|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
34,0006,001,อธิบายชื่อหมวดธรรม
|
|
34,0006,002,<B>หิริ </B> และ <B>โอตตัปปะ</B> ทั้งสองนี้ ชื่อว่า <B>เป็นโลกบาล< /B> คุ้มครองโลก
|
|
34,0006,003,โดยอธิบายว่า ธรรมเหล่านี้ย่อมคุ้มครอง คือป้องกันรักษาโลกคือหมู่สัตว์
|
|
34,0006,004,อันได้แก่สัตว์ผู้ข้องอยู่ในโลกทุกจำพวก ให้ดำรงอยู่โดยสันติสุขตามวิสัย
|
|
34,0006,005,ของสัตวโลก. กฎแห่งกรรมมีอยู่ว่า กรรมดีเป็นเหตุแห่งสุข กรรมชั่ว
|
|
34,0006,006,เป็นเหตุแห่งทุกข์ ผู้ทำกรรมอย่างใด ย่อมได้รับผลอย่างนั้น และผลนั้น
|
|
34,0006,007,บางอย่าง บางคราว กระทบกระเทือนไปถึงผู้อื่นที่เกี่ยวข้องด้วยไม่มากก็
|
|
34,0006,008,น้อย ถึงเช่นนั้นก็ยังมีคนจำนวนไม่น้อยที่ยินดีพอใจทำกรรมชั่วในที่
|
|
34,0006,009,เปิดเผยบ้าง ลี้ลับบ้าง ทั้ง ๆ ที่ไม่ชอบความทุกข์ แต่ก็จำต้องได้รับทุกข์
|
|
34,0006,010,ระทมขมขื่น ดังที่เห็น ๆ กันอยู่ การที่เป็นเช่นนี้ ก็เพราะผู้ทำกรรมชั่ว
|
|
34,0006,011,นั้น ขาดหิริโอตตัปปะนี้เอง. เมื่อขาดธรรมะสองข้อนี้แล้วจะทำชั่วอย่างใด
|
|
34,0006,012,ก็ได้ ในบาลีกล่าวว่าสัตวโลกก็จะพึงสมสู่กันเหมือนสัตว์ดิรัจฉานโดยไม่มี
|
|
34,0006,013,การเคารพยำเกรงว่า ผู้นี้เป็นมารดา ป้า น้า พี่ น้อง ครูอาจารย์ เป็นต้น.
|
|
34,0006,014,ใครเล่าจะห้ามปรามเขาได้ เมื่อสัตวโลกทำชั่วแล้ว ใครเล่าจะคุ้มครอง
|
|
34,0006,015,โลกให้ตั้งอยู่ในสันติสุขได้ หลวงพ่อขลัง ๆ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือผู้มีฤทธิ์
|
|
34,0006,016,อำนาจ แม้พระราชกำหนดกฎหมายก็คุ้มไม่อยู่. แต่ถ้าสัตวโลกมีธรรม
|
|
34,0006,017,สองประการนี้ประจำใจกันแล้ว แม้ไม่มีหลวงพ่อขลัง ๆ จนกระทั่ง
|
|
34,0006,018,กฎหมายก็ไม่ต้องมี ธรรมสองประการนี้ยังคุ้มอยู่ได้. เพราะผู้มีหิริโอต-
|
|
34,0006,019,ตัปปะประจำใจ ย่อมรังเกียจเกลียดกลัวต่อความชั่ว ไม่กล้าทำชั่วทุกอย่าง
|
|
34,0006,020,ทั้งในที่ลับและที่แจ้ง รู้จักเหนี่ยวรั้งยับยั้งปราบปรามจิตใจไม่ให้ประพฤติ
|
|
34,0006,021,ชั่ว เมื่อต่างไม่ประพฤติชั่ว ความเบียดเบียนกันและกันก็จะไม่มี
|
|
34,0006,022,คนทั้งหลายก็จะอยู่เย็นเป็นสุข ไม่มีทุกข์เดือดร้อน ต่างตั้งหน้าทำมา
|
|
|