|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
06,0037,001,ด้วยทำนิมิต ซึ่งเรียกว่าใช้ใบ้ มีขยิบตาหรือพยักหน้าเป็นต้น อาบัติ
|
|
06,0037,002,ถึงที่สุดในขณะที่ผู้รับสั่งเข้าในแล้วทำตามสั่งสำเร็จ ต้องด้วยกันทั้ง
|
|
06,0037,003,๒ รูป ถ้าทำพลาดขณะไป ไม่จัดว่าได้ทำตามสั่ง ท่านจึงกล่าวว่า
|
|
06,0037,004,ไม่เป็นอาบัติแก่ผู้สั่ง เป็นเฉพาะแก่ผู้ทำ. สั่งกำหนดเวลาให้ทำใน
|
|
06,0037,005,เช้าหรือในคำก็พึงรู้โดยนัยนี้. สั่งหลายต่อ เช่นภิกษุแดงสั่งภิกษุเขียว
|
|
06,0037,006,ให้บอกภิกษุดำ เพื่อทำโจรกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือจะสั่งต่อออก
|
|
06,0037,007,ไปอีกก็ตาม อาบัติถึงที่สุดในขนะภิกษุรูปหลังทำสำเร็จตามสั่งอันไม่
|
|
06,0037,008,ลักลั่น. ถ้าคำสั่งนั้นลักลั่นในระหว่าง เช่นภิกษุเขียวหาบอกภิกษุดำไม่
|
|
06,0037,009,ไพล่สั่งภิกษุขาวแทน เช่นนี้สั่งผิดตัว ผู้สั่งเดิมคือภิกษุแดงรอดตัว
|
|
06,0037,010,คงต้องอาบัติถึงที่สุดเฉพาะผู้ใช้กับผู้ทำ. สั่งหลาย ๆ ต่อ ผู้รับข้าม
|
|
06,0037,011,เสียบ้าง ต้องอาบัติเฉพาะภิกษุผู้เนื่องในลำดับ ที่เขาข้ามเสียในระหว่าง
|
|
06,0037,012,นั้น ไม่รู้ไม่เห็น ไม่ต้องอาบัติ.
|
|
06,0037,013,ภิกษุมีไถยจิต สั่งให้เขาทำโจรกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ใช้
|
|
06,0037,014,สำนวนไม่จำกัดลงไป ซึ่งเรียกว่าพูดไม่ตายตัว แต่ชัดพอจะให้
|
|
06,0037,015,ผู้ฟังเข้าใจความประสงค์ของตน ผู้รับสั่งนั้นทำสำเร็จและเอาของมา
|
|
06,0037,016,ให้ตามปรารถนา แม้เช่นนี้ ภิกษุผู้สั่งนั้นก็ไม่พ้นอาบัติ. อธิบายนี้
|
|
06,0037,017,อาศัยอวหารชื่ออัตถสาธกะในอรรถกถา ซึ่งแปลว่ายังอรรถให้สำเร็จ.
|
|
06,0037,018,แต่ในอรรถกถานั้น ท่านหาได้อธิบายเช่นนี้ไม่ ท่านอธิบายไว้
|
|
06,0037,019,๒ นัย อย่างหนึ่งว่า ได้แก่ภิกษุสั่งภิกษุไว้เสร็จทีเดียวว่า เมื่อใด
|
|
06,0037,020,อาจจะลักของชื่อนั้น จงลักมาเมื่อนั้น หากว่าของนั้นอันผู้รับสั่งจักลัก
|
|
06,0037,021,มาได้เป็นแท้แล้ว โดยไม่มีอันตรายในระหว่าง ผู้สั่งเป็นปาราชิกใน
|
|
|