleasant Island) นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1830 เป็นต้นมา ชาวนาอูรูได้ติดต่อกับเรือล่าวาฬของชาวตะวันตก ซึ่งเรือล่าวาฬเหล่านี้จะแสวงหาน้ำจืดจากนาอูรูเพื่อเก็บไว้ใช้ในเรือ ในช่วงระหว่างนี้กะลาสีเรือที่เลิกทำงานให้กับเรือล่าวาฬเริ่มเข้ามาอยู่อาศัยในนาอูรู ชาวเกาะได้เริ่มการแลกเปลี่ยนค้าขายกับชาวตะวันตกมากยิ่งขึ้น โดยชาวเกาะจะนำอาหารไปแลกเปลี่ยนกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และอาวุธสงคราม อาวุธสงครามที่ได้มาจากชาวตะวันตกเหล่านี้ได้มีการนำมาใช้ในสงครามระหว่างชนเผ่าของนาอูรูในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1878 - 1888 ในปี ค.ศ. 1888 เยอรมนีได้ผนวกเกาะนาอูรูเข้าเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะมาร์แชลล์ในอารักขา การเข้ามาของเยอรมนีในครั้งนี้ช่วยให้สงครามกลางเมืองระหว่างชนเผ่าต่าง ๆ สิ้นสุดลง นอกจากนี้ยังมีการตั้งตำแหน่งพระมหากษัตริย์ในการปกครองเกาะแห่งนี้ โดยพระมหากษัตริย์ของนาอูรูที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือพระเจ้าโอเวอีดา คณะมิชชันนารีสอนศาสนาเริ่มเข้ามาในปี ค.ศ. 1888 โดยเป็นกลุ่มมิชชันนารีที่เดินทางมาจากหมู่เกาะกิลเบิร์ต ชาวเยอรมันที่เข้ามาอาศัยในนาอูรูจะเรียกนาอูรูว่า Nawodo หรือ Onawero จักรวรรดิเยอรมันเข้าปกครองนาอูรูอยู่ราว ๆ 3 ทศวรรษ โดยโรแบร์ต รัสช์ พ่อค้าชาวเยอรมันที่แต่งงานกับผู้หญิงชาวนาอูรูเป็นผู้บริหารของนาอูรูคนแรกในปี ค.ศ. 1890 ในปี ค.ศ. 1900 อัลเบิร์ต ฟูลเลอร์ เอลลิส นักสำรวจแร่ได้ค้นพบแหล่งแร่ฟอสเฟตในนาอูรู จนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1906 บริษัทแปซิฟิกฟอสเฟตได้ทำข้อตกลงกับรัฐบาลของเยอรมนีในการเริ่มต้นทำกิจกรรมเหมืองแร่ฟอสเฟต โดยเริ่มการส่งออกฟอสเฟตไปขายยังต่างประเทศในปี ค.ศ. 1907 เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1ในปี ค.ศ. 1914 กองทัพออสเตรเลียได้ส่งกองกำลังเข้ายึดครองนาอูรู จนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1919 ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักรได้ลงนามในข้อตกลงนาอูรู ซึ่งมีผลให้เกิดการสถาปนาคณะกรรมาธิการฟอสเฟตของอังกฤษ (British Phosphate Commission - BPC) โดยคณะกรรมาธิการนี้มีสิทธิ์ในการประกอบกิจการเหมืองฟอสเฟตในนาอูรู ในปี ค.ศ. 1920 เกิดการระบาดของไวรัสไข้หวัดใหญ่ ส่งผลให้ชาวนาอูรูร้อยละ 18 ล้มตายจากการระบาดในครั้งนี้ หลังจากการระบาดของไข้หวัดใหญ่ 3 ปี สันนิบาตชาติได้ให้อำนาจออสเตรเลีย สหราชอาณาจักรและนิวซีแลนด์เป็นผู้ดูแลนาอูรูในฐานะดินแดนในอาณัติ ในวันที่ 6 และ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1940 เรือเยอรมันสองลำได้จมเรือของฝ่ายสัมพันธมิตร 5 ลำบริเวณใกล้กับนาอูรู นอกจากการจมเรือแล้ว เรือเยอรมันทั้งสองลำได้สร้างความเสียหายให้กับบริเวณเหมืองแร่และสายพานลำเลียงฟอสเฟตอีกด้วย จักรวรรดิญี่ปุ่นได้ส่งกองกำลังเข้ายึดครองนาอูรู ในวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1942 หลังจากนั้นได้เกณฑ์แรงงานชาวญี่ปุ่น ชาวเกาหลี ชาวนาอูรูและชาวกิลเบิร์ตให้สร้างสนามบิน โดยในระยะเวลาต่อมา กองทัพอากาศของสหรัฐอเมริกาได้ทิ้งระเบิดสนามบินนี้ครั้งแรกในวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1943 เพื่อตัดการสนับสนุนเสบียงอาหารที่จะส่งไปยังนาอูรู การที่เสบียงอาหารมีน้อยลงเป็นผลให้กองทัพญี่ปุ่นต้องนำชาวนาอูรู 1,200 คนออกจากเกาะโดยส่งไปอยู่ที่เกาะชุกในหมู่เกาะแคโรไลน์ การที่นาอูรูโดนกองกำลังอเมริกาปิดล้อมมาอย่างยาวนาน นำไปสู่การยอมจำนนของผู้นำกองกำลังญี่ปุ่นบนเกาะนาอูรูคือฮิซะฮะชิ โซะเอะดะในวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 1945 ต่อกองทัพออสเตรเลีย การยอมจำนนของญี่ปุ่นในครั้งนี้ได้รับการยอมรับโดยพลจัตวาสตีเวนสัน ซึ่งเป็นผู้แทนของพลโทเวอร์นอน สตูร์ดี ผู้บัญชาการกองทัพออสเตรเลียที่ 1 บนเรือรบเดียมันตินา หลังจากการบอมแพ้ของกองกำลังญี่ปุ่น ได้มีการส่งชาวนาอูรู 737 คนที่รอดชีวิตจากเกาะชุกกลับไปยังนาอูรู โดยเรือของคณะกรรมาธิการฟอสเฟตของอังกฤษที่ชื่อว่า Trienza ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1946 ในปี ค.ศ. 1947 สหประชาชาติได้มอบหมายให้ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักรเป็นผู้ดูแลเกาะนาอูรูในฐานะดินแดนในภาวะทรัสตี นาอูรูได้สิทธิ์ในการปกครองตนเองในเดือนมกราคม ค.ศ. 1966 และเมื่อการประชุมร่างรัฐธรรมนูญได้ผ่านไป 2 ปีหลังจากนั้น นาอูรูจึงได้ประกาศเอกราชในปี ค.ศ. 1968 โดยมีประธานาธิบดีแฮมเมอร์ ดีโรเบิร์ตเป็นประธานาธิบดีคนแรก ในปี ค.ศ. 1967 ประชาชนชาวนาอูรูได้ร่วมกันซื้อทรัพย์สินของคณะกรรมาธิการฟอสเฟตของอังกฤษ ซึ่งนาอูรูได้สิทธิ์ในการบริหารจัดการกิจการเหมืองแร่ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1970 ภายใต้การบริหารของบริษัทนาอูรูฟอสเฟต รายได้ของนาอูรูที่ได้จากการทำเหมืองแร่ส่งผลให้ประชาชนชาวนาอูรูมีมาตรฐานการครองชีพสูงที่สุดในกลุ่มประเทศแถบแปซิฟิก ในปี ค.ศ. 1989 นาอูรูได้ฟ้องออสเตรเลียต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจากความล้มเหลวของออสเตรเลียในการแก้ไขความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการทำเหมืองแร่ฟอสเฟตเมื่อครั้งที่ออสเตรเลียมีอำนาจบริหารกิจการต่าง ๆ ในนาอูรูการเมือง การเมือง. นาอูรูเป็นสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล รัฐสภานาอูรูเป็นระบบสภาเดียวประกอบด้วยสมาชิก 19 คน มาจากการเลือกตั้งทุกสามปี รัฐสภาจะเลือกประธานาธิบดีจากสมาชิกรัฐสภา และประธานาธิบดีจะเป็นผู้แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีซึ่งมีสมาชิก 5–6 คน นาอูรูไม่มีโครงสร้างพรรคการเมืองอย่างเข้มแข็งเท่าใดนัก โดยตัวแทนส่วนใหญ่เป็นผู้สมัครอิสระ ซึ่งเห็นได้จากสมาชิกรัฐสภาในสมัยปัจจุบันมีสมาชิกที่มาจากผู้แทนอิสระถึง 15 คนจากสมาชิกรัฐสภาทั้งหมด 19 คน สำหรับพรรคการเมืองที่มีการเคลื่อนไหวอยู่ในปัจจุบันมี 4 พรรค ได้แก่ พรรคนาอูรู พรรคประชาธิปไตยแห่งนาอูรู นาอูรูเฟิร์สและพรรคกลาง แม้จะมีพรรคการเมือง แต่การร่วมรัฐบาลในนาอูรูนั้นมักขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ทางครอบครัวมากกว่าพรรคการเมืองที่สังกัด ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1992 - 1999 ได้มีการนำระบบการปกครองส่วนท้องถิ่นที่เรียกว่า สภาเกาะนาอูรู (Nauru Island Council - NIC) เข้ามาใช้ โดยสภานี้จะมีสมาชิกสภาทั้งสิ้น 9 คน มีหน้าที่ให้บริการในท้องถิ่น อย่างไรก็ตามในปี ค.ศ. 1999 รัฐบาลตัดสินใจยกเลิกสภาเกาะนาอูรูและให้ทรัพย์สินและหนี้สินของสภาทั้งหมดอยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลแห่งชาติ การครอบครองที่ดินในประเทศนาอูรูเป็นสิ่งที่แปลก เนื่องจากประชาชนชาวนาอูรูทุกคนมีสิทธิบางประการเหนือที่ดินทั้งหมดของเกาะ ซึ่งที่ดินเหล่านั้นมีเจ้าของเป็นบุคคลหรือกลุ่มครอบครัว รัฐบาลหรือองค์กรต่าง ๆ ไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง หากมีความประสงค์จะใช้ที่ดินจะต้องทำสัญญากับเจ้าของที่ดินในบริเวณนั้นก่อน สำหรับประชาชนที่ไม่ใช่ชาวนาอูรูไม่มีสิทธิ์ครอบครองที่ดินบนเกาะการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. ประเทศนาอูรูแบ่งเขตการปกครองระดับบนสุดออกเป็น 14 เขต ดังนี้- เขตเดนีโกโมดู (Denigomodu) - เขตนีบ็อก (Nibok) - เขตบูอาดา (Buada) - เขตโบเอ (Boe) - เขตบาอีตี (Baiti) - เขตเมเนง (Meneng) - เขตยาเรน (Yaren) - เขตอานาบาร์ (Anabar) - เขตอานีบาเร (Anibare) - เขตอาเนตัน (Anetan) - เขตอูอาโบเอ (Uaboe) - เขตอีจูว์ (Ijuw) - เขตเอวา (Ewa) - เขตอาอีโว (Aiwo)ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. นาอูรูได้เข้าร่วมเครือจักรภพแห่งชาติหลังจากที่ได้เอกราชในปี ค.ศ. 1968 ในฐานะสมาชิกพิเศษ และได้รับสถานะสมาชิกภาพโดยสมบูรณ์เมื่อปี ค.ศ. 2000 นาอูรูได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของธนาคารพัฒนาเอเชียในปี ค.ศ. 1999 และเข้าร่วมเป็นสมาชิกของสหประชาชาติในปี ค.ศ. 1999 นอกจากนี้แล้วในระดับภูมิภาคนาอูรูเป็นสมาชิกของ Pacific Islands Forum และองค์กรในระดับภูมิภาคอื่น ๆ นาอูรูได้อนุญาตให้ Atmospheric Radiation Measurement Program ของสหรัฐอเมริกาเข้ามาใช้ระบบการตรวจสอบอากาศบนเกาะได้ นาอูรูไม่มีกองทหารเป็นของตนเอง การป้องกันประเทศเป็นหน้าที่ของรัฐบาลออสเตรเลียภายใต้ข้อตกลงอย่างไม่เป็นทางการของทั้งสองประเทศ ส่วนการรักษาความสงบเรียบร้อยจะใช้กองกำลังตำรวจขนาดเล็กซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของฝ่ายพลเรือนเป็นผู้ดูแล นอกจากการป้องกันประเทศแล้ว นาอูรูและออสเตรเลียได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจเดือนกันยายน ค.ศ. 2005 โดยในบันทึกความเข้าใจนี้ออสเตรเลียจะให้เงินช่วยเหลือแก่นาอูรู รวมไปถึงการส่งผู้เชี่ยวชาญทางด้านการเงิน การสาธารณสุขและการศึกษาเพื่อเป็นที่ปรึกษาให้แก่รัฐบาลนาอูรู ทั้งนี้ผลประโยชน์ที่นาอูรูได้รับจะต้องแลกเปลี่ยนกับการที่นาอูรูจะให้ที่อยู่อาศัยกับกลุ่มผู้ขอลี้ภัยเข้าออสเตรเลียในระหว่งที่กระบวนการพิจารณากำลังดำเนินการอยู่ ในปัจจุบันประเทศนาอูรูใช้สกุลเงินดอลลาร์ออสเตรเลียภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. ประเทศนาอูรูมีพื้นที่ โดยเป็นเกาะรูปรีตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก เกาะนาอูรูอยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตร ไปทางทิศใต้ มีแนวปะการังล้อมรอบซึ่งแนวปะการังเหล่านี้จะปรากฏยอดแหลมให้เห็นเมื่อเวลาน้ำลง การเข้าถึงเกาะนาอูรูทางน้ำเป็นไปด้วยความยากลำบาก เนื่องจากการมีแนวปะการังที่ล้อมรอบเกาะมีผลทำให้ไม่สามารถสร้างท่าเรือได้ อย่างไรก็ตามมีการขุดคลองตามแนวปะการังเพื่อช่วยให้เรือเล็กสามารถเข้าถึงเกาะได้ แนวหน้าผาปะการังล้อมรอบที่ราบสูงตอนกลางของเกาะ จุดที่อยู่สูงสุดในบริเวณที่ราบสูงเรียกว่าคอมมานด์ริดจ์ ซึ่งมีความสูง 71 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง บริเวณที่มีความอุดมสมบุรณ์เพียงแห่งเดียวของประเทศนาอูรูอยู่ในบริเวณพื้นที่แคบ ๆ ของแถบชายฝั่งทะเล ซึ่งต้นมะพร้าวเจริญเติบโตได้ดี นอกจากนี้ดินบริเวณโดยรอบของลากูนบูอาดาสามารถปลูกกล้วย สับปะรด ผักชนิดต่าง ๆ เตยทะเล และพืชไม้เนื้อแข็งท้องถิ่นคือต้นกระทิง นาอูรูเป็นหนึ่งในสามเกาะหินฟอสเฟตใหญ่ในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยอีกสองแห่งคือเกาะบานาบาของประเทศคิริบาส และมากาเทียของเฟรนช์โปลินีเซีย อย่างไรก็ตามฟอสเฟตของประเทศนั้นถูกนำมาใช้เกือบหมดแล้ว การทำเหมืองฟอสเฟตในที่ราบสูงตอนกลาง ทำให้พื้นที่กลายเป็นที่ไร้พืช เต็มไปด้วยหินปูนขรุขระที่มียอดสูงสุด 15 เมตร การทำเหมืองแร่เป็นเวลาหนึ่งศตวรรษ ได้สร้างความเสียหายให้กับพื้นที่ถึงสี่ในห้า นอกจากนี้ยังสร้างความเสียหายพื้นที่เขตเศรษฐกิจจำเพาะโดยรอบ โดยประมาณการว่า 40% ของสัตว์น้ำตายจากของเหลวที่ปล่อยออกมา ซึ่งเต็มไปด้วยฟอสเฟต ปริมาณน้ำจืดในนาอูรูมีอยู่อย่างจำกัด โดยชาวนาอูรูจะใช้ถังเพื่อกักเก็บน้ำฝน อย่างไรก็ตามชาวนาอูรูโดยส่วนมากจะพึ่งพาน้ำจืดจากโรงงานผลิตน้ำจืดจากทะเลทั้งสิ้น 3 แห่ง ซึ่งตั้งอยู่ที่สำนักงานสาธารณูปโภคนาอูรู (Nauru's Utilities Agency) ลักษณะภูมิอากาศของนาอูรูเป็นเขตร้อนชื้น เนื่องจากการตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตรและมหาสมุทร นาอูรูได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ แต่มักไม่พบพายุหมุนเขตร้อนเท่าไหร่นัก ปริมาณหยาดน้ำฟ้าของนาอูรูมีความผันแปรสูงมากและมักได้รับอิทธิพลจากเอลนิลโญ ด้วยเหตุนี้ส่งผลให้บางครั้งนาอูรูประสบกับภาวะความแห้งแล้ง ในส่วนของอุณหภูมิในนาอูรูนั้น ช่วงเวลากลางวันอุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง ถึง ส่วนตอนกลางคืนจะมีอุณหภูมิระหว่าง ถึง ในปัจจุบัน นาอูรูประสบปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น นาอูรูได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในเจ็ดเกาะที่ประสบปัญหาภาวะโลกร้อนซึ่งอาจก่อให้เกิดน้ำท่วมเกาะได้ ถึงแม้ว่าร้อยละ 80 ของพื้นที่ในนาอูรูจะเป็นที่สูง แต่พื้นที่เหล่านั้นไม่สามารถอาศัยอยู่ได้ จนกว่าโครงการการฟื้นฟูแหล่งแร่ฟอสเฟตจะเริ่มดำเนินการเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ. นาอูรูมีแร่ฟอสเฟตอยู่มาก และรายได้แทบทั้งหมดของประเทศมาจากอุตสาหกรรมการขุดและส่งออกแร่ฟอสเฟต ซึ่งมีรายได้ดีจนทำให้ชาวนาอูรู มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวสูงเป็นอันดับต้นในหมู่ประเทศหมู่เกาะแปซิฟิกด้วยกันประชากร ประชากร. ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2011 นาอูรูมีประชากร 9,378 คน ซึ่งแต่เดิมมีประชากรมากกว่านี้ โดยในปี ค.ศ. 2006 ชาวนาอูรูราว 1,500 คน ออกจากเกาะไปพร้อมกับแรงงานอพยพชาวคิริบาสและตูวาลูที่ถูกส่งกลับ ภาษาราชการของที่นี่คือ ภาษานาอูรู ร้อยละ 96 ของประชากรเชื้อสายนาอูรูนิยมใช้สนทนากันในบ้าน ส่วนภาษาอังกฤษถูกใช้สื่อสารกันอย่างแพร่หลายทั้งในรัฐบาลและการพาณิชย์ แม้ว่าชาวนาอูรูจะไม่ค่อยออกไปนอกประเทศก็ตาม ประชากรส่วนใหญ่ของนาอูรูมีเชื้อสายนาอูรู ร้อยละ 58, บุคคลที่มาจากหมู่เกาะแปซิฟิกอื่น ๆ ร้อยละ 26, ชาวยุโรป ร้อยละ 8 และชาวจีนอีกร้อยละ 8 จากการสำรวจในปี ค.ศ. 2010 ประชากรนาอูรูส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ราวสองในสาม ส่วนที่เหลือนับถือนิกายโรมันคาทอลิก รวมทั้งหมดร้อยละ 75, ศาสนาของชาวจีนและศาสนาพุทธ ร้อยละ 11.9, ศาสนาบาไฮ ร้อยละ 9.6 และอไญยนิยม ร้อยละ 3.5 อย่างไรก็ตามรัฐบาลได้จำกัดสิทธิของกลุ่มมอรมอนและพยานพระยะโฮวาที่เป็นลูกจ้างต่างด้าวที่เข้ามาทำงานในบริษัทฟอสเฟตซึ่งรัฐเป็นเจ้าของกิจการ อัตราการรู้หนังสือของชาวนาอูรูอยู่ที่ร้อยละ 96 มีการศึกษาภาคบังคับสำหรับเด็กอายุตั้งแต่ 6-16 ปี และไม่บังคับอีกสองปี ที่นาอูรูนี้มีวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยเซาท์แปซิฟิกเปิดให้บริการ ก่อนการก่อตั้งวิทยาเขตดังกล่าวในปี ค.ศ. 1987 ผู้ศึกษาต่อจะต้องออกไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ ชาวนาอูรูมีปัญหาเกี่ยวกับโรคอ้วนหรือมีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน มีสัดส่วนเป็นเพศชายร้อยละ 97 และเพศหญิงร้อยละ 93 ส่งผลให้ประเทศนาอูรูอยู่ในอันดับสูงสุดของโลกที่ประชากรมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานชนิดที่สอง มีประชากรมากกว่าร้อยละ 40 ได้รับผลกระทบจากโรคดังกล่าวด้วย ส่วนปัญหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการบริโภคของชาวนาอูรูคือ โรคไตและโรคหัวใจ อายุขัยโดยเฉลี่ยของชาวนาอูรูคือ 60.6 ปี สำหรับเพศชาย และ 68.0 ปี สำหรับเพศหญิงวัฒนธรรมสัตว์ป่าและพันธุ์พืช
| ในช่วงค.ศ. 1992 - 1999 ประเทศนาอูรูมีระบบการปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"สภาเกาะนาอูรู"
],
"answer_begin_position": [
7264
],
"answer_end_position": [
7277
]
} |
743 | 598,282 | มนัสวีร์ กฤตตานุกูล มนัสวีร์ กฤตตานุกูล ชื่อเล่น หลิว เป็นนักเต้น นักแสดง และ นางแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง O-Negative (รัก-ออกแบบไม่ได้)ประวัติ ประวัติ. มนัสวีร์ กฤตตานุกูล (มักเขียนผิดเป็น มนัสวี กฤตานุกูลย์) ชื่อเล่น หลิว เกิดเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย เข้าสู่วงการบันเทิงเมื่อพ.ศ. 2537 จากการเป็นแดนเซอร์ให้กับนักร้องชื่อดัง หลายท่าน อาทิ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์, นัท มีเรีย, ทาทา ยัง เป็นต้น การศึกษา ระดับอนุบาล-ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย ที่จังหวัดเชียงใหม่ ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระดับปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลิว เริ่มมีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง "O-Negative (รัก-ออกแบบไม่ได้)" และยังได้เข้าชิงรางวัลสุพรรณหงส์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมอีกด้วย หลังจากนั้นก็มีงานในวงการบันเทิงมากมาย ไม่ว่าจะเป็น เดินแบบ ถ่ายแฟชั่น และแสดงละครโทรทัศน์ ด้านชีวิตส่วนตัว สมรส กับนักแสดงหนุ่ม โจ๊ก (อัครินทร์ อัครนิธิเมธรัฐ) และได้แยกทางกัน มีลูกสาว 1 คน ชื่อแฟรี่ ปัจจุบันหลิวกลายเป็นซิงเกิลมัมคนเก่งที่ผันมาทำงานเบื้องหลังเต็มตัวผลงานละครโทรทัศน์ /ซิตคอมผลงาน. ละครโทรทัศน์ /ซิตคอม. 1. พ.ศ. 2543 น้ำใสใจจริง รับบทเป็น แคทรียา (รุ้ง) 2. พ.ศ. 2543 "ผยอง (ละครโทรทัศน์)" 3. พ.ศ. 2543 "กำแพงรัก" 4. พ.ศ. 2544 "พี่เลี้ยงกึ่งสำเร็จรูป" 5. พ.ศ. 2545 "เส้นไหมสีเงิน" 6. พ.ศ. 2545 "จารชนยอดรัก" รับบทเป็น ศศิ 7. พ.ศ. 2545 "แก้ว" 8. พ.ศ. 2545 "สะใภ้จ้าว" 9. พ.ศ. 2546 "รักห้ามโปรโมท" 10. พ.ศ. 2546 "พระจันทร์แสนกล" 11. พ.ศ. 2546 "วิมานดิน" 12. พ.ศ. 2547 "เรือนไม้สีเบจ" รับบทเป็น เข็ม 13. พ.ศ. 2547 "เสน่ห์จันทร์" 14. พ.ศ. 2547 "เทพบุตรในฝัน" รับบทเป็น กอบกุล 15. พ.ศ. 2547 "บางรักซอย 9" รับเชิญในตอน ฝ่ายขายคนใหม่ 16. พ.ศ. 2548 "ปิ๊ง" รับบทเป็น หลิว 17. พ.ศ. 2548 "สะใภ้กาฝาก" รับบทเป็น 18. พ.ศ. 2550 "เหตุเกิดในครอบครัว" (รับเชิญ) 19. พ.ศ. 2555 "วุ่นวายสบายดี" 20. พ.ศ. 2555 "มณีแดนสรวง" 21. พ.ศ. 2560 "Make It Right the Series รักออกเดิน 2" รับบทเป็น แม่ของธี 22. พ.ศ. 2560 Memory ความทรงจำที่ไม่อาจลืม ตอน กาญจน์เดินทางภาพยนตร์มิวสิควีดีโอมิวสิควีดีโอ. - เพลง ชาวนากับงูเห่า ของวง ฟลาย - เพลง พูดเล่นเล่น ของ ธงไชย แมคอินไตย์เพลงที่มนัสวีร์มีส่วนร่วมในการเป็นแดนเซอร์เพลงที่มนัสวีร์มีส่วนร่วมในการเป็นแดนเซอร์. - อุปสรรค ของ แอม เสาวลักษณ์ - อย่าทำ อย่าทำ ของ นัท มีเรีย - รักกันเลย ของ มอส ปฏิภาณ - ด้วยรักจากใจ ของ นัท มีเรีย - Na na ใช่เธอทุกอย่าง ของ นัท มีเรีย - ซ่อมซะให้เข็ด ของ เบิร์ด ธงไชย - ด้วยรักและปลาทู ของ มอส ปฏิภาณ - พูดอีกที ของ คริสติน่า อากีล่าร์ - ว่างเมื่อไหร่มาอีกนะ ของ นัท มีเรีย - ปราศจากน้ำตาล ของ นัท มีเรีย - ไม่ยากหรอก ของ คริสติน่า อากีล่าร์ - แมลง ของ ทาทา ยัง - อย่ามองตรงนั้น ของ คริสติน่า อากีล่าร์ - พรหมลิขิต ของ นาวิน ต้าร์ - รักมากเลย ของ ตอง ภัครมัย
| มนัสวีร์ กฤตตานุกูล นักแสดงชาวไทยมีชื่อเล่นว่าอะไร | {
"answer": [
"หลิว"
],
"answer_begin_position": [
143
],
"answer_end_position": [
147
]
} |
