|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
27,0021,001,สัตว์ดิรัจฉานมีฤทธิ์ เป็นวัตถุแห่งถุลลัจจัย.
|
|
27,0021,002,๓. สัตว์ดิรัจฉานทั่วไป ตามนัยนี้น่าจะเป็นวัตถุแห่งทุกกฎ แต่
|
|
27,0021,003,มีสิกขาบทแผนกหนึ่ง ซึ่งเป็นวัตถุแห่งปาจิตตีย์.
|
|
27,0021,004,อาการที่ทำ
|
|
27,0021,005,๑. พยายามฆ่ามนุษย์ ทำสำเร็จต้องอาบัติปาราชิก.
|
|
27,0021,006,๒. ทำไม่สำเร็จเป็นแต่เพียงทำให้เจ็บตัว ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
|
|
27,0021,007,๓ง ทำไม่ถึงดั่งนั้น ต้องอาบัติทุกกฏ.
|
|
27,0021,008,๔. พยายามจะฆ่าตัวเอง ต้องทุกกฏ.
|
|
27,0021,009,๕. พยายามจะฆ่าสัตว์อื่น ต้องอาบัติตามวัตถุ.
|
|
27,0021,010,อาบัติในสิกขาบทนี้เป็นสจิตตกะ ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุผู้ไม่แกล้ง.
|
|
27,0021,011,สิกขาบทที่ ๔
|
|
27,0021,012,<B>ภิกษุอวดอุตตริมนุสสธรรม [ คือธรรมอันยิ่งของมนุษย์ ]
|
|
27,0021,013,ที่ไม่มีในตนต้องปาราชิก.</B>
|
|
27,0021,014,ข้อความที่ควรกำหนด ดังนี้ :-
|
|
27,0021,015,อุตตริมนุสสธรรม ๒
|
|
27,0021,016,๑. ฌาน คือรูปฌาน ๔ มีปฐมฌานเป็นต้น.
|
|
27,0021,017,๒. โลกุตรธรรม คือมรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ รวมเป็น ๙.
|
|
27,0021,018,ลักษณะการอวดที่เป็นอาบัติ
|
|
27,0021,019,คำว่า กล่าวอวดน้อมเข้ามาในต้นนั้น มีกำหนดดังนี้ :-
|
|
27,0021,020,๑. อวดจัง ๆ ผู้ฟังเข้าใจความหมาย เป็นอาบัติปาราชิก.
|
|
27,0021,021,๒. อวดไม่เจาะจง ผู้ฟัง แม้คนหนึ่งเข้าใจ เป็นอาบัติปาราชิก
|
|
|