|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
41,0045,001,สุดแต่ปัญญาของตน สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงสั่งสอน
|
|
41,0045,002,ประชุมชน ให้ได้ปัญญาพิจารณาเห็นลักษณะ ๓ ตามความเป็นจริง
|
|
41,0045,003,แจ้งในธรรมนิยามสูตร และอนัตตลักขณสูตร.
|
|
41,0045,004,๒๘/๘/๗๑
|
|
41,0045,005,ถ. พระนิพพาน ที่ท่านจัดเป็นอนัตตานั้น โดยอธิบายอย่างไร ?
|
|
41,0045,006,ต. พระนิพพานที่จัดเป็นอนัตตา โดยอธิบายว่า เปล่าจากสัตว์
|
|
41,0045,007,บุคคล ไม่มีเจ้าของ และไม่เป็นไปในอำนาจของอะไรทั้งหมด แต่
|
|
41,0045,008,ไม่ใช่แล้วแต่เหตุปัจจัย เพราะเป็นอสังขตธรรม คือธรรมอันปัจจัย
|
|
41,0045,009,ปรุงแต่งไม่ได้.
|
|
41,0045,010,๑/๗/๗๓
|
|
41,0045,011,ถ. สภาวธรรม กับสามัญญลักษณะ เหมือนกันหรือต่างกัน
|
|
41,0045,012,อย่างไร ?
|
|
41,0045,013,ต. ต่างกันอย่างนี้ คือ สภาวธรรม หมายถึง ขันธ์ อายตนะ
|
|
41,0045,014,ธาตุ อินทรีย์ สามัญญลักษณะ หมายถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา.
|
|
41,0045,015,๒๕๐๘
|
|
41,0045,016,ถ. ท่านผู้ได้ฌานถือเอานิมิตอะไรเป็นอารมณ์ ?
|
|
41,0045,017,ต. ถือปฏิภาคนิมิต.
|
|
41,0045,018,๗/๑๑/๖๐
|
|
41,0045,019,ถ. ผู้บำเพ็ญกัมมัฏฐานถือเอานิมิตเป็นอารมณ์นั้น อะไรชื่อว่า
|
|
41,0045,020,นิมิต ?
|
|
41,0045,021,ต. แสดงตัวอย่างในการเพ่งกสิณ ในชั้นต้นลืมตาเพ่งดูกสิณ
|
|
|