arthoho66 commited on
Commit
91bb37b
1 Parent(s): 86e2c3e

Update voice_test.csv

Browse files
Files changed (1) hide show
  1. voice_test.csv +3 -3
voice_test.csv CHANGED
@@ -1,10 +1,10 @@
1
- original_text
2
  สวัสดีครับ วันนี้มีฎีกาที่น่าสนใจมาฝากอีกแล้วนะครับ เป็นคําพิพากษาฎีกาที่ 3225/2563 ระหว่างนางสาวอ.อ่าง ผู้ร้องนายอ. ขออภัยครับ ระหว่างนางสาวส.เสือ ผู้ร้อง นายอ.อ่าง จําเลยแล้วก็พนักงานอัยการเป็นโจทก์นะครับ
3
  เรื่องนี้เนี่ยเป็นกรณีที่น้องสาวของผู้ตายนะครับ น้องสาวของผู้ตายยื่นคําร้องขอให้ใช้ค่าสินไหมทดแทน ผู้ตายชื่อนายจรัญ ขออภัยครับ ผู้ตายชื่อนายประจักษ์ ผู้ตายชื่อนายประจักษ์ถูกทําร้ายถึงตายถูกนายจรัญกับพวกทําร้ายถึงตาย
4
  พนักงานอัยการยื่นฟ้องข้อหาทําร้ายร่างกายนะครับร่วมกันทําร้ายร่างกายตามมาตรา 290 แต่เนื่องจากผู้ตายไม่มีญาติพี่น้องไม่มีลูก พ่อแม่ก็เสียชีวิตหมดแล้ว ไม่มีภรรยา มีแต่น้อง น้องก็คือน้องร่วมบิดามารดาเดียวกันนะครับ
5
  คดีนี้มีประเด็นน่าสนใจว่า น้องสาวของผู้ตายเนี่ยมีอํานาจร้องขอให้จําเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือไม่ ซึ่งฎีกานี้น่าสนใจมากๆ ในประเด็นเรื่องข้อกฎหมายนะครับ
6
- "เป็นเรื่องตาม เป็นเรื่องละเมิดตามมาตรา 420 ของกฎหมายแพ่ง 443, 1629, 1649 วรรคสอง ส่วนในเรื่องของป.วิ.อ. เป็นเรื่องผู้เสียหายมีอํานาจจัดการแทนผู้เสียหายและผู้เสียหายขอเข้าร่วมเป็นโจทก์ค่าสินไหมทดแทนคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา มาตรา 2 อนุ 4 มาตรา 5 อนุ 2 มาตรา 30, 44/1 และ 46 "
7
- "เดี๋ยวมาดูฎีกาย่อนะครับ ศาลฎีกาวินิจฉัยในฎีกาย่อไว้ว่าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้มีคําอธิบายคําว่าผู้เสียหายไว้ในมาตรา 2 อนุ 4 ซึ่งบัญญัติว่า ผู้เสียหายหมายถึงบุคคลผู้ได้รับความเสียหายเนื่องจากการกระทําผิดฐานใดฐานหนึ่ง รวมทั้งบุคคลอื่นที่มีอํานาจจัดการแทนได้ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 4, 5 และ 6 "
8
  แต่ข้อความตามมาตรา 44/1 ที่บัญญัติให้ผู้เสียหายมีสิทธิที่จะเรียกค่าสินไหมทดแทนได้นั้น ย่อมมีความหมายในตัวว่าหมายถึง ผู้มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทน จึงมีความหมายที่แตกต่างเกินกว่าความหมายของผู้เสียหายที่บัญญัติไว้ในมาตรา 2 อนุ 4 ถือได้ว่าขัดกัน การตีความคําว่าผู้เสียหายตามมาตรา 44/1 จึงไม่ต้องถือตามความหมายเช่นเดียวกับมาตรา 2 อนุมาตรา 4
9
  ทั้งนี้เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 1 ที่บัญญัติว่าในประมวลกฎหมายนี้ถ้าคําใดมีคําอธิบายไว้แล้วให้ถือตามความหมายดังได้อธิบายไว้เว้นแต่ข้อความในตัวบทจะขัดกับคําอธิบายนั้น
10
  ดังนั้นการพิจารณาว่าผู้ใดจะมีสิทธิยื่นคําร้องขอให้จําเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 44/1 หรือไม่ จึงต้องพิจารณาจากสิทธิในทางแพ่งไม่ใช่กรณีที่จะนําความหมายของคําว่าผู้เสียหายในทางอาญา เช่น เป็นผู้เสียหายโดยนิตินัยหรือผู้มีอํานาจจัดการแทนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 4 อนุ 2 มาใช้บังคับ
 
