|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
27,0033,001,สิกขาบทที่ ๙
|
|
27,0033,002,<B>ภิกษุโกรธเคือง แกล้งหาเลสโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิก
|
|
27,0033,003,ต้องสังฆาทิเสส.</B>
|
|
27,0033,004,ข้อความที่ควรกำหนด ดังนี้ :-
|
|
27,0033,005,คำว่าเลส
|
|
27,0033,006,กำหนดคำว่าเลสด้วยอาการ ดังนี้ :-
|
|
27,0033,007,๑. ถือเอาสัณฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่นมีรูปร่างสูงต่ำ หรือได้
|
|
27,0033,008,เห็นคนมีผิวขาวหรือคล้ำเช่นจำเลย จึงอ้างมาเป็นเหตุโจทด้วยได้เห็น
|
|
27,0033,009,หรือสงสัย.
|
|
27,0033,010,๒. ถือเอาชื่อเหมือนกัน เช่นเจ้าของเรื่องมีชื่อเหมือนกันเข้า
|
|
27,0033,011,ได้ฟังคำบอกเล่าว่า คนชื่อเดียวกันจำเลยทำอย่างนั้น ๆ เก็บมาอ้าง
|
|
27,0033,012,เป็นเหตุหาความโจทจำเลยด้วยได้ฟังและสงสัย.
|
|
27,0033,013,๓. ถือเอาเลสแห่งอธิกรณ์เป็นเรื่องของจำเลย เช่นรู้ว่าจำเลย
|
|
27,0033,014,ประพฤติล่วงสิกขาบทบางข้อ แต่ไม่ถึงปาราชิก แต่โจทให้แรงถือ
|
|
27,0033,015,ปาราชิก ย่อมไม่พ้นจากอาบัติ.
|
|
27,0033,016,อธิกรณ์ที่เป็นเลส
|
|
27,0033,017,๑. เป็นเรื่องของผู้อื่น.
|
|
27,0033,018,๒. เป็นเรื่องของจำเลยเอง.
|
|
27,0033,019,สิกขาบทที่ ๑๐
|
|
27,0033,020,<B>ภิกษุพากเพียรเพื่อจะทำลายสงฆ์ให้แตกกัน ภิกษุอื่นห้าม
|
|
27,0033,021,ไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อให้ละข้อประพฤตินั้น ถ้าไม่ละต้อง</B>
|
|
|