Spaces:
Sleeping
Sleeping
Pawitsapak
commited on
Commit
•
a2f85d6
1
Parent(s):
ab602b8
Create app.py
Browse files
app.py
ADDED
@@ -0,0 +1,128 @@
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1 |
+
import gradio as gr
|
2 |
+
import time
|
3 |
+
import pandas as pd
|
4 |
+
import random
|
5 |
+
|
6 |
+
answers = {"""ถ้าหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐบาล ทำสัญญาเป็นที่ปรึกษาและฝึกอบรมให้กับหน่วยงานอื่น โดยไม่ได้ใช้ทุนหรือทุนหมุนเวียนเพื่อประกอบการพาณิชย์ จะต้องเสียภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย หรือภาษีมูลค่าเพิ่มไหม?""": """กรณีหน่วยงานของคุณได้ทำสัญญารับจ้างเป็นที่ปรึกษา เพื่อฝึกอบรมต่าง ๆ เป็นการรับทำงานที่เข้าลักษณะเป็นสัญญาจ้าง จึงมีภาระภาษี ดังนี้
|
7 |
+
|
8 |
+
1. **ภาษีเงินได้หัก**: ณ ที่จ่าย หากหน่วยงานของคุณ มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่อยู่ในกำกับของสำนักงานฯ ก็ไม่เข้าลักษณะเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตาม [มาตรา 39](https://rd.go.th/5937.html#mata39) แห่งประมวลรัษฎากร จึงไม่มีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร ดังนั้น เงินได้จากค่ารับจ้างเป็นที่ปรึกษา และฝึกอบรมต่าง ๆ จึง**ไม่ต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย**
|
9 |
+
|
10 |
+
2. **ภาษีมูลค่าเพิ่ม**: กรณีที่หน่วยงานของคุณ ได้ทำสัญญารับจ้างเป็นที่ปรึกษา และฝึกอบรมต่าง ๆ เข้าลักษณะเป็นการให้บริการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตาม [มาตรา 77/1 (10)](https://rd.go.th/5205.html#mata77_1) และ [มาตรา 77/2](https://rd.go.th/5205.html#mata77_1) แห่งประมวลรัษฎากร จึงจำเป็น**ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม**
|
11 |
+
|
12 |
+
การวิเคราะห์นี้อ้างอิงจากข้อหารือภาษีอากรที่เกี่ยวกับการทำงานของหน่วยงานภายในรัฐบาล ได้แก่
|
13 |
+
|
14 |
+
- [กค 0702/พ./6300](https://rd.go.th/60832.html) เรื่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการให้บริการวิจัยหรือการให้บริการทางวิชาการ
|
15 |
+
- [กค 0702/1693](https://rd.go.th/52614.html) เรื่อง ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีรายจ่ายที่จ่ายไปเป็นค่าจ้างเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี""",
|
16 |
+
|
17 |
+
"""ตอนนี้บริษัทผมต้องการนำเข้าสินค้าใหม่สองอย่าง คือ ผงจากสมุนไพรเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้อาหารให้กับสัตว์ปีก และของเหลวจากสมุนไพรที่ใช้แทนวิตามินซีในอาหารสัตว์ ซึ่งทั้งสองอย่างนี้ไม่ต้องขึ้นทะเบียนตามกฎหมายอาหารสัตว์ แต่ต้องขออนุญาตนำเข้าจากกรมปศุสัตว์ อยากรู้ว่าสินค้าเหล่านี้จะได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มไหมครับ?""": """สินค้าที่ต้องการนำเข้า เป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่ต้องขึ้นทะเบียนอาหารสัตว์กับกรมปศุสัตว์แต่ต้องขออนุญาตนำเข้าจากกรมปศุสัตว์ ดังนั้น หากสินค้าดังกล่าวได้รับการรับรองจากกรมปศุสัตว์ว่าเป็นอาหารสัตว์ การนำเข้าสินค้าดังกล่าวย่อมได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตาม
|
18 |
+
|
19 |
+
- [มาตรา 81 (2) (ก)](https://rd.go.th/5206.html#mata81) ประกอบกับ
|
20 |
+
- [มาตรา 81 (1) (ง)](https://rd.go.th/5206.html#mata81)
|
21 |
+
|
22 |
+
แห่งประมวลรัษฎากร
|
23 |
+
|
24 |
+
การวิเคราะห์นี้อ้างอิงจากข้อหารือภาษีอากรที่เกี่ยวกับการนำเข้าอาหารสัตว์ ได้แก่
|
25 |
+
|
26 |
+
- [กค 0702/9224](https://interweb1.rd.go.th/cgi-bin/intra_search?q=%CD%D2%CB%D2%C3%CA%D1%B5%C7%EC%A8%D2%A1%A1%C3%C1%BB%C8%D8%CA%D1%B5%C7%EC;t=5;field=1;page=1;long=1) เรื่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการนำเข้าอาหารเสริมสำหรับสัตว์ชนิดอาหารเสริมแร่ธาตุ และอาหารสัตว์ประเภทวัตถุที่ผสมแล้วชนิดสารผสมล่วงหน้า
|
27 |
+
- [กค 0702/3738](https://rd.go.th/26770.html) เรื่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการนำเข้าอาหารเสริมสำหรับสัตว์""",
