dhamma-scholar-book / 09 /090014.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
09,0014,001,อธิปเตยยะ ๓
09,0014,002,อัตตาธิปเตยยะ ความมีตนเป็นใหญ่
09,0014,003,โลกาธิปเตยยะ ความมีโลกเป็นใหญ่
09,0014,004,ธัมมาธิปเตยยะ ความมีธรรมเป็นใหญ่.
09,0014,005,องฺ. ติก. ๒๐/๑๘๖.
09,0014,006,อธิบาย: อัตตาธิปเตยยะนั้น พึงเห็นเช่นคนจะทำบุญ ปรารภ
09,0014,007,ภาวะของตนผู้เป็นอิสระ ทำด้วยมุ่งให้สมภาวะของตน ผู้ทำมุ่งผล
09,0014,008,อันจะได้แก่ตน หรือมุ่งความสะดวกแห่งตนก็เช่นนั้น. โลกาธิปเตยยะ
09,0014,009,นั้น พึงเห็นเช่นผู้นั้นทำบุญ ด้วยมุ่งจะให้ผู้อื่นสรรเสริญ หรือไม่ทำ
09,0014,010,เกรงเขาจะนินทา หรือทำตามความนิยมของเขาทั้งหลาย. ธัมมา-
09,0014,011,ธิปเตยยะนั้น พึงเห็นเช่นผู้ทำไม่มุ่งอย่างอื่น เป็นแต่เห็นสมควรเห็น
09,0014,012,ว่าถูกก็ทำ หรือทำด้วยอำนาจเมตตากรุณาเป็นอาทิ.
09,0014,013,อนุตตริยะ ๓
09,0014,014,ทัสสนานุตตริยะ ความเห็นอันเยี่ยม
09,0014,015,ปฏิปทานุตตริยะ ความปฏิบัติอันเยี่ยม
09,0014,016,วิมุตตานุตตริยะ ความพ้นอันเยี่ยม.
09,0014,017,ที. ปาฏิ. ๑๑/๒๓๑.
09,0014,018,"อธิบาย: ความเห็นธรรมด้วยญาณ ได้ในพุทธภาษิตว่า ""ผู้ใด"
09,0014,019,"เห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา"" ดังนี้ จัดเป็นทัสสนานุตตริยะ. ความ"
09,0014,020,ปฏิบัติธรรมที่ได้เห็นแล้วนั้น ทั้งในส่วนปหานะ ทั้งในส่วนภาวนา