dhamma-scholar-book / 23 /230049.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
raw
history blame
3.26 kB
Book,Page,LineNumber,Text
23,0049,001,อุปปีฬกกรรม กรรมผู้เข้าเบียดเบียน
23,0049,002,อุปัจเฉทกรรม กรรมเข้าไปตัดเสีย (หรือ)
23,0049,003,อุปฆาตกกรรม กรรมผู้เข้าไปฆ่าเสีย (ก็เรียก)
23,0049,004,กับ อโหสิกรรม กรรมเลิกแล้วต่อกันไป อีก ๑ รวมเป็นกรรม-
23,0049,005,วิภาค ๑๒.
23,0049,006,ครุกรรม ถ้ามีก็ให้ผลก่อนกว่ากรรมอื่น. ถ้าครุกรรมไม่มี
23,0049,007,พหุลกรรมก็ให้ผล. ถ้าครุกรรม พหุลกรรมไม่มี หรือยังไม่ได้ช่อง
23,0049,008,อาสันนกรรมก็ให้ผล. ถ้าครุกรรม พหุลกรรม อาสันนกรรมไม่มี
23,0049,009,หรือยังไม่ได้ช่อง กตัตตากรรมก็ให้ผล.
23,0049,010,ต่างว่าพหุลกรรม เป็นกุศลแรงและให้ผลก่อน และจะให้ใน
23,0049,011,ชาตินี้ พหุลกรรมนั้นก็เป็นทิฏฐิธัมมเวทนียกรรม. ถ้ายังไม่ให้ผล
23,0049,012,ในชาตินี้ จะให้ผลต่อชาติที่ ๒ พหุลกรรมนั้นเป็นอโหสิกรรมชาติ
23,0049,013,นี้. และชนกกรรมก็จะให้เกิด แล้วเสวยผลของพหุลกรรมที่เป็น
23,0049,014,กุศลนั้นต่อไป. อุปถัมภกกรรม ก็ประคับประคองอยู่. เมื่อ
23,0049,015,อุปถัมภกกรรมยังกำลังเป็นไปอยู่ อุปปีฬกรรมจะอำนวยผล ก็
23,0049,016,เข้าเบียดเบียนเสีย ให้กลับได้เสวยทุกข์ต่อไปกว่าจะสิ้นกรรมนี้. ดังนี้
23,0049,017,เป็นตัวอย่าง.
23,0049,018,เบญจขันธ์ที่กรรมปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่งแต่งขึ้น ย่อมเป็นไป
23,0049,019,ตามปัจจัย สมควรแก่ที่ตั้งขึ้น และยักย้ายเป็นอย่างอื่นต่อไป
23,0049,020,หาที่สุดมิได้ ไม่เที่ยง ไม่ถาวร ไม่ใช่ตัวตน เป็นแต่อาศัยปัจจัย
23,0049,021,แต่งขึ้น ก็เป็นไปตามปัจจัย ดังกล่าวมา.