744 | 598,282 | มนัสวีร์ กฤตตานุกูล มนัสวีร์ กฤตตานุกูล ชื่อเล่น หลิว เป็นนักเต้น นักแสดง และ นางแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง O-Negative (รัก-ออกแบบไม่ได้)ประวัติ ประวัติ. มนัสวีร์ กฤตตานุกูล (มักเขียนผิดเป็น มนัสวี กฤตานุกูลย์) ชื่อเล่น หลิว เกิดเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย เข้าสู่วงการบันเทิงเมื่อพ.ศ. 2537 จากการเป็นแดนเซอร์ให้กับนักร้องชื่อดัง หลายท่าน อาทิ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์, นัท มีเรีย, ทาทา ยัง เป็นต้น การศึกษา ระดับอนุบาล-ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย ที่จังหวัดเชียงใหม่ ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระดับปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลิว เริ่มมีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง "O-Negative (รัก-ออกแบบไม่ได้)" และยังได้เข้าชิงรางวัลสุพรรณหงส์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมอีกด้วย หลังจากนั้นก็มีงานในวงการบันเทิงมากมาย ไม่ว่าจะเป็น เดินแบบ ถ่ายแฟชั่น และแสดงละครโทรทัศน์ ด้านชีวิตส่วนตัว สมรส กับนักแสดงหนุ่ม โจ๊ก (อัครินทร์ อัครนิธิเมธรัฐ) และได้แยกทางกัน มีลูกสาว 1 คน ชื่อแฟรี่ ปัจจุบันหลิวกลายเป็นซิงเกิลมัมคนเก่งที่ผันมาทำงานเบื้องหลังเต็มตัวผลงานละครโทรทัศน์ /ซิตคอมผลงาน. ละครโทรทัศน์ /ซิตคอม. 1. พ.ศ. 2543 น้ำใสใจจริง รับบทเป็น แคทรียา (รุ้ง) 2. พ.ศ. 2543 "ผยอง (ละครโทรทัศน์)" 3. พ.ศ. 2543 "กำแพงรัก" 4. พ.ศ. 2544 "พี่เลี้ยงกึ่งสำเร็จรูป" 5. พ.ศ. 2545 "เส้นไหมสีเงิน" 6. พ.ศ. 2545 "จารชนยอดรัก" รับบทเป็น ศศิ 7. พ.ศ. 2545 "แก้ว" 8. พ.ศ. 2545 "สะใภ้จ้าว" 9. พ.ศ. 2546 "รักห้ามโปรโมท" 10. พ.ศ. 2546 "พระจันทร์แสนกล" 11. พ.ศ. 2546 "วิมานดิน" 12. พ.ศ. 2547 "เรือนไม้สีเบจ" รับบทเป็น เข็ม 13. พ.ศ. 2547 "เสน่ห์จันทร์" 14. พ.ศ. 2547 "เทพบุตรในฝัน" รับบทเป็น กอบกุล 15. พ.ศ. 2547 "บางรักซอย 9" รับเชิญในตอน ฝ่ายขายคนใหม่ 16. พ.ศ. 2548 "ปิ๊ง" รับบทเป็น หลิว 17. พ.ศ. 2548 "สะใภ้กาฝาก" รับบทเป็น 18. พ.ศ. 2550 "เหตุเกิดในครอบครัว" (รับเชิญ) 19. พ.ศ. 2555 "วุ่นวายสบายดี" 20. พ.ศ. 2555 "มณีแดนสรวง" 21. พ.ศ. 2560 "Make It Right the Series รักออกเดิน 2" รับบทเป็น แม่ของธี 22. พ.ศ. 2560 Memory ความทรงจำที่ไม่อาจลืม ตอน กาญจน์เดินทางภาพยนตร์มิวสิควีดีโอมิวสิควีดีโอ. - เพลง ชาวนากับงูเห่า ของวง ฟลาย - เพลง พูดเล่นเล่น ของ ธงไชย แมคอินไตย์เพลงที่มนัสวีร์มีส่วนร่วมในการเป็นแดนเซอร์เพลงที่มนัสวีร์มีส่วนร่วมในการเป็นแดนเซอร์. - อุปสรรค ของ แอม เสาวลักษณ์ - อย่าทำ อย่าทำ ของ นัท มีเรีย - รักกันเลย ของ มอส ปฏิภาณ - ด้วยรักจากใจ ของ นัท มีเรีย - Na na ใช่เธอทุกอย่าง ของ นัท มีเรีย - ซ่อมซะให้เข็ด ของ เบิร์ด ธงไชย - ด้วยรักและปลาทู ของ มอส ปฏิภาณ - พูดอีกที ของ คริสติน่า อากีล่าร์ - ว่างเมื่อไหร่มาอีกนะ ของ นัท มีเรีย - ปราศจากน้ำตาล ของ นัท มีเรีย - ไม่ยากหรอก ของ คริสติน่า อากีล่าร์ - แมลง ของ ทาทา ยัง - อย่ามองตรงนั้น ของ คริสติน่า อากีล่าร์ - พรหมลิขิต ของ นาวิน ต้าร์ - รักมากเลย ของ ตอง ภัครมัย
| มนัสวีร์ กฤตตานุกูล เริ่มมีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่องอะไร | {
"answer": [
"O-Negative (รัก-ออกแบบไม่ได้)"
],
"answer_begin_position": [
796
],
"answer_end_position": [
825
]
} |
745 | 53,185 | ประเทศรวันดา รวันดา (กิญญาร์วันดา, อังกฤษ และ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐรวันดา (กิญญาร์วันดา: ; ; ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลแต่อยู่ติดกับทะเลสาบเกรตเลกส์ (Great Lakes) ทางตะวันออกของประเทศ รวันดาเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่อยู่ทางระหว่างตอนกลางและตะวันออกของทวีปแอฟริกา มีประชากรร่วม ๆ 8 ล้านคน รวันดามีอาณาเขตติดต่อกับยูกันดาทางตอนเหนือ บุรุนดีทางตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกทางตะวันตกเฉียงเหนือมาจนถึงตะวันตก และแทนซาเนียที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ไล่ขึ้นมาถึงทางตะวันออก รวันดามีลักษณะทางภูมิประเทศที่เป็นเนินเขาที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้ได้สมญานามจากเบลเยียม เจ้าอาณานิคมเก่าว่าเป็น ดินแดนแห่งเขาพันลูก (Pays des Mille Collines เป็นภาษาฝรั่งเศส หรือ Igihugu cy'Imisozi Igihumbi เป็นภาษากิญญาร์วันดา) รวันดายังถือเป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในแอฟริกาส่วนภูมิภาค (ไม่นับเกาะเล็ก ๆ) เหตุการณ์ที่โด่งดังที่สุดของประเทศรวันดาในระดับสากลคือเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวทุตซีในปี พ.ศ. 2537 (1994) ซึ่งส่งผลให้ประชากรเกือบล้านคนต้องเสียชีวิตไป เศรษฐกิจของรวันดาล้วนมาจากการเกษตรกรรม แต่เกือบทั้งหมดเป็นเกษตรกรรมเพื่อการเลี้ยงชีพ มิใช่เพื่อการค้า ในปัจจุบันที่ความหนาแน่นและจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่คุณภาพดินที่เสื่อมลงและสภาพอากาศที่ไม่แน่นอนทำให้รวันดาเป็นประเทศที่มีปัญหาร้ายแรงด้านการขาดสารอาหารของประชาชนที่เป็นไปอย่างกว้างขวาง รวมถึงประสบกับปัญหาความยากจนอย่างต่อเนื่อง
| ประเทศรวันดาได้รับสมญานามจากประเทศเบลเยียมซึ่งเป็นเจ้าอาณานิคมเก่าว่าอะไร | {
"answer": [
"ดินแดนแห่งเขาพันลูก"
],
"answer_begin_position": [
670
],
"answer_end_position": [
689
]
} |
746 | 53,185 | ประเทศรวันดา รวันดา (กิญญาร์วันดา, อังกฤษ และ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐรวันดา (กิญญาร์วันดา: ; ; ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลแต่อยู่ติดกับทะเลสาบเกรตเลกส์ (Great Lakes) ทางตะวันออกของประเทศ รวันดาเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่อยู่ทางระหว่างตอนกลางและตะวันออกของทวีปแอฟริกา มีประชากรร่วม ๆ 8 ล้านคน รวันดามีอาณาเขตติดต่อกับยูกันดาทางตอนเหนือ บุรุนดีทางตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกทางตะวันตกเฉียงเหนือมาจนถึงตะวันตก และแทนซาเนียที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ไล่ขึ้นมาถึงทางตะวันออก รวันดามีลักษณะทางภูมิประเทศที่เป็นเนินเขาที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้ได้สมญานามจากเบลเยียม เจ้าอาณานิคมเก่าว่าเป็น ดินแดนแห่งเขาพันลูก (Pays des Mille Collines เป็นภาษาฝรั่งเศส หรือ Igihugu cy'Imisozi Igihumbi เป็นภาษากิญญาร์วันดา) รวันดายังถือเป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในแอฟริกาส่วนภูมิภาค (ไม่นับเกาะเล็ก ๆ) เหตุการณ์ที่โด่งดังที่สุดของประเทศรวันดาในระดับสากลคือเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวทุตซีในปี พ.ศ. 2537 (1994) ซึ่งส่งผลให้ประชากรเกือบล้านคนต้องเสียชีวิตไป เศรษฐกิจของรวันดาล้วนมาจากการเกษตรกรรม แต่เกือบทั้งหมดเป็นเกษตรกรรมเพื่อการเลี้ยงชีพ มิใช่เพื่อการค้า ในปัจจุบันที่ความหนาแน่นและจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่คุณภาพดินที่เสื่อมลงและสภาพอากาศที่ไม่แน่นอนทำให้รวันดาเป็นประเทศที่มีปัญหาร้ายแรงด้านการขาดสารอาหารของประชาชนที่เป็นไปอย่างกว้างขวาง รวมถึงประสบกับปัญหาความยากจนอย่างต่อเนื่อง
| เหตุการณ์ที่โด่งดังระดับสากลของประเทศรวันดาในปี พ.ศ. 2537 คือเหตุการณ์ไหน | {
"answer": [
"เหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวทุตซี"
],
"answer_begin_position": [
928
],
"answer_end_position": [
962
]
} |
2,999 | 53,185 | ประเทศรวันดา รวันดา (กิญญาร์วันดา, อังกฤษ และ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐรวันดา (กิญญาร์วันดา: ; ; ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลแต่อยู่ติดกับทะเลสาบเกรตเลกส์ (Great Lakes) ทางตะวันออกของประเทศ รวันดาเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่อยู่ทางระหว่างตอนกลางและตะวันออกของทวีปแอฟริกา มีประชากรร่วม ๆ 8 ล้านคน รวันดามีอาณาเขตติดต่อกับยูกันดาทางตอนเหนือ บุรุนดีทางตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกทางตะวันตกเฉียงเหนือมาจนถึงตะวันตก และแทนซาเนียที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ไล่ขึ้นมาถึงทางตะวันออก รวันดามีลักษณะทางภูมิประเทศที่เป็นเนินเขาที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้ได้สมญานามจากเบลเยียม เจ้าอาณานิคมเก่าว่าเป็น ดินแดนแห่งเขาพันลูก (Pays des Mille Collines เป็นภาษาฝรั่งเศส หรือ Igihugu cy'Imisozi Igihumbi เป็นภาษากิญญาร์วันดา) รวันดายังถือเป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในแอฟริกาส่วนภูมิภาค (ไม่นับเกาะเล็ก ๆ) เหตุการณ์ที่โด่งดังที่สุดของประเทศรวันดาในระดับสากลคือเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวทุตซีในปี พ.ศ. 2537 (1994) ซึ่งส่งผลให้ประชากรเกือบล้านคนต้องเสียชีวิตไป เศรษฐกิจของรวันดาล้วนมาจากการเกษตรกรรม แต่เกือบทั้งหมดเป็นเกษตรกรรมเพื่อการเลี้ยงชีพ มิใช่เพื่อการค้า ในปัจจุบันที่ความหนาแน่นและจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่คุณภาพดินที่เสื่อมลงและสภาพอากาศที่ไม่แน่นอนทำให้รวันดาเป็นประเทศที่มีปัญหาร้ายแรงด้านการขาดสารอาหารของประชาชนที่เป็นไปอย่างกว้างขวาง รวมถึงประสบกับปัญหาความยากจนอย่างต่อเนื่อง
| ประเทศรวันดาตั้งอยู่ในทวีปใด | {
"answer": [
"แอฟริกา"
],
"answer_begin_position": [
348
],
"answer_end_position": [
355
]
} |
3,000 | 53,185 | ประเทศรวันดา รวันดา (กิญญาร์วันดา, อังกฤษ และ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐรวันดา (กิญญาร์วันดา: ; ; ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลแต่อยู่ติดกับทะเลสาบเกรตเลกส์ (Great Lakes) ทางตะวันออกของประเทศ รวันดาเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่อยู่ทางระหว่างตอนกลางและตะวันออกของทวีปแอฟริกา มีประชากรร่วม ๆ 8 ล้านคน รวันดามีอาณาเขตติดต่อกับยูกันดาทางตอนเหนือ บุรุนดีทางตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกทางตะวันตกเฉียงเหนือมาจนถึงตะวันตก และแทนซาเนียที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ไล่ขึ้นมาถึงทางตะวันออก รวันดามีลักษณะทางภูมิประเทศที่เป็นเนินเขาที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้ได้สมญานามจากเบลเยียม เจ้าอาณานิคมเก่าว่าเป็น ดินแดนแห่งเขาพันลูก (Pays des Mille Collines เป็นภาษาฝรั่งเศส หรือ Igihugu cy'Imisozi Igihumbi เป็นภาษากิญญาร์วันดา) รวันดายังถือเป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในแอฟริกาส่วนภูมิภาค (ไม่นับเกาะเล็ก ๆ) เหตุการณ์ที่โด่งดังที่สุดของประเทศรวันดาในระดับสากลคือเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวทุตซีในปี พ.ศ. 2537 (1994) ซึ่งส่งผลให้ประชากรเกือบล้านคนต้องเสียชีวิตไป เศรษฐกิจของรวันดาล้วนมาจากการเกษตรกรรม แต่เกือบทั้งหมดเป็นเกษตรกรรมเพื่อการเลี้ยงชีพ มิใช่เพื่อการค้า ในปัจจุบันที่ความหนาแน่นและจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่คุณภาพดินที่เสื่อมลงและสภาพอากาศที่ไม่แน่นอนทำให้รวันดาเป็นประเทศที่มีปัญหาร้ายแรงด้านการขาดสารอาหารของประชาชนที่เป็นไปอย่างกว้างขวาง รวมถึงประสบกับปัญหาความยากจนอย่างต่อเนื่อง
| เจ้าอาณานิคมเก่าของประเทศรวันดาคือประเทศใด | {
"answer": [
"เบลเยียม"
],
"answer_begin_position": [
637
],
"answer_end_position": [
645
]
} |
747 | 858,293 | พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดุษฎี พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดุษฎี (พ.ศ. 2335 — 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2406) พระราชธิดาพระองค์ที่ 28 ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเสมพระประวัติ พระประวัติ. พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดุษฎี ประสูติเมื่อพ.ศ. 2335 เป็นพระธิดาในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเสม ธิดาพระพิทักษ์ราชสถาน เจ้ากรมวังในพระราชวังบวรสถานมงคล ภายหลังการสวรรคตของสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท พระองค์เจ้าดุษฎีเป็นเจ้านายฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล 1 ใน 3 พระองค์ที่ได้รับพระราชทานเงินเดือน อีกสองพระองค์คือสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าพิกุลทอง กรมขุนศรีสุนทรและพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอสุนี กรมหมื่นเสนีเทพ ซึ่งแตกกต่างจากรพะองค์เจ้าพระองค์อื่น ๆ ที่จะทรงพระราชทานเฉพาะเบี้ยหวัดเท่านั้น ดังปรากฎในชุมนุมพระบรมราชาธิบายในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องการพระราชทานเบี้ยหวัดว่า "...ต่อมาภายหลังเมื่อกรมพระราชวังไม่มีแล้ว เจ้านายในพระบวรราชวังจึงมีบัญชีเบี้ยหวัดองค์ละ ๒ ชั่งขึ้นไป ๑๐ ชั่งลงมา ตามใหญ่ตามน้อย แต่เงินเดือนมีเจ้าฟ้าพิกุลทองที่เป็นกรมขุนศรีสุนทร และกรมหมื่นเสนีเทพ และพระองค์เจ้าดุษฎีเท่านั้น..." พระองค์เจ้าดุษฎีสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4 เมื่อวันศุกร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2406 พระชันษา 71 ปีพงศาวลี
| พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดุษฎี ประสูติเมื่อ พ.ศ. ใด | {
"answer": [
"พ.ศ. 2335"
],
"answer_begin_position": [
375
],
"answer_end_position": [
384
]
} |
1,909 | 858,293 | พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดุษฎี พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดุษฎี (พ.ศ. 2335 — 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2406) พระราชธิดาพระองค์ที่ 28 ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเสมพระประวัติ พระประวัติ. พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดุษฎี ประสูติเมื่อพ.ศ. 2335 เป็นพระธิดาในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเสม ธิดาพระพิทักษ์ราชสถาน เจ้ากรมวังในพระราชวังบวรสถานมงคล ภายหลังการสวรรคตของสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท พระองค์เจ้าดุษฎีเป็นเจ้านายฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล 1 ใน 3 พระองค์ที่ได้รับพระราชทานเงินเดือน อีกสองพระองค์คือสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าพิกุลทอง กรมขุนศรีสุนทรและพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอสุนี กรมหมื่นเสนีเทพ ซึ่งแตกกต่างจากรพะองค์เจ้าพระองค์อื่น ๆ ที่จะทรงพระราชทานเฉพาะเบี้ยหวัดเท่านั้น ดังปรากฎในชุมนุมพระบรมราชาธิบายในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องการพระราชทานเบี้ยหวัดว่า "...ต่อมาภายหลังเมื่อกรมพระราชวังไม่มีแล้ว เจ้านายในพระบวรราชวังจึงมีบัญชีเบี้ยหวัดองค์ละ ๒ ชั่งขึ้นไป ๑๐ ชั่งลงมา ตามใหญ่ตามน้อย แต่เงินเดือนมีเจ้าฟ้าพิกุลทองที่เป็นกรมขุนศรีสุนทร และกรมหมื่นเสนีเทพ และพระองค์เจ้าดุษฎีเท่านั้น..." พระองค์เจ้าดุษฎีสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4 เมื่อวันศุกร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2406 พระชันษา 71 ปีพงศาวลี
| พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดุษฎีสิ้นพระชนม์เมื่อวันอะไร | {
"answer": [
"ศุกร์"
],
"answer_begin_position": [
1240
],
"answer_end_position": [
1245
]
} |
748 | 141,417 | หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี (สกุลเดิม: ไชยันต์; 3 กันยายน พ.ศ. 2476) เป็นพระราชปนัดดาในรัชกาลที่ 4 ทางฝ่ายบิดา และ พระราชปนัดดาในรัชกาลที่ 5 ทางฝ่ายมารดาประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี เป็นบุตรีของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย กับหม่อมเจ้าพัฒน์คณนา กิติยากร รองประธานสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมป์ จบการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย แล้วไปศึกษาต่อด้านภาษาและสังคมศึกษาที่ Ahridge House of Citizenship แคว้นเฮิร์ทฟอร์ดไชร์ และวิชาการละครที่ Royal Academy of Dramatic Art (RADA) กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา สมรสกับวุธจิระ ปกมนตรี มีธิดาคือ อวัสดา ปกมนตรี อดีตผู้ประกาศข่าว ช่อง 9 และกีรดี ปกมนตรี ต่อมาหม่อมราชวงศ์กิติวัฒนาและสามี ได้หย่ากันการทำงาน การทำงาน. หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี เริ่มรับราชการที่โรงเรียนนาฏศิลป์ กรมศิลปากร แล้วลาออกมาทำธุรกิจส่วนตัว และทำงานด้านสังคมสงเคราะห์ ต่อมาในการเลือกตั้ง ส.ส. ปี พ.ศ. 2550 จึงได้เข้ามาทำงานการเมืองโดยการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน เขต 6 กรุงเทพมหานครและปริมณฑล สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน โดยหม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา เป็นกลุ่มที่สนับสนุนพลตำรวจเอกประชา พรหมนอก เป็นนายกรัฐมนตรี ในการลงมติเมื่อปลายปี พ.ศ. 2551 ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีคำตัดสินให้หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา พ้นจากสมาชิกภาพการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เนื่องจากถือครองหุ้นภวายหลังจากที่ กกต.ประกาศรับรองสภาพการเป็น ส.ส. แล้วเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2552 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้น ประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.) - พ.ศ. 2551 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) - พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.)
| หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี มีสกุลเดิมเรียกว่าอะไร | {
"answer": [
"ไชยันต์"
],
"answer_begin_position": [
175
],
"answer_end_position": [
182
]
} |
889 | 141,417 | หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี (สกุลเดิม: ไชยันต์; 3 กันยายน พ.ศ. 2476) เป็นพระราชปนัดดาในรัชกาลที่ 4 ทางฝ่ายบิดา และ พระราชปนัดดาในรัชกาลที่ 5 ทางฝ่ายมารดาประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี เป็นบุตรีของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย กับหม่อมเจ้าพัฒน์คณนา กิติยากร รองประธานสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมป์ จบการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย แล้วไปศึกษาต่อด้านภาษาและสังคมศึกษาที่ Ahridge House of Citizenship แคว้นเฮิร์ทฟอร์ดไชร์ และวิชาการละครที่ Royal Academy of Dramatic Art (RADA) กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา สมรสกับวุธจิระ ปกมนตรี มีธิดาคือ อวัสดา ปกมนตรี อดีตผู้ประกาศข่าว ช่อง 9 และกีรดี ปกมนตรี ต่อมาหม่อมราชวงศ์กิติวัฒนาและสามี ได้หย่ากันการทำงาน การทำงาน. หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี เริ่มรับราชการที่โรงเรียนนาฏศิลป์ กรมศิลปากร แล้วลาออกมาทำธุรกิจส่วนตัว และทำงานด้านสังคมสงเคราะห์ ต่อมาในการเลือกตั้ง ส.ส. ปี พ.ศ. 2550 จึงได้เข้ามาทำงานการเมืองโดยการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน เขต 6 กรุงเทพมหานครและปริมณฑล สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน โดยหม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา เป็นกลุ่มที่สนับสนุนพลตำรวจเอกประชา พรหมนอก เป็นนายกรัฐมนตรี ในการลงมติเมื่อปลายปี พ.ศ. 2551 ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีคำตัดสินให้หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา พ้นจากสมาชิกภาพการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เนื่องจากถือครองหุ้นภวายหลังจากที่ กกต.ประกาศรับรองสภาพการเป็น ส.ส. แล้วเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2552 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้น ประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.) - พ.ศ. 2551 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) - พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.)
| หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี เป็นบุตรีของพระวรวงศ์เธอพระองค์ใด | {
"answer": [
"พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย"
],
"answer_begin_position": [
348
],
"answer_end_position": [
381
]
} |
890 | 141,417 | หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี (สกุลเดิม: ไชยันต์; 3 กันยายน พ.ศ. 2476) เป็นพระราชปนัดดาในรัชกาลที่ 4 ทางฝ่ายบิดา และ พระราชปนัดดาในรัชกาลที่ 5 ทางฝ่ายมารดาประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี เป็นบุตรีของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย กับหม่อมเจ้าพัฒน์คณนา กิติยากร รองประธานสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมป์ จบการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย แล้วไปศึกษาต่อด้านภาษาและสังคมศึกษาที่ Ahridge House of Citizenship แคว้นเฮิร์ทฟอร์ดไชร์ และวิชาการละครที่ Royal Academy of Dramatic Art (RADA) กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา สมรสกับวุธจิระ ปกมนตรี มีธิดาคือ อวัสดา ปกมนตรี อดีตผู้ประกาศข่าว ช่อง 9 และกีรดี ปกมนตรี ต่อมาหม่อมราชวงศ์กิติวัฒนาและสามี ได้หย่ากันการทำงาน การทำงาน. หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี เริ่มรับราชการที่โรงเรียนนาฏศิลป์ กรมศิลปากร แล้วลาออกมาทำธุรกิจส่วนตัว และทำงานด้านสังคมสงเคราะห์ ต่อมาในการเลือกตั้ง ส.ส. ปี พ.ศ. 2550 จึงได้เข้ามาทำงานการเมืองโดยการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน เขต 6 กรุงเทพมหานครและปริมณฑล สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน โดยหม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา เป็นกลุ่มที่สนับสนุนพลตำรวจเอกประชา พรหมนอก เป็นนายกรัฐมนตรี ในการลงมติเมื่อปลายปี พ.ศ. 2551 ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีคำตัดสินให้หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา พ้นจากสมาชิกภาพการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เนื่องจากถือครองหุ้นภวายหลังจากที่ กกต.ประกาศรับรองสภาพการเป็น ส.ส. แล้วเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2552 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้น ประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.) - พ.ศ. 2551 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) - พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.)
| หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี สมรสกับผู้ใด | {
"answer": [
"วุธจิระ ปกมนตรี"
],
"answer_begin_position": [
754
],
"answer_end_position": [
769
]
} |
1,780 | 141,417 | หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี (สกุลเดิม: ไชยันต์; 3 กันยายน พ.ศ. 2476) เป็นพระราชปนัดดาในรัชกาลที่ 4 ทางฝ่ายบิดา และ พระราชปนัดดาในรัชกาลที่ 5 ทางฝ่ายมารดาประวัติ ประวัติ. หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี เป็นบุตรีของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย กับหม่อมเจ้าพัฒน์คณนา กิติยากร รองประธานสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมป์ จบการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย แล้วไปศึกษาต่อด้านภาษาและสังคมศึกษาที่ Ahridge House of Citizenship แคว้นเฮิร์ทฟอร์ดไชร์ และวิชาการละครที่ Royal Academy of Dramatic Art (RADA) กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา สมรสกับวุธจิระ ปกมนตรี มีธิดาคือ อวัสดา ปกมนตรี อดีตผู้ประกาศข่าว ช่อง 9 และกีรดี ปกมนตรี ต่อมาหม่อมราชวงศ์กิติวัฒนาและสามี ได้หย่ากันการทำงาน การทำงาน. หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี เริ่มรับราชการที่โรงเรียนนาฏศิลป์ กรมศิลปากร แล้วลาออกมาทำธุรกิจส่วนตัว และทำงานด้านสังคมสงเคราะห์ ต่อมาในการเลือกตั้ง ส.ส. ปี พ.ศ. 2550 จึงได้เข้ามาทำงานการเมืองโดยการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน เขต 6 กรุงเทพมหานครและปริมณฑล สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน โดยหม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา เป็นกลุ่มที่สนับสนุนพลตำรวจเอกประชา พรหมนอก เป็นนายกรัฐมนตรี ในการลงมติเมื่อปลายปี พ.ศ. 2551 ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ศาลรัฐธรรมนูญ ได้มีคำตัดสินให้หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา พ้นจากสมาชิกภาพการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เนื่องจากถือครองหุ้นภวายหลังจากที่ กกต.ประกาศรับรองสภาพการเป็น ส.ส. แล้วเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2552 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้น ประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.) - พ.ศ. 2551 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้น ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) - พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.)
| พระบิดาของหม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย"
],
"answer_begin_position": [
348
],
"answer_end_position": [
381
]
} |
749 | 795,607 | ยูเลน โลเปเตกี ยูเลน โลเปเตกี อาร์โกเต (; เกิด 28 สิงหาคม ค.ศ. 1966) เป็นอดีตนักฟุตบอลอาชีพชาวสเปนซึ่งเล่นในตำแหน่งผู้รักษาประตู ปัจจุบันทำเป็นผู้จัดการทีมเรอัลมาดริด โลเปเตกีเล่นในลาลีกาในฐานะผู้เล่นรวม 149 นัด ตลอด 11 ฤดูกาล โดยลงเล่นให้กับเรอัลมาดริด, โลกรอญเญส, บาร์เซโลนา และราโยบาเยกาโน นอกจากนี้ยังลงเล่นอีก 168 นัดให้กับสโมสร 3 สโมสรในเซกุนดาดีบีซีออน และได้เป็นตัวแทนของสเปนในการแข่งขันฟุตบอลโลก 1994 ด้วย โลเปเตกีเริ่มทำหน้าที่ผู้จัดการทีมเมื่อปี ค.ศ. 2003 และดูแลทีมชาติสเปนชุดเยาวชนในรุ่นอายุต่าง ๆ อยู่เป็นเวลาหลายปี เคยพาทีมชาติสเปนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี และรุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี ได้แชมป์ในระดับทวีปยุโรปมาแล้ว โลเปเตกีถูกปลดออกจากตำแหน่งผู้จัดการทีมชาติสเปนชุดใหญ่ก่อนการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 ที่รัสเซีย จะเริ่มขึ้นเพียง 2 วันเท่านั้น หลังจากที่เขามีข่าวรับตำแหน่งผู้จัดการทีมเรอัลมาดริดหลังจบการแข่งขันไปเพียงวันเดียว และทางราชสหพันธ์ฟุตบอลสเปนได้แต่งตั้งเฟร์นันโด อิเอร์โร อดีตผู้เล่นกองหลังกัปตันทีมเรอัลมาดริดรับตำแหน่งนี้แทน
| ยูเลน โลเปเตกีเริ่มทำหน้าที่ผู้จัดการทีมฟุตบอลในทีมชาติสเปน เมื่อ ค.ศ. ใด | {
"answer": [
"ปี ค.ศ. 2003"
],
"answer_begin_position": [
543
],
"answer_end_position": [
555
]
} |
1,903 | 795,607 | ยูเลน โลเปเตกี ยูเลน โลเปเตกี อาร์โกเต (; เกิด 28 สิงหาคม ค.ศ. 1966) เป็นอดีตนักฟุตบอลอาชีพชาวสเปนซึ่งเล่นในตำแหน่งผู้รักษาประตู ปัจจุบันทำเป็นผู้จัดการทีมเรอัลมาดริด โลเปเตกีเล่นในลาลีกาในฐานะผู้เล่นรวม 149 นัด ตลอด 11 ฤดูกาล โดยลงเล่นให้กับเรอัลมาดริด, โลกรอญเญส, บาร์เซโลนา และราโยบาเยกาโน นอกจากนี้ยังลงเล่นอีก 168 นัดให้กับสโมสร 3 สโมสรในเซกุนดาดีบีซีออน และได้เป็นตัวแทนของสเปนในการแข่งขันฟุตบอลโลก 1994 ด้วย โลเปเตกีเริ่มทำหน้าที่ผู้จัดการทีมเมื่อปี ค.ศ. 2003 และดูแลทีมชาติสเปนชุดเยาวชนในรุ่นอายุต่าง ๆ อยู่เป็นเวลาหลายปี เคยพาทีมชาติสเปนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี และรุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี ได้แชมป์ในระดับทวีปยุโรปมาแล้ว โลเปเตกีถูกปลดออกจากตำแหน่งผู้จัดการทีมชาติสเปนชุดใหญ่ก่อนการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 ที่รัสเซีย จะเริ่มขึ้นเพียง 2 วันเท่านั้น หลังจากที่เขามีข่าวรับตำแหน่งผู้จัดการทีมเรอัลมาดริดหลังจบการแข่งขันไปเพียงวันเดียว และทางราชสหพันธ์ฟุตบอลสเปนได้แต่งตั้งเฟร์นันโด อิเอร์โร อดีตผู้เล่นกองหลังกัปตันทีมเรอัลมาดริดรับตำแหน่งนี้แทน
| ยูเลน โลเปเตกี นักฟุตบอลชาวสเปน เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"28"
],
"answer_begin_position": [
136
],
"answer_end_position": [
138
]
} |
750 | 80,813 | พระยาขัติยะ เจ้าหลวงขัติยะ () (เจ้าคันธิยะ ณ ลำปาง) เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 7 ครองราชย์ในปี พ.ศ. 2380 แต่ครองราชย์ได้เพียง 6 เดือน ก็เสด็จถึงแก่พิราลัยพระประวัติ พระประวัติ. เจ้าคันธิยะ หรือเจ้าหลวงขัติยะ ทรงเป็นราชบุตร องค์ที่ 2 ของพระเจ้าคำโสม เป็นพระอนุชาในเจ้าหลวงไชยวงศ์ เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 6 เมื่อพระยาไชยวงศ์ ถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2380 พระยาอุปราชขัติยะ ได้เดินทางลงไปเฝ้าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งให้เป็นพระยานครลำปาง ครั้นพระยาขัติยะ กราบถวายบังคมลงเดินทางกลับมายังนครลำปางได้เพียง 6 เดือน ก็ป่วยถึงแก่พิราลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระยาสุเรนทร์ราชเสนา เป็นผู้แทนมาพระราชทานเพลิงศพราชตระกูล
| เจ้าหลวงขัติยะหรือเจ้าคันธิยะ ณ ลำปาง ทรงเป็นราชบุตรองค์ที่ 2 ของผู้ใด | {
"answer": [
"พระเจ้าคำโสม"
],
"answer_begin_position": [
321
],
"answer_end_position": [
333
]
} |
751 | 80,813 | พระยาขัติยะ เจ้าหลวงขัติยะ () (เจ้าคันธิยะ ณ ลำปาง) เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 7 ครองราชย์ในปี พ.ศ. 2380 แต่ครองราชย์ได้เพียง 6 เดือน ก็เสด็จถึงแก่พิราลัยพระประวัติ พระประวัติ. เจ้าคันธิยะ หรือเจ้าหลวงขัติยะ ทรงเป็นราชบุตร องค์ที่ 2 ของพระเจ้าคำโสม เป็นพระอนุชาในเจ้าหลวงไชยวงศ์ เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 6 เมื่อพระยาไชยวงศ์ ถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2380 พระยาอุปราชขัติยะ ได้เดินทางลงไปเฝ้าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งให้เป็นพระยานครลำปาง ครั้นพระยาขัติยะ กราบถวายบังคมลงเดินทางกลับมายังนครลำปางได้เพียง 6 เดือน ก็ป่วยถึงแก่พิราลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระยาสุเรนทร์ราชเสนา เป็นผู้แทนมาพระราชทานเพลิงศพราชตระกูล
| เจ้าคันธิยะ ณ ลำปาง หรือเจ้าหลวงขัติยะ เป็นเจ้าผู้ครองนครอะไร | {
"answer": [
"นครลำปาง"
],
"answer_begin_position": [
147
],
"answer_end_position": [
155
]
} |
752 | 532,685 | พระยาคำตัน เจ้าหลวงคำตัน หรือ พระยาคำตัน เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 4 พระองค์ปกครองลำพูนในระหว่างปี พ.ศ. 2381 - พ.ศ. 2384 รวมระยะเวลาการปกครองทั้งหมด 3 ปีพระราชประวัติ พระราชประวัติ. เจ้าหลวงคำตัน เป็นพระโอรสในพระเจ้าบุญมาเมืองเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 2 กับแม่เจ้าจันทาราชเทวี เมื่อเจ้าหลวงน้อยอินทร์ถึงแก่พิราลัย จึงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้เจ้าหลวงคำตัน ขึ้นเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน เมื่อพระองค์ถึงแก่พิราลัยในปีพ.ศ. 2384 เจ้าหลวงธรรมลังกาพระอนุชาของพระองค์ จึงได้เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนแทนพระองค์ลำดับสาแหรก
| พระยาคำตัน เจ้าผู้ครองนครอะไร | {
"answer": [
"นครลำพูน"
],
"answer_begin_position": [
137
],
"answer_end_position": [
145
]
} |
1,874 | 532,685 | พระยาคำตัน เจ้าหลวงคำตัน หรือ พระยาคำตัน เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 4 พระองค์ปกครองลำพูนในระหว่างปี พ.ศ. 2381 - พ.ศ. 2384 รวมระยะเวลาการปกครองทั้งหมด 3 ปีพระราชประวัติ พระราชประวัติ. เจ้าหลวงคำตัน เป็นพระโอรสในพระเจ้าบุญมาเมืองเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 2 กับแม่เจ้าจันทาราชเทวี เมื่อเจ้าหลวงน้อยอินทร์ถึงแก่พิราลัย จึงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้เจ้าหลวงคำตัน ขึ้นเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน เมื่อพระองค์ถึงแก่พิราลัยในปีพ.ศ. 2384 เจ้าหลวงธรรมลังกาพระอนุชาของพระองค์ จึงได้เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนแทนพระองค์ลำดับสาแหรก
| พระบิดาของเจ้าหลวงคำตัน คือผู้ใด | {
"answer": [
"พระเจ้าบุญมาเมืองเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 2"
],
"answer_begin_position": [
295
],
"answer_end_position": [
340
]
} |
753 | 490,705 | พระยากำแพงเพชร (นุช) พระยากำแพงเพชร (นุช) เจ้าเมืองกำแพงเพชร ภริยาชื่อท่านผู้หญิงชี (ชื่อจริงเรียก "กาว") ราชธิดาเจ้าผู้ครองนครเชียงราย ภายหลังได้ไปราชการทัพหลายครั้ง มีความดีความชอบพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้พระราชทาน ดาบด้ามทองฝักทองคำเป็นบำเหน็จ (ปัจจุบันประดับไว้ที่ศาลากลางจังหวัดกำแพงเพชร) และยังได้รับพระราชทานตำแหน่งให้เป็นผู้สำเร็จราชการเมืองกำแพงเพชร ปรากฏราชทินนามว่า "พระยารามรณรงค์ สงครามรามภักดี อภัยพิรยบราภาหุ" ถือศักดินา 10000 (นาหมื่นที่รั้งหัวเมืองชั้นโท) และเป็นต้นสกุล "นุชนิยม"ประวัติ ประวัติ. พระยากำแพงเพชร (นุช) เดิมรับราชการอยู่ที่กรุงเทพ ฯ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มีภริยาชื่อท่านผู้หญิงชี (ชื่อจริงเรียก "กาว") ราชธิดาเจ้าผู้ครองนครเชียงราย พระยากำแพงเพชร (นุช) เป็นญาติกับสมเด็จพระพุฒาจารย์ หรือสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี (ท่านเจ้าโต) พระยากำแพงเพชร (นุช) ร่วมราชการทัพหลายครั้งจนมีความดีความชอบจนได้รับพระราชทาน ดาบด้ามทองฝักทองคำเป็นบำเหน็จ และได้รับพระราชทานตำแหน่งเจ้าเมืองกำแพงเพชร พระยากำแพงเพชร (นุช) กับท่านผู้หญิงชี (กาว) มีบุตร-ธิดา 3 คน ดังนี้สาย นามสกุลพระราชทาน สาย นามสกุลพระราชทาน. รามสูต เป็นสกุลพระราชทาน ลำดับที่ 0693 พระราชทานให้แก่ขุนวรพัศดุ์บรรหาร (เลี่ยน) กรมศุลการกร กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ บิดา ปู่และทวด เป็นพระยารามรณรงค์สงครามฯ บิดาคือพระยารามฯ (อ้น) ปู่คือพระยารามฯ (เกิด) ทวดคือพระยารามฯ (นาค) เขียนเป็นอักษรโรมันว่า "Ra^masuta" อินทรสูต เป็นสกุลพระราชทาน ลำดับที่ 0724 พระราชทานให้แก่พระยารามณรงค์สงคราม (หรุ่น) นอกราชการ (เดิมเป็นเจ้าเมืองกำแพงเพชร) กับนายพันตรี หลวงราชขัณฑ์บริรักษ์ (โต๊ะ) สัสดีมณฑลกรุงเทพฯ กระทรวงกลาโหม สืบสกุลลงมาจากพระยาสุรบดินทร์สุรินทรฦาไชย อภัยพิริยพาห (ทองอิน) ผู้สำเร็จราชการเมืองไชยนาท เขียนเป็นอักษรโรมันว่า "Indrasuta" รามบุตร เป็นสกุลพระราชทาน ลำดับที่ 1167 พระราชทานให้แก่พระประสาธน์วิริยกิจ (เรียม) ข้าหลวงประจำนครลำภูน ทวดเป็นพระยารามรณรงค์สงคราม (นุช) ผู้ว่าราชการเมืองกำแพงเพชร เขียนเป็นอักษรโรมันว่า "Ra^maputra" นุชนิยม เป็นสกุลพระราชทาน ลำดับที่ 4787 พระราชทานให้แก่พระกำแหงสงคราม (ฤกษ์ นุชนิยม) บิดาชื่อพระกำแหงสงคราม (เหลี่ยม) ทวดชื่อพระยากำแพงเพชร (นุช) เจ้าเมืองกำแพงเพชร เขียนเป็นอักษรโรมันว่า "Nujaniyama"
| พระยากำแพงเพชร หรือ นุช เจ้าเมืองกำแพงเพชร ภริยาชื่ออะไร | {
"answer": [
"ท่านผู้หญิงชี"
],
"answer_begin_position": [
165
],
"answer_end_position": [
178
]
} |
754 | 490,705 | พระยากำแพงเพชร (นุช) พระยากำแพงเพชร (นุช) เจ้าเมืองกำแพงเพชร ภริยาชื่อท่านผู้หญิงชี (ชื่อจริงเรียก "กาว") ราชธิดาเจ้าผู้ครองนครเชียงราย ภายหลังได้ไปราชการทัพหลายครั้ง มีความดีความชอบพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้พระราชทาน ดาบด้ามทองฝักทองคำเป็นบำเหน็จ (ปัจจุบันประดับไว้ที่ศาลากลางจังหวัดกำแพงเพชร) และยังได้รับพระราชทานตำแหน่งให้เป็นผู้สำเร็จราชการเมืองกำแพงเพชร ปรากฏราชทินนามว่า "พระยารามรณรงค์ สงครามรามภักดี อภัยพิรยบราภาหุ" ถือศักดินา 10000 (นาหมื่นที่รั้งหัวเมืองชั้นโท) และเป็นต้นสกุล "นุชนิยม"ประวัติ ประวัติ. พระยากำแพงเพชร (นุช) เดิมรับราชการอยู่ที่กรุงเทพ ฯ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มีภริยาชื่อท่านผู้หญิงชี (ชื่อจริงเรียก "กาว") ราชธิดาเจ้าผู้ครองนครเชียงราย พระยากำแพงเพชร (นุช) เป็นญาติกับสมเด็จพระพุฒาจารย์ หรือสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี (ท่านเจ้าโต) พระยากำแพงเพชร (นุช) ร่วมราชการทัพหลายครั้งจนมีความดีความชอบจนได้รับพระราชทาน ดาบด้ามทองฝักทองคำเป็นบำเหน็จ และได้รับพระราชทานตำแหน่งเจ้าเมืองกำแพงเพชร พระยากำแพงเพชร (นุช) กับท่านผู้หญิงชี (กาว) มีบุตร-ธิดา 3 คน ดังนี้สาย นามสกุลพระราชทาน สาย นามสกุลพระราชทาน. รามสูต เป็นสกุลพระราชทาน ลำดับที่ 0693 พระราชทานให้แก่ขุนวรพัศดุ์บรรหาร (เลี่ยน) กรมศุลการกร กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ บิดา ปู่และทวด เป็นพระยารามรณรงค์สงครามฯ บิดาคือพระยารามฯ (อ้น) ปู่คือพระยารามฯ (เกิด) ทวดคือพระยารามฯ (นาค) เขียนเป็นอักษรโรมันว่า "Ra^masuta" อินทรสูต เป็นสกุลพระราชทาน ลำดับที่ 0724 พระราชทานให้แก่พระยารามณรงค์สงคราม (หรุ่น) นอกราชการ (เดิมเป็นเจ้าเมืองกำแพงเพชร) กับนายพันตรี หลวงราชขัณฑ์บริรักษ์ (โต๊ะ) สัสดีมณฑลกรุงเทพฯ กระทรวงกลาโหม สืบสกุลลงมาจากพระยาสุรบดินทร์สุรินทรฦาไชย อภัยพิริยพาห (ทองอิน) ผู้สำเร็จราชการเมืองไชยนาท เขียนเป็นอักษรโรมันว่า "Indrasuta" รามบุตร เป็นสกุลพระราชทาน ลำดับที่ 1167 พระราชทานให้แก่พระประสาธน์วิริยกิจ (เรียม) ข้าหลวงประจำนครลำภูน ทวดเป็นพระยารามรณรงค์สงคราม (นุช) ผู้ว่าราชการเมืองกำแพงเพชร เขียนเป็นอักษรโรมันว่า "Ra^maputra" นุชนิยม เป็นสกุลพระราชทาน ลำดับที่ 4787 พระราชทานให้แก่พระกำแหงสงคราม (ฤกษ์ นุชนิยม) บิดาชื่อพระกำแหงสงคราม (เหลี่ยม) ทวดชื่อพระยากำแพงเพชร (นุช) เจ้าเมืองกำแพงเพชร เขียนเป็นอักษรโรมันว่า "Nujaniyama"
| พระยากำแพงเพชร เป็นต้นสกุลอะไร | {
"answer": [
"นุชนิยม"
],
"answer_begin_position": [
594
],
"answer_end_position": [
601
]
} |