|
28 |
+
|
29 |
+
"""ผมอยากรู้ว่าภาษีซื้อจากรถยนต์ของบริษัทสามารถนำมาหักในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มได้ไหม? แล้วค่าเสื่อมของราคารถสามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีได้หรือเปล่า?""": """ภาษีซื้อที่เกิดจากรถยนต์ดังกล่าว ตาม [ข้อ 2 (1) ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉบับที่ 42](https://rd.go.th/3398.html) ไม่ต้องห้ามไม่ให้นำมาหักในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มตาม
|
30 |
+
|
31 |
+
- [มาตรา 82/3](https://rd.go.th/5206.html#mata82_3)
|
32 |
+
- [มาตรา 82/5 (6)](https://rd.go.th/5206.html#mata82_5)
|
33 |
+
|
34 |
+
แห่งประมวลรัษฎากร
|
35 |
+
|
36 |
+
การวิเคราะห์นี้อ้างอิงจากข้อหารือภาษีอากรที่เกี่ยวกับการการคิดภาษีมูลค่าเพิ่มของรถยนต์บริษัท ได้แก่
|
37 |
+
|
38 |
+
- [กค 0702/2479](https://www.rd.go.th/65127.html) เรื่อง ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีรายจ่ายและภาษีซื้อสำหรับรถยนต์กระบะสี่ประตู (Double Cab)
|
39 |
+
- [กค 0702/พ./2420](https://www.rd.go.th/64196.html) เรื่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีภาษีซื้อที่เกิดจากการเช่ารถยนต์กระบะ""",
|
40 |
+
|
41 |
+
"""ถ้าบริษัทสองแห่งมีคนกลุ่มเดียวกันถือหุ้นในทั้งสองบริษัท และบริษัทหนึ่งก็ถือหุ้นในอีกบริษัทหนึ่งด้วย แบบนี้ถือว่าเป็นบริษัทที่มีความสัมพันธ์กันไหม?""": """ตาม [มาตรา 71 ทวิ วรรคสอง](https://rd.go.th/5939.html#mata71_2) แห่งประมวลรัษฎากร ได้กำหนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตั้งแต่สองนิติบุคคลขึ้นไปที่มีความสัมพันธ์กันในลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน
|
42 |
+
|
43 |
+
(1) นิติบุคคลหนึ่งถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในอีกนิติบุคคลหนึ่งไม่ว่าโดย��รงหรือโดยอ้อมไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของทุนทั้งหมด
|
44 |
+
|
45 |
+
(2 ผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในนิติบุคคลหนึ่งไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของทุนทั้งหมด ถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในอีกนิติบุคคลหนึ่งไม่ว่าโดยตรง หรือโดยอ้อมไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของทุนทั้งหมด
|
46 |
+
|
47 |
+
(3) นิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกันในด้านทุน การจัดการ หรือการควบคุมในลักษณะที่นิติบุคคลหนึ่งไม่อาจดำเนินการโดยอิสระจากอีกนิติบุคคลหนึ่งตามที่กำหนดโดยกฎกระทรวง ซึ่ง ณ ขณะนี้ ยังไม่มีกฎกระทรวงกำหนดลักษณะความสัมพันธ์ดังกล่าวแต่อย่างใด
|
48 |
+
|
49 |
+
ซึ่งจากรายละเอียดที่คุณให้มา ยังไม่เพียงพอต่อการตอบคำถามนี้ คุณสามารถให้รายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อให้เราสามารถตอบคำถามนี้ได้
|
50 |
+
|
51 |
+
ตัวอย่างข้อหารือภาษีอากรที่ใกล้เคียง
|
52 |
+
|
53 |
+
- [กค 0702/3858](https://www.rd.go.th/67083.html) เรื่อง ภาษีเงินได้นิติบุคคล การพิจารณาลักษณะของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน
|
54 |
+
- [กค 0702/217](https://www.rd.go.th/66154.html) เรื่อง ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีลักษณะความสัมพันธ์ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันตามมาตรา 71 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร""",
|
55 |
+
|
56 |
+
"""ผมเพิ่งออกจากงานเพราะบริษัทมีการปรับโครงสร้างองค์กร และได้รับเงินที่ได้รับจากการออกจากงาน โดยเงินนี้คิดจากเงินเดือนเฉลี่ยของผมและจะจ่ายในระยะเวลา 12 เดือน ผมอยากรู้ว่าเงินนี้ถือเป็นเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงานมั้ยครับ และผมต้องเสียภาษียังไงบ้าง""": """เงินที่คุณได้รับจากการออกจากงานเนื่องจากการปรับโครงสร้างองค์กร ไม่ถือเป็นเงินชดเชย เนื่องจากคุณสมัครใจเข้าร่วมโครงการ จึงไม่ได้รับยกเว้นตาม [ข้อ 2 (51) แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126](https://rd.go.th/2502.html) ซึ่งระบุไว้ว่า
