|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
37,0007,001,ธรรมคือขันตินั้นแปลว่าความอดทน หมายถึงอดกลั้นต่อหนาวร้อนหิว
|
|
37,0007,002,กระหายเป็นต้น เรียกว่า <B>ทนตรากตรำ</B> เพราะคนเราเกิดมาจำต้องประกอบ
|
|
37,0007,003,กรณียะกิจตรากแดดตรำฝนทนหิวกระหวายเป็นต้นเพื่อการครองชีพ ๑ ต่อ
|
|
37,0007,004,คลองถ้อยคำที่ผู้อื่นกล่าวมาไม่ดี เรียกว่า <B>ทนกระทบกระทั่ง</B> หรือ <B>ทน
|
|
37,0007,005,เจ็บใจ</B> เพราะธรรมดามนุษย์ผู้อยู่รวมกันเป็นหมู่ ย่อมจะมีการกระทบ
|
|
37,0007,006,"กระทั่งกันบ้าง อันเป็นเหตุนำมาซึ่งความเจ็บช้ำน้ำใจ, จำต้องอดทน "
|
|
37,0007,007,ให้อภัยแก่กัน เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ๑ และต่อทุกขเวทนา
|
|
37,0007,008,ที่หยาบช้ากล้าแข็งอันเกิดในสรีระ ซึ่งให้เกิดความไม่สำราญบานใจ
|
|
37,0007,009,จนถึงขนาดปลิดชีวิตเสียได้ เรียกว่า <B>ทนลำบาก</B> เพราะธรรมดา
|
|
37,0007,010,ร่างกายต้องวิโรธิปัจจัยมีแดดฝนเป็นต้น ย่อมจะเกิดการเจ็บไข้ได้ทุกข์
|
|
37,0007,011,ขึ้นบ้าง จึงจำต้องอดทน ไม่ทุรนทุรายต่อทุกขเวทนาจนเกินไป
|
|
37,0007,012,เพื่อสะดวกแก่การพยาบาล ๑ ขันติทั้ง ๓ นี้มีอธิวาสนะความยังให้อยู่ทับ
|
|
37,0007,013,เป็นลักษณะ คือ ไม่แสดงกายวิการเป็นต้นให้ปรากฏในเมื่อกระทบ
|
|
37,0007,014,หนาวร้อนเป็นต้น จึงเรียกว่าอธิวาสนขันติ ความอดทนด้วยการยับยั้ง
|
|
37,0007,015,และยังมีขันติที่สูงขึ้นไปกว่านี้อีก เรียกว่า <B>ตีติกขาขันติ</B> ขันติคือความ
|
|
37,0007,016,ทนทานต่ออารมณ์ที่มายั่วต่าง ๆ อันนี้จัดเป็นขันติชั้นสูง เพราะหมาย
|
|
37,0007,017,ถึงขันติทางจิตใจที่แข็งแกร่ง ไม่หวั่นไหวต่ออารมณ์ที่มายั่วให้ชอบ
|
|
37,0007,018,ก็ตามให้ชังก็ตามให้หลงก็ตาม สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงมี
|
|
37,0007,019,พระขันติอย่างนี้ ดังที่ทรงปรารภถึงพระองค์เองเปรียบเทียบให้พระ-
|
|
37,0007,020,อานนท์ฟัง แปลความว่า เราทนทานคำล่วงเกินได้ เหมือนอย่างช้างศึก
|
|
37,0007,021,ที่ทนทานลูกศรซึ่งตกจากแล่งมาต้องกายในสนามรบ เพราะว่าคนส่วน
|
|
|