755 | 5,449 | ประเทศรัสเซีย รัสเซีย (; , ) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (; ) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน พ.ศ. 1531 มีการรับศาสนาคริสต์นิกายออร์โธด็อกซ์จากจักรวรรดิไบแซนไทน์ เริ่มต้นการประสมวัฒนธรรมไบแซนไทน์และสลาฟซึ่งนิยามวัฒนธรรมรัสเซียเป็นเวลาอีกสหัสวรรษหน้า ท้ายที่สุด รุสล่มสลายเป็นรัฐขนาดเล็กหลายรัฐ พื้นที่ส่วนใหญ่ของรุสถูกพิชิตโดยการรุกรานของมองโกล และกลายเป็นรัฐบรรณาการของโกลเดนฮอร์ดเร่ร่อน อาณาจักรแกรนด์ดยุคแห่งมอสโกค่อย ๆ รวมราชรัฐรัสเซียในละแวก ได้รับเอกราชจากโกลเดนฮอร์ด และมาครอบงำมรดกทางวัฒนธรรมและการเมืองของเคียฟรุส จนคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัสเซียได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางผ่านการพิชิตดินแดน การผนวก และการสำรวจเป็นของจักรวรรดิรัสเซีย นับเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดอันดับสามในประวัติศาสตร์ แผ่จากโปแลนด์ในยุโรปจรดอะแลสกาในอเมริกาเหนือ หลังการปฏิวัติรัสเซีย รัสเซียกลายมาเป็นสาธารณรัฐใหญ่ที่สุดและผู้นำในสหภาพโซเวียต เป็นรัฐสังคมนิยมมีรัฐธรรมนูญแห่งแรกของโลกและอภิมหาอำนาจที่ได้การยอมรับ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง สมัยโซเวียตได้ประสบความสำเร็จทางเทคโนโลยีที่สำคัญที่สุดของคริสต์ศตรวรรษที่ 20 รวมทั้งการส่งมนุษย์คนแรกขึ้นสู่อวกาศ สหพันธรัฐรัสเซียก่อตั้งขึ้นหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน พ.ศ. 2534 แต่ได้รับการยอมรับเป็นสภาพบุคคลสืบทอดจากสหภาพโซเวียต รัสเซียมีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดอันดับที่ 11 ของโลกโดยจีดีพีมูลค่าตลาด หรือใหญ่ที่สุดอันดับที่ 6 โดยความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ โดยมีงบประมาณทางทหารมากที่สุดอันดับที่ 5 ของโลก ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจธุรกิจจัดอันดับรัสเซียเป็นเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดอันดับที่ 9 ของโลกใน พ.ศ. 2554 ขึ้นจากอันดับที่ 10 ใน พ.ศ. 2553 รัสเซียเป็นหนึ่งในห้ารัฐอาวุธนิวเคลียร์ที่ได้รับการรับรองและครอบครองคลังแสงอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงใหญ่ที่สุดในโลก รัสเซียเป็นมหาอำนาจและสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ สมาชิกจี 8 จี 20 สภายุโรปและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย องค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป องค์การการค้าโลก และเป็นสมาชิกผู้นำเครือจักรภพรัฐเอกราชภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. ดินแดนอันกว้างใหญ่ของสหพันธรัฐรัสเซียครอบคลุมพื้นที่แถบตะวันออกเฉียงเหนือเหนือของทวีปยูเรเชีย จุดที่ห่างไกลกันที่สุดของรัสเซีย ซึ่งได้แก่ชายแดนที่ติดต่อกับโปแลนด์และหมู่เกาะคูริล มีระยะห่างถึง 8,000 กิโลเมตร ทำให้รัสเซียมีถึง 11 เขตเวลา รัสเซียมีเขตป่าสงวนที่ใหญ่ที่สุดในโลก และถูกเรียกว่าเป็น "ปอดของยุโรป" เพราะปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ดูดซึมนั้นเป็นรองเพียงแค่ป่าดิบชื้นแอมะซอนเท่านั้น รัสเซียมีทางออกสู่มหาสมุทรถึงสามแห่ง ได้แก่มหาสมุทรแอตแลนติก อาร์กติก และแปซิฟิก จึงทำให้รัสเซียเป็นประเทศที่มีบทบาทสำคัญต่ออุปทานของสินค้าประมงในโลก พื้นที่ส่วนใหญ่ของรัสเซียเป็นที่ราบกว้างใหญ่ ทางตอนใต้ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสเตปป์ มีป่าไม้มากทางตอนเหนือ และมีพื้นที่แบบทุนดราตามชายฝั่งทางเหนือ เทือกเขาจะอยู่ตามชายแดนทางใต้ เช่นเทือกเขาคอเคซัส ซึ่งมียอดเขาเอลบรุส ที่มีความสูง 5,642 เมตรและเป็นจุดสูงสุดของรัสเซียและยุโรป หรือเทือกเขาอัลไต และทางตะวันออก เช่นเทือกเขาเวอร์โฮยันสค์ หรือภูเขาไฟในแหลมคัมชัตคา เทือกเขาอูรัลทางตะวันตกวางตัวเหนือใต้และเป็นเขตแดนทางธรรมชาติของทวีปเอเชียและทวีปยุโรป รัสเซียมีชายฝั่งที่ยาวถึง 37,000 กิโลเมตร ตามแนวมหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิก ทะเลบอลติก ทะเลอะซอฟ ทะเลดำ และทะเลแคสเปียน นอกจากนั้น รัสเซียยังมีทางออกสู่ทะเลแบเร็นตส์ ทะเลขาว ทะเลคารา ทะเลลัปเตฟ ทะเลไซบีเรียตะวันออก ทะเลชุกชี ทะเลเบริง ทะเลโอค็อตสค์ และทะเลญี่ปุ่น เกาะและหมู่เกาะที่สำคัญได้แก่ หมู่เกาะโนวายาเซมเลีย หมู่เกาะฟรัสซ์โยเซฟแลนด์ หมู่เกาะเซเวอร์นายาเซมเลีย หมู่เกาะนิวไซบีเรีย เกาะแวรงเกล เกาะคูริล และเกาะซาคาลิน เกาะดีโอมีด (ซึ่งเกาะหนึ่งปกครองโดยรัสเซีย ส่วนอีกเกาะปกครองโดยสหรัฐอเมริกา) อยู่ห่างกันเพียง 3 กิโลเมตร และเกาะคุนาชิร์ก็อยู่ห่างจากฮกไกโดเพียงประมาณ 20 กิโลเมตรประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรก ประวัติศาสตร์. ยุคเริ่มแรก. ชาวสลาฟตะวันออกเป็นชนชาติแรกที่เข้ามาตั้งถื่นฐานในรัสเซียบริเวณแม่น้ำนีเปอร์และแม่น้ำวอลกาทางตอนใต้ของประเทศ ส่วนทางตอนเหนือชนชาติสแกนดิเนเวียและไวกิ้งที่รู้จักกันในนามวารันเจียน ได้ตั้งถิ่นฐานบริเวณแม่น้ำเนวา และทะเลสาบลาโดกา ทำการติดต่อค้าขายกับชาวสลาฟ แต่แล้วในปี ค.ศ. 880 กษัตริย์แห่งวาแรนเจียนนามรูลิค ก็เข้ามายึดเมืองเคียฟของชาวสลาฟและตั้งเคียฟเป็นเมืองหลวง โดยผนวกดินแดนทางเหนือกับใต้เข้าด้วยกันแล้วขนานนามว่า เคียฟรุส (Kievan Rus') และสถาปนาราชวงศ์รูริคขึ้น ในปี ค.ศ. 978 เจ้าชายวลาดีมีร์ โมโนมัค ขึ้นครองราชย์และทรงนำศาสนาคริสต์นิกายออร์ทอดอกซ์แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์เข้าสู่รัสเซีย ซึ่งต่อมามีบทบาทและอิทธิพลอย่างสูงต่อศิลปะ สถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมของประเทศ ในช่วงศตวรรษที่ 11 เคียฟเป็นนครหลวง ศูนย์รวมของอำนาจกษัตริย์และเป็นศูนย์กลางของคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ ในขณะที่เมืองอื่น ๆ ก็มีประชากรก่อตั้งขึ้นมาเช่นกัน จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้กล่าวอ้างถึงมอสโกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1147 ว่าเจ้าชายยูริ ดอลโกรูกี มกุฎราชกุมารแห่งนครเคียฟ มีรับสั่งให้สร้างป้อมปราการไม้หรือ "เครมลิน" (Kremlin) ขึ้นที่เนินเขาโบโรวิตสกายา ริมแม่น้ำมอสควา และตั้งชื่อเมืองว่า "มอสโก" (Moscow)อาณาจักรมัสโควี อาณาจักรมัสโควี. ต่อมาในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 กองทัพมองโกลนำโดยบาตูข่านเข้ารุกรานรัสเซียและยึดเมืองเคียฟได้สำเร็จ หลังจากนั้นรัสเซียก็ถูกตัดขาดจากโลกภายนอก โดยถูกควบคุมทางการเมือง การปกครอง และยังต้องจ่ายภาษีให้กับชาวมองโกล กษัตริย์และพระราชาคณะจึงย้ายศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาทางตอนเหนือ ในปี 1328 พระเจ้าอีวานที่ 1 ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นกษัตริย์ พระองค์ทรงมีฉายาว่าอีวานถุงเงิน เนื่องจากทรงเก็บส่วยและเครื่องบรรณาการเพื่อส่งให้แก่ชาวมองโกล และในยุคนี้เองที่กษัตริย์ได้ย้ายที่ประทับมาที่มอสโก ต่อมาในยุคของพระเจ้าอีวานที่ 2 (ค.ศ. 1353-1359) ชาวมองโกลเริ่มเสื่อมอำนาจ เจ้าชายดมิตรี โอรสแห่งพระเจ้าอีวานที่ 2 ทรงขับไล่มองโกลได้สำเร็จในการรบที่คูลีโคโวบนฝั่งแม่น้ำดอน ต่อมาในปี 1380 พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็น ดมีตรี ดอนสกอย (ดมีตรีแห่งแม่น้ำดอน) ได้รวมเมืองวลาดิมีร์และซุลดัล อันเป็นเมืองสำคัญของอาณาจักรมัสโควี และยังได้บูรณะเครมลินเป็นกำแพงหินขาวแทนไม้โอ๊ก มอสโกจึงมีอีกชื่อเรียกว่า เมืองกำแพงหินขาว ในยุคนั้น แต่เพียงไม่นานพวกตาตาร์ก็กลับมาทำลายเครมลินจนพินาศ รัสเซียต้องเป็นเมืองขึ้นของตาตาร์อีกครั้งหนึ่งในปี 1382 จนเข้าสู่สมัยของพระเจ้าอีวานที่ 3 หรือพระเจ้าอีวานมหาราช (ค.ศ. 1462-1505) พระองค์ทรงอภิเษกกับหลานสาวของจักรพรรดิองค์ก่อนแห่งไบแซนไทน์ในปี 1472 และรับอินทรีสองเศียรเป็นสัญลักษณ์ของรัสเซีย ในยุคของพระองค์ได้รวบรวมดินแดนให้กลับเป็นปึกแผ่นอีกครั้ง ในปี ค.ศ. 1480 ทรงขับไล่กองกำลังตาตาร์ออกจากรัสเซียจนหมดสิ้น ปิดฉากสองศตวรรษภายใต้การปกครองของมองโกล ทรงบูรณะเครมลินให้เป็นหอคอยสูงและโบสถ์งดงามไว้ภายในเครมลิน นับเป็นยุคแห่งความรุ่งเรืองของรัสเซีย ปี 1574 พระเจ้าอีวานที่ 4 (1533-1584) หลานของพระเจ้าอีวานมหาราช ได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าซาร์องค์แรก (ซาร์ มาจากคำว่า ซีซาร์ ผู้ครองอำนาจแห่งจักรวรรดิโรมันและไบแซนไทน์) พระองค์ทรงปกครองอาณาจักรด้วยความเหี้ยมโหด ปราศจากความเมตตา ว่ากันว่ามีรับสั่งให้ควักลูกตาสถาปนิกผู้ออกแบบสร้างมหาวิหารเซนต์บาซิล เพื่อมิให้สร้างสิ่งก่อสร้างที่งดงามเช่นนี้ได้ที่ใดอีก ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงถูกขนานนามว่า อีวานผู้โหดเหี้ยม ต่อมาเมื่อหมดยุคของพระองค์ในปี ค.ศ. 1584 มอสโกก็ประสบปัญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจอย่างรุนแรง มีการแย่งชิงราชบัลลังก์ระหว่างราชวงศ์รูริค และโรมานอฟ ในที่สุดสมัชชาแห่งชาติและพระราชาคณะแห่งคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ก็มีมติเลือก มีฮาอิล โรมานอฟ ขึ้นเป็นซาร์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์โรมานอฟจักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซีย. ค.ศ. 1613-1917 พระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 มหาราช (ค.ศ. 1682-1725) ทรงเป็นกษัตริย์ที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในหน้าประวัติศาสตร์รัสเซีย พระองค์ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุ 10 ชันษา พร้อมกับพระเจ้าอีวานที่ 5 (เป็นกษัตริย์บัลลังก์คู่) จนในปี 1696 เมื่อพระเจ้าอีวานที่ 5 สิ้นพระชนม์ พระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 มหาราช จึงมีพระราชอำนาจโดยแท้จริง ในยุคของพระองค์ทรงขยายอาณาเขตรัสเซียออกไปทางตะวันออกถึงวลาดีวอสตอค และทรงใช้นโยบายสู้ตะวันตก ทรงนำรัสเซียเข้าสู่ยุคใหม่ โดยในปี ค.ศ. 1712 ทรงย้ายเมืองหลวงจากมอสโกมาที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และเป็นครั้งแรกที่มีการจัดตั้งกองทหารราชนาวีขึ้นในรัสเซีย ทั้งยังทรงนำช่างฝีมือจากฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมนี และสวิตเซอร์แลนด์ มาสร้างวิหารและพระราชวังที่งดงามอีกมากมาย และทรงนำพาจักรวรรดิรัสเซียให้เป็นที่รู้จักเกรียงไกรในสังคมโลก ถัดจากพระเจ้าปีเตอร์มหาราชยังมีซาร์และซารีนาอีกหลายพระองค์ที่สืบราชบัลลังก์ ทว่าผู้ที่สร้างความเจริญเฟื่องฟูให้กับรัสเซียสูงสุด ได้แก่ พระนางเจ้าแคทเธอรีนที่ 2 (ค.ศ. 1762-1796) พระนางได้รับการยกย่องให้เป็นราชินี ด้วยทรงเชี่ยวชาญด้านการปกครองอย่างมาก กระนั้นพระนางก็มีชื่อเสียงด้านลบด้วยพระนางมีคู่เสน่หามากมาย ผู้สืบราชวงศ์องค์ต่อมาคือ พระเจ้าพอลที่ 1 (ค.ศ. 1796-1801) พระราชโอรสของพระนางเจ้าแคทเทอรีน ทรงครองราชย์อยู่เพียงระยะสั้น จากนั้นพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 (1801- 1825) พระราชโอรสสืบพระราชบัลลังก์ต่อ ในปี 1812 ทรงทำศึกชนะจักรพรรดินโปเลียนแห่งฝรั่งเศส แต่แล้วในช่วงปลายรัชกาล เกิดกระแสการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบบรัฐสภา ปี 1825 เกิดกบฏต่อต้านราชวงศ์ขึ้นในเดือนธันวาคม เรียก กบฏธันวาคม (Decembrist Movement) แต่พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 1 (ค.ศ. 1825-1855) ก็ทรงปราบกลุ่มผู้ต่อต้านไว้ได้ พอมาในสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 2 (ค.ศ. 1855-1881) พระองค์ทรงมีฉายาว่า Tzar Liberator (ซาร์ผู้ปลดปล่อย) เนื่องจากพระองค์ทรงปลดปล่อยทาสติดที่ดิน (Serf) หลายล้านคนให้พ้นจากการเป็นทาส แต่พระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์ที่นครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กในปี 1881 ทิ้งไว้เพียงอนุสรณ์สถานที่สร้างอุทิศแด่พระองค์ ณ จุดที่ถูกลอบปลงพระชนม์ ซาร์องค์ต่อมาคือ อเล็กซานเดอร์ที่ 3 (ค.ศ. 1881-1894) จนถึงซาร์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โรมานอฟ พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 (1894-1917) ความเหลื่อมล้ำกันทางชนชั้น และความยากจน ก่อให้เกิดการปฏิวัติเป็นครั้งแรกโดยกรรมการชาวนาในวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1905 ซึ่งมีผู้ถูกยิงเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เรียกเหตุการณ์ครั้งนั้นว่า วันอาทิตย์เลือด Bloody Sunday และสุดท้ายคือการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 กระนั้นชนวนที่ทำให้ราชวงศ์โรมานอฟและระบอบซาร์ถึงกาลอวสานก็มีปัจจัยอื่นเช่นกันสมัยสหภาพโซเวียต สมัยสหภาพโซเวียต. การตัดสินใจเขาร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 ของซาร์นิโคลัสที่ 2 นั้นนำมาซึ่งความสูญเสียอย่างใหญ่หลวง ทั้งชีวิตของทหารและชาวรัสเซียนับล้านที่เมื่อรัสเซียเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ การจลาจลเกิดขึ้นทั่วเมือง ในที่สุดปี 1917 จึงเกิดการปฏิวัติล้มล้างระบบซาร์ พระเจ้านิโคลัสที่ 2 สละราชสมบัติ มีการจัดตั้งคณะรัฐบาลเฉพาะกิจเคอเรนสกีขึ้นบริหารประเทศ แต่พรรคบอลเชวิค (Bolshevik) นำโดยวลาดีมีร์ เลนินก็ทำการปฏิวัติยึดอำนาจการบริหารประเทศไว้ได้ โดยการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ พร้อมทั้งประกาศให้ประเทศเป็น สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Union of Soviet Socialist Repubilcs หรือ USSR) ปี ค.ศ. 1918 ย้ายเมืองหลวงและฐานอำนาจกลับสู่มอสโก กระนั้นก็ยังมีผู้ไม่พอใจกับสภาพแร้นแค้น การขาดสิทธิเสรีภาพ จึงทำให้เกิดสงครามกลางเมืองขึ้นหลายต่อหลายครั้ง เลนินถึงแก่อสัญกรรมในปี 1924 โจเซฟ สตาลิน (1924-1953) ขึ้นบริหารประเทศแทนด้วยความเผด็จการ และกวาดล้างทุกคนผู้ที่มีความคิดต่อต้าน เขาเปิดการพัฒนาประเทศสู่อุตสาหกรรมสมัยใหม่ จนเทียบเคียงสหรัฐอเมริกา แต่ปัญหาความอดอยาก ที่เรื้อรังมานานก็ยากเกินเยียวยา และยิ่งเลวร้ายเมื่อฮิตเลอร์สั่งล้อมมอสโกไว้ โดยเฉพาะที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กถูกปิดล้อมไว้นานถึง 900 วันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ชาวรัสเซียเรียกสงครามครั้งนั้นว่า มหาสงครามของผู้รักชาติ (The Great Patriotic War) กระนั้นสตาลินก็มีบทบาทในการพิชิตนาซีเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1941-1945) นี้ไว้ได้ ปี ค.ศ. 1955 นีกีตา ครุชชอฟ ขึ้นดำรงตำแหน่งผู้นำโดยมีแนวคิดในการบริหารประเทศที่เน้นการอยู่ร่วมกัน มีการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่ให้เป็นที่อยู่อาศัยของประชาชนผ่อนคลายความเข้มงวดให้น้อยกว่าสมัยสตาลิน รวมถึงเปิดเครมลินเป็นพิพิธภัณฑ์ให้ประชาชนได้เข้าชมอีกด้วย ปี 1964 ครุชชอฟลาออกจากตำแหน่งเลขาธิการพรรคแทน เบรจเนฟแผ่อิทธิพลไปถึงจีน คิวบา และอัฟกานิสถาน เพิ่มความเครียดไปทั่วโลก เขาจึงนำนโยบายต่างประเทศที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในชื่อ การผ่อนคลายความตึงเครียด มาใช้โดยปี1980 มอสโกได้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ครั้งที่ 22 ปี ค.ศ. 1985 มิฮาอิล กอร์บาชอฟขึ้นดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมิวนิสต์ เขาเป็นผู้นำการปฏิรูปโครงสร้างการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมที่เรียกว่า เปเรสตรอยคา (Perestroyka) โดยนำพาประเทศเข้าสู่ระบบทุนนิยม มีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และพัฒนาฝีมือแรงงานรวมถึงเสนอนโยบายเปิดกว้างกลัสนอสต์ (Glasnost) คือให้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและเปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่อสาธารณชน มีการติดต่อด้านการค้ากับตะวันตก รวมถึงถอนกำลังออกจากยุโรปตะวันออกและอัฟกานิสถานและยังได้เข้าร่วมกับองค์การนาโต หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ในปี ค.ศ. 1990 กอร์บาชอฟได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ รวมถึงได้รับยกย่องจากนิตยสารไทม์เป็นบุรุษแห่งทศวรรษ (Man of the Decade) กระนั้นปัญหาขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค และความล้าหลังทางการผลิตที่สั่งสมมานานก็ทำให้นโยบายเปเรสตรอยกาล้มเหลว ความนิยมในกอร์บาชอฟเริ่มตกลง ต่อมาเกิดรัฐประหารขึ้นในเดือนสิงหาคม 1991 โดยกลุ่มคอมมิวนิสต์หัวเก่าที่ไม่ต้องการการเปลี่ยนแปลงสู่ตลาดเสรี แต่บอริส เยลต์ซิน ก็สามารถกู้สถานการณ์เอาไว้ได้ กอร์บาชอฟจึงสิ้นคะแนนนิยมอย่างแท้จริง เขาประกาศลาออกจากตำแหน่ง รวมถึงประกาศยกเลิกพรรคคอมมิวนิสต์ต่อหน้ามหาชน พร้อมด้วยการก้าวขึ้นเป็นผู้นำของเยลต์ชิน สหภาพโซเวียตจึงล่มสลาย สาธารณรัฐต่างๆ ทั้ง 15 สาธารณรัฐแยกตัวเป็นอิสระ รวมทั้งสาธารณรัฐรัสเซีย (Russian SFSR) ภายใต้ชื่อใหม่ว่า สหพันธรัฐรัสเซียสหพันธรัฐรัสเซีย สหพันธรัฐรัสเซีย. บอริส เยลต์ซินได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีรัสเซียเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2534 ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีโดยตรงครั้งแรกในประวัติศาสตร์รัสเซีย ระหว่างและหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ได้มีการปฏิรูปอย่างกว้างขวาง รวมทั้งการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการเปิดเสรีตลาดและการค้า และยังมีการเปลี่ยนแปลงลึกซึ้งตามแนวทาง "ช็อกบำบัด" (shock therapy) ดังที่สหรัฐอเมริกาและกองทุนการเงินระหว่างประเทศแนะนำ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้ส่งผลให้เกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจครั้งใหญ่ ซึ่งรัสเซียมีจีดีพีและปริมาณการผลิตภาคอุตสาหกรรมลดลงถึง 50% ระหว่าง พ.ศ. 2533-2538 การแปรรูปรัฐวิสาหกิจส่วนใหญ่ได้โอนการควบคุมวิสาหกิจจากหน่วยงานของรัฐไปเป็นของปัจเจกบุคคลซึ่งมีความเชื่อมโยงภายในในระบบรัฐบาล นักธุรกิจที่ร่ำรวยขึ้นมาใหม่หลายคนได้นำเงินสดและสินทรัพย์นับพัน ๆ ล้านออกนอกประเทศในการโยกย้ายทุนขนานใหญ่ ภาวะตกต่ำของรัฐและเศรษฐกิจนำไปสู่การล่มสลายของบริการสังคม อัตราการเกิดตกฮวบ ขณะที่อัตราการตายพุ่งทะยาน ประชาชนหลายล้านคนอยู่ในภาวะยาจน จากระดับความยากจน 1.5% ในปลายยุคโซเวียต เป็น 39-49% ราวกลาง พ.ศ. 2536 คริสต์ทศวรรษ 1990 ได้เกิดการฉ้อราษฎร์บังหลวงและความไม่มีกฎหมายสุดขีด การเพิ่มขึ้นของแก๊งอาชญากรและอาชญากรรมรุนแรง คริสต์ทศวรรษ 1990 รัสเซียได้เผชิญกับความขัดแย้งด้วยอาวุธในคอเคซัสเหนือ ทั้งการสู้รบประรายด้านชาติพันธุ์ท้องถิ่นและการก่อการกบฏของกลุ่มอิสลามแบ่งแยกดินแดน นับตั้งแต่กลุ่มแบ่งแยกดินแดนเชเชนได้ประกาศเอราชในต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 ก็ได้เกิดสงครามกองโจรขึ้นเป็นระยะ ๆ ระหว่างกลุ่มกบฏกับกองทัพรัสเซีย กลุ่มแบ่งแยกดินแดนได้โจมตีก่อการร้ายต่อพลเรือน ที่มีชื่อเสีงที่สุด คือ วิกฤตการณ์ตัวประกันโรงละครมอสโก และการล้อมโรงเรียนเบสลัน ซึ่งเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตหลายร้อยศพและเรียกความสนใจจากทั่วโลก รัสเซียยอมรับความรับผิดชอบในการจัดการหนี้สินภายนอกของสหภาพโซเวียต แม้ประชากรรัสเซียจะมีเพียงครึ่งหนึ่งของประชากรสหภาพโซเวียตเมื่อสหภาพล่มสลายไปนั้น การขาดดุลงบประมาณอย่างสูงเป็นเหตุของวิกฤตการณ์การเงินรัสเซีย พ.