|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
37,0016,001,ส่วนหนึ่ง ที่ทำให้ข้อความไพเราะ เป็นเครื่องจูงใจผู้ฟัง แต่ในเรื่องนี้
|
|
37,0016,002,มีข้อสำคัญอยู่ว่า ถ้อยคำที่จะส่งและรับสัมผัสกันนั้น อย่าให้เก้อได้
|
|
37,0016,003,เป็นอันขาด คืออย่ารับกันพราวไป ควรมุ่งความเป็นใหญ่ ในที่นี้
|
|
37,0016,004,สมควรจะกล่าวสักเล็กน้อยว่า การส่งและรับสัมผัสที่จะจัดว่าดีนั้น
|
|
37,0016,005,<B>ต้องได้ทั้งสัมผัสทั้งความ</B> ถ้าได้แต่สัมผัส แต่สัมผัสที่ได้นั่นแหละ
|
|
37,0016,006,ทำให้ความเสียไป เช่นนี้ เป็นอันใช้ไม่ได้ทีเดียว.
|
|
37,0016,007,"๓. คำว่า "" แต่งอธิบายเป็นทำนองเทศนาโวหาร "" ตามคำสั่ง"
|
|
37,0016,008,นั้นเป็นการบังคับ เป็นคำสำทับ และเป็นคำสั่งอย่างเด็ดขาด หมาย
|
|
37,0016,009,ความว่า ต้องแต่งเป็นทำนองเทศน์ ทั้งนี้ เป็นเครื่องแสดงว่าไม่ใช่
|
|
37,0016,010,เพราะเหตุดังกล่าวแล้วในข้อ ๑ นั้นเท่านั้น น่าจะมีเหตุอย่างอื่นอีก
|
|
37,0016,011,เป็นต้นว่า เพื่อป้องกันสำนวนโวหารอย่างใหม่ที่ใช้อันอยู่ในหนังสือ
|
|
37,0016,012,อ่านเล่นโดยมาก สำนวนโวหารอย่างนี้ไม่เหมาะไม่ควรสำหรับที่จะนำ
|
|
37,0016,013,มาใช้ในการแก้กระทู้ธรรม เพราะเหตุไร ? เพราะกระทู้ธรรมเป็น
|
|
37,0016,014,สัลเลขะ คือเป็นเครื่องขัดเกลากิเลสทั้งนั้น หรืออย่างน้อยก็มิใช่
|
|
37,0016,015,เป็นอาสวัฏฐานียธรรม คือธรรมเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะ เมื่อเป็นเช่นนี้
|
|
37,0016,016,สำนวนโวหารที่จะใช้ในการแก้กระทู้ธรรม ก็ต้องเป็นสัลเลขะด้วย จึง
|
|
37,0016,017,จะเหมาะกันควรกัน ส่วนสำนวนโวหารที่ใช้กันอยู่หนังสืออ่านเล่น
|
|
37,0016,018,นั้น ไม่ใช่สัลเลขะ และไม่ใช่เพราะเหตุไรนั้น ผู้ที่คุ้นเคยกับหนังสือ
|
|
37,0016,019,อ่านเล่น ขอกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ในการแต่งเป็นทำนองเทศน์นั้น
|
|
37,0016,020,มีลักษณะสำคัญอยู่อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งนักเรียนควรทราบไว้เป็นแท้
|
|
|