1
+ original
2
  สวัสดีครับ วันนี้มีฎีกาที่น่าสนใจมาฝากอีกแล้วนะครับ เป็นคําพิพากษาฎีกาที่ 3225/2563 ระหว่างนางสาวอ.อ่าง ผู้ร้องนายอ. ขออภัยครับ ระหว่างนางสาวส.เสือ ผู้ร้อง นายอ.อ่าง จําเลยแล้วก็พนักงานอัยการเป็นโจทก์นะครับ
3
  เรื่องนี้เนี่ยเป็นกรณีที่น้องสาวของผู้ตายนะครับ น้องสาวของผู้ตายยื่นคําร้องขอให้ใช้ค่าสินไหมทดแทน ผู้ตายชื่อนายจรัญ ขออภัยครับ ผู้ตายชื่อนายประจักษ์ ผู้ตายชื่อนายประจักษ์ถูกทําร้ายถึงตายถูกนายจรัญกับพวกทําร้ายถึงตาย
4
  พนักงานอัยการยื่นฟ้องข้อหาทําร้ายร่างกายนะครับร่วมกันทําร้ายร่างกายตามมาตรา 290 แต่เนื่องจากผู้ตายไม่มีญาติพี่น้องไม่มีลูก พ่อแม่ก็เสียชีวิตหมดแล้ว ไม่มีภรรยา มีแต่น้อง น้องก็คือน้องร่วมบิดามารดาเดียวกันนะครับ
5
  คดีนี้มีประเด็นน่าสนใจว่า น้องสาวของผู้ตายเนี่ยมีอํานาจร้องขอให้จําเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือไม่ ซึ่งฎีกานี้น่าสนใจมากๆ ในประเด็นเรื่องข้อกฎหมายนะครับ
6
+ เป็นเรื่องตาม เป็นเรื่องละเมิดตามมาตรา 420 ของกฎหมายแพ่ง 443, 1629, 1649 วรรคสอง ส่วนในเรื่องของป.วิ.อ. เป็นเรื่องผู้เสียหายมีอํานาจจัดการแทนผู้เสียหายและผู้เสียหายขอเข้าร่วมเป็นโจทก์ค่าสินไหมทดแทนคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา มาตรา 2 อนุ 4 มาตรา 5 อนุ 2 มาตรา 30, 44/1 และ 46
7
+ เดี๋ยวมาดูฎีกาย่อนะครับ ศาลฎีกาวินิจฉัยในฎีกาย่อไว้ว่าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้มีคําอธิบายคําว่าผู้เสียหายไว้ในมาตรา 2 อนุ 4 ซึ่งบัญญัติว่า ผู้เสียหายหมายถึงบุ���คลผู้ได้รับความเสียหายเนื่องจากการกระทําผิดฐานใดฐานหนึ่ง รวมทั้งบุคคลอื่นที่มีอํานาจจัดการแทนได้ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 4, 5 และ 6
8
  แต่ข้อความตามมาตรา 44/1 ที่บัญญัติให้ผู้เสียหายมีสิทธิที่จะเรียกค่าสินไหมทดแทนได้นั้น ย่อมมีความหมายในตัวว่าหมายถึง ผู้มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทน จึงมีความหมายที่แตกต่างเกินกว่าความหมายของผู้เสียหายที่บัญญัติไว้ในมาตรา 2 อนุ 4 ถือได้ว่าขัดกัน การตีความคําว่าผู้เสียหายตามมาตรา 44/1 จึงไม่ต้องถือตามความหมายเช่นเดียวกับมาตรา 2 อนุมาตรา 4
9
  ทั้งนี้เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 1 ที่บัญญัติว่าในประมวลกฎหมายนี้ถ้าคําใดมีคําอธิบายไว้แล้วให้ถือตามความหมายดังได้อธิบายไว้เว้นแต่ข้อความในตัวบทจะขัดกับคําอธิบายนั้น
10
  ดังนั้นการพิจารณาว่าผู้ใดจะมีสิทธิยื่นคําร้องขอให้จําเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 44/1 หรือไม่ จึงต้องพิจารณาจากสิทธิในทางแพ่งไม่ใช่กรณีที่จะนําความหมายของคําว่าผู้เสียหายในทางอาญา เช่น เป็นผู้เสียหายโดยนิตินัยหรือผู้มีอํานาจจัดการแทนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 4 อนุ 2 มาใช้บังคับ