ศ. 2541 และยิ่งทำให้จีดีพีลดลงไปอีก วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ประธานาธิบดีเยลต์ซินลาออก ส่งมอบตำแหน่งต่อให้กับนายกรัฐมนตรีที่เพิ่งแต่งตั้งใหม่ วลาดีมีร์ ปูติน ผู้ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดี พ.ศ. 2543 ปูตินปราบปรามการก่อกบฏเชเชน แม้ความรุนแรงเป็นพัก ๆ ยังเกิดขึ้นทั่วคอเคซัสเหนือ ราคาน้ำมันที่สูงและเงินตราที่เดิมอ่อนค่าเกิดขึ้นหลังอุปสงค์ภายในที่เพิ่มขึ้น การบริโภคและการลงทุนได้ช่วยทำให้เศรษฐกิจโตขึ้นเก้าปีติดต่อกัน ซึ่งได้พัฒนาคุณภาพชีวิตและเพิ่มอิทธิพลของรัสเซียในเวทีโลก แม้การปฏิรูปหลายอย่างที่ปูตินดำเนินการระหว่างดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีโดยทั่วไปมักถูกชาติตะวันตกวิจารณ์ว่าไม่เป็นประชาธิปไตย แต่ความเป็นผู้นำของปูตินเหนือการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อย เสถียรภาพและความก้าวหน้าได้ทำให้เขาเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางในรัสเซีย วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2551 ดมิทรี เมดเวเดฟได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีรัสเซีย ขณะที่ปูตินเป็นนายกรัฐมนตรี ปูตินกลับมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีอีกครั้งหลังการเลือกตั้งประธานาธิบดี พ.ศ. 2555 และเมดเวเดฟได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ในห้วงวิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557 รัสเซียได้ผนวกสาธารณรัฐไครเมีย ซึ่งเกิดจากการรวมกันของสาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมียและนครเซวัสโตปอลตามการลงประชามติการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. หลังจากวิกฤติทางการเมืองในปี 1993 รัสเซียมีการออกรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งได้รับการยอมรับโดยประชามติในวันที่ 12 ธันวาคม 1993 และเริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม ตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ รัสเซียเป็นสหพันธรัฐซึ่งมีประธานาธิบดีเป็นประมุข และ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล โดยรัฐบาลเป็นผู้มีอำนาจบริหาร ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือนายวลาดีมีร์ ปูตินกระทรวงกระทรวง. - มีชื่อเรียกโดยย่อว่า Ministry of Emergency Situations หรือกระทรวงสถานการณ์ฉุกเฉินการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. ประเทศรัสเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น- 46 แคว้น (Provinces - oblast) - 22 สาธารณรัฐ (Republics - respublika ) - 9 ดินแดน (Territories - kraya ) - 4 เขตปกครองตนเอง (Autonomous districts - avtonomnyye okruga) - 1 แคว้นปกครองตนเอง (Autonomous oblast - avtonomnaya oblast ) - 3 นครสหพันธ์ (Federal cities - federalnyye goroda ) คือ มอสโก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และเซวัสโตปอลกองทัพ กองทัพ. กองทัพรัสเซียแบ่งออกเป็นกองกำลังทางบก กองทัพเรือและกองทัพอากาศ นอกจากนี้ยังมีสาขาช่วยรบ (arm of service) อิสระอีกสามสาขา ได้แก่ กองกำลังขีปนาวุธยุทธศาสตร์ กองกำลังป้องกันห้วงอากาศ-อวกาศ และหน่วยส่งทางอากาศ ในปี 2549 กองทัพรัสเซียมีกำลังพลประจำการ 1.037 ล้านนาย ซึ่งบังคับเกณฑ์ให้พลเมืองชายอายุระหว่าง 18–27 ปีทุกคนรับราชการในกองทัพเป็นเวลาหนึ่งปี ประเทศรัสเซียมีคลังอาวุธนิวเคลียร์ใหญ่ที่สุดในโลก และมีกองเรือดำน้ำขีปนาวุธใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสอง และเป็นประเทศเดียวนอกจากสหรัฐอเมริกาที่มีกองกำลังเครื่องบินทิ้งระเบิดยุทธศาสตร์สมัยใหม่ กองกำลังรถถังของรัสเซียใหญ่ที่สุดในโลก และกองทัพเรือผิวน้ำและกองทัพอากาศใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ประเทศรัสเซียมีอุตสาหกรรมอาวุธขนาดใหญ่และผลิตในประเทศทั้งหมด โดยผลิตยุทโธปกรณ์ส่วนใหญ่เองโดยมีการนำเข้าอาวุธไม่กี่ชนิด ประเทศรัสเซียเป็นผู้ผลิตอาวุธรายใหญ่ที่สุดของโลกมาตั้งแต่ปี 2544 โดยมีการขายอาวุธคิดเป็นราว 30% ของทั่วโลก และมีการส่งออกไปประมาณ 80 ประเทศ รายจ่ายทางทหารภาครัฐอย่างเป็นทางการในปี 2555 อยู่ที่ 90,700 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ มากเป็นอันดับสามของโลก แม้แหล่งข้อมูลต่าง ๆ จะประเมินว่ารายจ่ายทางทหารของรัสเซียสูงกว่านี้มาก ปัจจุบัน การพัฒนายุทโธปกรณ์ครั้งใหญ่มูลค่าราว 200,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐอยู่ระหว่างดำเนินการในช่วงปี 2549 ถึง 2558เศรษฐกิจเกษตรกรรมอุตสาหกรรมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ. การพัฒนาทางเศรษฐกิจ. รัสเซียสามารถฟื้นตัวจากวิกฤติทางการเงินในปี 1998 และมีการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 7 ต่อปี เนื่องจากราคาน้ำมันที่สูงขึ้น การลงทุนจากต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น การขยายตัวของการบริโภคในประเทศ และความมั่นคงทางการเมือง ในปี 2007 รัสเซียมีจีดีพีใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก (มูลค่า 2.088 ล้านล้านดอลลาร์ เมื่อวัดด้วยความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ) ค่าแรงเฉลี่ยต่อเดือนในรัสเซียเพิ่มขึ้นจาก 80 ดอลลาร์ในปี 2000 เป็น 640 ดอลลาร์ในต้นปี 2008 ชาวรัสเซียที่ยากจนมีประมาณร้อยละ 14 ในปี 2007 ซึ่งลดลงอย่างมากจากร้อยละ 40 ในปี 1998 ซึ่งสถิติสูงสุดหลังสหภาพโซเวียตล่มสลาย อัตราว่างงานในรัสเซียลดลงจากร้อยละ 12.4 ในปี 1999 เหลือร้อยละ 6 ในปี 2007 การที่ประชากรมีรายได้เพิ่มขึ้นนี้ทำให้ตลาดของชนชั้นกลางในรัสเซียขยายตัวหลายเท่า ระบบภาษีที่เข้าใจง่ายกว่าเดิมเริ่มบังคับใช้ตั้งแต่ปี 2001 ซึ่งทำให้ภาระต่อประชาชนลดลงในขณะที่รายได้ของรัฐเพิ่มขึ้น รัสเซียใช้ระบบอัตราภาษีคงที่ที่ร้อยละ 13 กับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และทำให้กลายเป็นประเทศที่มีระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ดึงดูดผู้บริหารได้ดีเป็นอันดับสองรองจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ จากการสำรวจในปี 2007 งบประมาณของรัฐเกินดุลตั้งแต่ปี 2001 และจนถึงสิ้นปี 2007 มีงบประมาณเกินดุลมาร้อยละ 6 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ รัสเซียใช้รายได้จากน้ำมันที่ได้รับผ่านกองทุนความมั่นคงของสหพันธรัฐรัสเซียในการจ่ายหนี้ซึ่งเกิดขึ้นในยุคโซเวียตคืนแก่ปารีสคลับและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ รายได้จากการส่งออกน้ำมันยังสามารถทำให้รัสเซียมีเงินสำรองระหว่างประเทศเพิ่มจาก 1 หมื่น 2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 1999 เป็น 5.97 แสนล้านดอลลาร์ในปี 2008 ซึ่งสูงเป็นอันดับสามของโลก รัสเซียยังสามารถลดหนี้ต่างประเทศที่ก่อขึ้นในอดีตได้อย่างมาก อย่างไรก็ตาม การพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศไม่เท่าเทียมกันในแต่ละภูมิภาค โดยเขตมอสโกเป็นเขตที่ส่งผลต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศมากที่สุดพลังงาน พลังงาน. รัสเซียมีแหล่งทรัพยากรแก๊สธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีแหล่งทรัพยากรถ่านหินใหญ่เป็นอันดับสองของโลก และมีแหล่งทรัพยากรน้ำมันที่ใหญ่เป็นอันดับแปดของโลก รัสเซียเป็นประเทศที่ส่งออกแก๊สธรรมชาติมากเป็นอันดับหนึ่ง และส่งออกน้ำมันมากเป็นอันดับสองของโลก น้ำมัน แก๊สธรรมชาติ โลหะ และไม้ เป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญและมีมูลค่ามากถึงร้อยละ 80 ของการส่งออกทั้งหมดแต่หลังปี 2003 การส่งออกทรัพยากรธรรมชาติก็เริ่มลดความสำคัญลงเพราะตลาดภายในประเทศขยายตัวขึ้นอย่างมาก แม้ว่าราคาทรัพยากรด้านพลังงานจะสูงขึ้นมาก แต่น้ำมันและแก๊สธรรมชาติก็มีสัดส่วนเพียงร้อยละ 5.7 ของจีดีพี และรัฐบาลคาดการณ์ว่าสัดส่วนนี้จะลดลงเหลือร้อยละ 3.7 ภายในปี 2011 รัสเซียยังนับว่าเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจได้ดีกว่าประเทศที่ร่ำรวยทรัพยากรอื่น ๆ รัสเซียมีจำนวนประชากรที่จบการศึกษาระดับอุดมศึกษามากกว่าประเทศอื่นในทวีปยุโรปการท่องเที่ยว การท่องเที่ยว. ประเทศรัสเซียมีสายการบินประจำชาติคือแอโรฟลอต (รัสเซีย: Аэрофло́т, อังกฤษ: Aeroflot) มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว กรุงมอสโกโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคม และ โทรคมนาคมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษา โครงสร้างพื้นฐาน. การศึกษา. ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 รัฐบาลรัสเซียได้ขยายการศึกษาภาคบังคับจากเดิม 9 ปีเป็น 11 ปี กล่าวคือตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาไปถึงระดับอาชีวศึกษา โรงเรียนในรัสเซียจะแบ่งภาคเรียนออกเป็น 4 ภาคเรียน ซึ่งในแต่ละภาคเรียนจะมีวันหยุด 1-2 สัปดาห์สาธารณสุขประชากรศาสตร์เมืองใหญ่สุดเชื้อชาติ ประชากรศาสตร์. เชื้อชาติ. ประเทศรัสเซียมีประชากรประมาณ 144.3 ล้านคน (ค.ศ. 2016) จำนวนประชากรของรัสเซียมีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษที่ 1990 ซึ่งเป็นผลจากอัตราการตายที่สูงและอัตราการเกิดที่ต่ำ ในขณะที่อัตราการเกิดในรัสเซียมีพอ ๆ กับประเทศยุโรปอื่น ๆ (อัตราการเกิด 11.3 คนต่อประชากร 1000 คนในปี 2007 เทียบกับอัตราเฉลี่ย 10.25 คนต่อประชากร 1000 คนของสหภาพยุโรป) แต่ประชากรกลับลดลงเพราะอัตราการตายสูงกว่า (ในปี 2007 อัตราการตายของรัสเซียคือ 14.7 คนต่อประชากร 1000 คน เมื่อเที่ยบกับอัตราเฉลี่ยของสหภาพยุโรป 10.39 คนต่อ 1000 คน) ปัญหาประชากรที่ลดลงนี้ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ รัฐบาลจึงตั้งมาตรการต่าง ๆ ในการลดอัตราการตาย เพิ่มอัตราการเกิด พัฒนาสุขภาพของประชาชน กระทรวงสาธารณสุขของรัสเซียคาดการณ์ว่าอัตราการตายและอัตราการเกิดจะปรับตัวจนเท่ากันภายในปี 2011 รัสเซียมีพื้นที่มากที่สุดในโลก แต่เมื่อเทียบกับประชากรแล้ว ความหนาแน่นเพียงแค่ 40 เปอร์เซนต์เท่านั้นภาษา ภาษา. ภาษาประจำชาติ คือ ภาษารัสเซีย ภาษาราชการ คือ ภาษารัสเซีย และภาษาของชนกลุ่มน้อยในสาธารณรัฐต่างๆเช่น เชเชน ตาตาร์ อุตมูร์ โคมิ คัลมืย ตูวา ฯลฯศาสนา ศาสนา. ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือคริสต์ศาสนานิกายออร์โธดอกซ์รัสเซีย (ร้อยละ 94) ที่เหลือนับถือศาสนาอิสลาม (ร้อยละ 5.5) คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก (ร้อยละ 0.8) และพุทธศาสนานิกายมหายาน (ร้อยละ 0.6)กีฬา กีฬา. เคยมีการจัดโอลิมปิกเช่นโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ที่มอสโก โอลิมปิกฤดูหนาว 2014ที่โซชี และจะมีการจัดฟุตบอลโลก 2018 เช่นกันวัฒนธรรมวรรณกรรมสถาปัตยกรรมอาหารดนตรี และ นาฎศิลป์สื่อสารมวลชน วัฒนธรรม. สื่อสารมวลชน. สถานีโทรทัศน์วันหยุด วันหยุด. ส่วนวันอีดทั้งสองของศาสนาอิสลามเป็นวันหยุดของ สาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน สาธารณรัฐอินกุชเชเตีย สาธารณรัฐคาร์บาร์ดิโน-บัลกาเรีย ส่วนสาธารณรัฐบูเรียตียา และสาธารณรัฐคัลมืยคียา ก็ประกาศว่าวันวิสาขบูชาเป็นวันหยุดเช่นกัน
| ใครเป็นผู้ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีรัสเซีย ในพ.ศ. 2543 | {
"answer": [
"วลาดีมีร์ ปูติน"
],
"answer_begin_position": [
15407
],
"answer_end_position": [
15422
]
} |
2,561 | 5,449 | ประเทศรัสเซีย รัสเซีย (; , ) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (; ) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน พ.ศ. 1531 มีการรับศาสนาคริสต์นิกายออร์โธด็อกซ์จากจักรวรรดิไบแซนไทน์ เริ่มต้นการประสมวัฒนธรรมไบแซนไทน์และสลาฟซึ่งนิยามวัฒนธรรมรัสเซียเป็นเวลาอีกสหัสวรรษหน้า ท้ายที่สุด รุสล่มสลายเป็นรัฐขนาดเล็กหลายรัฐ พื้นที่ส่วนใหญ่ของรุสถูกพิชิตโดยการรุกรานของมองโกล และกลายเป็นรัฐบรรณาการของโกลเดนฮอร์ดเร่ร่อน อาณาจักรแกรนด์ดยุคแห่งมอสโกค่อย ๆ รวมราชรัฐรัสเซียในละแวก ได้รับเอกราชจากโกลเดนฮอร์ด และมาครอบงำมรดกทางวัฒนธรรมและการเมืองของเคียฟรุส จนคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัสเซียได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางผ่านการพิชิตดินแดน การผนวก และการสำรวจเป็นของจักรวรรดิรัสเซีย นับเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดอันดับสามในประวัติศาสตร์ แผ่จากโปแลนด์ในยุโรปจรดอะแลสกาในอเมริกาเหนือ หลังการปฏิวัติรัสเซีย รัสเซียกลายมาเป็นสาธารณรัฐใหญ่ที่สุดและผู้นำในสหภาพโซเวียต เป็นรัฐสังคมนิยมมีรัฐธรรมนูญแห่งแรกของโลกและอภิมหาอำนาจที่ได้การยอมรับ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง สมัยโซเวียตได้ประสบความสำเร็จทางเทคโนโลยีที่สำคัญที่สุดของคริสต์ศตรวรรษที่ 20 รวมทั้งการส่งมนุษย์คนแรกขึ้นสู่อวกาศ สหพันธรัฐรัสเซียก่อตั้งขึ้นหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน พ.ศ. 2534 แต่ได้รับการยอมรับเป็นสภาพบุคคลสืบทอดจากสหภาพโซเวียต รัสเซียมีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดอันดับที่ 11 ของโลกโดยจีดีพีมูลค่าตลาด หรือใหญ่ที่สุดอันดับที่ 6 โดยความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ โดยมีงบประมาณทางทหารมากที่สุดอันดับที่ 5 ของโลก ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจธุรกิจจัดอันดับรัสเซียเป็นเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดอันดับที่ 9 ของโลกใน พ.ศ. 2554 ขึ้นจากอันดับที่ 10 ใน พ.ศ. 2553 รัสเซียเป็นหนึ่งในห้ารัฐอาวุธนิวเคลียร์ที่ได้รับการรับรองและครอบครองคลังแสงอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงใหญ่ที่สุดในโลก รัสเซียเป็นมหาอำนาจและสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ สมาชิกจี 8 จี 20 สภายุโรปและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย องค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป องค์การการค้าโลก และเป็นสมาชิกผู้นำเครือจักรภพรัฐเอกราชภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. ดินแดนอันกว้างใหญ่ของสหพันธรัฐรัสเซียครอบคลุมพื้นที่แถบตะวันออกเฉียงเหนือเหนือของทวีปยูเรเชีย จุดที่ห่างไกลกันที่สุดของรัสเซีย ซึ่งได้แก่ชายแดนที่ติดต่อกับโปแลนด์และหมู่เกาะคูริล มีระยะห่างถึง 8,000 กิโลเมตร ทำให้รัสเซียมีถึง 11 เขตเวลา รัสเซียมีเขตป่าสงวนที่ใหญ่ที่สุดในโลก และถูกเรียกว่าเป็น "ปอดของยุโรป" เพราะปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ดูดซึมนั้นเป็นรองเพียงแค่ป่าดิบชื้นแอมะซอนเท่านั้น รัสเซียมีทางออกสู่มหาสมุทรถึงสามแห่ง ได้แก่มหาสมุทรแอตแลนติก อาร์กติก และแปซิฟิก จึงทำให้รัสเซียเป็นประเทศที่มีบทบาทสำคัญต่ออุปทานของสินค้าประมงในโลก พื้นที่ส่วนใหญ่ของรัสเซียเป็นที่ราบกว้างใหญ่ ทางตอนใต้ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสเตปป์ มีป่าไม้มากทางตอนเหนือ และมีพื้นที่แบบทุนดราตามชายฝั่งทางเหนือ เทือกเขาจะอยู่ตามชายแดนทางใต้ เช่นเทือกเขาคอเคซัส ซึ่งมียอดเขาเอลบรุส ที่มีความสูง 5,642 เมตรและเป็นจุดสูงสุดของรัสเซียและยุโรป หรือเทือกเขาอัลไต และทางตะวันออก เช่นเทือกเขาเวอร์โฮยันสค์ หรือภูเขาไฟในแหลมคัมชัตคา เทือกเขาอูรัลทางตะวันตกวางตัวเหนือใต้และเป็นเขตแดนทางธรรมชาติของทวีปเอเชียและทวีปยุโรป รัสเซียมีชายฝั่งที่ยาวถึง 37,000 กิโลเมตร ตามแนวมหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิก ทะเลบอลติก ทะเลอะซอฟ ทะเลดำ และทะเลแคสเปียน นอกจากนั้น รัสเซียยังมีทางออกสู่ทะเลแบเร็นตส์ ทะเลขาว ทะเลคารา ทะเลลัปเตฟ ทะเลไซบีเรียตะวันออก ทะเลชุกชี ทะเลเบริง ทะเลโอค็อตสค์ และทะเลญี่ปุ่น เกาะและหมู่เกาะที่สำคัญได้แก่ หมู่เกาะโนวายาเซมเลีย หมู่เกาะฟรัสซ์โยเซฟแลนด์ หมู่เกาะเซเวอร์นายาเซมเลีย หมู่เกาะนิวไซบีเรีย เกาะแวรงเกล เกาะคูริล และเกาะซาคาลิน เกาะดีโอมีด (ซึ่งเกาะหนึ่งปกครองโดยรัสเซีย ส่วนอีกเกาะปกครองโดยสหรัฐอเมริกา) อยู่ห่างกันเพียง 3 กิโลเมตร และเกาะคุนาชิร์ก็อยู่ห่างจากฮกไกโดเพียงประมาณ 20 กิโลเมตรประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรก ประวัติศาสตร์. ยุคเริ่มแรก. ชาวสลาฟตะวันออกเป็นชนชาติแรกที่เข้ามาตั้งถื่นฐานในรัสเซียบริเวณแม่น้ำนีเปอร์และแม่น้ำวอลกาทางตอนใต้ของประเทศ ส่วนทางตอนเหนือชนชาติสแกนดิเนเวียและไวกิ้งที่รู้จักกันในนามวารันเจียน ได้ตั้งถิ่นฐานบริเวณแม่น้ำเนวา และทะเลสาบลาโดกา ทำการติดต่อค้าขายกับชาวสลาฟ แต่แล้วในปี ค.ศ. 880 กษัตริย์แห่งวาแรนเจียนนามรูลิค ก็เข้ามายึดเมืองเคียฟของชาวสลาฟและตั้งเคียฟเป็นเมืองหลวง โดยผนวกดินแดนทางเหนือกับใต้เข้าด้วยกันแล้วขนานนามว่า เคียฟรุส (Kievan Rus') และสถาปนาราชวงศ์รูริคขึ้น ในปี ค.ศ. 978 เจ้าชายวลาดีมีร์ โมโนมัค ขึ้นครองราชย์และทรงนำศาสนาคริสต์นิกายออร์ทอดอกซ์แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์เข้าสู่รัสเซีย ซึ่งต่อมามีบทบาทและอิทธิพลอย่างสูงต่อศิลปะ สถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมของประเทศ ในช่วงศตวรรษที่ 11 เคียฟเป็นนครหลวง ศูนย์รวมของอำนาจกษัตริย์และเป็นศูนย์กลางของคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ ในขณะที่เมืองอื่น ๆ ก็มีประชากรก่อตั้งขึ้นมาเช่นกัน จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้กล่าวอ้างถึงมอสโกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1147 ว่าเจ้าชายยูริ ดอลโกรูกี มกุฎราชกุมารแห่งนครเคียฟ มีรับสั่งให้สร้างป้อมปราการไม้หรือ "เครมลิน" (Kremlin) ขึ้นที่เนินเขาโบโรวิตสกายา ริมแม่น้ำมอสควา และตั้งชื่อเมืองว่า "มอสโก" (Moscow)อาณาจักรมัสโควี อาณาจักรมัสโควี. ต่อมาในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 กองทัพมองโกลนำโดยบาตูข่านเข้ารุกรานรัสเซียและยึดเมืองเคียฟได้สำเร็จ หลังจากนั้นรัสเซียก็ถูกตัดขาดจากโลกภายนอก โดยถูกควบคุมทางการเมือง การปกครอง และยังต้องจ่ายภาษีให้กับชาวมองโกล กษัตริย์และพระราชาคณะจึงย้ายศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาทางตอนเหนือ ในปี 1328 พระเจ้าอีวานที่ 1 ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นกษัตริย์ พระองค์ทรงมีฉายาว่าอีวานถุงเงิน เนื่องจากทรงเก็บส่วยและเครื่องบรรณาการเพื่อส่งให้แก่ชาวมองโกล และในยุคนี้เองที่กษัตริย์ได้ย้ายที่ประทับมาที่มอสโก ต่อมาในยุคของพระเจ้าอีวานที่ 2 (ค.