dhamma-scholar-book / 30 /300043.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
30,0043,001,ทางที่จะทำให้เกิดประโยชน์ได้มาก.
30,0043,002,๒/๑๑/๖๐
30,0043,003,ถ. ข้อธรรมในสัปปุริสบัญญัติ ใครเป็นผู้บัญญัติขึ้น ? พิสูจน์
30,0043,004,ได้ไหมว่า ผู้บัญญัติก็ได้ปฏิบัติเหมือนกัน ?
30,0043,005,ต. ท่านผู้สัตบุรุษบัญญัติขึ้น และท่านได้ปฏิบัติด้วยเหมือนกัน
30,0043,006,พิสูจน์ได้ด้วยธรรมในสัปปุริสธรรม ประเถทที่ ๒ ซึ่งเป็นความ
30,0043,007,ประพฤติของท่านเอง ดังจะเทียบต่อไปนี้ :-
30,0043,008,ทาน ในสัปปุริสบัญญัติ ได้กับทานในสัปปุริสธรรมข้อที่ ๗
30,0043,009,ความว่า ให้ทานโดยเคารพ คือเอื้อเฟื้อต่อของที่ให้และต่อผู้ที่รับทาน
30,0043,010,ไม่ทำอาการดุจทิ้งเสีย.
30,0043,011,"บรรพชา ในสัปปุริสบัญญัติ ได้กับลัปปุริสธรรมข้อที่ ๒, ๓, "
30,0043,012,"๔, ๕ ความว่า จะปรึกษาสิ่งใด จะคิด จะพูด จะทำสิ่งใดกับใคร ๆ"
30,0043,013,ก็ไม่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนและผู้อื่น.
30,0043,014,ส่วนมาตาปิตุอุปัฏฐาน เป็นธรรมประจำคนดีทั่วไป แม้ไม่มี
30,0043,015,อยู่ในสัปปุริสธรรมโดยตรง ก็พออนุมานได้ว่า คนดีอย่างท่าน
30,0043,016,ย่อมปฏิบัติอยู่อย่างเต็มที่ทีเดียว.
30,0043,017,๒๔๗๗
30,0043,018,ถ. ปฏิบัติอย่างไร เรียกว่าตั้งอยู่ในอปัณณกปฏิปทา ?
30,0043,019,ต. ปฏิบัติไม่ให้ผิดจากแนวของพระพุทธศาสนา คือ :-
30,0043,020,๑. อินทรียสังวร สำรวมอินทร์ ๖ คือ ระวังตา หู จมูก ลิ้น
30,0043,021,กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส