dhamma-scholar-book / 33 /330021.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
33,0021,001,"อธิกรณ์มีมูลเพลาทำให้มั่นเข้า ผู้โจทก์ต้องสังฆาทิเสสเหมือนกัน,"
33,0021,002,แม้ผู้ต้องโจทต้องอาบัติปาราชิกแล้ว แต่ผู้โจทก์ไม่รู้ โจทด้วยอธิกรณ์อัน
33,0021,003,ไม่มีมูล ซึ่งมีโทษถึงปาราชิก ผู้โจทก์ต้องสังฆาทิเสส. สิกขาบทนี้ ไม่มี
33,0021,004,บุพพประโยค และเป็น<B>สาณัตติกะ.</B>
33,0021,005,<B>สิกขาบทที่ ๙ แกล้งหาเลสโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิก.</B>
33,0021,006,<B>เลส</B> คืออาการที่อ้างเอาเป็นอุบาย มี ๒ อย่าง คือ :-
33,0021,007,๑. เป็นเรื่องของภิกษุอื่น เช่น เห็นคนมีผิวอย่างนั้น ๆ สันนิษฐาน
33,0021,008,อย่างนั้น ๆ ทำการเช่นนั้น ๆ ผู้นั้นจะเป็นภิกษุหรือไม่ใช่ภิกษุก็ตาม.
33,0021,009,๒. เป็นเรื่องของภิกษุผู้จำเลยเอง เช่น รู้ว่าจำเลยประพฤติล่วง
33,0021,010,สิกขาบทบางข้อ แต่ไม่ถึงปาราชิก โจทให้แรงถึงปาราชิก.
33,0021,011,<B>สิกขาบทที่ ๑๐ พากเพียรเพื่อทำลายสงฆ์ให้แตกกัน.</B>
33,0021,012,<B>สงฆ์</B> หมายถึงภิกษุทั้งหมู่ผู้อยู่ในสีมาเดียวกัน.
33,0021,013,<B>อธิกรณ์</B> ในสิกขาบทนี้ คือ วิวาทากรณ์ ได้แก่การเถียงกัน
33,0021,014,ว่า นั่นธรรม นั่นวินัย นั่นมิใช่ธรรม นั่นมิใช่วินัย.
33,0021,015,ภิกษุผู้พากเพียรทำลายสงฆ์ คือ พยายามก่อเรื่องให้เกิดขึ้นใน
33,0021,016,หมู่สงฆ์ เพื่อให้แตกแยกกันด้วยอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง. ภิกษุผู้รู้เรื่อง
33,0021,017,ต้องห้าม ถ้าไม่ห้าม ต้องทุกกฏ. ภิกษุผู้พยายามก่อเรื่อง เมื่อถูกห้าม
33,0021,018,"ปรามในคราวแรก ถ้าเลิกเสียได้ไม่ต้องอาบัติ, ถ้าไม่เลิกต้องอาบัติทุกกฏ,"
33,0021,019,ตั้งแต่ถูกห้ามปรามครั้งที่ ๒ เรื่อยไปทุกครั้ง จนถึงสงฆ์สวดญัตติจบ
33,0021,020,"ต้องอาบัติทุกกฎ ทุกคราวที่ภิกษุห้ามปรามและสงฆ์เตือน, เมื่อสงฆ์สวด"
33,0021,021,อนุสาวนา จบคราวที่ ๑ และที่ ๒ ต้องอาบัติถุลลัจจัยทั้งสองคราว
33,0021,022,เมื่อสงฆ์สวดอนุสาวนาครั้งที่ ๓ จบ ต้องสังฆาทิเสส.