uisp commited on
Commit
9385590
1 Parent(s): e24c816

include all 45 books

Browse files
This view is limited to 50 files because it contains too many changes.   See raw diff
02/020001.csv ADDED
@@ -0,0 +1,18 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0001,001,พระวินัยปิฎก
3
+ 02,0001,002,เล่ม ๒
4
+ 02,0001,003,มหาวิภังค์ ทุติยภาค
5
+ 02,0001,004,ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
6
+ 02,0001,005,นิสสัคคิยกัณฑ์
7
+ 02,0001,006,ท่านทั้งหลาย อนึ่ง ธรรมคือนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ สิกขาบทเหล่านี้แล มาสู่อุเทศ.
8
+ 02,0001,007,นิสสัคคิยปาจิตตีย์ วรรคที่ ๑
9
+ 02,0001,008,๑. จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๑
10
+ 02,0001,009,เรื่องพระฉัพพัคคีย์
11
+ 02,0001,010,[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ โคตมกเจดีย์ ๑- เขตพระนคร
12
+ 02,0001,011,เวสาลี. ครั้งนั้น พระองค์ทรงอนุญาตไตรจีวรแก่ภิกษุทั้งหลายแล้ว พระฉัพพัคคีย์ทราบว่า พระผู้
13
+ 02,0001,012,มีพระภาคทรงอนุญาตไตรจีวรแล้ว จึงครองไตรจีวร เข้าบ้านสำรับหนึ่ง อยู่ในอารามอีกสำรับหนึ่ง
14
+ 02,0001,013,สรงน้ำอีกสำรับหนึ่ง.
15
+ 02,0001,014,บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็
16
+ 02,0001,015,เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงได้ทรงจีวร เกินหนึ่งสำรับเล่า แล้ว
17
+ 02,0001,016,กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
18
+ 02,0001,017,#๑. วิหารที่เขาสร้างไว้ ณ เจติยสถานของโคตมยักษ์
02/020002.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0002,001,ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม
3
+ 02,0002,002,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ใน
4
+ 02,0002,003,เพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระฉัพพัคคีย์ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าพวกเธอทรง
5
+ 02,0002,004,จีวรเกินหนึ่งสำรับ จริงหรือ?
6
+ 02,0002,005,พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
7
+ 02,0002,006,ทรงติเตียน
8
+ 02,0002,007,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษทั้งหลาย การกระทำของพวกเธอนั่น
9
+ 02,0002,008,ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงได้ทรงจีวร
10
+ 02,0002,009,เกินหนึ่งสำรับเล่า การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
11
+ 02,0002,010,เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวกเธอ
12
+ 02,0002,011,นั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชน
13
+ 02,0002,012,บางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.
14
+ 02,0002,013,ทรงบัญญัติสิกขาบท
15
+ 02,0002,014,พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความ
16
+ 02,0002,015,เป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ-
17
+ 02,0002,016,คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย
18
+ 02,0002,017,ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความจำกัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การ
19
+ 02,0002,018,ปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่
20
+ 02,0002,019,เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
21
+ 02,0002,020,ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัย
22
+ 02,0002,021,อำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่ม
23
+ 02,0002,022,บุคคลผู้เก้อยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิดใน
24
+ 02,0002,023,ปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
25
+ 02,0002,024,เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑
26
+ 02,0002,025,เพื่อถือตามพระวินัย ๑.
27
+ 02,0002,026,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
02/020003.csv ADDED
@@ -0,0 +1,24 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0003,001,พระบัญญัติ
3
+ 02,0003,002,๒๐.๑. อนึ่ง ภิกษุใดทรงอติเรกจีวร เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
4
+ 02,0003,003,สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้วแก่ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการ
5
+ 02,0003,004,ฉะนี้.
6
+ 02,0003,005,เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ.
7
+ 02,0003,006,พระอนุบัญญัติ
8
+ 02,0003,007,เรื่องพระอานนท์
9
+ 02,0003,008,[๒] ก็โดยสมัยนั้นแล อติเรกจีวรที่เกิดแก่ท่านพระอานนท์มีอยู่ และท่านประสงค์จะ
10
+ 02,0003,009,ถวายจีวรนั้นแก่ท่านพระสารีบุตร แต่ท่านพระสารีบุตรอยู่ถึงเมืองสาเกต จึงท่านพระอานนท์มีความ
11
+ 02,0003,010,ปริวิตกว่า พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติสิกขาบทไว้ว่า ภิกษุไม่พึงทรงอติเรกจีวร ก็นี่อติเรกจีวร
12
+ 02,0003,011,บังเกิดแก่เรา และเราก็ใคร่จะถวายแก่ท่านพระสารีบุตร แต่ท่านอยู่ถึงเมืองสาเกต เราจะพึง
13
+ 02,0003,012,ปฏิบัติอย่างไรหนอ ครั้นแล้วท่านพระอานนท์ได้กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
14
+ 02,0003,013,พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรอานนท์ ยังอีกนานเท่าไร สารีบุตรจึงจักกลับมา?
15
+ 02,0003,014,พระอานนท์กราบทูลว่า จักกลับมาในวันที่ ๙ หรือวันที่ ๑๐ พระพุทธเจ้าข้า.
16
+ 02,0003,015,ทรงอนุญาตอติเรกจีวร
17
+ 02,0003,016,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุ
18
+ 02,0003,017,แรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
19
+ 02,0003,018,ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ทรงอติเรกจีวรไว้ได้ ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง.
20
+ 02,0003,019,อนึ่ง พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
21
+ 02,0003,020,พระอนุบัญญัติ
22
+ 02,0003,021,๒๐.๑. ก. จีวรสำเร็จแล้ว กฐินอันภิกษุเดาะเสียแล้ว พึงทรงอติเรกจีวรได้
23
+ 02,0003,022,๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง ภิกษุให้ล่วงกำหนดนั้นไป เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
24
+ 02,0003,023,เรื่องพระอานนท์ จบ.
02/020004.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0004,001,สิกขาบทวิภังค์
3
+ 02,0004,002,[๓] บทว่า จีวรสำเร็จแล้ว ความว่า จีวรของภิกษุทำสำเร็จแล้วก็ดี หายเสียก็ดี
4
+ 02,0004,003,ฉิบหายเสียก็ดี ถูกไฟไหม้เสียก็ดี หมดหวังว่าจะได้ทำจีวรก็ดี.
5
+ 02,0004,004,คำว่า กฐิน ... เดาะเสียแล้ว คือ เดาะเสียแล้วด้วยมาติกาอันใดอันหนึ่งในมาติกา ๘
6
+ 02,0004,005,หรือสงฆ์เดาะเสียในระหว่าง.
7
+ 02,0004,006,บทว่า ๑๐ วันเป็นอย่างยิ่ง คือ ทรงไว้ได้ ๑๐ วันเป็นอย่างมาก.
8
+ 02,0004,007,ที่ชื่อว่า อติเรกจีวร ได้แก่จีวรที่ยังไม่ได้อธิษฐาน ยังไม่ได้วิกัป.
9
+ 02,0004,008,ที่ชื่อว่า จีวร ได้แก่ผ้า ๖ ชนิด ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเข้าองค์กำหนดแห่งผ้าต้อง-
10
+ 02,0004,009,วิกัปเป็นอย่างต่ำ.
11
+ 02,0004,010,คำว่า ให้ล่วงกำหนดนั้นไป เป็นนิสสัคคีย์ ความว่า เมื่ออรุณที่ ๑๑ ขึ้นมา
12
+ 02,0004,011,จีวรนั้นเป็นนิสสัคคีย์ คือเป็นของจำต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือ บุคคล.
13
+ 02,0004,012,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้:-
14
+ 02,0004,013,วิธีเสียสละ
15
+ 02,0004,014,เสียสละแก่สงฆ์
16
+ 02,0004,015,[๔] ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษา
17
+ 02,0004,016,กว่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า
18
+ 02,0004,017,ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ล่วง ๑๐ วัน เป็นของจำจะสละข้าพเจ้า
19
+ 02,0004,018,สละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์.
20
+ 02,0004,019,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสียสละ
21
+ 02,0004,020,ให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
22
+ 02,0004,021,ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้เป็นของจำจะสละ
23
+ 02,0004,022,เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้
24
+ 02,0004,023,แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
25
+ 02,0004,024,เสียสละแก่คณะ
26
+ 02,0004,025,[๕] ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่
27
+ 02,0004,026,พรรษากว่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า
02/020005.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0005,001,ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ล่วง ๑๐ วัน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้า
3
+ 02,0005,002,สละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย.
4
+ 02,0005,003,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสีย
5
+ 02,0005,004,สละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
6
+ 02,0005,005,ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ
7
+ 02,0005,006,เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้ง
8
+ 02,0005,007,หลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
9
+ 02,0005,008,เสียสละแก่บุคคล
10
+ 02,0005,009,[๖] ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง
11
+ 02,0005,010,ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า
12
+ 02,0005,011,ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้าล่วง ๑๐ วัน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวร
13
+ 02,0005,012,ผืนนี้แก่ท่าน.
14
+ 02,0005,013,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสียสละ
15
+ 02,0005,014,ให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.
16
+ 02,0005,015,บทภาชนีย์
17
+ 02,0005,016,นิสสัคคิยปาจิตตีย์
18
+ 02,0005,017,[๗] จีวรล่วง ๑๐ วันแล้ว ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
19
+ 02,0005,018,จีวรล่วง ๑๐ วันแล้ว ภิกษุสงสัย เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
20
+ 02,0005,019,จีวรล่วง ๑๐ วันแล้ว ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
21
+ 02,0005,020,จีวรยังไม่ได้อธิษฐาน ภิกษุสำคัญว่าอธิษฐานแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
22
+ 02,0005,021,จีวรยังไม่ได้วิกัป ภิกษุสำคัญว่าวิกัปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
23
+ 02,0005,022,จีวรยังไม่ได้สละ ภิกษุสำคัญว่าสละแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
24
+ 02,0005,023,จีวรยังไม่หาย ภิกษุสำคัญว่าหายแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
25
+ 02,0005,024,จีวรยังไม่ฉิบหาย ภิกษุสำคัญว่าฉิบหายแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
26
+ 02,0005,025,จีวรยังไม่ถูกไฟไหม้ ภิกษุสำคัญว่าถูกไฟไหม้แล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
27
+ 02,0005,026,จีวรยังไม่ถูกชิงไป ภิกษุสำคัญว่าถูกชิงไปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
02/020006.csv ADDED
@@ -0,0 +1,26 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0006,001,ทุกกฏ
3
+ 02,0006,002,จีวรเป็นนิสสัคคีย์ ภิกษุยังไม่ได้เสียสละ บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ.
4
+ 02,0006,003,จีวรยังไม่ล่วง ๑๐ วัน ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ.
5
+ 02,0006,004,จีวรยังไม่ล่วง ๑๐ วัน ภิกษุสงสัย บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ.
6
+ 02,0006,005,ไม่ต้องอาบัติ
7
+ 02,0006,006,จีวรยังไม่ล่วง ๑๐ วัน ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง บริโภค ไม่ต้องอาบัติ.
8
+ 02,0006,007,อนาปัตติวาร
9
+ 02,0006,008,[๘] ในภายใน ๑๐ วัน ภิกษุอธิษฐาน ๑ ภิกษุวิกัปไว้ ๑ ภิกษุสละให้ไป ๑ จีวรฉิบหาย ๑
10
+ 02,0006,009,จีวรถูกไฟไหม้ ๑ โจรชิงเอาไป ๑ ภิกษุถือวิสาสะ ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑
11
+ 02,0006,010,ไม่ต้องอาบัติแล.
12
+ 02,0006,011,เรื่องพระฉัพพัคคีย์
13
+ 02,0006,012,[๙] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์ไม่ให้คืนจีวรที่เสียสละ บรรดาภิกษุผู้มักน้อย
14
+ 02,0006,013,สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า
15
+ 02,0006,014,ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงไม่ให้คืนจีวรที่เสียสละเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
16
+ 02,0006,015,ทรงสอบถาม
17
+ 02,0006,016,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามพระฉัพพัคคีย์ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าพวก
18
+ 02,0006,017,เธอไม่ให้คืนจีวรที่เสียสละ จริงหรือ?
19
+ 02,0006,018,พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
20
+ 02,0006,019,ทรงติเตียน
21
+ 02,0006,020,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษทั้งหลาย การกระทำของพวกเธอนั่น
22
+ 02,0006,021,ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงไม่ให้คืน
23
+ 02,0006,022,จีวรที่เสียสละเล่า การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่
24
+ 02,0006,023,ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของพวก
25
+ 02,0006,024,เธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของ
26
+ 02,0006,025,ชุมชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.
02/020007.csv ADDED
@@ -0,0 +1,13 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0007,001,ทรงอนุญาตให้คืนจีวรที่เสียสละ
3
+ 02,0007,002,พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์โดยอเนกปริยายดังนี้ แล้วตรัสโทษแห่งความ
4
+ 02,0007,003,เป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ
5
+ 02,0007,004,คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย
6
+ 02,0007,005,ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร
7
+ 02,0007,006,โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุ
8
+ 02,0007,007,ทั้งหลายว่า
9
+ 02,0007,008,ดูกรภิกษุทั้งหลาย จีวรที่ภิกษุเสียสละแล้ว สงฆ์ คณะ หรือ บุคคล จะไม่
10
+ 02,0007,009,คืนให้ไม่ได้ ภิกษุใดไม่คืนให้ ต้องอาบัติทุกกฏ.
11
+ 02,0007,010,เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ.
12
+ 02,0007,011,จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๑ จบ.
13
+ 02,0007,012,__________
02/020008.csv ADDED
@@ -0,0 +1,26 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0008,001,๑. จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๒
3
+ 02,0008,002,เรื่องภิกษุหลายรูป
4
+ 02,0008,003,[๑๐] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถ
5
+ 02,0008,004,บิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี. ครั้งนั้น ภิกษุทั้งหลายฝากผ้าสังฆาฏิไว้แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้ว
6
+ 02,0008,005,มีแต่ผ้าอุตราสงค์กับผ้าอันตรวาสก หลีกไปสู่จาริกในชนบท. ผ้าสังฆาฏิเหล่านั้นถูกเก็บไว้นาน
7
+ 02,0008,006,ก็ขึ้นราตกหนาว ภิกษุทั้งหลายจึงผึ่งผ้าสังฆาฏิเหล่านั้น.
8
+ 02,0008,007,ท่านพระอานนท์เที่ยวตรวจดูเสนาสนะ ได้พบภิกษุเหล่านั้นกำลังผึ่งผ้าสังฆาฏิอยู่ ครั้น
9
+ 02,0008,008,แล้วจึงเข้าไปหาภิกษุเหล่านั้น ถามว่าจีวร ที่ขึ้นราเหล่านี้ของใคร?
10
+ 02,0008,009,จึงภิกษุเหล่านั้นแจ้งความนั้นแก่ท่านพระอานนท์แล้ว.
11
+ 02,0008,010,ท่านพระอานนท์จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลายจึงได้ฝากผ้าสังฆาฏิ
12
+ 02,0008,011,ไว้แก่ภิกษุทั้งหลายแล้ว มีแต่ผ้าอุตราสงค์กับผ้าอันตรวาสก หลีกไปสู่จาริกในชนบทเล่า
13
+ 02,0008,012,แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
14
+ 02,0008,013,ทรงสอบถาม
15
+ 02,0008,014,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงสอบถามภิกษุเหล่านั้นว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าภิกษุ
16
+ 02,0008,015,ทั้งหลาย ฝากผ้าสังฆาฏิไว้แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วมีแต่ผ้าอุตราสงค์กับผ้าอันตรวาสก หลีกไปสู่
17
+ 02,0008,016,จาริกในชนบท จริงหรือ?
18
+ 02,0008,017,ภิกษุเหล่านั้นทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
19
+ 02,0008,018,ทรงติเตียน
20
+ 02,0008,019,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษ
21
+ 02,0008,020,"เหล่านั้นนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ, ไฉนภิกษุ"
22
+ 02,0008,021,โมฆบุรุษเหล่านั้น จึงได้ฝากผ้าสังฆาฏิไว้แก่ภิกษุทั้งหลายแล้ว มีแต่ผ้าอุตราสงค์กับผ้าอันตรวาสก
23
+ 02,0008,022,หลีกไปสู่จาริกในชนบทเล่า การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ
24
+ 02,0008,023,เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้
25
+ 02,0008,024,การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส
26
+ 02,0008,025,และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.
02/020009.csv ADDED
@@ -0,0 +1,26 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0009,001,ทรงบัญญัติสิกขาบท
3
+ 02,0009,002,พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้นโดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความ
4
+ 02,0009,003,เป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ
5
+ 02,0009,004,คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย
6
+ 02,0009,005,ความสันโดษ ความขัดเกลา ความจำกัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภ
7
+ 02,0009,006,ความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น
8
+ 02,0009,007,แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
9
+ 02,0009,008,ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัย
10
+ 02,0009,009,อำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อ
11
+ 02,0009,010,ข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิด
12
+ 02,0009,011,ในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
13
+ 02,0009,012,เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑
14
+ 02,0009,013,เพื่อถือตามพระวินัย ๑
15
+ 02,0009,014,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แล พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
16
+ 02,0009,015,พระบัญญัติ
17
+ 02,0009,016,๒๑.๒. จีวรของภิกษุสำเร็จแล้ว กฐินเดาะเสียแล้ว ถ้าภิกษุอยู่ปราศจากไตร
18
+ 02,0009,017,จีวร แม้สิ้นราตรีหนึ่ง เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
19
+ 02,0009,018,ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้วแก่ภิกษุทั้งหลาย ด้วย
20
+ 02,0009,019,ประการฉะนี้.
21
+ 02,0009,020,เรื่องภิกษุหลายรูป จบ.
22
+ 02,0009,021,พระอนุบัญญัติ
23
+ 02,0009,022,เรื่องภิกษุอาพาธ
24
+ 02,0009,023,[๑๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธอยู่ในพระนครโกสัมพี. พวกญาติส่งทูต
25
+ 02,0009,024,ไปในสำนักภิกษุนั้นว่า นิมนต์ท่านมา พวกผมจักพยาบาล แม้ภิกษุทั้งหลายก็กล่าวอย่างนี้ว่า
26
+ 02,0009,025,ไปเถิดท่าน พวกญาติจักพยาบาลท่าน.
02/020010.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0010,001,เธอตอบอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย
3
+ 02,0010,002,ไว้ว่า ภิกษุไม่พึงอยู่ปราศจากไตรจีวร ผมกำลังอาพาธ ไม่สามารถจะนำไตรจีวรไปด้วยได้
4
+ 02,0010,003,ผมจักไม่ไปละ.
5
+ 02,0010,004,ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
6
+ 02,0010,005,ทรงอนุญาตให้สมมติติจีวราวิปวาส
7
+ 02,0010,006,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะ
8
+ 02,0010,007,เหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สมมติ เพื่อ
9
+ 02,0010,008,ไม่เป็นการอยู่ปราศจากไตรจีวรแก่ภิกษุผู้อาพาธ ก็แลสงฆ์พึงให้สมมติอย่างนี้:-
10
+ 02,0010,009,วิธีสมมติติจีวราวิปวาส
11
+ 02,0010,010,ภิกษุผู้อาพาธนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษา
12
+ 02,0010,011,กว่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าอาพาธ ไม่สามารถจะนำ
13
+ 02,0010,012,ไตรจีวรไปด้วยได้ ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้านั้นขอสมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจากไตร-
14
+ 02,0010,013,จีวรต่อสงฆ์ ดังนี้ พึงขอแม้ครั้งที่สอง พึงขอแม้ครั้งที่สาม.
15
+ 02,0010,014,ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติทุติยกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
16
+ 02,0010,015,ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้อาพาธ ไม่สามารถจะนำ
17
+ 02,0010,016,ไตรจีวรไปด้วยได้ เธอขอสมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจากไตรจีวรต่อสงฆ์. ถ้าความ
18
+ 02,0010,017,พร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้สมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจากไตรจีวร แก่
19
+ 02,0010,018,ภิกษุมีชื่อนี้ นี่เป็นวาจาประกาศให้สงฆ์ทราบ.
20
+ 02,0010,019,ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุมีชื่อนี้ผู้นี้อาพาธ ไม่สามารถจะนำ
21
+ 02,0010,020,ไตรจีวรไปด้วยได้ เธอขอสมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจากไตรจีวรต่อสงฆ์. สงฆ์ให้
22
+ 02,0010,021,สมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจากไตรจีวรแก่ภิกษุมีชื่อนี้ การให้สมมติเพื่อไม่เป็นการ
23
+ 02,0010,022,การอยู่ปราศจากไตรจีวรแก่ภิกษุมีชื่อนี้ ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่
24
+ 02,0010,023,ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึงพูด.
25
+ 02,0010,024,การสมมติเพื่อไม่เป็นการอยู่ปราศจากไตรจีวร อันสงฆ์ให้แล้วแก่ภิกษุมีชื่อนี้
26
+ 02,0010,025,ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเ��้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.
27
+ 02,0010,026,ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
02/020011.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0011,001,พระอนุบัญญัติ
3
+ 02,0011,002,๒๑.๒. ก. จีวรของภิกษุสำเร็จแล้ว กฐินเดาะเสียแล้ว ถ้าภิกษุอยู่ปราศจาก
4
+ 02,0011,003,ไตรจีวร แม้สิ้นราตรีหนึ่ง เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
5
+ 02,0011,004,เรื่องภิกษุอาพาธ จบ.
6
+ 02,0011,005,สิกขาบทวิภังค์
7
+ 02,0011,006,[๑๒] บทว่า จีวร ... สำเร็จแล้ว ความว่า จีวรของภิกษุทำสำเร็จแล้วก็ดี หายเสีย
8
+ 02,0011,007,ก็ดี ฉิบหายเสียก็ดี ถูกไฟไหม้เสียก็ดี หมดหวังว่าจะได้ทำจีวรก็ดี.
9
+ 02,0011,008,คำว่า กฐินเดาะเสียแล้ว คือ เดาะเสียแล้วด้วยมาติกาอันใดอันหนึ่ง ในมาติกา ๘
10
+ 02,0011,009,หรือสงฆ์เดาะเสียในระหว่าง.
11
+ 02,0011,010,คำว่า ถ้าภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวร แม้สิ้นราตรีหนึ่ง ความว่า ถ้าภิกษุอยู่
12
+ 02,0011,011,ปราศจากผ้าสังฆาฏิก็ดี จากผ้าอุตราสงค์ก็ดี จากผ้าอันตรวาสกก็ดี แม้คืนเดียว.
13
+ 02,0011,012,บทว่า เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ คือยกเว้นภิกษุผู้ได้รับสมมติ.
14
+ 02,0011,013,บทว่า เป็นนิสสัคคีย์ คือ เป็นของจำจะสละ พร้อมกับเวลาอรุณขึ้น ต้องเสียสละ
15
+ 02,0011,014,แก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.
16
+ 02,0011,015,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้นอย่างนี้:-
17
+ 02,0011,016,วิธีเสียสละ
18
+ 02,0011,017,เสียสละแก่สงฆ์
19
+ 02,0011,018,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า
20
+ 02,0011,019,นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า
21
+ 02,0011,020,ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า อยู่ปราศแล้วล่วงราตรี เป็นของจำจะสละ
22
+ 02,0011,021,เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์.
23
+ 02,0011,022,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่
24
+ 02,0011,023,เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
25
+ 02,0011,024,ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะ
26
+ 02,0011,025,สละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้
27
+ 02,0011,026,แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
02/020012.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0012,001,เสียสละแก่คณะ
3
+ 02,0012,002,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่
4
+ 02,0012,003,พรรษากว่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า
5
+ 02,0012,004,ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า อยู่ปราศแล้วล่วงราตรี เป็นของจำจะสละ
6
+ 02,0012,005,เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย.
7
+ 02,0012,006,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่
8
+ 02,0012,007,เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
9
+ 02,0012,008,ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้เป็นของจำจะสละ
10
+ 02,0012,009,เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่านทั้ง-
11
+ 02,0012,010,หลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
12
+ 02,0012,011,เสียสละแก่บุคคล
13
+ 02,0012,012,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ
14
+ 02,0012,013,กล่าวอย่างนี้ว่า
15
+ 02,0012,014,ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า อยู่ปราศแล้วล่วงราตรี เป็นของจำจะสละ
16
+ 02,0012,015,เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน.
17
+ 02,0012,016,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่
18
+ 02,0012,017,เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.
19
+ 02,0012,018,บทภาชนีย์
20
+ 02,0012,019,มาติกา
21
+ 02,0012,020,[๑๓] บ้าน มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
22
+ 02,0012,021,เรือน มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
23
+ 02,0012,022,โรงเก็บของ มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
24
+ 02,0012,023,ป้อม มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
25
+ 02,0012,024,เรือนยอดเดียว มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
26
+ 02,0012,025,ปราสาท มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
27
+ 02,0012,026,ทิมแถว มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
02/020013.csv ADDED
@@ -0,0 +1,28 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0013,001,เรือ มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
3
+ 02,0013,002,หมู่เกวียน มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
4
+ 02,0013,003,ไร่นา มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
5
+ 02,0013,004,ลานนวดข้าว มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
6
+ 02,0013,005,สวน มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
7
+ 02,0013,006,วิหาร มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
8
+ 02,0013,007,โคนไม้ มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
9
+ 02,0013,008,ที่แจ้ง มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง
10
+ 02,0013,009,มาติกาวิภังค์
11
+ 02,0013,010,[๑๔] บ้าน ที่ชื่อว่า มีอุปจารเดียว คือเป็นบ้านของสกุลเดียว และมีเครื่องล้อม.
12
+ 02,0013,011,ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในบ้าน ต้องอยู่ภายในบ้าน. เป็นบ้านไม่มีเครื่องล้อม. ภิกษุเก็บจีวรไว้ใน
13
+ 02,0013,012,เรือนใด ต้องอยู่ในเรือนนั้น หรือไม่ละจากหัตถบาส. ที่ชื่อว่า มีอุปจารต่าง คือเป็นบ้านของ
14
+ 02,0013,013,ต่างสกุล และมีเครื่องล้อม. ภิกษุเก็บจีวรไว้ในเรือนใด ต้องอยู่ในเรือนนั้น หรือในห้องโถง
15
+ 02,0013,014,หรือที่ริมประตูเรือน หรือไม่ละจากหัตถบาส. เมื่อจะไปสู่ห้องโถง ต้องเก็บจีวรไว้ในหัตถบาส
16
+ 02,0013,015,แล้วอยู่ในห้องโถง หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส. เก็บจีวรไว้ในห้องโถง ต้องอยู่
17
+ 02,0013,016,ในห้องโถง หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส. เป็นบ้านไม่มีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ใน
18
+ 02,0013,017,เรือนใด ต้องอยู่ในเรือนนั้น หรือไม่ละจากหัตถบาส.
19
+ 02,0013,018,[๑๕] เรือน ของสกุลเดียว และมีเครื่องล้อม มีห้องเล็กห้องน้อยต่างๆ ภิกษุเก็บ
20
+ 02,0013,019,จีวรไว้ภายในเรือน ต้องอยู่ภายในเรือน. เป็นเรือนที่ไม่มีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ในห้องใด
21
+ 02,0013,020,ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือไม่ละจากหัตถบาส. เรือนของต่างสกุล และมีเครื่องล้อม มีห้องเล็ก
22
+ 02,0013,021,ห้องน้อยต่างๆ ภิกษุเก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจาก
23
+ 02,0013,022,หัตถบาส. เป็นเรือนไม่มีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือไม่ละจาก
24
+ 02,0013,023,หัตถบาส.
25
+ 02,0013,024,[๑๖] โรงเก็บของ ของสกุลเดียว และมีเครื่องล้อม มีห้องเล็กห้องน้อยต่างๆ
26
+ 02,0013,025,ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในโรงเก็บของ ต้องอยู่ภายในโรงเก็บของ. เป็นโรงไม่มีเครื่องล้อม เก็บจีวร
27
+ 02,0013,026,ไว้ในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือไม่ละจากหัตถบาส. โรงเก็บของ ของต่างสกุล และมี
28
+ 02,0013,027,เครื่องล้อม มีห้องเล็กห���องน้อยต่างๆ เก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือที่ริมประตู
02/020014.csv ADDED
@@ -0,0 +1,29 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0014,001,หรือไม่ละจากหัตถบาส. เป็นโรงไม่มีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น
3
+ 02,0014,002,หรือไม่ละจากหัตถบาส.
4
+ 02,0014,003,[๑๗] ป้อม ของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในป้อม ต้องอยู่ภายในป้อม.
5
+ 02,0014,004,ป้อมของต่างสกุล มีห้องเล็กห้องน้อยต่างๆ เก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือที่
6
+ 02,0014,005,ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส.
7
+ 02,0014,006,[๑๘] เรือนยอดเดียว ของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในเรือนยอดเดียว ต้อง
8
+ 02,0014,007,อยู่ภายในเรือนยอดเดียว. เรือนยอดเดียวของต่างสกุล มีห้องเล็กห้องน้อยต่างๆ เก็บจีวรไว้ใน
9
+ 02,0014,008,ห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส.
10
+ 02,0014,009,[๑๙] ปราสาท ของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในปราสาท ต้องอยู่ภายใน
11
+ 02,0014,010,ปราสาท. ปราสาทของต่างสกุล มีห้องเล็กห้องน้อยต่างๆ เก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ใน
12
+ 02,0014,011,ห้องนั้น หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส.
13
+ 02,0014,012,[๒๐] ทิมแถว ของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในทิมแถว ต้องอยู่ภายใน
14
+ 02,0014,013,ทิมแถว. ทิมแถวของต่างสกุล มีห้องเล็กห้องน้อยต่างๆ เก็บจีวรไว้ในห้องใด ต้องอยู่ใน
15
+ 02,0014,014,ห้องนั้น หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส.
16
+ 02,0014,015,[๒๑] เรือ ของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในเรือ ต้องอยู่ภายในเรือ. เรือ
17
+ 02,0014,016,ของต่างสกุล มีห้องเล็กห้องน้อยต่างๆ เก็บจีวรไว้ภายในห้องใด ต้องอยู่ในห้องนั้น หรือที่
18
+ 02,0014,017,ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส.
