|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
41,0044,001,ต. การพิจารณาสิ่งทั้งปวงโดยความเป็นของว่างเปล่านั้น คือ
|
|
41,0044,002,ว่างเปล่าจากสมมติ เช่น สมมติว่าเรา ว่าเป็นเรา ว่าเป็นของเรา
|
|
41,0044,003,เป็นต้น. การพิจารณาอย่างนี้ ผิดกับนัตถิกทิฏฐิ. เพราะนัตถิกทิฏฐิ
|
|
41,0044,004,เห็นว่าไม่มีทุกอย่าง เป็นการปฏิเสธทุกอย่าง เช่น ไม่มีสมมติสัจจะ
|
|
41,0044,005,ปรมัตถสัจจะ ความดีความชั่วไม่มี ผลของกรรมดี กรรมชั่วไม่มี
|
|
41,0044,006,เป็นต้น แต่การพิจารณาดังกล่าวแล้ว ไม่เป็นอย่างนัตถิกทิฏฐิ ยังมี
|
|
41,0044,007,การยอมรัยในเรื่องกรรมและผลของกรรมว่ามี เป็นต้น.
|
|
41,0044,008,๒๕๑๐
|
|
41,0044,009,ถ. อนัตตาไม่หมายเอาสังขารดอกหรือ ? ไฉนในธรรมนิยาม
|
|
41,0044,010,จึงใช้ศัพท์ว่า ธรรม แปลกกับ ๒ บทข้างต้น ?
|
|
41,0044,011,ต. หมายเอาสังขาร. ที่ท่านใช้ศัพท์ว่าธรรมในที่นี้ เพราะอนัตตา
|
|
41,0044,012,หมายเอาทั้งสังขารและวิสังขาร คือพระนิพพานด้วย.
|
|
41,0044,013,๒๔๖๑
|
|
41,0044,014,ถ. ความไม่เที่ยงกับความเป็นทุกข์แห่งสังขาร และความเป็น
|
|
41,0044,015,อนัตตาแห่งธรรม ท่านเรียกว่าธรรมนิยาม ธรรมฐิติ นั้น นำให้
|
|
41,0044,016,สันนิษฐานว่าอย่างไร ? จงตอบให้ชอบแก่หลัก.
|
|
41,0044,017,ต. นำให้สันนิษฐานว่า เป็นกฎแห่งธรรมดา หรือตั้งอยู่ตาม
|
|
41,0044,018,ธรรมดา คือว่าในที่ทุกสถาน ในกาลทุกเมื่อ สังขารทั้งหลายล้วน
|
|
41,0044,019,ประกอบด้วยลักษณะ ๓ เสมอไป อีกนัยหนึ่ง ลักษณะ ๓ เป็นความ
|
|
41,0044,020,จริงของโลก ซึ่งทุกคนที่เกิดมาในโลกแล้ว จำต้องประสบความจริง
|
|
41,0044,021,ทั้ง ๓ ทั่วกันเสมอกัน แต่ใครจะรู้เห็นความเป็นจริงหรือไม่นั้น
|
|
|