|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
06,0013,001,แห่งอาบัติอันเกิดทางกายกับจิตก็ได้ ทางวาจากับจิตก็ได้ เช่นอาบัติ
|
|
06,0013,002,ตัวอย่างแห่งอาบัติเกิดทางกายกับจิต พึงเห็นอาบัติปาราชิก เพราะ
|
|
06,0013,003,เสพเมถุน. ตัวอย่างแห่งอาบัติเกิดทางวาจากับจิตพึงเห็นในอาบัติทุกกฏ
|
|
06,0013,004,เพราะแสดงธรรมแก่คนมีอาการไม่เคารพ แต่ไม่ใช่คนเจ็บไข้ที่จำเป็น
|
|
06,0013,005,จะต้องทำดังนั้น ในอรรถกถาแสดงสมุฏฐานแห่งอาบัติมากออกไป
|
|
06,0013,006,เป็น ๑๓ ด้วยนับแยกอาบัติซึ่งเกิดแก่สมุฏฐานเดียวบ้าง หลายสมุฏฐาน
|
|
06,0013,007,บ้าง ข้าพเจ้าเห็นฟั่นเฝือเกินความต้องการจะรู้ จึงงดเสีย ไม่กล่าวไว้
|
|
06,0013,008,ในที่นี้. ผู้ต้องการจะรู้ละเอียด จงดูในบุพพสิกขาวัณณนาของท่าน
|
|
06,0013,009,พระอมราภิรักขิต [อมร เกิด] นั้นเถิด.
|
|
06,0013,010,เพ่งเอาเจตนาเป็นที่ตั้ง อาบัติจัดเป็น ๒ พวก คือที่เกิดขึ้นโดย
|
|
06,0013,011,สมุฏฐานมีเจตนาด้วย เรียกสจิตตกะ ที่เกิดขึ้นโดยสมุฏฐาน แม้
|
|
06,0013,012,ไม่มีเจตนา เรียกอจิตตกะ. นี้เป็นกระทู้สำคัญที่ควรใส่ใจสำหรับ
|
|
06,0013,013,รู้จักอาบัติ. นึกแต่ลำลังอาบัติ น่าจะเห็นไปว่าล่วงด้วยไม่มีเจตนา
|
|
06,0013,014,ปรับให้เป็นอาบัติอยู่ข้างแรงไป ถ้านึกถึงกฎหมายสำหรับบ้านเมือง
|
|
06,0013,015,เข้าเทียบ ก็จะเห็นว่า การลงโทษแก่ผู้ทำผิดด้วยไม่มีเจตนาย่อมมี
|
|
06,0013,016,เหมือนกัน เพราะทำลงไปแล้วย่อมเป็นการเสียเหมือนกัน. ทาง
|
|
06,0013,017,กำหนดรู้อาบัติเป็นสจิตตกะหรืออจิตตกะนั้น คือรูปความและโวหารใน
|
|
06,0013,018,"สิกขาบทนั้นเอง. เช่นสำนวนแห่งโอมสวาทสิกขาบทว่า ""เป็นปาจิตติยะ"
|
|
06,0013,019,"เพราะกล่าวเสียดแทง"" ดังนี้ รูปความบ่งว่า มีความจงใจจึงเป็นอัน"
|
|
06,0013,020,กล่าวเสียดแทง เช่นนี้เป็นสจิตตกะ. สำนวนแห่งสุราปานสิกขาบทว่า
|
|
|