|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
34,0015,001,แปลว่า <B>ผู้ประกาศคุณนั้นให้ปรากฏ ได้แก่ผู้ตอบแทนคุณ. </B> รวมเป็น
|
|
34,0015,002,<B>กตัญญูกตเวที</B> แปลว่า <B>ผู้รู้อุปการคุณที่ท่านทำแล้วและตอบแทน.
|
|
34,0015,003,</B>หมายความว่า ผู้ระลึกถึงอยู่เนือง ๆ ซึ่งอุปการคุณ ที่ท่านบุพพการีนั้น ๆ
|
|
34,0015,004,ได้กระทำให้แก่ตน และเมื่อได้โอกาสก็ตอบแทนคุณตามควรแก่ฐานะ
|
|
34,0015,005,ภาวะและกาลสมัย เหมือนบุคคลที่กู้หนี้ท่านมา ครั้นได้เวลาก็ชำระหนี้
|
|
34,0015,006,ให้ท่าน <B>คนเราทุกคนที่เกิดมาย่อมชื่อว่าเป็นลูกหนี้</B> เช่นบุตรธิดาเป็น
|
|
34,0015,007,"ลูกหนี้มารดาบิดา, นักเรียนศิษย์เป็นลูกหนี้ครูอาจารย์, ประชาราษฎร์"
|
|
34,0015,008,"เป็นลูกหนี้พระมหากษัตริย์, นักเรียนศิษย์เป็นลูกหนี้พระพุทธเจ้า. เมื่อ"
|
|
34,0015,009,เป็นลูกหนี้โดยที่เป็นหนี้บุญคุณท่านอยู่เช่นนี้ จึงสมควรที่จะต้องตอบแทน
|
|
34,0015,010,คุณท่าน จึงจะชื่อว่าเป็นการเปลื้องหนี้ได้ ผู้ที่เปลื้องหนี้ด้วยการตอบแทน
|
|
34,0015,011,คุณท่านได้แล้ว จึงชื่อว่า กตัญญูกตเวที โดยทั่วไปท่านกำหนดว่ามี ๔
|
|
34,0015,012,ประเภท คือ ๑. บุตรธิดา ๒. นักเรียนศิษยานุศิษย์ ๓. ประชาราษฏร์
|
|
34,0015,013,๔. พุทธบริษัท.
|
|
34,0015,014,<B>บุตรธิดา</B> เมื่อระลึกถึงคุณมารดาบิดาแล้ว จึงบำรุงเลี้ยงดูและ
|
|
34,0015,015,ถนอมน้ำใจท่านมิให้เดือดร้อน ซึ่งมีหลักแห่งการบำรุง ๕ ประการ คือ
|
|
34,0015,016,๑. ท่านเลี้ยงเรามาแล้ว เราต้องเลี้ยงท่านตอบ ๒. ช่วยทำกิจของท่าน
|
|
34,0015,017,๓. ดำรงวงศ์สกุลไม่ให้เสื่อมเสียชื่อเสียง ๔. ประพฤติตนให้เป็นคน
|
|
34,0015,018,สมควรรับมรดก ๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแล้วทำบุญอุทิศให้ท่าน.
|
|
34,0015,019,<B>นักเรียนศิษยานุศิษย์ </B> เมื่อระลึกถึงคุณของครูอาจารย์แล้ว จึงควร
|
|
34,0015,020,ตอบแทนคุณของท่านตามหลัก ๕ ประการ คือ ๑. แสดงความเคารพ
|
|
34,0015,021,นอบน้อมด้วยการลุกขึ้นยืนรับ ๒. คอยรับใช้ไม่ดูดายในเมื่อท่านมีธุรกิจ
|
|
|