19
+ 02,0014,018,[๒๒] หมู่เกวียน ของสกุลเดียว ภิกษุเก็บจีวรไว้ในหมู่เกวียน ไม่พึงละอัพภันดร
20
+ 02,0014,019,ด้านหน้าหรือด้านหลัง ด้านละ ๗ อัพภันดร ด้านข้างด้านละ ๑ อัพภันดร. หมู่เกวียนของ
21
+ 02,0014,020,ต่างสกุล เก็บจีวรไว้ในหมู่เกวียน ไม่พึงละจากหัตถบาส.
22
+ 02,0014,021,[๒๓] ไร่นา ของสกุลเดียวและมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในเขตไร่นา
23
+ 02,0014,022,ต้องอยู่ภายในเขตไร่นา เป็นไร่นาไม่มีเครื่องล้อม ไม่พึงละจากหัตถบาส. ไร่นาของต่างสกุลและ
24
+ 02,0014,023,มีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ภายในเขตไร่นา ต้องอยู่ภายในเขตไร่นา หรือที่ริมประตู หรือไม่ละ-
25
+ 02,0014,024,จากหัตถบาส. เป็นเขตไม่มีเครื่องล้อม ไม่พึงละจากหัตถบาส.
26
+ 02,0014,025,[๒๔] ลานนวดข้าว ของสกุลเดียว และมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายใน
27
+ 02,0014,026,เขตลานนวดข้าว ต้องอยู่ภายในเขตลานนวดข้าว. เป็นสถานไม่มีเครื่องล้อม ไม่พึงละจาก-
28
+ 02,0014,027,หัตถบาส ลานนวดข้าวของต่างสกุลและมีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ภายในเขตลานนวดข้าว ต้อง
29
+ 02,0014,028,อยู่ที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส. เป็นสถานไม่มีเครื่องล้อม ไม่พึงละจากหัตถบาส.
02/020015.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0015,001,[๒๕] สวน ของสกุลเดียวและมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในเขตสวน
3
+ 02,0015,002,ต้องอยู่ภายในเขตสวน. เป็นสถานไม่มีเครื่องล้อม ไม่พึงละจากหัตถบาส. สวนของต่างสกุล
4
+ 02,0015,003,และมีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ภายในเขตสวน ต้องอยู่ที่ริมประตูสวน หรือไม่ละจากหัตถบาส.
5
+ 02,0015,004,เป็นสถานไม่มีเครื่องล้อม ไม่พึงละจากหัตถบาส.
6
+ 02,0015,005,[๒๖] วิหาร ของสกุลเดียวและมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในเขตวิหาร
7
+ 02,0015,006,ต้องอยู่ภายในเขตวิหาร. เป็นสถานไม่มีเครื่องล้อม เก็บจีวรไว้ในที่อยู่ใด ต้องอยู่ในที่อยู่นั้น
8
+ 02,0015,007,หรือไม่ละจากหัตถบาส. วิหารของต่างสกุล และมีเครื่องล้อม ภิกษุเก็บจีวรไว้ในที่อยู่ใด
9
+ 02,0015,008,ต้องอยู่ในที่อยู่นั้น หรือที่ริมประตู หรือไม่ละจากหัตถบาส. เป็นสถานไม่มีเครื่องล้อม เก็บ
10
+ 02,0015,009,จีวรไว้ในที่อยู่ใด ต้องอยู่ในที่อยู่นั้น หรือไม่ละจากหัตถบาส.
11
+ 02,0015,010,[๒๗] โคนไม้ ของสกุลเดียว กำหนดเอาเขตที่เงาแผ่ไปโดยรอบในเวลาเที่ยง
12
+ 02,0015,011,ภิกษุเก็บจีวรไว้ภายในเขตเงา ต้องอยู่ภายในเขตเงา. โคนไม้ของต่างสกุล ไม่พึงละจาก
13
+ 02,0015,012,หัตถบาส.
14
+ 02,0015,013,[๒๘] ที่แจ้ง ที่ชื่อว่า มีอุปจารเดียว มีอุปจารต่าง คือ ในป่าหาบ้านมิได้
15
+ 02,0015,014,กำหนด ๗ อัพภันดรโดยรอบ จัดเป็นอุปจารเดียว พ้นไปนั้น จัดเป็นอุปจารต่าง.
16
+ 02,0015,015,นิสสัคคิยปาจิตตีย์
17
+ 02,0015,016,[๒๙] จีวรอยู่ปราศ ภิกษุสำคัญว่าอยู่ปราศ เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ เป็นนิสสัคคีย์
18
+ 02,0015,017,ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
19
+ 02,0015,018,จีวรอยู่ปราศ ภิกษุสงสัย เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
20
+ 02,0015,019,จีวรอยู่ปราศ ภิกษุสำคัญว่าไม่อยู่ปราศ เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ เป็นนิสสัคคีย์
21
+ 02,0015,020,ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
22
+ 02,0015,021,จีวรยังไม่ได้ถอน ภิกษุสำคัญว่าถอนแล้ว เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ เป็นนิสสัคคีย์
23
+ 02,0015,022,ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
24
+ 02,0015,023,จีวรยังไม่ได้สละให้ไป ภิกษุสำคัญว่าสละให้ไปแล้ว เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ เป็น
25
+ 02,0015,024,นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
26
+ 02,0015,025,จีวรยังไม่หาย ภิกษุสำคัญว่าหายแล้ว เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ เป็นนิสสัคคีย์
27
+ 02,0015,026,ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
02/020016.csv ADDED
@@ -0,0 +1,19 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0016,001,จีวรยังไม่ฉิบหาย ภิกษุสำคัญว่าฉิบหายแล้ว เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ เป็นนิสสัคคีย์
3
+ 02,0016,002,ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
4
+ 02,0016,003,จีวรยังไม่ถูกไฟไหม้ ภิกษุสำคัญว่าถูกไฟไหม้แล้ว เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ เป็น
5
+ 02,0016,004,นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
6
+ 02,0016,005,จีวรยังไม่ถูกโจรชิงไป ภิกษุสำคัญว่าถูกโจรชิงไปแล้ว เว้นแต่ภิกษุได้รับสมมติ เป็น
7
+ 02,0016,006,นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
8
+ 02,0016,007,ทุกกฏ
9
+ 02,0016,008,[๓๐] ภิกษุไม่สละจีวรที่เป็นนิสสัคคีย์ บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ.
10
+ 02,0016,009,จีวรไม่อยู่ปราศ ภิกษุสำคัญว่าอยู่ปราศ บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ.
11
+ 02,0016,010,จีวรไม่อยู่ปราศ ภิกษุสงสัย บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ.
12
+ 02,0016,011,ไม่ต้องอาบัติ
13
+ 02,0016,012,จีวรไม่อยู่ปราศ ภิกษุสำคัญว่าไม่อยู่ปราศ บริโภค ไม่ต้องอาบัติ.
14
+ 02,0016,013,อนาปัตติวาร
15
+ 02,0016,014,[๓๑] ในภายในอรุณ ภิกษุถอนเสีย ๑ ภิกษุสละให้ไป ๑ จีวรหาย ๑ จีวรฉิบหาย ๑
16
+ 02,0016,015,จีวรถูกไฟไหม้ ๑ โจรชิงเอาไป ๑ ภิกษุถือวิสาสะ ๑ ภิกษุได้รับสมมติ ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑
17
+ 02,0016,016,ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.
18
+ 02,0016,017,จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๒ จบ.
19
+ 02,0016,018,___________
02/020017.csv ADDED
@@ -0,0 +1,24 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0017,001,๑. จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๓
3
+ 02,0017,002,เรื่องภิกษุรูปหนึ่ง
4
+ 02,0017,003,[๓๒] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของ
5
+ 02,0017,004,อนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี. ครั้งนั้น อกาลจีวรเกิดแก่ภิกษุรูปหนึ่ง เธอจะทำจีวร
6
+ 02,0017,005,ก็ไม่พอ จึงเอาจีวรนั้นจุ่มน้ำตากแล้วดึงเป็นหลายครั้ง พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปตาม
7
+ 02,0017,006,เสนาสนะ ทอดพระเนตรเห็นเธอเอาจีวรนั้นจุ่มน้ำตากแล้วดึงเป็นหลายครั้ง จึงเสด็จเข้าไปหา
8
+ 02,0017,007,แล้วตรัสถามว่า ดูกรภิกษุ เธอจุ่มจีวรนี้ลงในน้ำแล้วดึงเป็นหลายครั้ง เพื่อประสงค์อะไร?
9
+ 02,0017,008,ภิกษุรูปนั้นกราบทูลว่า อกาลจีวรผืนนี้เกิดแก่ข้าพระพุทธเจ้า จะทำจีวรก็ไม่พอ เพราะ
10
+ 02,0017,009,ฉะนั้น ข้าพระพุทธเจ้าจึงได้จุ่มจีวรนี้ตากแล้วดึงเป็นหลายครั้ง พระพุทธเจ้าข้า.
11
+ 02,0017,010,ภ. ก็เธอยังมีหวังจะได้จีวรมาอีกหรือ?
12
+ 02,0017,011,ภิ. มี พระพุทธเจ้าข้า.
13
+ 02,0017,012,ทรงอนุญาตอกาลจีวร
14
+ 02,0017,013,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุ
15
+ 02,0017,014,แรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้รับอกาลจีวร
16
+ 02,0017,015,แล้วเก็บไว้ได้ โดยมีหวังว่าจะได้จีวรใหม่มาเพิ่มเติม.
17
+ 02,0017,016,[๓๓] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายทราบว่า พระผู้มีพระภาคทรงอนุญาตให้รับ
18
+ 02,0017,017,อกาลจีวรแล้วเก็บไว้ได้ โดยมีหวังว่าจะได้จีวรใหม่มาเพิ่มเติม จึงรับอกาลจีวรแล้วเก็บไว้เกิน
19
+ 02,0017,018,หนึ่งเดือน. จีวรเหล่านั้นเธอห่อแขวนไว้ที่สายระเดียง.
20
+ 02,0017,019,ท่านพระอานนท์เที่ยวจาริกไปตามเสนาสนะ ได้เห็นจีวรเหล่านั้น ซึ่งภิกษุทั้งหลาย
21
+ 02,0017,020,ห่อแขวนไว้ที่สายระเดียง. ครั้นแล้วจึงถามภิกษุทั้งหลายว่า จีวรเหล่านี้ของใครห่อแขวนไว้ที่
22
+ 02,0017,021,สายระเดียง?
23
+ 02,0017,022,ภิกษุเหล่านั้นตอบว่า อกาลจีวรเหล่านี้ของพวกกระผม พวกกระผมเก็บไว้ โดยมีหวัง
24
+ 02,0017,023,ว่าจะได้จีวรใหม่มาเพิ่มเติม.
02/020018.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0018,001,อา. เก็บไว้นานเท่าไรแล้ว?
3
+ 02,0018,002,ภิ. นานกว่าหนึ่งเดือน ขอรับ.
4
+ 02,0018,003,ท่านพระอานนท์จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลายจึงได้รับอกาลจีวร
5
+ 02,0018,004,แล้วเก็บไว้เกินหนึ่งเดือนเล่า แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
6
+ 02,0018,005,ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม
7
+ 02,0018,006,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น
8
+ 02,0018,007,ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่าพวกภิกษุ
9
+ 02,0018,008,รับอกาลจีวรแล้วเก็บไว้เกินหนึ่งเดือน จริงหรือ?
10
+ 02,0018,009,ภิกษุทั้งหลายทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
11
+ 02,0018,010,ทรงติเตียน
12
+ 02,0018,011,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษ
13
+ 02,0018,012,เหล่านั้นนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนภิกษุ-
14
+ 02,0018,013,โมฆบุรุษเหล่านั้น จึงได้รับอกาลจีวรแล้วเก็บไว้เกินหนึ่งเดือนเล่า การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษ
15
+ 02,0018,014,เหล่านั้นนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของ
16
+ 02,0018,015,ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของภิกษุโมฆบุรุษเหล่านั้นนั่น เป็นไปเพื่อความ
17
+ 02,0018,016,ไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.
18
+ 02,0018,017,ทรงบัญญัติสิกขาบท
19
+ 02,0018,018,พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนภิกษุเหล่านั้น โดยอเนกปริยายดั่งนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความ
20
+ 02,0018,019,เป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ
21
+ 02,0018,020,คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย
22
+ 02,0018,021,ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร
23
+ 02,0018,022,โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุ
24
+ 02,0018,023,ทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
25
+ 02,0018,024,ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัย
26
+ 02,0018,025,อำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑
27
+ 02,0018,026,เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิด
02/020019.csv ADDED
@@ -0,0 +1,25 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0019,001,ในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
3
+ 02,0019,002,เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑
4
+ 02,0019,003,เพื่อถือตามพระวินัย ๑
5
+ 02,0019,004,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
6
+ 02,0019,005,พระบัญญัติ
7
+ 02,0019,006,๒๒.๓. จีวรของภิกษุสำเร็จแล้ว กฐินเดาะเสียแล้ว อกาลจีวรเกิดขึ้นแก่
8
+ 02,0019,007,ภิกษุ ภิกษุหวังอยู่ก็พึงรับ ครั้นรับแล้ว พึงรีบให้ทำ ถ้าผ้านั้นมีไม่พอ เมื่อความ
9
+ 02,0019,008,หวังว่าจะได้มีอยู่ ภิกษุนั้นพึงเก็บจีวรนั้นไว้ได้เดือนหนึ่งเป็นอย่างยิ่ง เพื่อจีวรที่ยัง
10
+ 02,0019,009,บกพร่องจะได้พอกัน ถ้าเก็บไว้ยิ่งกว่ากำหนดนั้น แม้ความหวังว่าจะได้มีอยู่ ก็เป็น
11
+ 02,0019,010,นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
12
+ 02,0019,011,เรื่องภิกษุรูปหนึ่ง จบ.
13
+ 02,0019,012,สิกขาบทวิภังค์
14
+ 02,0019,013,[๓๔] บทว่า จีวรของภิกษุสำเร็จแล้ว ความว่า จีวรของภิกษุทำสำเร็จแล้วก็ดี
15
+ 02,0019,014,หายเสียก็ดี ฉิบหายเสียก็ดี ถูกไฟไหม้เสียก็ดี หมดหวังว่าจะได้ทำจีวรก็ดี.
16
+ 02,0019,015,คำว่า กฐินเดาะเสียแล้ว คือเดาะเสียแล้วด้วยมาติกาอันใดอันหนึ่งในมาติกา ๘ หรือ
17
+ 02,0019,016,สงฆ์เดาะเสียในระหว่าง.
18
+ 02,0019,017,ที่ชื่อว่า อกาลจีวร ได้แก่ผ้าที่เมื่อไม่ได้กรานกฐินเกิดได้ตลอด ๑๑ เดือน เมื่อได้
19
+ 02,0019,018,กรานกฐินแล้ว เกิดได้ตลอด ๗ เดือน แม้ผ้าที่เขาเจาะจงให้เป็นอกาลจีวรถวายในกาล นี่ก็
20
+ 02,0019,019,ชื่อว่าอกาลจีวร.
