|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
09,0006,001,ข้าพเจ้า ได้แก่ต้อนรับโดยควรแก่ฐานะของแขกผู้มา ควรลุกรับ
|
|
09,0006,002,กราบไหว้ก็ทำ ไม่ควรทำอย่างนั้น ก็ทำความเอื้อเฟื้อด้วยประการอื่น.
|
|
09,0006,003,แม้เจ้าถิ่นมีปรารถนาดี แต่ทำไม่ควรแก่ฐานะของแขก การปฏิสันถาร
|
|
09,0006,004,นั้นอาจเสีย เช่นแขกเป็นคนชั้นสูง เจ้าถิ่นทำการต้อนรับอย่างคนสามัญ
|
|
09,0006,005,ดูเป็นไม่สำคัญในแขกผู้นั้นเลย. อีกฝ่ายหนึ่ง แขกเป็นคนสามัญ
|
|
09,0006,006,เจ้าถิ่นต้อนรับแข็งแรง อย่างทำแก่แขกชั้นสูง ดูเป็นตื่นหรือเซอะไป.
|
|
09,0006,007,ธัมมปฏิสันถาร หมายเอาการต้อนรับที่ทำพอดีสมแก่ฐานะของแขก.
|
|
09,0006,008,ปริเยสนา ๒
|
|
09,0006,009,อริยปริเยสนา แสวงหาอย่างประเสริฐ
|
|
09,0006,010,อนริยปริเยสนา แสวงหาอย่างไม่ประเสริฐ.
|
|
09,0006,011,ม. มู. ๑๒/๓๑๔.
|
|
09,0006,012,อธิบาย : สัมมาอาชีวะ เป็นอริยปริเยสนา. มิจฉาอาชีวะ
|
|
09,0006,013,เป็นอนริยปริเยสนา. ในพระสูตรแสดงว่า แสวงหาสภาพอันมิใช่ของ
|
|
09,0006,014,มีชรา พยาธิ มรณะ เป็นธรรม คือคุณธรรมมีพระนิพพานเป็น
|
|
09,0006,015,อย่างสูง เป็นอริยปริเยสนา แสวงหาของมีชรา พยาธิ มรณะ เป็นธรรม
|
|
09,0006,016,เช่นหาของเล่น เป็นอนริยปริเยสนา.
|
|
09,0006,017,<B>ปาพจน์ ๒</B>
|
|
09,0006,018,ธรรม และ วินัย.
|
|
09,0006,019,ที. มหา. ๑๐/๑๗๘.
|
|
|