dhamma-scholar-book / 27 /270002.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
raw
history blame
3.46 kB
Book,Page,LineNumber,Text
27,0002,001,"ที่ ๑๐ แห่งเสขิยวัตต์ และรโหนิสัชชะที่ ๒, ที่ ๔, ที่ ๕ แห่งอเจลกวรรค "
27,0002,002,ปาจิตตีย์ นี้รู้ได้ด้วยเทียบเคียง.
27,0002,003,๖. พึงสังเกตสิกขาบทที่น่าเห็นว่าแย้งกัน เช่นจีวรวรรคที่ ๑
27,0002,004,กับที่ ๓ แห่งนิสสัคคีย์ และมุสาวาทวรรคที่ ๙ กับสัปปาณวรรคที่ ๔.
27,0002,005,๗. พึงใส่ใจจำลำดับแห่งสิกขาบท และหัวข้อแห่งประเภทต่าง ๆ
27,0002,006,เช่นโภชนะ ๕ อธิกรณ์ ๔ ไม่เช่นนั้นมักจำไม่ได้ครบ ตกหล่นใน
27,0002,007,ระหว่าง ๆ และนึกถึงไม่ได้คล่อง.
27,0002,008,๘. พึงอ่านหนังสืออื่นที่อธิบายความกว้างออกไป เช่น วินัยมุข
27,0002,009,และบุพพสิกขาวรรณนา เพื่อจะได้ความรู้เข้ามาประกอบ.
27,0002,010,๙. พึงรู้จักใคร่ครวญถึงข้ออันภิกษุทำ ถ้าไม่ครบองค์เป็นเหตุ
27,0002,011,ต้องอาบัติไม่เต็มที่ แต่ไม่พ้นไปได้ด้วยประการทั้งปวง เช่นต้อง
27,0002,012,อาบัติลดลงมาเป็นส่วนบุพพประโยคบ้าง ส่วนวัตถุบ้าง จะพึงรู้ได้
27,0002,013,ด้วยอ่านหนังสืออื่น หรือได้ฟังอธิบาย.
27,0002,014,๑๐. ปัญหาที่ผูกขึ้นถามนั้น หมายจะให้ผู้เรียนมีความฉลาด
27,0002,015,ไหวพริบ รู้จักสังเกต จึงเป็นปัญหาต่างชนิด กล่าวข้อความเต็ม
27,0002,016,บริบูรณ์ก็มี กล่าวความบกพร่องก็มี พึงพิจารณาตามหลัก ดังนี้ :-
27,0002,017,ก. ให้เข้าใจเนื้อความแห่งปัญหาก่อน ถ้าเข้าใจผิด ตอบย่อม
27,0002,018,ผิดตาม.
27,0002,019,ข. ให้รู้จักปัญหาบริบูรณ์หรือบกพร่อง แล้วตอบโดยฐานะ.
27,0002,020,ค. ปัญหาบางข้อ ถามโดยทางอ้อม เข่นภิกษุเดินผ่านแถวทหาร
27,0002,021,อันฝึกหัดและเหลียวดู เช่นนี้ไม่เป็นอาบัติ เพราะอเจลกวรรค