21
+ 02,0019,020,บทว่า เกิดขึ้น คือ เกิดแต่สงฆ์ก็ตาม แต่คณะก็ตาม แต่ญาติก็ตาม แต่มิตรก็ตาม
22
+ 02,0019,021,แต่ที่บังสุกุลก็ตาม แต่ทรัพย์ของตนก็ตาม.
23
+ 02,0019,022,[๓๕] บทว่า หวังอยู่ คือ เมื่อต้องการ ก็พึงรับไว้.
24
+ 02,0019,023,คำว่า ครั้นรับแล้วพึงรีบให้ทำ คือ พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน
25
+ 02,0019,024,[๓๖] พากย์ว่า ถ้าผ้านั้นมีไม่พอ คือ จะทำไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งไม่เพียงพอ.
02/020020.csv ADDED
@@ -0,0 +1,28 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0020,001,พากย์ว่า ภิกษุนั้นจึงเก็บจีวรนั้นไว้ได้เดือนหนึ่งเป็นอย่างยิ่ง คือ เก็บไว้ได้เดือน
3
+ 02,0020,002,หนึ่งเป็นอย่างนาน.
4
+ 02,0020,003,คำว่า เพื่อจีวรที่ยังบกพร่องจะได้พอกัน คือ เพื่อประสงค์จะยังจีวรที่บกพร่องให้
5
+ 02,0020,004,บริบูรณ์.
6
+ 02,0020,005,พากย์ว่า เพื่อความหวังว่าจะได้มีอยู่ คือ มีความหวังว่าจะได้มาแต่สงฆ์ก็ตาม แต่
7
+ 02,0020,006,คณะก็ตาม แต่ญาติก็ตาม แต่มิตรก็ตาม แต่ที่บังสุกุลก็ตาม แต่ทรัพย์ของตนก็ตาม.
8
+ 02,0020,007,จีวรที่มีหวัง
9
+ 02,0020,008,[๓๗] พากย์ว่า ถ้าเก็บไว้ยิ่งกว่ากำหนดนั้น แม้ความหวังว่าจะได้มีอยู่
10
+ 02,0020,009,อธิบายว่า จีวรเดิมเกิดขึ้นในวันนั้น จีวรที่หวังก็เกิดในวันนั้น พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน
11
+ 02,0020,010,จีวรเดิมเกิดได้ ๒ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
12
+ 02,0020,011,จีวรเดิมเกิดได้ ๓ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
13
+ 02,0020,012,จีวรเดิมเกิดได้ ๔ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
14
+ 02,0020,013,จีวรเดิมเกิดได้ ๕ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
15
+ 02,0020,014,จีวรเดิมเกิดได้ ๖ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
16
+ 02,0020,015,จีวรเดิมเกิดได้ ๗ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
17
+ 02,0020,016,จีวรเดิมเกิดได้ ๘ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
18
+ 02,0020,017,จีวรเดิมเกิดได้ ๙ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
19
+ 02,0020,018,จีวรเดิมเกิดได้ ๑๐ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
20
+ 02,0020,019,จีวรเดิมเกิดได้ ๑๑ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
21
+ 02,0020,020,จีวรเดิมเกิดได้ ๑๒ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
22
+ 02,0020,021,จีวรเดิมเกิดได้ ๑๓ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
23
+ 02,0020,022,จีวรเดิมเกิดได้ ๑๔ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
24
+ 02,0020,023,จีวรเดิมเกิดได้ ๑๕ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
25
+ 02,0020,024,จีวรเดิมเกิดได้ ๑๖ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
26
+ 02,0020,025,จีวรเดิมเกิดได้ ๑๗ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
27
+ 02,0020,026,จีวรเดิมเกิดได้ ๑๘ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ ��ัน.
28
+ 02,0020,027,จีวรเดิมเกิดได้ ๑๙ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
02/020021.csv ADDED
@@ -0,0 +1,26 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0021,001,จีวรเดิมเกิดได้ ๒๐ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑๐ วัน.
3
+ 02,0021,002,จีวรเดิมเกิดได้ ๒๑ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๙ วัน.
4
+ 02,0021,003,จีวรเดิมเกิดได้ ๒๒ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๘ วัน.
5
+ 02,0021,004,จีวรเดิมเกิดได้ ๒๓ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๗ วัน.
6
+ 02,0021,005,จีวรเดิมเกิดได้ ๒๔ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๖ วัน.
7
+ 02,0021,006,จีวรเดิมเกิดได้ ๒๕ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๕ วัน.
8
+ 02,0021,007,จีวรเดิมเกิดได้ ๒๖ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๔ วัน.
9
+ 02,0021,008,จีวรเดิมเกิดได้ ๒๗ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๓ วัน.
10
+ 02,0021,009,จีวรเดิมเกิดได้ ๒๘ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๒ วัน.
11
+ 02,0021,010,จีวรเดิมเกิดได้ ๒๙ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงให้ทำให้เสร็จใน ๑ วัน.
12
+ 02,0021,011,จีวรเดิมเกิดได้ ๓๐ วัน จีวรที่หวังจึงเกิด พึงอธิษฐาน พึงวิกัปไว้ พึงสละให้ผู้อื่นไป
13
+ 02,0021,012,ในวันนั้นแหละ. ถ้าไม่อธิษฐาน ไม่วิกัปไว้ หรือไม่สละให้ผู้อื่นไป เมื่ออรุณที่ ๓๑ ขึ้นมา
14
+ 02,0021,013,จีวรนั้นเป็นนิสสัคคีย์ คือ เป็นของจำต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.
15
+ 02,0021,014,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้;-
16
+ 02,0021,015,วิธีเสียสละ
17
+ 02,0021,016,เสียสละแก่สงฆ์
18
+ 02,0021,017,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า
19
+ 02,0021,018,นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า
20
+ 02,0021,019,ท่านเจ้าข้า อกาลจีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ล่วงเดือนหนึ่ง เป็นของจำจะสละ
21
+ 02,0021,020,ข้าพเจ้าสละอกาลจีวรผืนนี้แก่สงฆ์.
22
+ 02,0021,021,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่
23
+ 02,0021,022,เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
24
+ 02,0021,023,ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า อกาลจีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของ
25
+ 02,0021,024,จำจะสละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้
26
+ 02,0021,025,อกาลจีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
02/020022.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0022,001,เสียสละแก่คณะ
3
+ 02,0022,002,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษา
4
+ 02,0022,003,กว่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า
5
+ 02,0022,004,ท่านเจ้าข้า อกาลจีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ล่วงเดือนหนึ่ง เป็นของจำจะสละ
6
+ 02,0022,005,ข้าพเจ้าสละอกาลจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย.
7
+ 02,0022,006,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่
8
+ 02,0022,007,เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
9
+ 02,0022,008,ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า อกาลจีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้เป็นของจำจะ
10
+ 02,0022,009,สละ เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว
11
+ 02,0022,010,ท่านทั้งหลายพึงให้อกาลจีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
12
+ 02,0022,011,เสียสละแก่บุคคล
13
+ 02,0022,012,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ
14
+ 02,0022,013,กล่าวอย่างนี้ว่า
15
+ 02,0022,014,ท่าน อกาลจีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ล่วงเดือนหนึ่ง เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละ
16
+ 02,0022,015,อกาลจีวรผืนนี้แก่ท่าน.
17
+ 02,0022,016,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสียสละให้
18
+ 02,0022,017,ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้อกาลจีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.
19
+ 02,0022,018,[๓๘] เมื่อจีวรเดิมเกิดขึ้นแล้ว จีวรที่หวังจึงเกิดขึ้น เนื้อผ้าไม่เหมือนกัน และราตรี
20
+ 02,0022,019,ยังเหลืออยู่ ภิกษุไม่ต้องการ ก็ไม่พึงให้ทำ.
21
+ 02,0022,020,บทภาชนีย์
22
+ 02,0022,021,นิสสัคคิยปาจิตตีย์
23
+ 02,0022,022,[๓๙] จีวรล่วงเดือนหนึ่งแล้ว ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ
24
+ 02,0022,023,ปาจิตตีย์.
25
+ 02,0022,024,จีวรล่วงเดือนหนึ่งแล้ว ภิกษุสงสัย เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
26
+ 02,0022,025,จีวรล่วงเดือนหนึ่งแล้ว ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
27
+ 02,0022,026,จีวรยังไม่ได้อธิษฐาน ภิกษุสำคัญว่าอธิษฐานแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
02/020023.csv ADDED
@@ -0,0 +1,20 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0023,001,จีวรยังไม่ได้วิกัป ภิกษุสำคัญว่าวิกัปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
3
+ 02,0023,002,จีวรยังไม่ได้สละให้ไป ภิกษุสำคัญว่าสละให้ไปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
4
+ 02,0023,003,จีวรยังไม่หาย ภิกษุสำคัญว่าหายแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
5
+ 02,0023,004,จีวรยังไม่ฉิบหาย ภิกษุสำคัญว่าฉิบหายแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
6
+ 02,0023,005,จีวรยังไม่ถูกไฟไหม้ ภิกษุสำคัญว่าถูกไฟไหม้แล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
7
+ 02,0023,006,จีวรยังไม่ถูกโจรชิงไป ภิกษุสำคัญว่าถูกโจรชิงไปแล้ว เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ
8
+ 02,0023,007,ปาจิตตีย์.
9
+ 02,0023,008,ทุกกฏ
10
+ 02,0023,009,[๔๐] จีวรเป็นนิสสัคคีย์ ภิกษุไม่เสียสละ บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ. จีวรยังไม่ล่วง
11
+ 02,0023,010,เดือนหนึ่ง ภิกษุสำคัญว่าล่วงแล้ว บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ จีวรยังไม่ล่วงเดือนหนึ่ง ภิกษุ
12
+ 02,0023,011,สงสัย บริโภค ต้องอาบัติทุกกฏ.
13
+ 02,0023,012,ไม่ต้องอาบัติ
14
+ 02,0023,013,จีวรยังไม่ล่วงเดือนหนึ่ง ภิกษุสำคัญว่ายังไม่ล่วง บริโภค ไม่ต้องอาบัติ.
15
+ 02,0023,014,อนาปัตติวาร
16
+ 02,0023,015,[๔๑] ในภายในหนึ่งเดือน ภิกษุอธิษฐาน ๑ ภิกษุวิกัปไว้ ๑ ภิกษุสละให้ไป ๑
17
+ 02,0023,016,จีวรหาย ๑ จีวรฉิบหาย ๑ จีวรถูกไฟไหม้ ๑ โจรชิงเอาไป ๑ ภิกษุถือวิสาสะ ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑
18
+ 02,0023,017,"ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑, ไม่ต้องอาบัติแล."
19
+ 02,0023,018,จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๓ จบ.
20
+ 02,0023,019,___________
02/020024.csv ADDED
@@ -0,0 +1,26 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0024,001,๑. จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๔
3
+ 02,0024,002,เรื่องพระอุทายี
4
+ 02,0024,003,[๔๒] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของ
5
+ 02,0024,004,อนาถปิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี. ครั้งนั้น ปุราณาทุติยิกาของท่านพระอุทายี บวชอยู่
6
+ 02,0024,005,ในสำนักภิกษุณี นางมายังสำนักท่านพระอุทายีเสมอ แม้ท่านพระอุทายีก็ไปยังสำนักภิกษุณีนั้น
7
+ 02,0024,006,เสมอ และบางครั้งก็ฉันอาหารอยู่ในสำนักภิกษุณีนั้น. เช้าวันหนึ่ง ท่านพระอุทายีครอง
8
+ 02,0024,007,อันตรวาสกแล้วถือบาตรจีวรเข้าไปหาภิกษุณีนั้นถึงสำนัก ครั้นแล้วนั่งบนอาสนะ เปิดองค์กำเนิด
9
+ 02,0024,008,เบื้องหน้าภิกษุณีนั้น แม้ภิกษุณีนั้นก็นั่งบนอาสนะ เปิดองค์กำเนิดเบื้องหน้าท่านพระอุทายี
10
+ 02,0024,009,ท่านพระอุทายีมีความกำหนัด ได้เพ่งดูองค์กำเนิดของนาง อสุจิได้เคลื่อนจากองค์กำเนิดของ
11
+ 02,0024,010,ท่านพระอุทายี ท่านพระอุทายีได้พูดกะนางว่า ดูกรน้องหญิง เธอจงไปหาน้ำมา ฉันจะซักผ้า
12
+ 02,0024,011,อันตรวาสก
13
+ 02,0024,012,นางบอกว่า ส่งมาเถิดเจ้าข้า ดิฉันเองจักซักถวาย. ครั้นแล้วนางได้ดูดอสุจินั้นของท่าน
14
+ 02,0024,013,ส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งได้สอดเข้าไปในองค์กำเนิด นางได้ตั้งครรภ์เพราะเหตุนั้นแล้ว.
15
+ 02,0024,014,ภิกษุณีทั้งหลายได้พูดกันอย่างนี้ว่า ภิกษุณีรูปนี้มิใช่พรหมจารินี ภิกษุณีรูปนี้จึงมีครรภ์.
16
+ 02,0024,015,นางพูดว่า แม่เจ้า ดิฉันมิใช่พรหมจารินีก็หาไม่ ครั้นแล้วนางได้แจ้งความนั้นแก่ภิกษุณี
17
+ 02,0024,016,ทั้งหลาย.
18
+ 02,0024,017,ภิกษุณีทั้งหลาย พากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุทายี จึงได้ให้
19
+ 02,0024,018,ภิกษุณีซักจีวรเก่าเล่า แล้วแจ้งความนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย.
20
+ 02,0024,019,บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็
21
+ 02,0024,020,เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุทายีจึงได้ให้ภิกษุณีซักจีวรเก่าเล่า แล้วกราบทูล
22
+ 02,0024,021,เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
23
+ 02,0024,022,ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม
24
+ 02,0024,023,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น
25
+ 02,0024,024,ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระอุทายีว่า ดูกรอุทายี ข่าวว่าเธอให้ภิกษุณี
26
+ 02,0024,025,ซักจีวรเก่า จริงหรือ?
02/020025.csv ADDED
@@ -0,0 +1,26 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0025,001,ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
3
+ 02,0025,002,ภ. นางเป็นญาติของเธอ หรือมิใช่ญาติ?
4
+ 02,0025,003,อุ. มิใช่ญาติ พระพุทธเจ้าข้า.
5
+ 02,0025,004,ทรงติเตียน
6
+ 02,0025,005,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ
7
+ 02,0025,006,ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ บุรุษที่มิใช่ญาติ ย่อมไม่รู้การกระทำ
8
+ 02,0025,007,อันสมควรหรือไม่สมควร การกระทำอันน่าเลื่อมใสหรือไม่น่าเลื่อมใสของสตรีที่มิใช่ญาติ เมื่อ
9
+ 02,0025,008,เป็นเช่นนั้น เธอยังให้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติซักจีวรเก่าได้ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ
10
+ 02,0025,009,เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้
11
+ 02,0025,010,การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็น
12
+ 02,0025,011,อย่างอื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.