ศ. 1353-1359) ชาวมองโกลเริ่มเสื่อมอำนาจ เจ้าชายดมิตรี โอรสแห่งพระเจ้าอีวานที่ 2 ทรงขับไล่มองโกลได้สำเร็จในการรบที่คูลีโคโวบนฝั่งแม่น้ำดอน ต่อมาในปี 1380 พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็น ดมีตรี ดอนสกอย (ดมีตรีแห่งแม่น้ำดอน) ได้รวมเมืองวลาดิมีร์และซุลดัล อันเป็นเมืองสำคัญของอาณาจักรมัสโควี และยังได้บูรณะเครมลินเป็นกำแพงหินขาวแทนไม้โอ๊ก มอสโกจึงมีอีกชื่อเรียกว่า เมืองกำแพงหินขาว ในยุคนั้น แต่เพียงไม่นานพวกตาตาร์ก็กลับมาทำลายเครมลินจนพินาศ รัสเซียต้องเป็นเมืองขึ้นของตาตาร์อีกครั้งหนึ่งในปี 1382 จนเข้าสู่สมัยของพระเจ้าอีวานที่ 3 หรือพระเจ้าอีวานมหาราช (ค.ศ. 1462-1505) พระองค์ทรงอภิเษกกับหลานสาวของจักรพรรดิองค์ก่อนแห่งไบแซนไทน์ในปี 1472 และรับอินทรีสองเศียรเป็นสัญลักษณ์ของรัสเซีย ในยุคของพระองค์ได้รวบรวมดินแดนให้กลับเป็นปึกแผ่นอีกครั้ง ในปี ค.ศ. 1480 ทรงขับไล่กองกำลังตาตาร์ออกจากรัสเซียจนหมดสิ้น ปิดฉากสองศตวรรษภายใต้การปกครองของมองโกล ทรงบูรณะเครมลินให้เป็นหอคอยสูงและโบสถ์งดงามไว้ภายในเครมลิน นับเป็นยุคแห่งความรุ่งเรืองของรัสเซีย ปี 1574 พระเจ้าอีวานที่ 4 (1533-1584) หลานของพระเจ้าอีวานมหาราช ได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าซาร์องค์แรก (ซาร์ มาจากคำว่า ซีซาร์ ผู้ครองอำนาจแห่งจักรวรรดิโรมันและไบแซนไทน์) พระองค์ทรงปกครองอาณาจักรด้วยความเหี้ยมโหด ปราศจากความเมตตา ว่ากันว่ามีรับสั่งให้ควักลูกตาสถาปนิกผู้ออกแบบสร้างมหาวิหารเซนต์บาซิล เพื่อมิให้สร้างสิ่งก่อสร้างที่งดงามเช่นนี้ได้ที่ใดอีก ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงถูกขนานนามว่า อีวานผู้โหดเหี้ยม ต่อมาเมื่อหมดยุคของพระองค์ในปี ค.ศ. 1584 มอสโกก็ประสบปัญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจอย่างรุนแรง มีการแย่งชิงราชบัลลังก์ระหว่างราชวงศ์รูริค และโรมานอฟ ในที่สุดสมัชชาแห่งชาติและพระราชาคณะแห่งคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ก็มีมติเลือก มีฮาอิล โรมานอฟ ขึ้นเป็นซาร์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์โรมานอฟจักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซีย. ค.ศ. 1613-1917 พระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 มหาราช (ค.ศ. 1682-1725) ทรงเป็นกษัตริย์ที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในหน้าประวัติศาสตร์รัสเซีย พระองค์ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุ 10 ชันษา พร้อมกับพระเจ้าอีวานที่ 5 (เป็นกษัตริย์บัลลังก์คู่) จนในปี 1696 เมื่อพระเจ้าอีวานที่ 5 สิ้นพระชนม์ พระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 มหาราช จึงมีพระราชอำนาจโดยแท้จริง ในยุคของพระองค์ทรงขยายอาณาเขตรัสเซียออกไปทางตะวันออกถึงวลาดีวอสตอค และทรงใช้นโยบายสู้ตะวันตก ทรงนำรัสเซียเข้าสู่ยุคใหม่ โดยในปี ค.ศ. 1712 ทรงย้ายเมืองหลวงจากมอสโกมาที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และเป็นครั้งแรกที่มีการจัดตั้งกองทหารราชนาวีขึ้นในรัสเซีย ทั้งยังทรงนำช่างฝีมือจากฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมนี และสวิตเซอร์แลนด์ มาสร้างวิหารและพระราชวังที่งดงามอีกมากมาย และทรงนำพาจักรวรรดิรัสเซียให้เป็นที่รู้จักเกรียงไกรในสังคมโลก ถัดจากพระเจ้าปีเตอร์มหาราชยังมีซาร์และซารีนาอีกหลายพระองค์ที่สืบราชบัลลังก์ ทว่าผู้ที่สร้างความเจริญเฟื่องฟูให้กับรัสเซียสูงสุด ได้แก่ พระนางเจ้าแคทเธอรีนที่ 2 (ค.ศ. 1762-1796) พระนางได้รับการยกย่องให้เป็นราชินี ด้วยทรงเชี่ยวชาญด้านการปกครองอย่างมาก กระนั้นพระนางก็มีชื่อเสียงด้านลบด้วยพระนางมีคู่เสน่หามากมาย ผู้สืบราชวงศ์องค์ต่อมาคือ พระเจ้าพอลที่ 1 (ค.ศ. 1796-1801) พระราชโอรสของพระนางเจ้าแคทเทอรีน ทรงครองราชย์อยู่เพียงระยะสั้น จากนั้นพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 (1801- 1825) พระราชโอรสสืบพระราชบัลลังก์ต่อ ในปี 1812 ทรงทำศึกชนะจักรพรรดินโปเลียนแห่งฝรั่งเศส แต่แล้วในช่วงปลายรัชกาล เกิดกระแสการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบบรัฐสภา ปี 1825 เกิดกบฏต่อต้านราชวงศ์ขึ้นในเดือนธันวาคม เรียก กบฏธันวาคม (Decembrist Movement) แต่พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 1 (ค.ศ. 1825-1855) ก็ทรงปราบกลุ่มผู้ต่อต้านไว้ได้ พอมาในสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 2 (ค.ศ. 1855-1881) พระองค์ทรงมีฉายาว่า Tzar Liberator (ซาร์ผู้ปลดปล่อย) เนื่องจากพระองค์ทรงปลดปล่อยทาสติดที่ดิน (Serf) หลายล้านคนให้พ้นจากการเป็นทาส แต่พระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์ที่นครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กในปี 1881 ทิ้งไว้เพียงอนุสรณ์สถานที่สร้างอุทิศแด่พระองค์ ณ จุดที่ถูกลอบปลงพระชนม์ ซาร์องค์ต่อมาคือ อเล็กซานเดอร์ที่ 3 (ค.ศ. 1881-1894) จนถึงซาร์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โรมานอฟ พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 (1894-1917) ความเหลื่อมล้ำกันทางชนชั้น และความยากจน ก่อให้เกิดการปฏิวัติเป็นครั้งแรกโดยกรรมการชาวนาในวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1905 ซึ่งมีผู้ถูกยิงเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เรียกเหตุการณ์ครั้งนั้นว่า วันอาทิตย์เลือด Bloody Sunday และสุดท้ายคือการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 กระนั้นชนวนที่ทำให้ราชวงศ์โรมานอฟและระบอบซาร์ถึงกาลอวสานก็มีปัจจัยอื่นเช่นกันสมัยสหภาพโซเวียต สมัยสหภาพโซเวียต. การตัดสินใจเขาร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 ของซาร์นิโคลัสที่ 2 นั้นนำมาซึ่งความสูญเสียอย่างใหญ่หลวง ทั้งชีวิตของทหารและชาวรัสเซียนับล้านที่เมื่อรัสเซียเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ การจลาจลเกิดขึ้นทั่วเมือง ในที่สุดปี 1917 จึงเกิดการปฏิวัติล้มล้างระบบซาร์ พระเจ้านิโคลัสที่ 2 สละราชสมบัติ มีการจัดตั้งคณะรัฐบาลเฉพาะกิจเคอเรนสกีขึ้นบริหารประเทศ แต่พรรคบอลเชวิค (Bolshevik) นำโดยวลาดีมีร์ เลนินก็ทำการปฏิวัติยึดอำนาจการบริหารประเทศไว้ได้ โดยการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ พร้อมทั้งประกาศให้ประเทศเป็น สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Union of Soviet Socialist Repubilcs หรือ USSR) ปี ค.ศ. 1918 ย้ายเมืองหลวงและฐานอำนาจกลับสู่มอสโก กระนั้นก็ยังมีผู้ไม่พอใจกับสภาพแร้นแค้น การขาดสิทธิเสรีภาพ จึงทำให้เกิดสงครามกลางเมืองขึ้นหลายต่อหลายครั้ง เลนินถึงแก่อสัญกรรมในปี 1924 โจเซฟ สตาลิน (1924-1953) ขึ้นบริหารประเทศแทนด้วยความเผด็จการ และกวาดล้างทุกคนผู้ที่มีความคิดต่อต้าน เขาเปิดการพัฒนาประเทศสู่อุตสาหกรรมสมัยใหม่ จนเทียบเคียงสหรัฐอเมริกา แต่ปัญหาความอดอยาก ที่เรื้อรังมานานก็ยากเกินเยียวยา และยิ่งเลวร้ายเมื่อฮิตเลอร์สั่งล้อมมอสโกไว้ โดยเฉพาะที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กถูกปิดล้อมไว้นานถึง 900 วันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ชาวรัสเซียเรียกสงครามครั้งนั้นว่า มหาสงครามของผู้รักชาติ (The Great Patriotic War) กระนั้นสตาลินก็มีบทบาทในการพิชิตนาซีเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1941-1945) นี้ไว้ได้ ปี ค.ศ. 1955 นีกีตา ครุชชอฟ ขึ้นดำรงตำแหน่งผู้นำโดยมีแนวคิดในการบริหารประเทศที่เน้นการอยู่ร่วมกัน มีการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่ให้เป็นที่อยู่อาศัยของประชาชนผ่อนคลายความเข้มงวดให้น้อยกว่าสมัยสตาลิน รวมถึงเปิดเครมลินเป็นพิพิธภัณฑ์ให้ประชาชนได้เข้าชมอีกด้วย ปี 1964 ครุชชอฟลาออกจากตำแหน่งเลขาธิการพรรคแทน เบรจเนฟแผ่อิทธิพลไปถึงจีน คิวบา และอัฟกานิสถาน เพิ่มความเครียดไปทั่วโลก เขาจึงนำนโยบายต่างประเทศที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในชื่อ การผ่อนคลายความตึงเครียด มาใช้โดยปี1980 มอสโกได้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ครั้งที่ 22 ปี ค.ศ. 1985 มิฮาอิล กอร์บาชอฟขึ้นดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมิวนิสต์ เขาเป็นผู้นำการปฏิรูปโครงสร้างการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมที่เรียกว่า เปเรสตรอยคา (Perestroyka) โดยนำพาประเทศเข้าสู่ระบบทุนนิยม มีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และพัฒนาฝีมือแรงงานรวมถึงเสนอนโยบายเปิดกว้างกลัสนอสต์ (Glasnost) คือให้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและเปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่อสาธารณชน มีการติดต่อด้านการค้ากับตะวันตก รวมถึงถอนกำลังออกจากยุโรปตะวันออกและอัฟกานิสถานและยังได้เข้าร่วมกับองค์การนาโต หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ในปี ค.ศ. 1990 กอร์บาชอฟได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ รวมถึงได้รับยกย่องจากนิตยสารไทม์เป็นบุรุษแห่งทศวรรษ (Man of the Decade) กระนั้นปัญหาขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค และความล้าหลังทางการผลิตที่สั่งสมมานานก็ทำให้นโยบายเปเรสตรอยกาล้มเหลว ความนิยมในกอร์บาชอฟเริ่มตกลง ต่อมาเกิดรัฐประหารขึ้นในเดือนสิงหาคม 1991 โดยกลุ่มคอมมิวนิสต์หัวเก่าที่ไม่ต้องการการเปลี่ยนแปลงสู่ตลาดเสรี แต่บอริส เยลต์ซิน ก็สามารถกู้สถานการณ์เอาไว้ได้ กอร์บาชอฟจึงสิ้นคะแนนนิยมอย่างแท้จริง เขาประกาศลาออกจากตำแหน่ง รวมถึงประกาศยกเลิกพรรคคอมมิวนิสต์ต่อหน้ามหาชน พร้อมด้วยการก้าวขึ้นเป็นผู้นำของเยลต์ชิน สหภาพโซเวียตจึงล่มสลาย สาธารณรัฐต่างๆ ทั้ง 15 สาธารณรัฐแยกตัวเป็นอิสระ รวมทั้งสาธารณรัฐรัสเซีย (Russian SFSR) ภายใต้ชื่อใหม่ว่า สหพันธรัฐรัสเซียสหพันธรัฐรัสเซีย สหพันธรัฐรัสเซีย. บอริส เยลต์ซินได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีรัสเซียเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2534 ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีโดยตรงครั้งแรกในประวัติศาสตร์รัสเซีย ระหว่างและหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ได้มีการปฏิรูปอย่างกว้างขวาง รวมทั้งการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการเปิดเสรีตลาดและการค้า และยังมีการเปลี่ยนแปลงลึกซึ้งตามแนวทาง "ช็อกบำบัด" (shock therapy) ดังที่สหรัฐอเมริกาและกองทุนการเงินระหว่างประเทศแนะนำ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้ส่งผลให้เกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจครั้งใหญ่ ซึ่งรัสเซียมีจีดีพีและปริมาณการผลิตภาคอุตสาหกรรมลดลงถึง 50% ระหว่าง พ.ศ. 2533-2538 การแปรรูปรัฐวิสาหกิจส่วนใหญ่ได้โอนการควบคุมวิสาหกิจจากหน่วยงานของรัฐไปเป็นของปัจเจกบุคคลซึ่งมีความเชื่อมโยงภายในในระบบรัฐบาล นักธุรกิจที่ร่ำรวยขึ้นมาใหม่หลายคนได้นำเงินสดและสินทรัพย์นับพัน ๆ ล้านออกนอกประเทศในการโยกย้ายทุนขนานใหญ่ ภาวะตกต่ำของรัฐและเศรษฐกิจนำไปสู่การล่มสลายของบริการสังคม อัตราการเกิดตกฮวบ ขณะที่อัตราการตายพุ่งทะยาน ประชาชนหลายล้านคนอยู่ในภาวะยาจน จากระดับความยากจน 1.5% ในปลายยุคโซเวียต เป็น 39-49% ราวกลาง พ.ศ. 2536 คริสต์ทศวรรษ 1990 ได้เกิดการฉ้อราษฎร์บังหลวงและความไม่มีกฎหมายสุดขีด การเพิ่มขึ้นของแก๊งอาชญากรและอาชญากรรมรุนแรง คริสต์ทศวรรษ 1990 รัสเซียได้เผชิญกับความขัดแย้งด้วยอาวุธในคอเคซัสเหนือ ทั้งการสู้รบประรายด้านชาติพันธุ์ท้องถิ่นและการก่อการกบฏของกลุ่มอิสลามแบ่งแยกดินแดน นับตั้งแต่กลุ่มแบ่งแยกดินแดนเชเชนได้ประกาศเอราชในต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 ก็ได้เกิดสงครามกองโจรขึ้นเป็นระยะ ๆ ระหว่างกลุ่มกบฏกับกองทัพรัสเซีย กลุ่มแบ่งแยกดินแดนได้โจมตีก่อการร้ายต่อพลเรือน ที่มีชื่อเสีงที่สุด คือ วิกฤตการณ์ตัวประกันโรงละครมอสโก และการล้อมโรงเรียนเบสลัน ซึ่งเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตหลายร้อยศพและเรียกความสนใจจากทั่วโลก รัสเซียยอมรับความรับผิดชอบในการจัดการหนี้สินภายนอกของสหภาพโซเวียต แม้ประชากรรัสเซียจะมีเพียงครึ่งหนึ่งของประชากรสหภาพโซเวียตเมื่อสหภาพล่มสลายไปนั้น การขาดดุลงบประมาณอย่างสูงเป็นเหตุของวิกฤตการณ์การเงินรัสเซีย พ.ศ. 2541 และยิ่งทำให้จีดีพีลดลงไปอีก วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ประธานาธิบดีเยลต์ซินลาออก ส่งมอบตำแหน่งต่อให้กับนายกรัฐมนตรีที่เพิ่งแต่งตั้งใหม่ วลาดีมีร์ ปูติน ผู้ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดี พ.ศ. 2543 ปูตินปราบปรามการก่อกบฏเชเชน แม้ความรุนแรงเป็นพัก ๆ ยังเกิดขึ้นทั่วคอเคซัสเหนือ ราคาน้ำมันที่สูงและเงินตราที่เดิมอ่อนค่าเกิดขึ้นหลังอุปสงค์ภายในที่เพิ่มขึ้น การบริโภคและการลงทุนได้ช่วยทำให้เศรษฐกิจโตขึ้นเก้าปีติดต่อกัน ซึ่งได้พัฒนาคุณภาพชีวิตและเพิ่มอิทธิพลของรัสเซียในเวทีโลก แม้การปฏิรูปหลายอย่างที่ปูตินดำเนินการระหว่างดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีโดยทั่วไปมักถูกชาติตะวันตกวิจารณ์ว่าไม่เป็นประชาธิปไตย แต่ความเป็นผู้นำของปูตินเหนือการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อย เสถียรภาพและความก้าวหน้าได้ทำให้เขาเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางในรัสเซีย วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2551 ดมิทรี เมดเวเดฟได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีรัสเซีย ขณะที่ปูตินเป็นนายกรัฐมนตรี ปูตินกลับมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีอีกครั้งหลังการเลือกตั้งประธานาธิบดี พ.ศ. 2555 และเมดเวเดฟได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ในห้วงวิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557 รัสเซียได้ผนวกสาธารณรัฐไครเมีย ซึ่งเกิดจากการรวมกันของสาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมียและนครเซวัสโตปอลตามการลงประชามติการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. หลังจากวิกฤติทางการเมืองในปี 1993 รัสเซียมีการออกรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งได้รับการยอมรับโดยประชามติในวันที่ 12 ธันวาคม 1993 และเริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม ตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ รัสเซียเป็นสหพันธรัฐซึ่งมีประธานาธิบดีเป็นประมุข และ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล โดยรัฐบาลเป็นผู้มีอำนาจบริหาร ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือนายวลาดีมีร์ ปูตินกระทรวงกระทรวง. - มีชื่อเรียกโดยย่อว่า Ministry of Emergency Situations หรือกระทรวงสถานการณ์ฉุกเฉินการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. ประเทศรัสเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น- 46 แคว้น (Provinces - oblast) - 22 สาธารณรัฐ (Republics - respublika ) - 9 ดินแดน (Territories - kraya ) - 4 เขตปกครองตนเอง (Autonomous districts - avtonomnyye okruga) - 1 แคว้นปกครองตนเอง (Autonomous oblast - avtonomnaya oblast ) - 3 นครสหพันธ์ (Federal cities - federalnyye goroda ) คือ มอสโก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และเซวัสโตปอลกองทัพ กองทัพ. กองทัพรัสเซียแบ่งออกเป็นกองกำลังทางบก กองทัพเรือและกองทัพอากาศ นอกจากนี้ยังมีสาขาช่วยรบ (arm of service) อิสระอีกสามสาขา ได้แก่ กองกำลังขีปนาวุธยุทธศาสตร์ กองกำลังป้องกันห้วงอากาศ-อวกาศ และหน่วยส่งทางอากาศ ในปี 2549 กองทัพรัสเซียมีกำลังพลประจำการ 1.037 ล้านนาย ซึ่งบังคับเกณฑ์ให้พลเมืองชายอายุระหว่าง 18–27 ปีทุกคนรับราชการในกองทัพเป็นเวลาหนึ่งปี ประเทศรัสเซียมีคลังอาวุธนิวเคลียร์ใหญ่ที่สุดในโลก และมีกองเรือดำน้ำขีปนาวุธใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสอง และเป็นประเทศเดียวนอกจากสหรัฐอเมริกาที่มีกองกำลังเครื่องบินทิ้งระเบิดยุทธศาสตร์สมัยใหม่ กองกำลังรถถังของรัสเซียใหญ่ที่สุดในโลก และกองทัพเรือผิวน้ำและกองทัพอากาศใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ประเทศรัสเซียมีอุตสาหกรรมอาวุธขนาดใหญ่และผลิตในประเทศทั้งหมด โดยผลิตยุทโธปกรณ์ส่วนใหญ่เองโดยมีการนำเข้าอาวุธไม่กี่ชนิด ประเทศรัสเซียเป็นผู้ผลิตอาวุธรายใหญ่ที่สุดของโลกมาตั้งแต่ปี 2544 โดยมีการขายอาวุธคิดเป็นราว 30% ของทั่วโลก และมีการส่งออกไปประมาณ 80 ประเทศ รายจ่ายทางทหารภาครัฐอย่างเป็นทางการในปี 2555 อยู่ที่ 90,700 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ มากเป็นอันดับสามของโลก แม้แหล่งข้อมูลต่าง ๆ จะประเมินว่ารายจ่ายทางทหารของรัสเซียสูงกว่านี้มาก ปัจจุบัน การพัฒนายุทโธปกรณ์ครั้งใหญ่มูลค่าราว 200,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐอยู่ระหว่างดำเนินการในช่วงปี 2549 ถึง 2558เศรษฐกิจเกษตรกรรมอุตสาหกรรมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ. การพัฒนาทางเศรษฐกิจ. รัสเซียสามารถฟื้นตัวจากวิกฤติทางการเงินในปี 1998 และมีการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 7 ต่อปี เนื่องจากราคาน้ำมันที่สูงขึ้น การลงทุนจากต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น การขยายตัวของการบริโภคในประเทศ และความมั่นคงทางการเมือง ในปี 2007 รัสเซียมีจีดีพีใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก (มูลค่า 2.088 ล้านล้านดอลลาร์ เมื่อวัดด้วยความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ) ค่าแรงเฉลี่ยต่อเดือนในรัสเซียเพิ่มขึ้นจาก 80 ดอลลาร์ในปี 2000 เป็น 640 ดอลลาร์ในต้นปี 2008 ชาวรัสเซียที่ยากจนมีประมาณร้อยละ 14 ในปี 2007 ซึ่งลดลงอย่างมากจากร้อยละ 40 ในปี 1998 ซึ่งสถิติสูงสุดหลังสหภาพโซเวียตล่มสลาย อัตราว่างงานในรัสเซียลดลงจากร้อยละ 12.4 ในปี 1999 เหลือร้อยละ 6 ในปี 2007 การที่ประชากรมีรายได้เพิ่มขึ้นนี้ทำให้ตลาดของชนชั้นกลางในรัสเซียขยายตัวหลายเท่า ระบบภาษีที่เข้าใจง่ายกว่าเดิมเริ่มบังคับใช้ตั้งแต่ปี 2001 ซึ่งทำให้ภาระต่อประชาชนลดลงในขณะที่รายได้ของรัฐเพิ่มขึ้น รัสเซียใช้ระบบอัตราภาษีคงที่ที่ร้อยละ 13 กับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และทำให้กลายเป็นประเทศที่มีระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ดึงดูดผู้บริหารได้ดีเป็นอันดับสองรองจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ จากการสำรวจในปี 2007 งบประมาณของรัฐเกินดุลตั้งแต่ปี 2001 และจนถึงสิ้นปี 2007 มีงบประมาณเกินดุลมาร้อยละ 6 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ รัสเซียใช้รายได้จากน้ำมันที่ได้รับผ่านกองทุนความมั่นคงของสหพันธรัฐรัสเซียในการจ่ายหนี้ซึ่งเกิดขึ้นในยุคโซเวียตคืนแก่ปารีสคลับและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ รายได้จากการส่งออกน้ำมันยังสามารถทำให้รัสเซียมีเงินสำรองระหว่างประเทศเพิ่มจาก 1 หมื่น 2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 1999 เป็น 5.97 แสนล้านดอลลาร์ในปี 2008 ซึ่งสูงเป็นอันดับสามของโลก รัสเซียยังสามารถลดหนี้ต่างประเทศที่ก่อขึ้นในอดีตได้อย่างมาก อย่างไรก็ตาม การพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศไม่เท่าเทียมกันในแต่ละภูมิภาค โดยเขตมอสโกเป็นเขตที่ส่งผลต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศมากที่สุดพลังงาน พลังงาน. รัสเซียมีแหล่งทรัพยากรแก๊สธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีแหล่งทรัพยากรถ่านหินใหญ่เป็นอันดับสองของโลก และมีแหล่งทรัพยากรน้ำมันที่ใหญ่เป็นอันดับแปดของโลก รัสเซียเป็นประเทศที่ส่งออกแก๊สธรรมชาติมากเป็นอันดับหนึ่ง และส่งออกน้ำมันมากเป็นอันดับสองของโลก น้ำมัน แก๊สธรรมชาติ โลหะ และไม้ เป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญและมีมูลค่ามากถึงร้อยละ 80 ของการส่งออกทั้งหมดแต่หลังปี 2003 การส่งออกทรัพยากรธรรมชาติก็เริ่มลดความสำคัญลงเพราะตลาดภายในประเทศขยายตัวขึ้นอย่างมาก แม้ว่าราคาทรัพยากรด้านพลังงานจะสูงขึ้นมาก แต่น้ำมันและแก๊สธรรมชาติก็มีสัดส่วนเพียงร้อยละ 5.7 ของจีดีพี และรัฐบาลคาดการณ์ว่าสัดส่วนนี้จะลดลงเหลือร้อยละ 3.7 ภายในปี 2011 รัสเซียยังนับว่าเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจได้ดีกว่าประเทศที่ร่ำรวยทรัพยากรอื่น ๆ รัสเซียมีจำนวนประชากรที่จบการศึกษาระดับอุดมศึกษามากกว่าประเทศอื่นในทวีปยุโรปการท่องเที่ยว การท่องเที่ยว. ประเทศรัสเซียมีสายการบินประจำชาติคือแอโรฟลอต (รัสเซีย: Аэрофло́т, อังกฤษ: Aeroflot) มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว กรุงมอสโกโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคม และ โทรคมนาคมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษา โครงสร้างพื้นฐาน. การศึกษา. ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 รัฐบาลรัสเซียได้ขยายการศึกษาภาคบังคับจากเดิม 9 ปีเป็น 11 ปี กล่าวคือตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาไปถึงระดับอาชีวศึกษา โรงเรียนในรัสเซียจะแบ่งภาคเรียนออกเป็น 4 ภาคเรียน ซึ่งในแต่ละภาคเรียนจะมีวันหยุด 1-2 สัปดาห์สาธารณสุขประชากรศาสตร์เมืองใหญ่สุดเชื้อชาติ ประชากรศาสตร์. เชื้อชาติ. ประเทศรัสเซียมีประชากรประมาณ 144.3 ล้านคน (ค.ศ. 2016) จำนวนประชากรของรัสเซียมีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษที่ 1990 ซึ่งเป็นผลจากอัตราการตายที่สูงและอัตราการเกิดที่ต่ำ ในขณะที่อัตราการเกิดในรัสเซียมีพอ ๆ กับประเทศยุโรปอื่น ๆ (อัตราการเกิด 11.3 คนต่อประชากร 1000 คนในปี 2007 เทียบกับอัตราเฉลี่ย 10.25 คนต่อประชากร 1000 คนของสหภาพยุโรป) แต่ประชากรกลับลดลงเพราะอัตราการตายสูงกว่า (ในปี 2007 อัตราการตายของรัสเซียคือ 14.7 คนต่อประชากร 1000 คน เมื่อเที่ยบกับอัตราเฉลี่ยของสหภาพยุโรป 10.39 คนต่อ 1000 คน) ปัญหาประชากรที่ลดลงนี้ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ รัฐบาลจึงตั้งมาตรการต่าง ๆ ในการลดอัตราการตาย เพิ่มอัตราการเกิด พัฒนาสุขภาพของประชาชน กระทรวงสาธารณสุขของรัสเซียคาดการณ์ว่าอัตราการตายและอัตราการเกิดจะปรับตัวจนเท่ากันภายในปี 2011 รัสเซียมีพื้นที่มากที่สุดในโลก แต่เมื่อเทียบกับประชากรแล้ว ความหนาแน่นเพียงแค่ 40 เปอร์เซนต์เท่านั้นภาษา ภาษา. ภาษาประจำชาติ คือ ภาษารัสเซีย ภาษาราชการ คือ ภาษารัสเซีย และภาษาของชนกลุ่มน้อยในสาธารณรัฐต่างๆเช่น เชเชน ตาตาร์ อุตมูร์ โคมิ คัลมืย ตูวา ฯลฯศาสนา ศาสนา. ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือคริสต์ศาสนานิกายออร์โธดอกซ์รัสเซีย (ร้อยละ 94) ที่เหลือนับถือศาสนาอิสลาม (ร้อยละ 5.5) คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก (ร้อยละ 0.8) และพุทธศาสนานิกายมหายาน (ร้อยละ 0.6)กีฬา กีฬา. เคยมีการจัดโอลิมปิกเช่นโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ที่มอสโก โอลิมปิกฤดูหนาว 2014ที่โซชี และจะมีการจัดฟุตบอลโลก 2018 เช่นกันวัฒนธรรมวรรณกรรมสถาปัตยกรรมอาหารดนตรี และ นาฎศิลป์สื่อสารมวลชน วัฒนธรรม. สื่อสารมวลชน. สถานีโทรทัศน์วันหยุด วันหยุด. ส่วนวันอีดทั้งสองของศาสนาอิสลามเป็นวันหยุดของ สาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน สาธารณรัฐอินกุชเชเตีย สาธารณรัฐคาร์บาร์ดิโน-บัลกาเรีย ส่วนสาธารณรัฐบูเรียตียา และสาธารณรัฐคัลมืยคียา ก็ประกาศว่าวันวิสาขบูชาเป็นวันหยุดเช่นกัน
| ประเทศใดมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก | {
"answer": [
"รัสเซีย"
],
"answer_begin_position": [
98
],
"answer_end_position": [
105
]
} |
2,562 | 5,449 | ประเทศรัสเซีย รัสเซีย (; , ) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (; ) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน พ.ศ. 1531 มีการรับศาสนาคริสต์นิกายออร์โธด็อกซ์จากจักรวรรดิไบแซนไทน์ เริ่มต้นการประสมวัฒนธรรมไบแซนไทน์และสลาฟซึ่งนิยามวัฒนธรรมรัสเซียเป็นเวลาอีกสหัสวรรษหน้า ท้ายที่สุด รุสล่มสลายเป็นรัฐขนาดเล็กหลายรัฐ พื้นที่ส่วนใหญ่ของรุสถูกพิชิตโดยการรุกรานของมองโกล และกลายเป็นรัฐบรรณาการของโกลเดนฮอร์ดเร่ร่อน อาณาจักรแกรนด์ดยุคแห่งมอสโกค่อย ๆ รวมราชรัฐรัสเซียในละแวก ได้รับเอกราชจากโกลเดนฮอร์ด และมาครอบงำมรดกทางวัฒนธรรมและการเมืองของเคียฟรุส จนคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัสเซียได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางผ่านการพิชิตดินแดน การผนวก และการสำรวจเป็นของจักรวรรดิรัสเซีย นับเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดอันดับสามในประวัติศาสตร์ แผ่จากโปแลนด์ในยุโรปจรดอะแลสกาในอเมริกาเหนือ หลังการปฏิวัติรัสเซีย รัสเซียกลายมาเป็นสาธารณรัฐใหญ่ที่สุดและผู้นำในสหภาพโซเวียต เป็นรัฐสังคมนิยมมีรัฐธรรมนูญแห่งแรกของโลกและอภิมหาอำนาจที่ได้การยอมรับ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง สมัยโซเวียตได้ประสบความสำเร็จทางเทคโนโลยีที่สำคัญที่สุดของคริสต์ศตรวรรษที่ 20 รวมทั้งการส่งมนุษย์คนแรกขึ้นสู่อวกาศ สหพันธรัฐรัสเซียก่อตั้งขึ้นหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตใน พ.ศ. 2534 แต่ได้รับการยอมรับเป็นสภาพบุคคลสืบทอดจากสหภาพโซเวียต รัสเซียมีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สุดอันดับที่ 11 ของโลกโดยจีดีพีมูลค่าตลาด หรือใหญ่ที่สุดอันดับที่ 6 โดยความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ โดยมีงบประมาณทางทหารมากที่สุดอันดับที่ 5 ของโลก ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจธุรกิจจัดอันดับรัสเซียเป็นเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดอันดับที่ 9 ของโลกใน พ.ศ. 2554 ขึ้นจากอันดับที่ 10 ใน พ.ศ. 2553 รัสเซียเป็นหนึ่งในห้ารัฐอาวุธนิวเคลียร์ที่ได้รับการรับรองและครอบครองคลังแสงอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงใหญ่ที่สุดในโลก รัสเซียเป็นมหาอำนาจและสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ สมาชิกจี 8 จี 20 สภายุโรปและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย องค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป องค์การการค้าโลก และเป็นสมาชิกผู้นำเครือจักรภพรัฐเอกราชภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. ดินแดนอันกว้างใหญ่ของสหพันธรัฐรัสเซียครอบคลุมพื้นที่แถบตะวันออกเฉียงเหนือเหนือของทวีปยูเรเชีย จุดที่ห่างไกลกันที่สุดของรัสเซีย ซึ่งได้แก่ชายแดนที่ติดต่อกับโปแลนด์และหมู่เกาะคูริล มีระยะห่างถึง 8,000 กิโลเมตร ทำให้รัสเซียมีถึง 11 เขตเวลา รัสเซียมีเขตป่าสงวนที่ใหญ่ที่สุดในโลก และถูกเรียกว่าเป็น "ปอดของยุโรป" เพราะปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ดูดซึมนั้นเป็นรองเพียงแค่ป่าดิบชื้นแอมะซอนเท่านั้น รัสเซียมีทางออกสู่มหาสมุทรถึงสามแห่ง ได้แก่มหาสมุทรแอตแลนติก อาร์กติก และแปซิฟิก จึงทำให้รัสเซียเป็นประเทศที่มีบทบาทสำคัญต่ออุปทานของสินค้าประมงในโลก พื้นที่ส่วนใหญ่ของรัสเซียเป็นที่ราบกว้างใหญ่ ทางตอนใต้ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสเตปป์ มีป่าไม้มากทางตอนเหนือ และมีพื้นที่แบบทุนดราตามชายฝั่งทางเหนือ เทือกเขาจะอยู่ตามชายแดนทางใต้ เช่นเทือกเขาคอเคซัส ซึ่งมียอดเขาเอลบรุส ที่มีความสูง 5,642 เมตรและเป็นจุดสูงสุดของรัสเซียและยุโรป หรือเทือกเขาอัลไต และทางตะวันออก เช่นเทือกเขาเวอร์โฮยันสค์ หรือภูเขาไฟในแหลมคัมชัตคา เทือกเขาอูรัลทางตะวันตกวางตัวเหนือใต้และเป็นเขตแดนทางธรรมชาติของทวีปเอเชียและทวีปยุโรป รัสเซียมีชายฝั่งที่ยาวถึง 37,000 กิโลเมตร ตามแนวมหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิก ทะเลบอลติก ทะเลอะซอฟ ทะเลดำ และทะเลแคสเปียน นอกจากนั้น รัสเซียยังมีทางออกสู่ทะเลแบเร็นตส์ ทะเลขาว ทะเลคารา ทะเลลัปเตฟ ทะเลไซบีเรียตะวันออก ทะเลชุกชี ทะเลเบริง ทะเลโอค็อตสค์ และทะเลญี่ปุ่น เกาะและหมู่เกาะที่สำคัญได้แก่ หมู่เกาะโนวายาเซมเลีย หมู่เกาะฟรัสซ์โยเซฟแลนด์ หมู่เกาะเซเวอร์นายาเซมเลีย หมู่เกาะนิวไซบีเรีย เกาะแวรงเกล เกาะคูริล และเกาะซาคาลิน เกาะดีโอมีด (ซึ่งเกาะหนึ่งปกครองโดยรัสเซีย ส่วนอีกเกาะปกครองโดยสหรัฐอเมริกา) อยู่ห่างกันเพียง 3 กิโลเมตร และเกาะคุนาชิร์ก็อยู่ห่างจากฮกไกโดเพียงประมาณ 20 กิโลเมตรประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรก ประวัติศาสตร์. ยุคเริ่มแรก. ชาวสลาฟตะวันออกเป็นชนชาติแรกที่เข้ามาตั้งถื่นฐานในรัสเซียบริเวณแม่น้ำนีเปอร์และแม่น้ำวอลกาทางตอนใต้ของประเทศ ส่วนทางตอนเหนือชนชาติสแกนดิเนเวียและไวกิ้งที่รู้จักกันในนามวารันเจียน ได้ตั้งถิ่นฐานบริเวณแม่น้ำเนวา และทะเลสาบลาโดกา ทำการติดต่อค้าขายกับชาวสลาฟ แต่แล้วในปี ค.ศ. 880 กษัตริย์แห่งวาแรนเจียนนามรูลิค ก็เข้ามายึดเมืองเคียฟของชาวสลาฟและตั้งเคียฟเป็นเมืองหลวง โดยผนวกดินแดนทางเหนือกับใต้เข้าด้วยกันแล้วขนานนามว่า เคียฟรุส (Kievan Rus') และสถาปนาราชวงศ์รูริคขึ้น ในปี ค.ศ. 978 เจ้าชายวลาดีมีร์ โมโนมัค ขึ้นครองราชย์และทรงนำศาสนาคริสต์นิกายออร์ทอดอกซ์แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์เข้าสู่รัสเซีย ซึ่งต่อมามีบทบาทและอิทธิพลอย่างสูงต่อศิลปะ สถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมของประเทศ ในช่วงศตวรรษที่ 11 เคียฟเป็นนครหลวง ศูนย์รวมของอำนาจกษัตริย์และเป็นศูนย์กลางของคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ ในขณะที่เมืองอื่น ๆ ก็มีประชากรก่อตั้งขึ้นมาเช่นกัน จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้กล่าวอ้างถึงมอสโกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1147 ว่าเจ้าชายยูริ ดอลโกรูกี มกุฎราชกุมารแห่งนครเคียฟ มีรับสั่งให้สร้างป้อมปราการไม้หรือ "เครมลิน" (Kremlin) ขึ้นที่เนินเขาโบโรวิตสกายา ริมแม่น้ำมอสควา และตั้งชื่อเมืองว่า "มอสโก" (Moscow)อาณาจักรมัสโควี อาณาจักรมัสโควี. ต่อมาในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 กองทัพมองโกลนำโดยบาตูข่านเข้ารุกรานรัสเซียและยึดเมืองเคียฟได้สำเร็จ หลังจากนั้นรัสเซียก็ถูกตัดขาดจากโลกภายนอก โดยถูกควบคุมทางการเมือง การปกครอง และยังต้องจ่ายภาษีให้กับชาวมองโกล กษัตริย์และพระราชาคณะจึงย้ายศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาทางตอนเหนือ ในปี 1328 พระเจ้าอีวานที่ 1 ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นกษัตริย์ พระองค์ทรงมีฉายาว่าอีวานถุงเงิน เนื่องจากทรงเก็บส่วยและเครื่องบรรณาการเพื่อส่งให้แก่ชาวมองโกล และในยุคนี้เองที่กษัตริย์ได้ย้ายที่ประทับมาที่มอสโก ต่อมาในยุคของพระเจ้าอีวานที่ 2 (ค.ศ. 1353-1359) ชาวมองโกลเริ่มเสื่อมอำนาจ เจ้าชายดมิตรี โอรสแห่งพระเจ้าอีวานที่ 2 ทรงขับไล่มองโกลได้สำเร็จในการรบที่คูลีโคโวบนฝั่งแม่น้ำดอน ต่อมาในปี 1380 พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็น ดมีตรี ดอนสกอย (ดมีตรีแห่งแม่น้ำดอน) ได้รวมเมืองวลาดิมีร์และซุลดัล อันเป็นเมืองสำคัญของอาณาจักรมัสโควี และยังได้บูรณะเครมลินเป็นกำแพงหินขาวแทนไม้โอ๊ก มอสโกจึงมีอีกชื่อเรียกว่า เมืองกำแพงหินขาว ในยุคนั้น แต่เพียงไม่นานพวกตาตาร์ก็กลับมาทำลายเครมลินจนพินาศ รัสเซียต้องเป็นเมืองขึ้นของตาตาร์อีกครั้งหนึ่งในปี 1382 จนเข้าสู่สมัยของพระเจ้าอีวานที่ 3 หรือพระเจ้าอีวานมหาราช (ค.ศ. 1462-1505) พระองค์ทรงอภิเษกกับหลานสาวของจักรพรรดิองค์ก่อนแห่งไบแซนไทน์ในปี 1472 และรับอินทรีสองเศียรเป็นสัญลักษณ์ของรัสเซีย ในยุคของพระองค์ได้รวบรวมดินแดนให้กลับเป็นปึกแผ่นอีกครั้ง ในปี ค.ศ. 1480 ทรงขับไล่กองกำลังตาตาร์ออกจากรัสเซียจนหมดสิ้น ปิดฉากสองศตวรรษภายใต้การปกครองของมองโกล ทรงบูรณะเครมลินให้เป็นหอคอยสูงและโบสถ์งดงามไว้ภายในเครมลิน นับเป็นยุคแห่งความรุ่งเรืองของรัสเซีย ปี 1574 พระเจ้าอีวานที่ 4 (1533-1584) หลานของพระเจ้าอีวานมหาราช ได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าซาร์องค์แรก (ซาร์ มาจากคำว่า ซีซาร์ ผู้ครองอำนาจแห่งจักรวรรดิโรมันและไบแซนไทน์) พระองค์ทรงปกครองอาณาจักรด้วยความเหี้ยมโหด ปราศจากความเมตตา ว่ากันว่ามีรับสั่งให้ควักลูกตาสถาปนิกผู้ออกแบบสร้างมหาวิหารเซนต์บาซิล เพื่อมิให้สร้างสิ่งก่อสร้างที่งดงามเช่นนี้ได้ที่ใดอีก ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงถูกขนานนามว่า อีวานผู้โหดเหี้ยม ต่อมาเมื่อหมดยุคของพระองค์ในปี ค.ศ. 1584 มอสโกก็ประสบปัญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจอย่างรุนแรง มีการแย่งชิงราชบัลลังก์ระหว่างราชวงศ์รูริค และโรมานอฟ ในที่สุดสมัชชาแห่งชาติและพระราชาคณะแห่งคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ก็มีมติเลือก มีฮาอิล โรมานอฟ ขึ้นเป็นซาร์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์โรมานอฟจักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซีย. ค.ศ. 1613-1917 พระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 มหาราช (ค.ศ. 1682-1725) ทรงเป็นกษัตริย์ที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในหน้าประวัติศาสตร์รัสเซีย พระองค์ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุ 10 ชันษา พร้อมกับพระเจ้าอีวานที่ 5 (เป็นกษัตริย์บัลลังก์คู่) จนในปี 1696 เมื่อพระเจ้าอีวานที่ 5 สิ้นพระชนม์ พระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 มหาราช จึงมีพระราชอำนาจโดยแท้จริง ในยุคของพระองค์ทรงขยายอาณาเขตรัสเซียออกไปทางตะวันออกถึงวลาดีวอสตอค และทรงใช้นโยบายสู้ตะวันตก ทรงนำรัสเซียเข้าสู่ยุคใหม่ โดยในปี ค.ศ. 1712 ทรงย้ายเมืองหลวงจากมอสโกมาที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และเป็นครั้งแรกที่มีการจัดตั้งกองทหารราชนาวีขึ้นในรัสเซีย ทั้งยังทรงนำช่างฝีมือจากฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมนี และสวิตเซอร์แลนด์ มาสร้างวิหารและพระราชวังที่งดงามอีกมากมาย และทรงนำพาจักรวรรดิรัสเซียให้เป็นที่รู้จักเกรียงไกรในสังคมโลก ถัดจากพระเจ้าปีเตอร์มหาราชยังมีซาร์และซารีนาอีกหลายพระองค์ที่สืบราชบัลลังก์ ทว่าผู้ที่สร้างความเจริญเฟื่องฟูให้กับรัสเซียสูงสุด ได้แก่ พระนางเจ้าแคทเธอรีนที่ 2 (ค.ศ. 1762-1796) พระนางได้รับการยกย่องให้เป็นราชินี ด้วยทรงเชี่ยวชาญด้านการปกครองอย่างมาก กระนั้นพระนางก็มีชื่อเสียงด้านลบด้วยพระนางมีคู่เสน่หามากมาย ผู้สืบราชวงศ์องค์ต่อมาคือ พระเจ้าพอลที่ 1 (ค.ศ. 1796-1801) พระราชโอรสของพระนางเจ้าแคทเทอรีน ทรงครองราชย์อยู่เพียงระยะสั้น จากนั้นพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 (1801- 1825) พระราชโอรสสืบพระราชบัลลังก์ต่อ ในปี 1812 ทรงทำศึกชนะจักรพรรดินโปเลียนแห่งฝรั่งเศส แต่แล้วในช่วงปลายรัชกาล เกิดกระแสการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบบรัฐสภา ปี 1825 เกิดกบฏต่อต้านราชวงศ์ขึ้นในเดือนธันวาคม เรียก กบฏธันวาคม (Decembrist Movement) แต่พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 1 (ค.ศ. 1825-1855) ก็ทรงปราบกลุ่มผู้ต่อต้านไว้ได้ พอมาในสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 2 (ค.ศ. 1855-1881) พระองค์ทรงมีฉายาว่า Tzar Liberator (ซาร์ผู้ปลดปล่อย) เนื่องจากพระองค์ทรงปลดปล่อยทาสติดที่ดิน (Serf) หลายล้านคนให้พ้นจากการเป็นทาส แต่พระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์ที่นครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กในปี 1881 ทิ้งไว้เพียงอนุสรณ์สถานที่สร้างอุทิศแด่พระองค์ ณ จุดที่ถูกลอบปลงพระชนม์ ซาร์องค์ต่อมาคือ อเล็กซานเดอร์ที่ 3 (ค.ศ. 1881-1894) จนถึงซาร์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โรมานอฟ พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 (1894-1917) ความเหลื่อมล้ำกันทางชนชั้น และความยากจน ก่อให้เกิดการปฏิวัติเป็นครั้งแรกโดยกรรมการชาวนาในวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1905 ซึ่งมีผู้ถูกยิงเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เรียกเหตุการณ์ครั้งนั้นว่า วันอาทิตย์เลือด Bloody Sunday และสุดท้ายคือการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 กระนั้นชนวนที่ทำให้ราชวงศ์โรมานอฟและระบอบซาร์ถึงกาลอวสานก็มีปัจจัยอื่นเช่นกันสมัยสหภาพโซเวียต สมัยสหภาพโซเวียต. การตัดสินใจเขาร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 ของซาร์นิโคลัสที่ 2 นั้นนำมาซึ่งความสูญเสียอย่างใหญ่หลวง ทั้งชีวิตของทหารและชาวรัสเซียนับล้านที่เมื่อรัสเซียเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ การจลาจลเกิดขึ้นทั่วเมือง ในที่สุดปี 1917 จึงเกิดการปฏิวัติล้มล้างระบบซาร์ พระเจ้านิโคลัสที่ 2 สละราชสมบัติ มีการจัดตั้งคณะรัฐบาลเฉพาะกิจเคอเรนสกีขึ้นบริหารประเทศ แต่พรรคบอลเชวิค (Bolshevik) นำโดยวลาดีมีร์ เลนินก็ทำการปฏิวัติยึดอำนาจการบริหารประเทศไว้ได้ โดยการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ พร้อมทั้งประกาศให้ประเทศเป็น สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Union of Soviet Socialist Repubilcs หรือ USSR) ปี ค.