|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
30,0031,001,ความหวงแหน ความยึดถือ โดยส่วนแห่งตัณหาว่า นี้ของเรา นั่นของเรา เท่านี้ของเรา
|
|
30,0031,002,ประมาณเท่านี้ของเรา รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เครื่องลาด เครื่องนุ่งห่ม ทาสี ทาส
|
|
30,0031,003,แพะ แกะ ไก่ สุกร ช้าง โค ม้า ลา ไร่นา ที่ดิน เงิน ทอง บ้านนิคม ราชธานี
|
|
30,0031,004,แว่นแคว้น ชนบท ฉางข้าว คลังของเรา บุคคลย่อมยึดถือเอามหาปฐพีแม้ทั้งสิ้นว่าเป็นของ
|
|
30,0031,005,เราด้วยสามารถแห่งตัณหา และตัณหาวิปริต ๑๐๘ นี้ เป็นความติดเพราะตัณหา. ความติดเพราะ
|
|
30,0031,006,ทิฏฐิเป็นไฉน? สักกายทิฏฐิมีวัตถุ ๒๐ มิจฉาทิฏฐิมีวัตถุ ๑๐ อันตคาหิกทิฏฐิมีวัตถุ ๑๐ ทิฏฐิ
|
|
30,0031,007,ความเห็น รกชัฏคือทิฏฐิ ทางกันดารคือทิฏฐิ เสี้ยนหนามคือทิฏฐิ ความดิ้นรนคือทิฏฐิ ความ
|
|
30,0031,008,ประกอบไว้คือทิฏฐิ ความถือ ความถือเฉพาะ ความถือมั่น ความลูบคลำ ทางชั่ว ทางผิด
|
|
30,0031,009,ความเป็นผิด ลัทธิแห่งเดียรถีย์ ความถือด้วยความแสวงหาผิด ความถืออันวิปริต ความถือ
|
|
30,0031,010,อันวิปลาส ความถือผิด ความถือในวัตถุอันไม่จริงว่าวัตถุจริง ทิฏฐิ ๖๒ เท่าใด นี้เป็นความติด
|
|
30,0031,011,เพราะทิฏฐิ.
|
|
30,0031,012,คำว่า ภิกษุนั้นรู้ยิ่งซึ่งส่วนสุดทั้งสองและท่ามกลาง ด้วยปัญญาแล้วไม่ติดอยู่ ความว่า
|
|
30,0031,013,ภิกษุนั้นรู้ยิ่ง ทราบ เทียบเคียง พิจารณา เจริญ ทำให้แจ่มแจ้ง ซึ่งส่วนสุดทั้งสองและ
|
|
30,0031,014,ท่ามกลางด้วยปัญญาแล้ว ไม่ติดอยู่ คือ ไม่เข้าไปติด ไม่ทา ไม่เปื้อน ออกไป สละไป
|
|
30,0031,015,หลุดพ้น ไม่เกี่ยวข้องแล้ว มีจิตปราศจากเขตแดนอยู่ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ภิกษุนั้นรู้ยิ่งซึ่ง
|
|
30,0031,016,ส่วนสุดทั้งสอง และท่ามกลางด้วยปัญญาแล้ว ไม่ติดอยู่.
|
|
30,0031,017,[๑๑๓] คำว่า ตํ พฺรูมิ มหาปุริโส ความว่า เราย่อมเรียก กล่าว สำคัญ บอก
|
|
30,0031,018,เห็น บัญญัติ ภิกษุนั้นว่า เป็นมหาบุรุษ คือ เป็นอัคคบุรุษ บุรุษสูงสุด บุรุษวิเศษ บุรุษเป็น
|
|
30,0031,019,ประธาน อุดมบุรุษ บุรุษประเสริฐ. ท่านพระสารีบุตรทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์
|
|
30,0031,020,ผู้เจริญ พระองค์ตรัสว่า มหาบุรุษ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ด้วยเหตุเท่าไรหนอแล บุคคลจึง
|
|
30,0031,021,เป็นมหาบุรุษ? พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรสารีบุตร เรากล่าวว่า เป็นมหาบุรุษ เพราะ
|
|
30,0031,022,เป็นผู้มีจิตหลุดพ้น เราไม่กล่าวว่า เป็นมหาบุรุษเพราะเป็นผู้น้อมจิตเชื่อ. ดูกรสารีบุตร ก็ภิกษุ
|
|
30,0031,023,เป็นผู้มีจิตหลุดพ้นแล้วอย่างไร? ดูกรสารีบุตร ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้พิจารณาเห็นกายใน
|
|
30,0031,024,กายเป็นภายใน มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่ เมื่อภิกษุ
|
|
30,0031,025,นั้นพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ จิตย่อมคลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่
|
|
30,0031,026,ถือมั่น ภิกษุเป็นผู้พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย ... ในจิต ... เป็นผู้พิจารณาเห็นธรรม
|
|
30,0031,027,ในธรรมทั้งหลาย มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่ เมื่อ
|
|
|