|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
50,0017,001,โสกะ ปริเทวะ อุปายาสด้วย เป็นผลคือทุกข์ด้วย.
|
|
50,0017,002,๒๔๗๕
|
|
50,0017,003,ถ. โสกะ ปริเทวะ โทมนัส อุปายาส ล้วนเป็นทุกข์ทางใจ
|
|
50,0017,004,ด้วยกันทั้งนั้นมิใช่หรือ แต่มีลักษณะต่างกันอย่างไร ?
|
|
50,0017,005,ต. เป็นทุกข์ทางใจด้วยกันทั้งนั้น แต่เมื่อกล่าวถึงลักษณะย่อม
|
|
50,0017,006,ต่างกัน คือ โสกะ ความแห่งใจ หมายถึงความที่ใจหดหู่เหี่ยวแห้ง
|
|
50,0017,007,ไม่ชุ่มชื่นร่าเริง. ปริเทวะ ความร่ำไรรำพัน หมายถึงความคร่ำครวญ
|
|
50,0017,008,อาลัยถึงสิ่งที่เป็นที่รักใคร่ เมื่อแรงกล้า ก็แสดงออกทางกายมีร้องไห้
|
|
50,0017,009,เป็นต้น แสดงออกทางวาจา บ่นเพ้อถึง. โทมนัส ความเสียใจหมายถึง
|
|
50,0017,010,ความที่จิตสลด แต่มิใช่สลดด้วยธรรมสังเวช. อุปายาสความคับแค้น
|
|
50,0017,011,หมายถึงความคับแค้นในจิต โดยความได้แก่ความอึดอัดใจ.
|
|
50,0017,012,ส. ป.
|
|
50,0017,013,ถ. โสกะ ปริเทวะ โทมนัส อุปายาส เป็นผลเนื่องมาจากไหน ?
|
|
50,0017,014,ต. เมื่อพิจารณาเทียบเคียงดู โสกะ ปริเทวะ อุปายาส ดูเป็น
|
|
50,0017,015,ผลสืบมาจากราคะ ในเมื่อได้ได้อารมณ์อันเป็นที่รักสมหวัง หรือ
|
|
50,0017,016,เมื่อได้มาแล้วพลัดพรากจากไป โทมนัส ดูเป็นผลสืบมาจากโทสะ.
|
|
50,0017,017,ส. ป.
|
|
50,0017,018,ถ. ความอยากที่เกิดจากธรรมดาแสร้งสรร เช่นอยากข้าว
|
|
50,0017,019,อยากน้ำเป็นต้น ท่านไม่ได้จัดเป็นตัณหา เพราะไม่เข้าลักษณะเป็น
|
|
50,0017,020,โปโนพฺภวิกา<sup>๑<\sup> นนฺทิราคสหคตา<sup>๒<\sup>หรือ ตตฺรตตฺราภินนฺทินี<sup>๓<\sup> แต่
|
|
|