13
+ 02,0025,012,ทรงบัญญัติสิกขาบท
14
+ 02,0025,013,พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนท่านพระอุทายี โดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความ
15
+ 02,0025,014,เป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ
16
+ 02,0025,015,คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความ
17
+ 02,0025,016,มักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การ
18
+ 02,0025,017,ปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่
19
+ 02,0025,018,เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
20
+ 02,0025,019,ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจ
21
+ 02,0025,020,ประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่ม
22
+ 02,0025,021,บุคคลผู้เก้อยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิดใน
23
+ 02,0025,022,ปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
24
+ 02,0025,023,เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑
25
+ 02,0025,024,เพื่อถือตามพระวินัย ๑
26
+ 02,0025,025,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงย��สิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
02/020026.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0026,001,พระบัญญัติ
3
+ 02,0026,002,๒๓.๔. อนึ่ง ภิกษุใด ยังภิกษุณีผู้มิใช่ญาติให้ซักก็ดี ให้ย้อมก็ดี ให้ทุบก็ดี
4
+ 02,0026,003,ซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
5
+ 02,0026,004,เรื่องพระอุทายี จบ.
6
+ 02,0026,005,สิกขาบทวิภังค์
7
+ 02,0026,006,[๔๓] บทว่า อนึ่ง ... ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด มีการงานอย่างใด มีชาติอย่างใด
8
+ 02,0026,007,มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็น
9
+ 02,0026,008,เถระก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม เป็นนวกะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคตรัสว่า อนึ่ง ... ใด
10
+ 02,0026,009,บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ
11
+ 02,0026,010,อรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า
12
+ 02,0026,011,ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ
13
+ 02,0026,012,ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า
14
+ 02,0026,013,เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ
15
+ 02,0026,014,ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อม
16
+ 02,0026,015,เพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ. บรรดาภิกษุเหล่านั้น
17
+ 02,0026,016,ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ นี้ ชื่อว่า
18
+ 02,0026,017,ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้.
19
+ 02,0026,018,ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือ ไม่ใช่คนเนื่องถึงกัน ทางมารดาก็ดี ทางบิดาก็ดี ตลอด ๗
20
+ 02,0026,019,ชั่วอายุของบุรพชนก.
21
+ 02,0026,020,ที่ชื่อว่า ภิกษุณี ได้แก่ สตรีผู้อุปสมบทแล้วในสงฆ์ ๒ ฝ่าย.
22
+ 02,0026,021,ที่ชื่อว่า จีวรเก่า ได้แก่ ผ้าที่นุ่งแล้วหนหนึ่งก็ดี ห่มแล้วหนหนึ่งก็ดี.
23
+ 02,0026,022,ภิกษุสั่งว่า จงซัก ต้องอาบัติทุกกฏ จีวรที่ภิกษุณีซักแล้วเป็นนิสสัคคีย์.
24
+ 02,0026,023,ภิกษุสั่งว่า จงย้อม ต้องอาบัติทุกกฏ จีวรที่ภิกษุณีย้อมแล้วเป็นนิสสัคคีย์.
25
+ 02,0026,024,ภิกษุสั่งว่า จงทุบ ต้องอาบัติทุกกฏ เมื่อภิกษุณีทุบด้วยมือก็ตาม ด้วยตะลุมพุกก็ตาม
26
+ 02,0026,025,เพียงทีเดียว จีวรนั้นเป็นนิสสัคคีย์ คือ เป็นของจำจะต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.
27
+ 02,0026,026,ดูกรภิ��ษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้:-
02/020027.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0027,001,วิธีเสียสละ
3
+ 02,0027,002,เสียสละแก่สงฆ์
4
+ 02,0027,003,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า
5
+ 02,0027,004,นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า
6
+ 02,0027,005,ท่านเจ้าข้า จีวรเก่าผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติซักแล้ว เป็นของ
7
+ 02,0027,006,จำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์.
8
+ 02,0027,007,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสีย
9
+ 02,0027,008,สละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
10
+ 02,0027,009,ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะ
11
+ 02,0027,010,สละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้
12
+ 02,0027,011,แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
13
+ 02,0027,012,เสียสละแก่คณะ
14
+ 02,0027,013,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่
15
+ 02,0027,014,พรรษากว่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า
16
+ 02,0027,015,ท่านเจ้าข้า จีวรเก่าผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติซักแล้ว เป็นของ
17
+ 02,0027,016,จำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย.
18
+ 02,0027,017,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสีย
19
+ 02,0027,018,สละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
20
+ 02,0027,019,ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ
21
+ 02,0027,020,เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่าน
22
+ 02,0027,021,ทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
23
+ 02,0027,022,เสียสละแก่บุคคล
24
+ 02,0027,023,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ
25
+ 02,0027,024,กล่าวอย่างนี้ว่า
26
+ 02,0027,025,ท่าน จีวรเก่าผืนนี้ของข้าพเจ้า ให้ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติซักแล้ว เป็นของจำจะ
27
+ 02,0027,026,สละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน.
02/020028.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0028,001,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสียสละ
3
+ 02,0028,002,ให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.
4
+ 02,0028,003,บทภาชนีย์
5
+ 02,0028,004,สำคัญว่ามิใช่ญาติ จตุกกะ ๑
6
+ 02,0028,005,[๔๔] ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ซักซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์
7
+ 02,0028,006,ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
8
+ 02,0028,007,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
9
+ 02,0028,008,กับนิสสัคคีย์.
10
+ 02,0028,009,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ซัก ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
11
+ 02,0028,010,กับนิสสัคคีย์.
12
+ 02,0028,011,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ซัก ให้ย้อม ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า ต้อง
13
+ 02,0028,012,อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์.
14
+ 02,0028,013,สำคัญว่ามิใช่ญาติ จตุกกะ ๒
15
+ 02,0028,014,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อมซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ
16
+ 02,0028,015,ปาจิตตีย์.
17
+ 02,0028,016,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อม ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
18
+ 02,0028,017,กับนิสสัคคีย์.
19
+ 02,0028,018,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อม ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
20
+ 02,0028,019,กับนิสสัคคีย์.
21
+ 02,0028,020,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ย้อม ให้ทุบ ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้อง
22
+ 02,0028,021,อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์.
23
+ 02,0028,022,สำคัญว่ามิใช่ญาติ จตุกกะ ๓
24
+ 02,0028,023,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ทุบซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ
25
+ 02,0028,024,ปาจิตตีย์.
26
+ 02,0028,025,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ทุบ ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
27
+ 02,0028,026,กับนิสสัคคีย์.
02/020029.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0029,001,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ทุบ ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
3
+ 02,0029,002,กับนิสสัคคีย์.
4
+ 02,0029,003,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ให้ทุบ ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า ต้อง
5
+ 02,0029,004,อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์.
6
+ 02,0029,005,สงสัย จตุกกะ ๑
7
+ 02,0029,006,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ซักซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
8
+ 02,0029,007,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับ
9
+ 02,0029,008,นิสสัคคีย์.
10
+ 02,0029,009,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ซัก ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับ
11
+ 02,0029,010,นิสสัคคีย์.
12
+ 02,0029,011,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ซัก ให้ย้อม ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
13
+ 02,0029,012,๒ ตัว กับนิสสัคคีย์.
14
+ 02,0029,013,สงสัย จตุกกะ ๒
15
+ 02,0029,014,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อมซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
16
+ 02,0029,015,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อม ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับ
17
+ 02,0029,016,นิสสัคคีย์.
18
+ 02,0029,017,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อม ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับ
19
+ 02,0029,018,นิสสัคคีย์.
20
+ 02,0029,019,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ย้อม ให้ทุบ ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
21
+ 02,0029,020,๒ ตัว กับนิสสัคคีย์.
22
+ 02,0029,021,สงสัย จตุกกะ ๓
23
+ 02,0029,022,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ทุบซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
24
+ 02,0029,023,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ทุบ ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับ
25
+ 02,0029,024,นิสสัคคีย์.
26
+ 02,0029,025,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ทุบ ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ กับ
27
+ 02,0029,026,นิสสัคคีย์.
02/020030.csv ADDED
@@ -0,0 +1,26 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0030,001,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ให้ทุบ ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
3
+ 02,0030,002,๒ ตัว กับนิสสัคคีย์.
4
+ 02,0030,003,สำคัญว่าเป็นญาติ จตุกกะ ๑
5
+ 02,0030,004,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซักซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ
6
+ 02,0030,005,ปาจิตตีย์.
7
+ 02,0030,006,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
8
+ 02,0030,007,กับนิสสัคคีย์.
9
+ 02,0030,008,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซัก ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
10
+ 02,0030,009,กับนิสสัคคีย์.
11
+ 02,0030,010,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ซัก ให้ย้อม ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า ต้อง
12
+ 02,0030,011,อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์.
13
+ 02,0030,012,สำคัญว่าเป็นญาติ จตุกกะ ๒
14
+ 02,0030,013,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อมซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ
15
+ 02,0030,014,ปาจิตตีย์.
16
+ 02,0030,015,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อม ให้ทุบ ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
17
+ 02,0030,016,กับนิสสัคคีย์.
18
+ 02,0030,017,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อม ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
19
+ 02,0030,018,กับนิสสัคคีย์.
20
+ 02,0030,019,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ย้อม ให้ทุบ ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้อง
21
+ 02,0030,020,อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์.
22
+ 02,0030,021,สำคัญว่าเป็นญาติ จตุกกะ ๓
23
+ 02,0030,022,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ทุบซึ่งจีวรเก่า เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ
24
+ 02,0030,023,ปาจิตตีย์.
25
+ 02,0030,024,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ทุบ ให้ซัก ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
26
+ 02,0030,025,กับนิสสัคคีย์.
02/020031.csv ADDED
@@ -0,0 +1,21 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0031,001,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ทุบ ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า ต้องอาบัติทุกกฏ
3
+ 02,0031,002,กับนิสสัคคีย์.
4
+ 02,0031,003,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ให้ทุบ ให้ซัก ให้ย้อม ซึ่งจีวรเก่า ต้อง
5
+ 02,0031,004,อาบัติทุกกฏ ๒ ตัว กับนิสสัคคีย์.
6
+ 02,0031,005,ทุกกฏ
7
+ 02,0031,006,ภิกษุใช้ภิกษุณีให้ซักจีวรเก่าของภิกษุอื่น ต้องอาบัติทุกกฏ.
8
+ 02,0031,007,ภิกษุใช้ภิกษุณีให้ซักผ้าปูนั่ง ผ้าปูนอน ต้องอาบัติทุกกฏ.
9
+ 02,0031,008,ภิกษุใช้ภิกษุณีผู้อุปสมบทในสงฆ์ฝ่ายเดียวให้ซัก ต้องอาบัติทุกกฏ.
10
+ 02,0031,009,ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ... ต้องอาบัติทุกกฏ.
11
+ 02,0031,010,ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสงสัย ... ต้องอาบัติทุกกฏ.
12
+ 02,0031,011,ไม่ต้องอาบัติ
13
+ 02,0031,012,ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ... ไม่ต้องอาบัติ.
14
+ 02,0031,013,อนาปัตติวาร
15
+ 02,0031,014,[๔๕] ภิกษุณีผู้เป็นญาติซักให้เอง ๑ ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติเป็นผู้ช่วยเหลือ ๑ ภิกษุไม่ได้
16
+ 02,0031,015,บอกใช้ ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติซักให้เอง ๑ ภิกษุใช้ให้ซักจีวรที่ยังไม่ได้บริโภค ๑ ภิกษุใช้ให้ซัก
17
+ 02,0031,016,บริขารอย่างอื่น ๑- เว้นจีวร ๑ ใช้สิกขมานาให้ซัก ๑ ใช้สามเณรีให้ซัก ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑
18
+ 02,0031,017,ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.
19
+ 02,0031,018,จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๔ จบ.
20
+ 02,0031,019,___________
21
+ 02,0031,020,#๑. บริขารอย่างอื่น หมายผ้าถุงรองเท้า ผ้าถุงบาตรเป็นต้น
02/020032.csv ADDED
@@ -0,0 +1,26 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0032,001,๑. จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๕
3
+ 02,0032,002,เรื่องภิกษุณีอุปปลวัณณา
4
+ 02,0032,003,[๔๖] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเวฬุวัน อันเป็นสถานที่
5
+ 02,0032,004,พระราชทานเหยื่อแก่กระแต เขตพระนครราชคฤห์. ครั้งนั้น ภิกษุณีอุปปลวัณณาอยู่ในพระนคร
6
+ 02,0032,005,สาวัตถี ครั้นเวลาเช้า นางครองอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังพระนครสาวัตถี
7
+ 02,0032,006,กลับจากบิณฑบาตในเวลาหลังอาหารแล้ว เดินเข้าไปทางป่าอันธวัน เพื่อพักผ่อนกลางวัน เข้าไป
8
+ 02,0032,007,ถึงป่าอันธวันแล้ว นั่งพักกลางวันที่โคนไม้แห่งหนึ่ง.
9
+ 02,0032,008,สมัยนั้น พวกโจรทำโจรกรรม ฆ่าแม่โคแล้วพากันถือเนื้อเข้าไปสู่ป่าอันธวัน. นายโจร
10
+ 02,0032,009,แลเห็นภิกษุณีอุปปลวัณณานั่งพักกลางวันอยู่ที่โคนไม้แห่งหนึ่ง ครั้นแล้วจึงดำริว่า ถ้าพวกโจร
11
+ 02,0032,010,ลูกน้องของเราพบเข้า จักเบียดเบียนภิกษุณีนี้ แล้วได้เลี่ยงไปทางอื่น. ครั้นเมื่อเนื้อสุกแล้ว
12
+ 02,0032,011,นายโจรนั้นได้เลือกเนื้อชิ้นที่ดีๆ เอาใบไม้ห่อแขวนไว้ที่ต้นไม้ใกล้ภิกษุณีอุปปลวัณณาแล้วกล่าวว่า
13
+ 02,0032,012,เนื้อห่อนี้เราให้แล้วจริงๆ ผู้ใดเป็นสมณะหรือพราหมณ์ได้เห็น จงถือเอาไปเถิด ดังนี้แล้ว
14
+ 02,0032,013,หลีกไป.
15
+ 02,0032,014,ภิกษุณีอุปปลวัณณาออกจากสมาธิ ได้ยินนายโจรนั้นกล่าววาจานี้ จึงถือเอาเนื้อนั้นไปสู่
16
+ 02,0032,015,สำนัก. ครั้นราตรีนั้นผ่านไป นางทำเนื้อนั้นสำเร็จแล้ว ห่อด้วยผ้าอุตราสงค์ เหาะไปลงที่พระ-
17
+ 02,0032,016,เวฬุวัน.
18
+ 02,0032,017,[๔๗] ก็โดยสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคกำลังเสด็จเข้าไปบิณฑบาตยังหมู่บ้าน. ท่าน
19
+ 02,0032,018,พระอุทายีเหลืออยู่เฝ้าพระวิหาร. จึงภิกษุณีอุปปลวัณณาเข้าไปหาท่าน ครั้นแล้วถามว่า ท่านเจ้าข้า
20
+ 02,0032,019,พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ไหน?
21
+ 02,0032,020,ท่านพระอุทายีตอบว่า ดูกรน้องหญิง พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปบิณฑบาตยังหมู่บ้าน.
22
+ 02,0032,021,อุป. โปรดถวายเนื้อนี้แด่พระผู้มีพระภาค เจ้าข้า.