ศ. 1918 ย้ายเมืองหลวงและฐานอำนาจกลับสู่มอสโก กระนั้นก็ยังมีผู้ไม่พอใจกับสภาพแร้นแค้น การขาดสิทธิเสรีภาพ จึงทำให้เกิดสงครามกลางเมืองขึ้นหลายต่อหลายครั้ง เลนินถึงแก่อสัญกรรมในปี 1924 โจเซฟ สตาลิน (1924-1953) ขึ้นบริหารประเทศแทนด้วยความเผด็จการ และกวาดล้างทุกคนผู้ที่มีความคิดต่อต้าน เขาเปิดการพัฒนาประเทศสู่อุตสาหกรรมสมัยใหม่ จนเทียบเคียงสหรัฐอเมริกา แต่ปัญหาความอดอยาก ที่เรื้อรังมานานก็ยากเกินเยียวยา และยิ่งเลวร้ายเมื่อฮิตเลอร์สั่งล้อมมอสโกไว้ โดยเฉพาะที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กถูกปิดล้อมไว้นานถึง 900 วันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ชาวรัสเซียเรียกสงครามครั้งนั้นว่า มหาสงครามของผู้รักชาติ (The Great Patriotic War) กระนั้นสตาลินก็มีบทบาทในการพิชิตนาซีเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1941-1945) นี้ไว้ได้ ปี ค.ศ. 1955 นีกีตา ครุชชอฟ ขึ้นดำรงตำแหน่งผู้นำโดยมีแนวคิดในการบริหารประเทศที่เน้นการอยู่ร่วมกัน มีการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่ให้เป็นที่อยู่อาศัยของประชาชนผ่อนคลายความเข้มงวดให้น้อยกว่าสมัยสตาลิน รวมถึงเปิดเครมลินเป็นพิพิธภัณฑ์ให้ประชาชนได้เข้าชมอีกด้วย ปี 1964 ครุชชอฟลาออกจากตำแหน่งเลขาธิการพรรคแทน เบรจเนฟแผ่อิทธิพลไปถึงจีน คิวบา และอัฟกานิสถาน เพิ่มความเครียดไปทั่วโลก เขาจึงนำนโยบายต่างประเทศที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในชื่อ การผ่อนคลายความตึงเครียด มาใช้โดยปี1980 มอสโกได้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ครั้งที่ 22 ปี ค.ศ. 1985 มิฮาอิล กอร์บาชอฟขึ้นดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมิวนิสต์ เขาเป็นผู้นำการปฏิรูปโครงสร้างการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมที่เรียกว่า เปเรสตรอยคา (Perestroyka) โดยนำพาประเทศเข้าสู่ระบบทุนนิยม มีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และพัฒนาฝีมือแรงงานรวมถึงเสนอนโยบายเปิดกว้างกลัสนอสต์ (Glasnost) คือให้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและเปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่อสาธารณชน มีการติดต่อด้านการค้ากับตะวันตก รวมถึงถอนกำลังออกจากยุโรปตะวันออกและอัฟกานิสถานและยังได้เข้าร่วมกับองค์การนาโต หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ในปี ค.ศ. 1990 กอร์บาชอฟได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ รวมถึงได้รับยกย่องจากนิตยสารไทม์เป็นบุรุษแห่งทศวรรษ (Man of the Decade) กระนั้นปัญหาขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค และความล้าหลังทางการผลิตที่สั่งสมมานานก็ทำให้นโยบายเปเรสตรอยกาล้มเหลว ความนิยมในกอร์บาชอฟเริ่มตกลง ต่อมาเกิดรัฐประหารขึ้นในเดือนสิงหาคม 1991 โดยกลุ่มคอมมิวนิสต์หัวเก่าที่ไม่ต้องการการเปลี่ยนแปลงสู่ตลาดเสรี แต่บอริส เยลต์ซิน ก็สามารถกู้สถานการณ์เอาไว้ได้ กอร์บาชอฟจึงสิ้นคะแนนนิยมอย่างแท้จริง เขาประกาศลาออกจากตำแหน่ง รวมถึงประกาศยกเลิกพรรคคอมมิวนิสต์ต่อหน้ามหาชน พร้อมด้วยการก้าวขึ้นเป็นผู้นำของเยลต์ชิน สหภาพโซเวียตจึงล่มสลาย สาธารณรัฐต่างๆ ทั้ง 15 สาธารณรัฐแยกตัวเป็นอิสระ รวมทั้งสาธารณรัฐรัสเซีย (Russian SFSR) ภายใต้ชื่อใหม่ว่า สหพันธรัฐรัสเซียสหพันธรัฐรัสเซีย สหพันธรัฐรัสเซีย. บอริส เยลต์ซินได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีรัสเซียเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2534 ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีโดยตรงครั้งแรกในประวัติศาสตร์รัสเซีย ระหว่างและหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ได้มีการปฏิรูปอย่างกว้างขวาง รวมทั้งการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนการเปิดเสรีตลาดและการค้า และยังมีการเปลี่ยนแปลงลึกซึ้งตามแนวทาง "ช็อกบำบัด" (shock therapy) ดังที่สหรัฐอเมริกาและกองทุนการเงินระหว่างประเทศแนะนำ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้ส่งผลให้เกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจครั้งใหญ่ ซึ่งรัสเซียมีจีดีพีและปริมาณการผลิตภาคอุตสาหกรรมลดลงถึง 50% ระหว่าง พ.ศ. 2533-2538 การแปรรูปรัฐวิสาหกิจส่วนใหญ่ได้โอนการควบคุมวิสาหกิจจากหน่วยงานของรัฐไปเป็นของปัจเจกบุคคลซึ่งมีความเชื่อมโยงภายในในระบบรัฐบาล นักธุรกิจที่ร่ำรวยขึ้นมาใหม่หลายคนได้นำเงินสดและสินทรัพย์นับพัน ๆ ล้านออกนอกประเทศในการโยกย้ายทุนขนานใหญ่ ภาวะตกต่ำของรัฐและเศรษฐกิจนำไปสู่การล่มสลายของบริการสังคม อัตราการเกิดตกฮวบ ขณะที่อัตราการตายพุ่งทะยาน ประชาชนหลายล้านคนอยู่ในภาวะยาจน จากระดับความยากจน 1.5% ในปลายยุคโซเวียต เป็น 39-49% ราวกลาง พ.ศ. 2536 คริสต์ทศวรรษ 1990 ได้เกิดการฉ้อราษฎร์บังหลวงและความไม่มีกฎหมายสุดขีด การเพิ่มขึ้นของแก๊งอาชญากรและอาชญากรรมรุนแรง คริสต์ทศวรรษ 1990 รัสเซียได้เผชิญกับความขัดแย้งด้วยอาวุธในคอเคซัสเหนือ ทั้งการสู้รบประรายด้านชาติพันธุ์ท้องถิ่นและการก่อการกบฏของกลุ่มอิสลามแบ่งแยกดินแดน นับตั้งแต่กลุ่มแบ่งแยกดินแดนเชเชนได้ประกาศเอราชในต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 ก็ได้เกิดสงครามกองโจรขึ้นเป็นระยะ ๆ ระหว่างกลุ่มกบฏกับกองทัพรัสเซีย กลุ่มแบ่งแยกดินแดนได้โจมตีก่อการร้ายต่อพลเรือน ที่มีชื่อเสีงที่สุด คือ วิกฤตการณ์ตัวประกันโรงละครมอสโก และการล้อมโรงเรียนเบสลัน ซึ่งเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตหลายร้อยศพและเรียกความสนใจจากทั่วโลก รัสเซียยอมรับความรับผิดชอบในการจัดการหนี้สินภายนอกของสหภาพโซเวียต แม้ประชากรรัสเซียจะมีเพียงครึ่งหนึ่งของประชากรสหภาพโซเวียตเมื่อสหภาพล่มสลายไปนั้น การขาดดุลงบประมาณอย่างสูงเป็นเหตุของวิกฤตการณ์การเงินรัสเซีย พ.ศ. 2541 และยิ่งทำให้จีดีพีลดลงไปอีก วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ประธานาธิบดีเยลต์ซินลาออก ส่งมอบตำแหน่งต่อให้กับนายกรัฐมนตรีที่เพิ่งแต่งตั้งใหม่ วลาดีมีร์ ปูติน ผู้ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดี พ.ศ. 2543 ปูตินปราบปรามการก่อกบฏเชเชน แม้ความรุนแรงเป็นพัก ๆ ยังเกิดขึ้นทั่วคอเคซัสเหนือ ราคาน้ำมันที่สูงและเงินตราที่เดิมอ่อนค่าเกิดขึ้นหลังอุปสงค์ภายในที่เพิ่มขึ้น การบริโภคและการลงทุนได้ช่วยทำให้เศรษฐกิจโตขึ้นเก้าปีติดต่อกัน ซึ่งได้พัฒนาคุณภาพชีวิตและเพิ่มอิทธิพลของรัสเซียในเวทีโลก แม้การปฏิรูปหลายอย่างที่ปูตินดำเนินการระหว่างดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีโดยทั่วไปมักถูกชาติตะวันตกวิจารณ์ว่าไม่เป็นประชาธิปไตย แต่ความเป็นผู้นำของปูตินเหนือการฟื้นฟูความสงบเรียบร้อย เสถียรภาพและความก้าวหน้าได้ทำให้เขาเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางในรัสเซีย วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2551 ดมิทรี เมดเวเดฟได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีรัสเซีย ขณะที่ปูตินเป็นนายกรัฐมนตรี ปูตินกลับมาดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีอีกครั้งหลังการเลือกตั้งประธานาธิบดี พ.ศ. 2555 และเมดเวเดฟได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ในห้วงวิกฤตการณ์ไครเมีย พ.ศ. 2557 รัสเซียได้ผนวกสาธารณรัฐไครเมีย ซึ่งเกิดจากการรวมกันของสาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมียและนครเซวัสโตปอลตามการลงประชามติการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง. หลังจากวิกฤติทางการเมืองในปี 1993 รัสเซียมีการออกรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งได้รับการยอมรับโดยประชามติในวันที่ 12 ธันวาคม 1993 และเริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม ตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ รัสเซียเป็นสหพันธรัฐซึ่งมีประธานาธิบดีเป็นประมุข และ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล โดยรัฐบาลเป็นผู้มีอำนาจบริหาร ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือนายวลาดีมีร์ ปูตินกระทรวงกระทรวง. - มีชื่อเรียกโดยย่อว่า Ministry of Emergency Situations หรือกระทรวงสถานการณ์ฉุกเฉินการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. ประเทศรัสเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น- 46 แคว้น (Provinces - oblast) - 22 สาธารณรัฐ (Republics - respublika ) - 9 ดินแดน (Territories - kraya ) - 4 เขตปกครองตนเอง (Autonomous districts - avtonomnyye okruga) - 1 แคว้นปกครองตนเอง (Autonomous oblast - avtonomnaya oblast ) - 3 นครสหพันธ์ (Federal cities - federalnyye goroda ) คือ มอสโก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และเซวัสโตปอลกองทัพ กองทัพ. กองทัพรัสเซียแบ่งออกเป็นกองกำลังทางบก กองทัพเรือและกองทัพอากาศ นอกจากนี้ยังมีสาขาช่วยรบ (arm of service) อิสระอีกสามสาขา ได้แก่ กองกำลังขีปนาวุธยุทธศาสตร์ กองกำลังป้องกันห้วงอากาศ-อวกาศ และหน่วยส่งทางอากาศ ในปี 2549 กองทัพรัสเซียมีกำลังพลประจำการ 1.037 ล้านนาย ซึ่งบังคับเกณฑ์ให้พลเมืองชายอายุระหว่าง 18–27 ปีทุกคนรับราชการในกองทัพเป็นเวลาหนึ่งปี ประเทศรัสเซียมีคลังอาวุธนิวเคลียร์ใหญ่ที่สุดในโลก และมีกองเรือดำน้ำขีปนาวุธใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสอง และเป็นประเทศเดียวนอกจากสหรัฐอเมริกาที่มีกองกำลังเครื่องบินทิ้งระเบิดยุทธศาสตร์สมัยใหม่ กองกำลังรถถังของรัสเซียใหญ่ที่สุดในโลก และกองทัพเรือผิวน้ำและกองทัพอากาศใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ประเทศรัสเซียมีอุตสาหกรรมอาวุธขนาดใหญ่และผลิตในประเทศทั้งหมด โดยผลิตยุทโธปกรณ์ส่วนใหญ่เองโดยมีการนำเข้าอาวุธไม่กี่ชนิด ประเทศรัสเซียเป็นผู้ผลิตอาวุธรายใหญ่ที่สุดของโลกมาตั้งแต่ปี 2544 โดยมีการขายอาวุธคิดเป็นราว 30% ของทั่วโลก และมีการส่งออกไปประมาณ 80 ประเทศ รายจ่ายทางทหารภาครัฐอย่างเป็นทางการในปี 2555 อยู่ที่ 90,700 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ มากเป็นอันดับสามของโลก แม้แหล่งข้อมูลต่าง ๆ จะประเมินว่ารายจ่ายทางทหารของรัสเซียสูงกว่านี้มาก ปัจจุบัน การพัฒนายุทโธปกรณ์ครั้งใหญ่มูลค่าราว 200,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐอยู่ระหว่างดำเนินการในช่วงปี 2549 ถึง 2558เศรษฐกิจเกษตรกรรมอุตสาหกรรมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ. การพัฒนาทางเศรษฐกิจ. รัสเซียสามารถฟื้นตัวจากวิกฤติทางการเงินในปี 1998 และมีการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 7 ต่อปี เนื่องจากราคาน้ำมันที่สูงขึ้น การลงทุนจากต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น การขยายตัวของการบริโภคในประเทศ และความมั่นคงทางการเมือง ในปี 2007 รัสเซียมีจีดีพีใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก (มูลค่า 2.088 ล้านล้านดอลลาร์ เมื่อวัดด้วยความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ) ค่าแรงเฉลี่ยต่อเดือนในรัสเซียเพิ่มขึ้นจาก 80 ดอลลาร์ในปี 2000 เป็น 640 ดอลลาร์ในต้นปี 2008 ชาวรัสเซียที่ยากจนมีประมาณร้อยละ 14 ในปี 2007 ซึ่งลดลงอย่างมากจากร้อยละ 40 ในปี 1998 ซึ่งสถิติสูงสุดหลังสหภาพโซเวียตล่มสลาย อัตราว่างงานในรัสเซียลดลงจากร้อยละ 12.4 ในปี 1999 เหลือร้อยละ 6 ในปี 2007 การที่ประชากรมีรายได้เพิ่มขึ้นนี้ทำให้ตลาดของชนชั้นกลางในรัสเซียขยายตัวหลายเท่า ระบบภาษีที่เข้าใจง่ายกว่าเดิมเริ่มบังคับใช้ตั้งแต่ปี 2001 ซึ่งทำให้ภาระต่อประชาชนลดลงในขณะที่รายได้ของรัฐเพิ่มขึ้น รัสเซียใช้ระบบอัตราภาษีคงที่ที่ร้อยละ 13 กับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และทำให้กลายเป็นประเทศที่มีระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ดึงดูดผู้บริหารได้ดีเป็นอันดับสองรองจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ จากการสำรวจในปี 2007 งบประมาณของรัฐเกินดุลตั้งแต่ปี 2001 และจนถึงสิ้นปี 2007 มีงบประมาณเกินดุลมาร้อยละ 6 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ รัสเซียใช้รายได้จากน้ำมันที่ได้รับผ่านกองทุนความมั่นคงของสหพันธรัฐรัสเซียในการจ่ายหนี้ซึ่งเกิดขึ้นในยุคโซเวียตคืนแก่ปารีสคลับและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ รายได้จากการส่งออกน้ำมันยังสามารถทำให้รัสเซียมีเงินสำรองระหว่างประเทศเพิ่มจาก 1 หมื่น 2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 1999 เป็น 5.97 แสนล้านดอลลาร์ในปี 2008 ซึ่งสูงเป็นอันดับสามของโลก รัสเซียยังสามารถลดหนี้ต่างประเทศที่ก่อขึ้นในอดีตได้อย่างมาก อย่างไรก็ตาม การพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศไม่เท่าเทียมกันในแต่ละภูมิภาค โดยเขตมอสโกเป็นเขตที่ส่งผลต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศมากที่สุดพลังงาน พลังงาน. รัสเซียมีแหล่งทรัพยากรแก๊สธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีแหล่งทรัพยากรถ่านหินใหญ่เป็นอันดับสองของโลก และมีแหล่งทรัพยากรน้ำมันที่ใหญ่เป็นอันดับแปดของโลก รัสเซียเป็นประเทศที่ส่งออกแก๊สธรรมชาติมากเป็นอันดับหนึ่ง และส่งออกน้ำมันมากเป็นอันดับสองของโลก น้ำมัน แก๊สธรรมชาติ โลหะ และไม้ เป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญและมีมูลค่ามากถึงร้อยละ 80 ของการส่งออกทั้งหมดแต่หลังปี 2003 การส่งออกทรัพยากรธรรมชาติก็เริ่มลดความสำคัญลงเพราะตลาดภายในประเทศขยายตัวขึ้นอย่างมาก แม้ว่าราคาทรัพยากรด้านพลังงานจะสูงขึ้นมาก แต่น้ำมันและแก๊สธรรมชาติก็มีสัดส่วนเพียงร้อยละ 5.7 ของจีดีพี และรัฐบาลคาดการณ์ว่าสัดส่วนนี้จะลดลงเหลือร้อยละ 3.7 ภายในปี 2011 รัสเซียยังนับว่าเป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจได้ดีกว่าประเทศที่ร่ำรวยทรัพยากรอื่น ๆ รัสเซียมีจำนวนประชากรที่จบการศึกษาระดับอุดมศึกษามากกว่าประเทศอื่นในทวีปยุโรปการท่องเที่ยว การท่องเที่ยว. ประเทศรัสเซียมีสายการบินประจำชาติคือแอโรฟลอต (รัสเซีย: Аэрофло́т, อังกฤษ: Aeroflot) มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเชเรเมเตียโว กรุงมอสโกโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคม และ โทรคมนาคมวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการศึกษา โครงสร้างพื้นฐาน. การศึกษา. ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 รัฐบาลรัสเซียได้ขยายการศึกษาภาคบังคับจากเดิม 9 ปีเป็น 11 ปี กล่าวคือตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาไปถึงระดับอาชีวศึกษา โรงเรียนในรัสเซียจะแบ่งภาคเรียนออกเป็น 4 ภาคเรียน ซึ่งในแต่ละภาคเรียนจะมีวันหยุด 1-2 สัปดาห์สาธารณสุขประชากรศาสตร์เมืองใหญ่สุดเชื้อชาติ ประชากรศาสตร์. เชื้อชาติ. ประเทศรัสเซียมีประชากรประมาณ 144.3 ล้านคน (ค.ศ. 2016) จำนวนประชากรของรัสเซียมีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษที่ 1990 ซึ่งเป็นผลจากอัตราการตายที่สูงและอัตราการเกิดที่ต่ำ ในขณะที่อัตราการเกิดในรัสเซียมีพอ ๆ กับประเทศยุโรปอื่น ๆ (อัตราการเกิด 11.3 คนต่อประชากร 1000 คนในปี 2007 เทียบกับอัตราเฉลี่ย 10.25 คนต่อประชากร 1000 คนของสหภาพยุโรป) แต่ประชากรกลับลดลงเพราะอัตราการตายสูงกว่า (ในปี 2007 อัตราการตายของรัสเซียคือ 14.7 คนต่อประชากร 1000 คน เมื่อเที่ยบกับอัตราเฉลี่ยของสหภาพยุโรป 10.39 คนต่อ 1000 คน) ปัญหาประชากรที่ลดลงนี้ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ รัฐบาลจึงตั้งมาตรการต่าง ๆ ในการลดอัตราการตาย เพิ่มอัตราการเกิด พัฒนาสุขภาพของประชาชน กระทรวงสาธารณสุขของรัสเซียคาดการณ์ว่าอัตราการตายและอัตราการเกิดจะปรับตัวจนเท่ากันภายในปี 2011 รัสเซียมีพื้นที่มากที่สุดในโลก แต่เมื่อเทียบกับประชากรแล้ว ความหนาแน่นเพียงแค่ 40 เปอร์เซนต์เท่านั้นภาษา ภาษา. ภาษาประจำชาติ คือ ภาษารัสเซีย ภาษาราชการ คือ ภาษารัสเซีย และภาษาของชนกลุ่มน้อยในสาธารณรัฐต่างๆเช่น เชเชน ตาตาร์ อุตมูร์ โคมิ คัลมืย ตูวา ฯลฯศาสนา ศาสนา. ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือคริสต์ศาสนานิกายออร์โธดอกซ์รัสเซีย (ร้อยละ 94) ที่เหลือนับถือศาสนาอิสลาม (ร้อยละ 5.5) คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก (ร้อยละ 0.8) และพุทธศาสนานิกายมหายาน (ร้อยละ 0.6)กีฬา กีฬา. เคยมีการจัดโอลิมปิกเช่นโอลิมปิกฤดูร้อน 1980ที่มอสโก โอลิมปิกฤดูหนาว 2014ที่โซชี และจะมีการจัดฟุตบอลโลก 2018 เช่นกันวัฒนธรรมวรรณกรรมสถาปัตยกรรมอาหารดนตรี และ นาฎศิลป์สื่อสารมวลชน วัฒนธรรม. สื่อสารมวลชน. สถานีโทรทัศน์วันหยุด วันหยุด. ส่วนวันอีดทั้งสองของศาสนาอิสลามเป็นวันหยุดของ สาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน สาธารณรัฐอินกุชเชเตีย สาธารณรัฐคาร์บาร์ดิโน-บัลกาเรีย ส่วนสาธารณรัฐบูเรียตียา และสาธารณรัฐคัลมืยคียา ก็ประกาศว่าวันวิสาขบูชาเป็นวันหยุดเช่นกัน
| ประเทศรัสเซียปกครองด้วยระบอบการปกครองใด | {
"answer": [
"สหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี"
],
"answer_begin_position": [
399
],
"answer_end_position": [
431
]
} |
756 | 705,223 | หยกลายเมฆ หยกลายเมฆ เป็นนวนิยายที่ประพันธ์โดย โสภี พรรณราย (สุรภี โพธิสมภรณ์) นำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สร้างโดย บริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด บทโทรทัศน์โดย วิสุทธิชัย บุณยะกาญจน กำกับการแสดงโดย โชติรัตน์ รักเริ่มวงษ์ และออกอากาศครั้งแรกในวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2552–21 กรกฎาคม พ.ศ. 2552นักแสดงนักแสดง. - พัชฏะ นามปาน รับบทเป็น พอล - เจนี่ เทียนโพธิ์สุวรรณ์ รับบทเป็น ทริยา (แคท) - รวิชญ์ เทิดวงส์ รับบทเป็น แอนโทนี่ จาง - ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ รับบทเป็น ซู่หลิง - นิรุตติ์ ศิริจรรยา รับบทเป็น เถ้าแก่หลอ - วริษฐ์ ทิพโกมุท รับบทเป็น ปีเตอร์ - ศุภมร โคร์นิน รับบทเป็น โสภณ - ซาร่า เล็กจ์ รับบทเป็น จีรนันท์ - มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ รับบทเป็น มีมี่ - สุริยนต์ อรุณวัฒนกูล รับบทเป็น คังจิน - อภิษฎา เครือคงคา รับบทเป็น แอนนา - พรรษชล สุปรีย์ รับบทเป็น เพ็กกี้ - พรนภา เทพทินกร รับบทเป็น จิงจิง - ภุชงค์ โยธาพิทักษ์ รับบทเป็น หม่าเจา - สุปราณี เจริญผล รับบทเป็น จันทนา - ธรากร สุขสมเลิศ รับบทเป็น ลู่ไห่ - วรพล จันทร์ส่องแสง รับบทเป็น แอนดี้นักแสดงรับเชิญนักแสดงรับเชิญ. - กัญญารัตน์ จิรรัชชกิจ รับบทเป็น ฮุ่ยซัน - วรวุฒิ นิยมทรัพย์ รับบทเป็น ชูวิทย์ (แจ๊ค) - ชูชัย ชัยฤทธิเลิศ - นิทัศน์ ธำรงค์ - อณูวรรณ ปรีญานนท์ - ชัยวัฒน์ ทองแสง - ลิลลี่ แม็คกร๊าธ - ด.ช.กฤต ศิริสวัสดิ์ - ด.ญ.สุพิชชา มงคลจิตตานนท์
| หยกลายเมฆ เป็นนวนิยายที่ประพันธ์โดยใคร | {
"answer": [
"โสภี พรรณราย"
],
"answer_begin_position": [
130
],
"answer_end_position": [
142
]
} |