|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
07,0018,001,หน้าเบื้องหลัง และข้างซ้ายข้างขวา เป็นมหาปุริสลักขณะที่ ๑๕. สตฺตุสฺ-
|
|
07,0018,002,สโท มีพระมังสะในที่ ๗ สถาน คือหลังพระหัตถ์ทั้ง ๒ หลังพระบาท
|
|
07,0018,003,ทั้ง ๒ จะงอยพระอังสาทั้ง ๒ และพระสอฟูบริบูรณ์เต็มด้วยดี เป็น
|
|
07,0018,004,มหาปุริสลักขณะที่ ๑๖. สีหปุพฺพฑฺฒกาโย มีส่วนพระกายเบื้องหน้าดัง
|
|
07,0018,005,กึ่งกายเบื้องหน้าแห่งราชสีห์ อังคาพยพที่ควรจะยาวก็ยาว ที่ควรจะสั้น
|
|
07,0018,006,จะกลมจะเต็ม ก็สั้นก็กลมก็เต็มตามที่ไม่บกพร่อง เป็นมหาปุริสลักขณะ
|
|
07,0018,007,ที่ ๑๗. ปิตนฺตรํโส มีระหว่างพระปฤษฎางค์อันเต็มไม่เป็นร่องดัง
|
|
07,0018,008,ทางไถดังมีในกายแห่งสามัญชน เป็นมหาปุริสลักขณะที่ ๑๘. นิโครฺธ-
|
|
07,0018,009,ปริมณฺฑโล มีปริมณฑลดังไม้นิโครธพฤกษ์ พระกายกับวาของพระองค์
|
|
07,0018,010,เท่ากัน เป็นมหาปุริสลักขณะที่ ๑๙. สมวฏฺฏกขนฺโธ มีลำพระศอกลม
|
|
07,0018,011,เสมอ เป็นมหาปุริสลักขณะที่ ๒๐. รสคฺคสคฺคี มีเส้นเอ็นที่สำหรับจะ
|
|
07,0018,012,กลืนรสเลิศ คือเอ็น ๗๐๐ ที่สำหรับนำไปซึ่งรสอาหารมาสวมรวมประชุม
|
|
07,0018,013,ณ พระศอ เป็นมหาปุริสลักขณะที่ ๒๑. สีหหนุ มีพระหนุดังคางราชสีห์
|
|
07,0018,014,บริบูรณ์ดีประหนึ่งวงพระจันทร์ในวัน ๑๒ ค่ำ เป็นมหาปุริสลักขณะ
|
|
07,0018,015,ที่ ๒๒. จตฺตาฬีสทนฺโต มีพระทนต์ครบ ๔๐ ทัศ ไม่ยิ่งไม่หย่อน
|
|
07,0018,016,เป็นมหาปุริสลักขณะที่ ๒๓. สมทนฺโต มีพระทนต์เสมอไม่ลักลั่น ยาว
|
|
07,0018,017,สั้นดังสามัญมนุษย์เป็นมหาปุริสลักขณะที่ ๒๔. อวิฬทนฺโต มีพระทนต์
|
|
07,0018,018,ไม่ห่าง ชิดสนิทเป็นอันดี เป็นมหาปุริสลักขณะที่ ๒๕. สุสุกฺกทาโ
|
|
07,0018,019,มีพระทาฐะ คือ พระเขี้ยวอันขาวงาม เป็นมหาปุริสลักขณะที่ ๒๖.
|
|
07,0018,020,ปหุตชิวฺโห มีพระชิวหาอันพอ คือ อ่อนและกว้างใหญ่ อาจแผ่ปก
|
|
07,0018,021,พระนลาฏมิดและจะห่อให้เล็กสอดในช่องพระนาสิกและช่องพระโสตได้
|
|
|