23
+ 02,0032,022,อุทายี. ดูกรน้องหญิง พระผู้มีพระภาคทรงอิ่มเอิบด้วยเนื้อของเธอ ถ้าเธอถวายผ้า
24
+ 02,0032,023,อันตรวาสกแก่อาตมา แม้อาตมาก็จะพึงอิ่มเอิบด้วยผ้าอันตรวาสกเหมือนเช่นนั้น.
25
+ 02,0032,024,อุป. ท่านเจ้าข้า ความจริง พวกดิฉันชื่อว่ามาตุคาม มีลาภน้อย ทั้งผ้าผืนนี้ก็เป็นจีวร
26
+ 02,0032,025,ผืนสุดท้ายที่ครบ ๕ ของดิฉัน ��ิฉันถวายไม่ได้.
02/020033.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0033,001,อุทายี. ดูกรน้องหญิง เปรียบเหมือนบุรุษให้ช้างแล้ว ก็ควรสละสัปคับสำหรับช้างด้วย
3
+ 02,0033,002,ฉันใด เธอก็ฉันนั้นเหมือนกันแล ถวายเนื้อแด่พระผู้มีพระภาคแล้ว ก็จงสละผ้าอันตรวาสก
4
+ 02,0033,003,ถวายแก่อาตมา.
5
+ 02,0033,004,ครั้นนางถูกท่านพระอุทายีแคะไค้ จึงได้ถวายผ้าอันตรวาสกแล้วกลับไปสู่สำนัก. ภิกษุณี
6
+ 02,0033,005,ทั้งหลายที่คอยรับบาตรจีวรของภิกษุณีอุปปลวัณณาได้ถามว่า แม่เจ้า ผ้าอันตรวาสกของคุณแม่
7
+ 02,0033,006,อยู่ที่ไหน? นางได้เล่าเรื่องนั้นแก่ภิกษุณีทั้งหลาย ภิกษุณีทั้งหลาย จึงพากันเพ่งโทษ ติเตียน
8
+ 02,0033,007,โพนทะนาว่า ไฉนพระคุณเจ้าอุทายีจึงได้รับจีวรจากมือภิกษุณีเล่า เพราะมาตุคามมีลาภน้อย
9
+ 02,0033,008,ครั้นแล้วภิกษุณีเหล่านั้นได้แจ้งเรื่องนั้นแก่ภิกษุทั้งหลาย.
10
+ 02,0033,009,บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็
11
+ 02,0033,010,เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนท่านพระอุทายีจึงได้รับจีวรจากมือภิกษุณีเล่า แล้วกราบ
12
+ 02,0033,011,ทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
13
+ 02,0033,012,ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม
14
+ 02,0033,013,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น
15
+ 02,0033,014,ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระอุทายีว่า ดูกรอุทายี ข่าวว่าเธอรับจีวรจากมือ
16
+ 02,0033,015,ภิกษุณี จริงหรือ?
17
+ 02,0033,016,ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
18
+ 02,0033,017,ภ. ดูกรอุทายี นางเป็นญาติของเธอ หรือมิใช่ญาติ?
19
+ 02,0033,018,อุ. มิใช่ญาติ พระพุทธเจ้าข้า.
20
+ 02,0033,019,ทรงติเตียน
21
+ 02,0033,020,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ
22
+ 02,0033,021,ไม่สม ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ บุรุษที่มิใช่ญาติ ย่อมไม่รู้การกระทำอันสมควร
23
+ 02,0033,022,หรือไม่สมควร ของที่มีอยู่หรือไม่มีของสตรีที่มิใช่ญาติ เมื่อเป็นเช่นนั้น เธอยังรับจีวรจากมือ
24
+ 02,0033,023,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติได้ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส
25
+ 02,0033,024,หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไป
26
+ 02,0033,025,เพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของชนบางพวกที่
27
+ 02,0033,026,เลื่อมใสแล้ว.
02/020034.csv ADDED
@@ -0,0 +1,24 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0034,001,ทรงบัญญัติสิกขาบท
3
+ 02,0034,002,พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนท่านพระอุทายี โดยอเนกปริยายดั่งนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความ
4
+ 02,0034,003,เป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความ
5
+ 02,0034,004,คลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความมักน้อย
6
+ 02,0034,005,ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภ-
7
+ 02,0034,006,ความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสมแก่เรื่องนั้น
8
+ 02,0034,007,แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
9
+ 02,0034,008,ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัย
10
+ 02,0034,009,อำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑
11
+ 02,0034,010,เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะ
12
+ 02,0034,011,บังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชน
13
+ 02,0034,012,ที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่ง
14
+ 02,0034,013,พระสัทธรรม ๑ เพื่อถือตามพระวินัย ๑
15
+ 02,0034,014,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
16
+ 02,0034,015,พระบัญญัติ
17
+ 02,0034,016,๓๔. ๕. อนึ่ง ภิกษุใดรับจีวรจากมือภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
18
+ 02,0034,017,ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้วแก่ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการ
19
+ 02,0034,018,ฉะนี้.
20
+ 02,0034,019,เรื่องภิกษุณีอุปปลวัณณา จบ.
21
+ 02,0034,020,พระอนุบัญญัติ
22
+ 02,0034,021,เรื่องแลกเปลี่ยน
23
+ 02,0034,022,[๔๘] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายตั้งรังเกียจ ไม่รับจีวรแลกเปลี่ยนของภิกษุณี
24
+ 02,0034,023,ทั้งหลาย ภิกษุณีทั้งหลาย จึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระคุณเจ้าทั้งหลาย จึงไม่รับจีวร
02/020035.csv ADDED
@@ -0,0 +1,25 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0035,001,แลกเปลี่ยนของพวกเรา ภิกษุทั้งหลายได้ยินภิกษุณีเหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่
3
+ 02,0035,002,จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
4
+ 02,0035,003,ทรงอนุญาตให้รับจีวรแลกเปลี่ยน
5
+ 02,0035,004,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุ
6
+ 02,0035,005,แรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้รับจีวร
7
+ 02,0035,006,แลกเปลี่ยนกันของสหธรรมิกทั้ง ๕ คือ ภิกษุ ภิกษุณี สิกขมานา สามเณร สามเณรี
8
+ 02,0035,007,เราอนุญาตให้รับจีวรแลกเปลี่ยนกันของสหธรรมิกทั้ง ๕ นี้.
9
+ 02,0035,008,ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
10
+ 02,0035,009,พระอนุบัญญัติ
11
+ 02,0035,010,๓๔.๕. ก. อนึ่ง ภิกษุใดรับจีวรจากมือภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ เว้นไว้แต่ของ
12
+ 02,0035,011,แลกเปลี่ยน เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
13
+ 02,0035,012,เรื่องแลกเปลี่ยน จบ.
14
+ 02,0035,013,สิกขาบทวิภังค์
15
+ 02,0035,014,[๔๙] บทว่า อนึ่ง ... ใด ความว่า ผู้ใด คือผู้เช่นใด มีการงานอย่างใด มีชาติ
16
+ 02,0035,015,อย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์
17
+ 02,0035,016,อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม เป็นนวกะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
18
+ 02,0035,017,อนึ่ง ... ใด.
19
+ 02,0035,018,บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ ชื่อว่า ภิกษุ
20
+ 02,0035,019,เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว
21
+ 02,0035,020,ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ โดยปริญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ
22
+ 02,0035,021,ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบท แล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ
23
+ 02,0035,022,อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า
24
+ 02,0035,023,เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า
25
+ 02,0035,024,เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ
02/020036.csv ADDED
@@ -0,0 +1,26 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0036,001,บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ
3
+ 02,0036,002,ควรแก่ฐานะ นี้ ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้.
4
+ 02,0036,003,ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือไม่ใช่คนเนื่องถึงกัน ทางมารดาก็ดี ทางบิดาก็ดี ตลอด
5
+ 02,0036,004,๗ ชั่วอายุของบุรพชนก.
6
+ 02,0036,005,ที่ชื่อว่า ภิกษุณี ได้แก่สตรีผู้อุปสมบทแล้วในสงฆ์ ๒ ฝ่าย.
7
+ 02,0036,006,ที่ชื่อว่า จีวร ได้แก่จีวร ๖ ชนิด ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเข้าองค์กำหนดแห่งผ้าต้อง
8
+ 02,0036,007,วิกัปเป็นอย่างต่ำ.
9
+ 02,0036,008,บทว่า เว้นไว้แต่ของแลกเปลี่ยน คือ ยกเสียแต่จีวรที่แลกเปลี่ยนกัน.
10
+ 02,0036,009,ภิกษุรับ เป็นทุกกฏในประโยคที่รับ เป็นนิสสัคคีย์ด้วยได้จีวรมา ต้องเสียสละ
11
+ 02,0036,010,แก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.
12
+ 02,0036,011,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้นอย่างนี้:-
13
+ 02,0036,012,วิธีเสียสละ
14
+ 02,0036,013,เสียสละแก่สงฆ์
15
+ 02,0036,014,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า
16
+ 02,0036,015,นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-
17
+ 02,0036,016,ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า รับมาแล้วจากมือภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ เว้น
18
+ 02,0036,017,แต่แลกเปลี่ยนกัน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์.
19
+ 02,0036,018,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสียสละ
20
+ 02,0036,019,ให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
21
+ 02,0036,020,ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้เป็นของจำจะสละ
22
+ 02,0036,021,เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุ
23
+ 02,0036,022,มีชื่อนี้.
24
+ 02,0036,023,เสียสละแก่คณะ
25
+ 02,0036,024,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษา
26
+ 02,0036,025,กว่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-
02/020037.csv ADDED
@@ -0,0 +1,26 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0037,001,ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า รับมาแล้วจากมือภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ เว้นแต่
3
+ 02,0037,002,แลกเปลี่ยนกัน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย.
4
+ 02,0037,003,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่
5
+ 02,0037,004,เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
6
+ 02,0037,005,ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ
7
+ 02,0037,006,เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่าน
8
+ 02,0037,007,ทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
9
+ 02,0037,008,เสียสละแก่บุคคล
10
+ 02,0037,009,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ
11
+ 02,0037,010,กล่าวอย่างนี้ว่า:-
12
+ 02,0037,011,ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า รับมาแล้วจากมือภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ เว้นแต่
13
+ 02,0037,012,แลกเปลี่ยนกัน เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน.
14
+ 02,0037,013,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสียสละ
15
+ 02,0037,014,ให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.
16
+ 02,0037,015,บทภาชนีย์
17
+ 02,0037,016,ติกะนิสสัคคิยปาจิตตีย์
18
+ 02,0037,017,[๕๐] ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ รับจีวรจากมือ เว้นแต่แลกเปลี่ยนกัน
19
+ 02,0037,018,เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
20
+ 02,0037,019,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย รับจีวรจากมือ เว้นแต่แลกเปลี่ยนกัน เป็นนิสสัคคีย์
21
+ 02,0037,020,ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
22
+ 02,0037,021,ภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ รับจีวรจากมือ เว้นแต่แลกเปลี่ยนกัน เป็น
23
+ 02,0037,022,นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
24
+ 02,0037,023,ทุกกฏ
25
+ 02,0037,024,[๕๑] ภิกษุรับจีวรจากมือภิกษุณีผู้อุปสมบทแต่สงฆ์ฝ่ายเดียว เว้นแต่แลกเปลี่ยนกัน
26
+ 02,0037,025,ต้องอาบัติทุกกฏ.
02/020038.csv ADDED
@@ -0,0 +1,12 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0038,001,ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ รับจีวรจากมือ ต้องอาบัติทุกกฏ.
3
+ 02,0038,002,ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสงสัย รับจีวรจากมือ ต้องอาบัติทุกกฏ.
4
+ 02,0038,003,ไม่ต้องอาบัติ
5
+ 02,0038,004,ภิกษุณีผู้เป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ รับจีวรจากมือ ไม่ต้องอาบัติ.
6
+ 02,0038,005,อนาปัตติวาร
7
+ 02,0038,006,[๕๒] ภิกษุรับจีวรของภิกษุณีผู้เป็นญาติ ๑ แลกเปลี่ยนกัน คือแลกเปลี่ยนจีวรดีกับ
8
+ 02,0038,007,จีวรเลว หรือจีวรเลวกับจีวรดี ๑ ภิกษุถือวิสาสะ ๑ ภิกษุขอยืมไป ๑ ภิกษุรับบริขารอื่นนอก
9
+ 02,0038,008,จากจีวร ๑ ภิกษุรับจีวรของสิกขมานา ๑ ภิกษุรับจีวรของสามเณรี ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุ
10
+ 02,0038,009,อาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.
11
+ 02,0038,010,จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๕ จบ.
12
+ 02,0038,011,___________
02/020039.csv ADDED
@@ -0,0 +1,24 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0039,001,๑. จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๖
3
+ 02,0039,002,เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร
4
+ 02,0039,003,[๕๓] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของ
5
+ 02,0039,004,อนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี. ครั้งนั้น ท่านพระอุปนันทศากยบุตร เป็นผู้เชี่ยวชาญ
6
+ 02,0039,005,แสดงธรรมีกถา จึงเศรษฐีบุตรผู้หนึ่งเข้าไปหาพระอุปนันทศากยบุตร. ครั้นแล้วอภิวาทท่านพระ-
7
+ 02,0039,006,อุปนันทศากยบุตร แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. ท่านพระอุปนันทศากยบุตรได้ชี้แจงด้วย
8
+ 02,0039,007,ธรรมีกถาให้เศรษฐีบุตรสมาทาน อาจหาญ ร่าเริงแล้ว.
9
+ 02,0039,008,เศรษฐีบุตรนั้น อันท่านพระอุปนันทศากยบุตรชี้แจงด้วยธรรมีกถา ให้สมาทาน
10
+ 02,0039,009,อาจหาญ ร่าเริงแล้ว ได้ปวารณาท่านพระอุปนันทศากยบุตรในทันใดนั้นแลอย่างนี้ว่า ท่านเจ้าข้า
11
+ 02,0039,010,ขอพระคุณเจ้าพึงบอกสิ่งที่ต้องประสงค์ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ เภสัชบริขารอันเป็น
12
+ 02,0039,011,ปัจจัยของภิกษุไข้ ซึ่งข้าพเจ้าสามารถจะจัดถวายแด่พระคุณเจ้าได้.
13
+ 02,0039,012,ท่านพระอุปนันทศากยบุตร ได้กล่าวคำนี้กะเศรษฐีบุตรนั้นว่า ถ้าท่านประสงค์จะถวายแก่
14
+ 02,0039,013,อาตมา ก็จงถวายผ้าสาฎกผืนหนึ่งจากผ้าเหล่านี้.
15
+ 02,0039,014,เศรษฐีบุตรได้กล่าวขอผัดว่า ท่านเจ้าข้า กระผมเป็นกุลบุตรจะเดินไปมีผ้าผืนเดียวดูกระไร
16
+ 02,0039,015,อยู่ โปรดรออยู่ชั่วเวลาที่กระผมกลับไปบ้าน กระผมไปถึงบ้านแล้ว จักจัดส่งผ้าสาฎกผืนหนึ่งจาก
17
+ 02,0039,016,ผ้าเหล่านี้ หรือผ้าที่ดีกว่านี้มาถวาย.
18
+ 02,0039,017,แม้ครั้งที่สองแล ท่านพระอุปนันทศากยบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะเศรษฐีบุตรนั้นว่า ถ้าท่าน
19
+ 02,0039,018,ประสงค์จะถวายแก่อาตมา ก็จงถวายผ้าสาฎกผืนหนึ่งจากผ้าเหล่านี้.
