dhamma-scholar-book / 31 /310017.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
raw
history blame
2.97 kB
Book,Page,LineNumber,Text
31,0017,001,ล่วงหน้าก็เพราะพระองค์ทรงเห็นว่า ยังไม่สมควรทำเช่นนั้น ถ้าทำลง
31,0017,002,ไปก่อน ผู้อื่นจะเห็นว่าเป็นข้อหยุมหยิมเกินไปบ้าง จักเป็นเหตุหวาด
31,0017,003,เสียวของผู้แรกเข้ามาบรรพชาอุปสมบทบ้าง ทั้งยังไม่มีตัวอย่างที่จะยก
31,0017,004,ขึ้นอ้างได้ว่าใครเป็นผู้ทำผิด เมื่อไม่มีตัวอย่างที่จะยกให้ดูแล้ว ผลของ
31,0017,005,การบัญญัติก็จะไม่ศักดิ์สิทธิ์ พึงเห็นตัวอย่างดังกฎหมายบ้านเมืองก็ต้อง
31,0017,006,อาศัยผู้ทำก่อนแล้วจึงตราพระราชบัญญัติ ไม่ได้บัญญัติไว้ล่วงหน้า
31,0017,007,เหมือนกัน.
31,0017,008,ส. ป.
31,0017,009,ถ. พระบัญญัติที่ทรงบัญญัติตามเหตุที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ท่านเรียกว่า
31,0017,010,อย่างไร ?
31,0017,011,ต. ท่านเรียกว่านิทานบ้าง ปกรณ์บ้าง.
31,0017,012,ส. ป.
31,0017,013,ถ. มูลบัญญัติกับอนุบัญญัติทั้ง ๒ นี้ เมื่อรวมกันเข้าแล้วจะเรียก
31,0017,014,ว่ากระไร ?
31,0017,015,ต. เมื่อรวมกันเข้าแล้ว เรียกว่าสิกขาบท.
31,0017,016,ส. ป.
31,0017,017,ถ. ในสิกขาบทหนึ่ง มีเฉพาะมูลบัญญัติหรืออนุบัญญัติ หรือ
31,0017,018,มีทั้ง ๒ อย่าง. ข้อนี้เป็นเพราะเหตุไร ?
31,0017,019,ต. บางสิกขาบทมีเฉพาะมูลบัญญัติ บางสิกขามีทั้งมูลบัญญัติ
31,0017,020,และอนุบัญญัติ บางสิกขาบทมีหลายอนุบัญญัติ ข้อนี้เป็นเพราะเหตุที่
31,0017,021,ทรงบัญญัติไว้นั้นยังไม่เหมาะ ถ้ายังหละหลวมก็ทรงบัญญัติเพิ่มให้ตึง