|
57 |
+
|
58 |
+
“(51) ค่าชดเชยที่ลูกจ้างได้รับตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานหรือกฎหมายว่าด้วยแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ แต่ไม่รวมถึงค่าชดเชยที่ลูกจ้างได้รับเพราะเหตุเกษียณอายุหรือสิ้นสุดสัญญาจ้าง ทั้งนี้ เฉพาะค่าชดเชยส่วนที่ไม่เกินค่าจ้างของการทำงานสี่ร้อยวันสุดท้ายแต่ไม่เกินหกแสนบาท”
|
59 |
+
|
60 |
+
แต่จะถือเป็น **เงินที่นายจ้��งจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน** ตาม
|
61 |
+
- [มาตรา 40 (1) และ (2)](https://rd.go.th/5937.html#mata40)
|
62 |
+
- [มาตรา 48 (5)](https://rd.go.th/5937.html#mata48)
|
63 |
+
- [มาตรา 50 (1)](https://rd.go.th/5937.html#mata50)
|
64 |
+
|
65 |
+
แห่งประมวลรัษฎากร
|
66 |
+
|
67 |
+
ซึ่งคุณสามารถเลือกเสียภาษีแบบจ่ายครั้งเดียวในปีภาษีที่ได้รับเงินได้ ตาม **[ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 45)](https://rd.go.th/3213.html)** ครับ
|
68 |
+
|
69 |
+
การวิเคราะห์นี้อ้างอิงจากข้อหารือภาษีอากรที่เกี่ยวกับเงินชดเชยจากการออกจากงาน ได้แก่
|
70 |
+
|
71 |
+
- [กค 0811/31963](https://rd.go.th/24063.html) เรื่อง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีเงินที่ลูกจ้างได้รับจากการที่ลูกจ้างขอลาออกและนายจ้างเลิกจ้างในขณะเดียวกัน
|
72 |
+
- [กค 0811/02023](https://rd.go.th/23446.html) เรื่อง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย กรณีการนับระยะเวลาการทำงานจากการโอนเปลี่ยนนายจ้าง สำหรับเงินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน
|
73 |
+
- [กค 0702/760](https://rd.go.th/42421.html) เรื่อง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย กรณีเงินที่ได้รับอันเนื่องมาจากการสิ้นสุดสัญญาจ้าง""", # บริษัทของฉันมีใบอนุญาตนำเข้าสินค้าเกี่ยวกับอาหารสัตว์
|
74 |
+
}
|
75 |
+
|
76 |
+
def answer_question(question):
|
77 |
+
global answers
|
78 |
+
random_float = random.uniform(0.5, 1.5)
|
79 |
+
time.sleep(random_float)
|
80 |
+
answer = answers.get(
|
81 |
+
question, "กรุณาเลือกคำถาม"
|
82 |
+
)
|
83 |
+
|
84 |
+
# Update Markdown output in a loop
|
85 |
+
output_markdown = ""
|
86 |
+
for i in range(len(answer)):
|
87 |
+
output_markdown += answer[i]
|
88 |
+
yield output_markdown # Update Markdown, keep DataFrame as None
|
89 |
+
time.sleep(0.003)
|
90 |
+
|
91 |
+
# Mock retrieved document details
|
92 |
+
# document_details = {
|
93 |
+
# "document_id": "doc12345",
|
94 |
+
# "title": "The Answer to Everything",
|
95 |
+
# "source": "The Hitchhiker's Guide to the Galaxy",
|
96 |
+
# "relevance": 0.98,
|
97 |
+
# }
|
98 |
+
|
99 |
+
# Create a Pandas DataFrame for display
|
100 |
+
# df = pd.DataFrame([document_details])
|
101 |
+
# Only yield the dataframe after the loop is complete
|
102 |
+
# yield output_markdown, df
|
103 |
+
|
104 |
+
|
105 |
+
iface = gr.Interface(
|
106 |
+
# theme = gr.themes.Base(),
|
107 |
+
fn=answer_question,
|
108 |
+
inputs=gr.Radio(
|
109 |
+
choices=list(answers.keys()),
|
110 |
+
label="Choose a question",
|
111 |
+
),
|
112 |
+
outputs=[
|
113 |
+
gr.Markdown(label="Answer"), # No 'streaming' argument
|
114 |
+
# gr.DataFrame(
|
115 |
+
# headers=[
|
116 |
+
# "document_id",
|
117 |
+
# "title",
|
118 |
+
# "source",
|
119 |
+
# "relevance",
|
120 |
+
# ],
|
121 |
+
# label="Retrieved Document Details",
|
122 |
+
# ),
|
123 |
+
],
|
124 |
+
title="VISAI AI Tax Law Chatbot Demo",
|
125 |
+
description="Select a question to see a streaming answer and retrieved document details.",
|
126 |
+
)
|
127 |
+
|
128 |
+
iface.launch(share=True)
|