20
+ 02,0039,019,เศรษฐีบุตรได้กล่าวขอผัดว่า ท่านเจ้าข้า กระผมเป็นกุลบุตรจะเดินไปมีผ้าผืนเดียวดู
21
+ 02,0039,020,กระไรอยู่ โปรดรออยู่ชั่วเวลาที่กระผมกลับไปบ้าน กระผมไปถึงบ้านแล้ว จักจัดส่งผ้าสาฎก
22
+ 02,0039,021,ผืนหนึ่งจากผ้าเหล่านี้ หรือผ้าที่ดีกว่านี้มาถวาย.
23
+ 02,0039,022,แม้ครั้งที่สามแล ท่านพระอุปนันทศากยบุตรก็ได้กล่าวคำนี้กะเศรษฐีบุตรนั้นว่า ถ้าท่าน
24
+ 02,0039,023,ประสงค์จะถวายแก่อาตมา ก็จงถวายผ้าสาฎกผืนหนึ่งจากผ้าเหล่านี้.
02/020040.csv ADDED
@@ -0,0 +1,28 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0040,001,เศรษฐีบุตรได้กล่าวขอผัดว่า ท่านเจ้าข้า กระผมเป็นกุลบุตรจะเดินไปมีผ้าผืนเดียว
3
+ 02,0040,002,ดูกระไรอยู่ โปรดรออยู่ชั่วเวลาที่กระผมกลับไปบ้าน กระผมกลับไปถึงบ้านแล้ว จักจัดส่งผ้า
4
+ 02,0040,003,สาฎกผืนหนึ่งจากผ้าเหล่านี้ หรือผ้าที่ดีกว่านี้มาถวาย.
5
+ 02,0040,004,ท่านพระอุปนันทศากยบุตรกล่าวพ้อว่า ท่านไม่ประสงค์จะถวายก็จะปวารณาทำไม ท่าน
6
+ 02,0040,005,ปวารณาแล้วไม่ถวาย จะมีประโยชน์อะไร
7
+ 02,0040,006,ครั้นเศรษฐีบุตรนั้นถูกท่านพระอุปนันทศากยบุตรแคะได้ จึงได้ถวายผ้าสาฎกผืนหนึ่งแล้ว
8
+ 02,0040,007,กลับไป. ชาวบ้านพบเศรษฐีบุตรนั้นแล้วถามว่า นาย ทำไมท่านจึงมีผ้าผืนเดียวเดินกลับมา?
9
+ 02,0040,008,จึงเศรษฐีบุตรได้เล่าเรื่องนั้นแก่ชาวบ้านเหล่านั้น. ชาวบ้านจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า
10
+ 02,0040,009,พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้ มักมาก ไม่สันโดษ จะปฏิบัติให้ถูกต้องตามที่เขาขอผัด
11
+ 02,0040,010,โดยธรรมสักหน่อยก็ไม่ได้ เมื่อเศรษฐีบุตรกระทำการขอผัดโดยธรรม ไฉนจึงได้ถือเอาผ้าสาฎก
12
+ 02,0040,011,ไปเล่า.
13
+ 02,0040,012,ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ บรรดาภิกษุที่เป็น
14
+ 02,0040,013,ผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน
15
+ 02,0040,014,โพนทะนาว่า ไฉน ท่านพระอุปนันทศากยบุตรจึงได้ขอจีวรต่อเศรษฐีบุตรเล่า แล้วกราบทูล
16
+ 02,0040,015,เรื่องนั้นแด่พระผู้มีภาค.
17
+ 02,0040,016,ทรงประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม
18
+ 02,0040,017,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ใน
19
+ 02,0040,018,เพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระอุปนันทะว่า ดูกรอุปนันทะ ข่าวว่าเธอขอจีวร
20
+ 02,0040,019,ต่อเศรษฐีบุตรจริงหรือ?
21
+ 02,0040,020,ท่านพระอุปนันทะทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
22
+ 02,0040,021,ภ. ดูกรอุปนันทะ เขาเป็นญาติของเธอหรือมิใช่ญาติ?
23
+ 02,0040,022,อุ. มิใช่ญาติ พระพุทธเจ้าข้า.
24
+ 02,0040,023,ทรงติเตียน
25
+ 02,0040,024,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั้น ไม่เหมาะ
26
+ 02,0040,025,ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ คนที่มิใช่ญาติ ย่อมไม่รู้การกระทำ
27
+ 02,0040,026,อันสมควร หรือไม่สมควร ของที่มีอยู่หรือไม่มีของคนที่ไม่ใช่ญาติ เมื่อเป็นเช่นนั้น เธอยังขอ
28
+ 02,0040,027,จีวรต่อเศรษฐีบ��ตรผู้มิใช่ญาติได้ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชน
02/020041.csv ADDED
@@ -0,0 +1,24 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0041,001,ที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำของ
3
+ 02,0041,002,เธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นของ
4
+ 02,0041,003,ชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.
5
+ 02,0041,004,ทรงบัญญัติสิกขาบท
6
+ 02,0041,005,พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนท่านพระอุปนันทะ โดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษ
7
+ 02,0041,006,แห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ
8
+ 02,0041,007,ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย ความ
9
+ 02,0041,008,มักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม
10
+ 02,0041,009,การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสม
11
+ 02,0041,010,แก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
12
+ 02,0041,011,ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัยอำนาจ
13
+ 02,0041,012,ประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่ม
14
+ 02,0041,013,บุคคลผู้เก้อยาก ๑ เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิดใน
15
+ 02,0041,014,ปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
16
+ 02,0041,015,เลื่อมใส ๑ เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑
17
+ 02,0041,016,เพื่อถือตามพระวินัย ๑
18
+ 02,0041,017,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
19
+ 02,0041,018,พระบัญญัติ
20
+ 02,0041,019,๒๕. ๖. อนึ่ง ภิกษุใดขอต่อพ่อเจ้าเรือนก็ดี ต่อแม่เจ้าเรือนก็ดี ผู้มิใช่ญาติ
21
+ 02,0041,020,เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
22
+ 02,0041,021,ก็สิกขาบทนี้ ย่อมเป็นอันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้วแก่ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการ
23
+ 02,0041,022,ฉะนี้
24
+ 02,0041,023,เรื่องพระอุปนันทศากยบุตร จบ.
02/020042.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0042,001,พระอนุบัญญัติ
3
+ 02,0042,002,เรื่องภิกษุเดินทางถูกแย่งชิงจีวร
4
+ 02,0042,003,[๕๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุหลายรูปเดินทางจากเมืองสาเกตสู่พระนครสาวัตถี. พวก
5
+ 02,0042,004,โจรในระหว่างทางได้ออกแย่งชิงจีวรภิกษุเหล่านั้น. ภิกษุเหล่านั้นรังเกียจอยู่ว่า การขอจีวรต่อพ่อ
6
+ 02,0042,005,เจ้าเรือน หรือแม่เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ พระผู้มีพระภาคทรงห้ามไว้แล้ว จึงไม่กล้าขอ พากัน
7
+ 02,0042,006,เปลือยกายเดินไปถึงพระนครสาวัตถี แล้วกราบไหว้ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายพูดกันอย่างนี้ว่า
8
+ 02,0042,007,ท่านทั้งหลาย พวกอาชีวกเหล่านี้ที่กราบไหว้ภิกษุทั้งหลายเหล่านี้ เป็นคนดีจริงๆ
9
+ 02,0042,008,ภิกษุผู้เปลือยกายเหล่านั้นตอบว่า พวกกระผมไม่ใช่อาชีวก ขอรับ พวกกระผมเป็นภิกษุ.
10
+ 02,0042,009,ภิกษุทั้งหลายได้เรียนท่านพระอุบาลีว่า ข้าแต่ท่านพระอุบาลี โปรดสอบสวนภิกษุ
11
+ 02,0042,010,เหล่านี้.
12
+ 02,0042,011,ภิกษุผู้เปลือยกายเหล่านั้น ถูกท่านพระอุบาลีสอบสวน ได้แจ้งเรื่องนั้นแล้ว.
13
+ 02,0042,012,ครั้นท่านพระอุบาลีสอบสวนภิกษุเหล่านั้นแล้ว ได้แจ้งแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ท่านทั้งหลาย
14
+ 02,0042,013,พวกเปลือยกายเหล่านี้เป็นภิกษุ จงให้จีวรแก่ภิกษุเหล่านั้นเถิด.
15
+ 02,0042,014,บรรดาภิกษุผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่าง
16
+ 02,0042,015,ก็เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนภิกษุทั้งหลายจึงได้เปลือยกายเดินมาเล่า ธรรมดาภิกษุ
17
+ 02,0042,016,ควรจะต้องปกปิดด้วยหญ้าหรือใบไม้เดินมา แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
18
+ 02,0042,017,ทรงอนุญาตให้ขอจีวรได้
19
+ 02,0042,018,ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงกระทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะ
20
+ 02,0042,019,เหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้ถูก
21
+ 02,0042,020,โจรแย่งชิงจีวรไป หรือมีจีวรหาย ขอจีวรต่อพ่อเจ้าเรือน หรือแม่เจ้าเรือน ผู้มิใช่ญาติ
22
+ 02,0042,021,ได้ เธอเดินไปถึงวัดใดก่อน ถ้าจีวรสำหรับวิหารก็ดี ผ้าลาดเตียงก็ดี ผ้าลาดพื้นก็ดี ผ้าปูที่นอน
23
+ 02,0042,022,ก็ดี ของสงฆ์ในวัดนั้นมีอยู่ จะถือเอาผ้าของสงฆ์นั้นไปห่มด้วยคิดว่า ได้จีวรนั้นมาแล้ว จักคืน
24
+ 02,0042,023,ไว้ดังกล่าว ดังนี้ก็ควร. ถ้าจีวรสำหรับวิหารก็ดี ผ้าลาดเตียงก็ดี ผ้าลาดพื้นก็ดี ผ้าปูที่นอนก็ดี
25
+ 02,0042,024,ของสงฆ์ไม่มี ต้องปกปิดด้วยหญ้าหรือใบไม้เดินมา ไม่พึงเปลือยกายเดินมา ภิกษุใดเปลือย
26
+ 02,0042,025,กายเดินมา ต้องอาบัติทุกกฏ.
27
+ 02,0042,026,ดูกรภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง พวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
02/020043.csv ADDED
@@ -0,0 +1,26 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0043,001,พระอนุบัญญัติ
3
+ 02,0043,002,๒๕.๖. ก. อนึ่ง ภิกษุใด ขอจีวรต่อพ่อเจ้าเรือนก็ดี ต่อแม่เจ้าเรือนก็ดี ผู้-
4
+ 02,0043,003,มิใช่ญาติ นอกจากสมัย เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์. สมัยในคำนั้นดังนี้: ภิกษุเป็นผู้มี
5
+ 02,0043,004,จีวรถูกชิงเอาไปก็ดี มีจีวรฉิบหายก็ดี นี้สมัยในคำนั้น.
6
+ 02,0043,005,เรื่องภิกษุเดินทางถูกแย่งชิงจีวร จบ.
7
+ 02,0043,006,สิกขาบทวิภังค์
8
+ 02,0043,007,[๕๕] บทว่า อนึ่ง ... ใด ความว่า ผู้ใด คือผู้เช่นใด มีการงานอย่างใด มีชาติอย่างใด
9
+ 02,0043,008,มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็น
10
+ 02,0043,009,เถระก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม เป็นนวกะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคตรัสว่า อนึ่ง ... ใด.
11
+ 02,0043,010,บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ
12
+ 02,0043,011,อรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า
13
+ 02,0043,012,ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า
14
+ 02,0043,013,ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า
15
+ 02,0043,014,เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ
16
+ 02,0043,015,ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระอเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อม-
17
+ 02,0043,016,เพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ. บรรดาภิกษุเหล่านั้น
18
+ 02,0043,017,ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกัน อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรมอันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ
19
+ 02,0043,018,นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้.
20
+ 02,0043,019,ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือ ไม่ใช่คนเนื่องถึงกัน ทางมารดาก็ดี ทางบิดาก็ดี ตลอด ๗
21
+ 02,0043,020,ชั่วอายุของบุรพชนก.
22
+ 02,0043,021,ที่ชื่อว่า พ่อเจ้าเรือน ได้แก่บุรุษผู้ครอบครองเรือน.
23
+ 02,0043,022,ที่ชื่อว่า แม่เจ้าเรือน ได้แก่สตรีผู้ครอบครองเรือน.
24
+ 02,0043,023,ที่ชื่อว่า จีวร ได้แก่จีวร ๖ ชนิด ชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งเข้าองค์กำหนดแห่งผ้าต้อง
25
+ 02,0043,024,วิกัปเป็นอย่างต่ำ.
26
+ 02,0043,025,บทว่า นอกจากสมัย คือ ยกเว้นสมัย.
02/020044.csv ADDED
@@ -0,0 +1,29 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0044,001,ที่ชื่อว่า เป็นผู้มีจีวรถูกชิงเอาไป ได้แก่จีวรของภิกษุผู้ถูกชิงเอาไป คือ ถูกพวก
3
+ 02,0044,002,ราชาก็ดี พวกโจรก็ดี พวกนักเลงก็ดี หรือคนพวกใดพวกหนึ่ง ชิงเอาไป.
4
+ 02,0044,003,ที่ชื่อว่า มีจีวรฉิบหาย คือ จีวรของภิกษุถูกไฟไหม้ก็ดี ถูกน้ำพัดไปก็ดี ถูกหนูหรือ
5
+ 02,0044,004,ปลวกกัดก็ดี เก่าเพราะใช้สอยก็ดี.
6
+ 02,0044,005,ภิกษุขอ นอกจากสมัย เป็นทุกกฏ ในประโยคที่ขอ เป็นนิสสัคคีย์ด้วย ได้จีวรมา
7
+ 02,0044,006,ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.
8
+ 02,0044,007,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้นอย่างนี้:-
9
+ 02,0044,008,วิธีเสียสละ
10
+ 02,0044,009,เสียสละแก่สงฆ์
11
+ 02,0044,010,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า
12
+ 02,0044,011,นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-
13
+ 02,0044,012,ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วต่อพ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ
14
+ 02,0044,013,นอกจากสมัย เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์.
15
+ 02,0044,014,ครั้นสละแล้ว พึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่
16
+ 02,0044,015,เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
17
+ 02,0044,016,ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะ
18
+ 02,0044,017,สละ เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้
19
+ 02,0044,018,แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
20
+ 02,0044,019,เสียสละแก่คณะ
21
+ 02,0044,020,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่
22
+ 02,0044,021,พรรษากว่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-
23
+ 02,0044,022,ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วต่อพ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ
24
+ 02,0044,023,นอกจากสมัย เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย.
25
+ 02,0044,024,ครั้นสละแล้ว พึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่
26
+ 02,0044,025,เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
27
+ 02,0044,026,ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ
28
+ 02,0044,027,เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่าน
29
+ 02,0044,028,ทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
02/020045.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0045,001,เสียสละแก่บุคคล
3
+ 02,0045,002,ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ
4
+ 02,0045,003,กล่าวอย่างนี้ว่า:-
5
+ 02,0045,004,ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วต่อพ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ นอกจาก
6
+ 02,0045,005,สมัย เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน.
