|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
47,0044,001,วิปัสสนากัมมัฏฐาน
|
|
47,0044,002,ผู้เจริญวิปัสสนาพึงศึกษาให้รู้จักอรรถแห่งวิปัสสนาภาวนา และ
|
|
47,0044,003,ธรรม ๓ อย่าง พร้อมทั้งให้รู้จักลักษณะ กิจ ผล เหตุ ของวิปัสสนา
|
|
47,0044,004,และให้รู้จักวิภาคความจำแนก ๖ อย่างด้วย.
|
|
47,0044,005,อรรถแห่งวิปัสสนา
|
|
47,0044,006,กิริยาที่ทำวิปัสสนาปัญญาที่เห็นแจ้งชัดในอารมณ์ให้เกิดขึ้นด้วย
|
|
47,0044,007,เจตนาใด เจตนานั้นชื่อ วิปัสสนาภาวนา.
|
|
47,0044,008,ธรรม ๓ อย่าง
|
|
47,0044,009,๑. ธรรมเป็นภูมิเป็นอารมณ์ของวิปัสสนา.
|
|
47,0044,010,๒. ธรรมเป็นรากเง่า เป็นเหตุเกิดขึ้นตั้งอยู่ของวิปัสสนา.
|
|
47,0044,011,๓. ตัววิปัสสนา.
|
|
47,0044,012,ธรรมที่เป็นภูมิเป็นอารมณ์ของวิปัสสนา ท่านยกขึ้นกล่าวไว้เป็น
|
|
47,0044,013,ตัวอย่าง ๓ หมวด คือ :-
|
|
47,0044,014,<B>หมวดที่ ๑</B> ได้แก่ขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
|
|
47,0044,015,วิญญาณ.
|
|
47,0044,016,<B>หมวดที่ ๒</B> ได้แก่อายตนะ ๑๒ คือ :-
|
|
47,0044,017,๑. <B>จักขวายตนะ</B> อายตนะคือตา.
|
|
47,0044,018,๒. <B>รูปายตนะ</B> อายตนะคือรูป.
|
|
47,0044,019,๓. <B>โสตายตนะ</B> อายตนะคือหู.
|
|
|