7
+ 02,0045,006,ครั้นสละแล้ว พึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่
8
+ 02,0045,007,เสียสละให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.
9
+ 02,0045,008,บทภาชนีย์
10
+ 02,0045,009,ติกะนิสสัคคิยปาจิตตีย์
11
+ 02,0045,010,[๕๖] พ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ขอจีวร นอกจากสมัยเป็น
12
+ 02,0045,011,นิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
13
+ 02,0045,012,พ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ขอจีวร นอกจากสมัยเป็นนิสสัคคีย์ ต้อง
14
+ 02,0045,013,อาบัติปาจิตตีย์.
15
+ 02,0045,014,พ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ขอจีวร นอกจากสมัย เป็นนิสสัคคีย์
16
+ 02,0045,015,ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
17
+ 02,0045,016,ทุกกฏ
18
+ 02,0045,017,พ่อเจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ขอจีวร ... ต้องอาบัติทุกกฏ. พ่อเจ้าเรือน
19
+ 02,0045,018,เป็นญาติ ภิกษุสงสัย ขอจีวร ... ต้องอาบัติทุกกฏ.
20
+ 02,0045,019,ไม่ต้องอาบัติ
21
+ 02,0045,020,พ่อเจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ... ไม่ต้องอาบัติ.
22
+ 02,0045,021,อนาปัตติวาร
23
+ 02,0045,022,[๕๗] ภิกษุขอในสมัย ๑ ภิกษุขอต่อญาติ ๑ ภิกษุขอต่อคนปวารณา ๑ ภิกษุขอ
24
+ 02,0045,023,เพื่อประโยชน์ของภิกษุอื่น ๑ ภิกษุจ่ายมาด้วยทรัพย์ของตน ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑
25
+ 02,0045,024,ไม่ต้องอาบัติแล.
26
+ 02,0045,025,จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๖ จบ.
27
+ 02,0045,026,___________
02/020046.csv ADDED
@@ -0,0 +1,24 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0046,001,๑. จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๗
3
+ 02,0046,002,เรื่องพระฉัพพัคคีย์
4
+ 02,0046,003,[๕๘] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของ
5
+ 02,0046,004,อนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี. ครั้งนั้น พระฉัพพัคคีย์เข้าไปหาภิกษุทั้งหลายผู้มีจีวร
6
+ 02,0046,005,ถูกชิงไป แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า อาวุโสทั้งหลาย การขอจีวรต่อพ่อเจ้าเรือนหรือแม่เจ้าเรือนผู้มิใช่
7
+ 02,0046,006,ญาติ พระผู้มีพระภาคทรงอนุญาตแก่ภิกษุผู้มีจีวรถูกชิงไป หรือผู้มีจีวรฉิบหายแล้ว ท่านทั้งหลาย
8
+ 02,0046,007,จงขอจีวรเถิด.
9
+ 02,0046,008,ภิกษุเหล่านั้นกล่าวว่า พอแล้ว ขอรับ พวกผมได้จีวรมาแล้ว.
10
+ 02,0046,009,ฉ. พวกผมจะขอเพื่อประโยชน์ของพวกท่าน.
11
+ 02,0046,010,ภิ. จงขอเถิด ขอรับ.
12
+ 02,0046,011,ลำดับนั้น พระฉัพพัคคีย์เข้าไปหาพวกพ่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ แล้วกล่าวคำนี้ว่า ท่าน-
13
+ 02,0046,012,ทั้งหลาย พวกภิกษุที่มีจีวรถูกชิงไปมาแล้ว ขอท่านทั้งหลายจงถวายจีวรแก่พวกเธอ ดังนี้แล้ว
14
+ 02,0046,013,ขอจีวรได้มาเป็นอันมาก
15
+ 02,0046,014,ครั้งนั้น บุรุษผู้หนึ่ง นั่งอยู่ในที่ชุมชน พูดกะบุรุษอีกผู้หนึ่งว่า พระคุณเจ้าทั้งหลาย
16
+ 02,0046,015,ผู้มีจีวรถูกชิงไปมาแล้ว ข้าพเจ้าได้ถวายจีวรแก่ท่านเหล่านั้นแล้ว แม้บุรุษอีกผู้หนึ่งนั้นก็กล่าว
17
+ 02,0046,016,อย่างนี้ว่า แม้ข้าพเจ้าก็ได้ถวายไปแล้ว แม้บุรุษอื่นอีกก็กล่าวอย่างนี้ว่า แม้ข้าพเจ้าก็ได้ถวายไป
18
+ 02,0046,017,แล้ว บุรุษเหล่านั้น จึงพากันเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร
19
+ 02,0046,018,จึงไม่รู้จักประมาณ ขอจีวรมามากมายเล่า พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร จักทำการค้าผ้า
20
+ 02,0046,019,หรือจัดตั้งร้านขายผ้า.
21
+ 02,0046,020,ภิกษุทั้งหลายได้ยินชาวบ้านเหล่านั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ บรรดาภิกษุที่
22
+ 02,0046,021,เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความละอาย มีความรังเกียจ ผู้ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียน
23
+ 02,0046,022,โพนทะนาว่า ไฉนพระฉัพพัคคีย์จึงได้ไม่รู้จักประมาณ ขอจีวรมามากมายเล่า แล้วกราบทูลเรื่อง
24
+ 02,0046,023,นั้นแด่พระผู้มีพระภาค.
02/020047.csv ADDED
@@ -0,0 +1,29 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0047,001,ประชุมสงฆ์ทรงสอบถาม
3
+ 02,0047,002,พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุ
4
+ 02,0047,003,แรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามพระฉัพพัคคีย์ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข่าวว่า พวกเธอไม่รู้จัก
5
+ 02,0047,004,ประมาณ ขอจีวรมาไว้มากมาย จริงหรือ?
6
+ 02,0047,005,พระฉัพพัคคีย์ทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
7
+ 02,0047,006,พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูกรโมฆบุรุษทั้งหลาย การกระทำของพวกเธอนั่น
8
+ 02,0047,007,ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนพวกเธอจึงไม่รู้จัก
9
+ 02,0047,008,ประมาณ ขอจีวรมาไว้มากมายเล่า การกระทำของพวกเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของ
10
+ 02,0047,009,ชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้ การกระทำ
11
+ 02,0047,010,ของพวกเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใสและเพื่อความเป็นอย่างอื่น
12
+ 02,0047,011,ของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว.
13
+ 02,0047,012,ทรงบัญญัติสิกขาบท
14
+ 02,0047,013,พระผู้มีพระภาคทรงติเตียนพระฉัพพัคคีย์ โดยอเนกปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่ง
15
+ 02,0047,014,ความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ
16
+ 02,0047,015,ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย
17
+ 02,0047,016,ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความจำกัด อาการที่น่าเลื่อมใส การไม่สะสม
18
+ 02,0047,017,การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ทรงกระทำธรรมีกถาที่สมควรแก่เรื่องนั้น ที่เหมาะสม
19
+ 02,0047,018,แก่เรื่องนั้น แก่ภิกษุทั้งหลาย แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า
20
+ 02,0047,019,ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย อาศัย
21
+ 02,0047,020,อำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ ๑ เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก ๑ เพื่อ
22
+ 02,0047,021,อยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก ๑ เพื่อป้องกันอาสวะอันจะบังเกิดในปัจจุบัน ๑ เพื่อกำจัด
23
+ 02,0047,022,อาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต ๑ เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส ๑ เพื่อความ
24
+ 02,0047,023,เลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว ๑ เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม ๑ เพื่อถือตามพระ-
25
+ 02,0047,024,วินัย ๑
26
+ 02,0047,025,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเ���อพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้ ว่าดังนี้:-
27
+ 02,0047,026,พระบัญญัติ
28
+ 02,0047,027,๒๖. ๗. ถ้าพ่อเจ้าเรือนก็ดี แม่เจ้าเรือนก็ดี ผู้มิใช่ญาติ ปวารณาต่อภิกษุ
29
+ 02,0047,028,นั้น ด้วยจีวรเป็นอันมาก เพื่อนำไปได้ตามใจ ภิกษุนั้นพึงยินดีจีวร มีอุตราสงค์
02/020048.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0048,001,อันตรวาสกเป็นอย่างมาก จากจีวรเหล่านั้น ถ้ายินดียิ่งกว่านั้น เป็นนิสสัคคิย-
3
+ 02,0048,002,ปาจิตตีย์.
4
+ 02,0048,003,เรื่องพระฉัพพัคคีย์ จบ.
5
+ 02,0048,004,สิกขาบทวิภังค์
6
+ 02,0048,005,[๕๙] บทว่า ถ้า ... ต่อภิกษุนั้น ได้แก่ ภิกษุผู้มีจีวรถูกชิงไป.
7
+ 02,0048,006,ที่ชื่อว่า ผู้มิใช่ญาติ คือไม่ใช่คนเนื่องถึงกัน ทางมารดาก็ดี ทางบิดาก็ดี ตลอด ๗
8
+ 02,0048,007,ชั่วอายุของบุรพชนก.
9
+ 02,0048,008,ที่ชื่อว่า พ่อเจ้าเรือน ได้แก่ บุรุษผู้ครอบครองเรือน.
10
+ 02,0048,009,ที่ชื่อว่า แม่เจ้าเรือน ได้แก่สตรีผู้ครอบครองเรือน.
11
+ 02,0048,010,บทว่า ด้วยจีวรเป็นอันมาก คือ จีวรหลายผืน.
12
+ 02,0048,011,บทว่า ปวารณา ... เพื่อนำไปได้ตามใจ คือ ปวารณาว่า ท่านต้องการจีวรเท่าใด
13
+ 02,0048,012,ก็จงรับไปเท่านั้นเถิด.
14
+ 02,0048,013,คำว่า ภิกษุนั้นพึงยินดีจีวรมีอุตราสงค์กับอันตรวาสกเป็นอย่างมาก จากจีวร
15
+ 02,0048,014,เหล่านั้น ความว่า ถ้าจีวรหาย ๓ ผืน เธอพึงยินดีเพียง ๒ ผืน หาย ๒ ผืน พึงยินดีเพียง
16
+ 02,0048,015,ผืนเดียว หายผืนเดียว อย่าพึงยินดีเลย.
17
+ 02,0048,016,คำว่า ถ้ายินดียิ่งกว่านั้น ความว่า ขอมาได้มากกว่านั้น เป็นทุกกฏ ในประโยค
18
+ 02,0048,017,ที่ยินดีเกินกำหนด เป็นนิสสัคคีย์ ด้วยได้จีวรมา ต้องเสียสละแก่สงฆ์ คณะ หรือบุคคล.
19
+ 02,0048,018,ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุพึงเสียสละจีวรนั้น อย่างนี้:-
20
+ 02,0048,019,วิธีเสียสละ
21
+ 02,0048,020,เสียสละแก่สงฆ์
22
+ 02,0048,021,ภิกษุรูปนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษากว่า
23
+ 02,0048,022,นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-
24
+ 02,0048,023,ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วเกินกำหนดต่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ
25
+ 02,0048,024,เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่สงฆ์.
26
+ 02,0048,025,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่
27
+ 02,0048,026,เสียสละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
02/020049.csv ADDED
@@ -0,0 +1,27 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0049,001,ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ
3
+ 02,0049,002,เธอสละแล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรผืนนี้แก่ภิกษุ
4
+ 02,0049,003,มีชื่อนี้.
5
+ 02,0049,004,เสียสละแก่คณะ
6
+ 02,0049,005,ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุหลายรูป ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า กราบเท้าภิกษุผู้แก่
7
+ 02,0049,006,พรรษากว่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า:-
8
+ 02,0049,007,ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วเกินกำหนดต่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ
9
+ 02,0049,008,เป็นของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่านทั้งหลาย.
10
+ 02,0049,009,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสีย
11
+ 02,0049,010,สละให้ด้วยญัตติกรรมวาจา ว่าดังนี้:-
12
+ 02,0049,011,ท่านทั้งหลาย ขอจงฟังข้าพเจ้า จีวรผืนนี้ของภิกษุมีชื่อนี้ เป็นของจำจะสละ
13
+ 02,0049,012,เธอสละแล้วแก่ท่านทั้งหลาย ถ้าความพร้อมพรั่งของท่านทั้งหลายถึงที่แล้ว ท่าน
14
+ 02,0049,013,ทั้งหลายพึงให้จีวรผืนนี้ แก่ภิกษุมีชื่อนี้.
15
+ 02,0049,014,เสียสละแก่บุคคล
16
+ 02,0049,015,ภิกษุรูปนั้น พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือ
17
+ 02,0049,016,กล่าวอย่างนี้ว่า:-
18
+ 02,0049,017,ท่าน จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้า ขอแล้วเกินกำหนด ต่อเจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ เป็น
19
+ 02,0049,018,ของจำจะสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน.
20
+ 02,0049,019,ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้น พึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสียสละ
21
+ 02,0049,020,ให้ด้วยคำว่า ข้าพเจ้าให้จีวรผืนนี้แก่ท่าน ดังนี้.
22
+ 02,0049,021,บทภาชนีย์
23
+ 02,0049,022,[๖๐] เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ขอจีวรเกินกำหนด เป็นนิสสัคคีย์
24
+ 02,0049,023,ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
25
+ 02,0049,024,เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสงสัย ขอจีวรเกินกำหนด เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
26
+ 02,0049,025,เจ้าเรือนผู้มิใช่ญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ขอจีวรเกินกำหนด เป็นนิสสัคคีย์ ต้องอาบัติ
27
+ 02,0049,026,ปาจิตตีย์.
02/020050.csv ADDED
@@ -0,0 +1,13 @@
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1
+ Book,Page,LineNumber,Text
2
+ 02,0050,001,ทุกกฏ
3
+ 02,0050,002,เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่ามิใช่ญาติ ขอจีวร ... ต้องอาบัติทุกกฏ.
4
+ 02,0050,003,เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสงสัย ขอจีวร ... ต้องอาบัติทุกกฏ.
5
+ 02,0050,004,ไม่ต้องอาบัติ
6
+ 02,0050,005,เจ้าเรือนเป็นญาติ ภิกษุสำคัญว่าเป็นญาติ ... ไม่ต้องอาบัติ.
7
+ 02,0050,006,อนาปัตติวาร
8
+ 02,0050,007,[๖๑] ภิกษุนำเอาไปด้วยคิดว่า จักนำจีวรที่เหลือมาคืน ๑ เจ้าเรือนถวายบอกว่า จีวร
9
+ 02,0050,008,ที่เหลือจงเป็นของท่านรูปเดียว ๑ เจ้าเรือนไม่ได้ถวายเพราะเหตุจีวรถูกชิงไป ๑ เจ้าเรือนไม่ได้
10
+ 02,0050,009,ถวายเพราะเหตุจีวรหาย ๑ ภิกษุขอต่อญาติ ๑ ภิกษุขอต่อคนปวารณา ๑ ภิกษุจ่ายมาด้วยทรัพย์
11
+ 02,0050,010,ของตน ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑ ไม่ต้องอาบัติแล.
12
+ 02,0050,011,จีวรวรรค สิกขาบทที่ ๗ จบ.
13
+ 02,0050,012,___________