inputs
stringlengths
260
32.7k
targets
stringlengths
223
32.4k
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ข้อมูลแจ้งเตือนด้านสุขภาพ–สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา กรุงเทพฯ ประเทศไทย(31มกราคม พ.ศ.2563) พื้นที่:ประเทศไทย เหตุการณ์:วันที่31มกราคม2563กระทรวงสาธารณสุขของไทยประกาศว่ามีผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่19รายในประเทศไทย ขณะนี้มีการระบาดของโรคปอดอักเสบที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ซึ่งพบครั้งแรกในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน นอกจากนี้ กระทรวงสาธารณสุขยังยืนยันว่าพบการแพร่เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่จากคนสู่คนเป็นครั้งแรกในประเทศไทย พลเมืองไทยคนหนึ่งติดเชื้อหลังจากสัมผัสใกล้ชิดกับนักท่องเที่ยวชาวจีนที่เพิ่งเดินทางมาถึงกระทรวงสาธารณสุขของไทยกำลังติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งชาติ (CDC) สหรัฐอเมริกาออกประกาศแจ้งเตือนการเดินทางระดับ3แนะนำให้หลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังประเทศจีนโดยไม่จำเป็นในทุกกรณี เว็บไซต์ของCDCเกี่ยวกับประเทศไทยแนะนำให้ประชาชนปฏิบัติตามหลักทั่วไปเพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อ พลเมืองสหรัฐฯ ในประเทศไทยสามารถดูข้อมูลล่าสุดได้จากเว็บไซต์ของCDCและองค์การอนามัยโลกซึ่งมีข้อมูลเฉพาะประเทศด้วย ข้อปฏิบัติ: ดูข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับขั้นตอนการคัดกรองโรคโดยละเอียดได้จากเว็บไซต์ของCDCและข้อมูลเฉพาะประเทศไทยได้ที่นี่ ตรวจสอบข้อมูลการยกเลิกและ/หรือข้อจำกัดในการเดินทางกับสายการบิน หมั่นล้างมือด้วยสบู่และน้ำเป็นเวลาอย่างน้อย20วินาที หรือใช้แอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือ อย่าใช้มือที่สกปรกสัมผัสตา จมูก หรือปาก หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ที่ป่วย ปิดปากและจมูกเมื่อไอหรือจามโดยใช้กระดาษทิชชูหรือแขนเสื้อ (ไม่ควรใช้มือ) พบแพทย์ทันทีหากกลับจากอู่ฮั่นและรู้สึกไม่สบาย หรือมีประวัติสัมผัสกับผู้ที่อยู่ในเมืองอู่ฮั่นในช่วงหกสัปดาห์ที่ผ่านมาและมีไข้ ไอ หรือหายใจลำบาก กรณีต้องการความช่วยเหลือ โปรดติดต่อ: สถานทูตสหรัฐฯ กรุงเทพฯ ประเทศไทย +66 2 205 4049 +66 2 205 4000 (นอกเวลาทำการ) acsbkk@state.gov บริการพลเมืองอเมริกัน กระทรวงการต่างประเทศ–แผนกกงสุล +1 888 407 4747 or +1 202 501 4444 ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทย ลงทะเบียนในSmart Traveler Enrollment Program(STEP)เพื่อรับข้อมูลด้านความปลอดภัย ติดตามเราทางFacebookและTwitter โดย U.S. Embassy Bangkok | 1 กุมภาพันธ์, 2020 | ประเภท: Alert, ข่าว, บริการพลเมืองสหรัฐ
HealthAlert – U.S. Embassy Bangkok, Thailand (January 31, 2020) Location: Thailand Event: On January 31, 2020 the Thailand Ministry of Public Health (MoPH) announced 19 confirmed cases of novel Coronavirus in Thailand. There is an ongoing outbreak of pneumonia first identified in Wuhan, China, caused by a novel (new) coronavirus. Additionally, the MoPH confirmed the first human-to-human transmission of the novel coronavirus in Thailand. A Thai citizen was infected after coming into close contact with recently arrived Chinese tourists. Thailand’s MoPH is closely monitoring the situation. The U.S. Centers for Disease Control and Prevention (CDC) has issued a Level 3 Travel Warning recommending against all nonessential travel to China. The CDC website for Thailand encourages people to practice usual precautions. For the most up-to-date information, U.S. citizens in Thailand are advised to consult the CDC and World Health Organization websites. Both websites provide country-specific information. Actions to Take: Consult theCDC website for the most up-to-date information regarding enhanced screening procedures. Thailand specific information can be found here. Check with the airlines regarding any flight cancellations and/or restrictions on flying. Wash your hands often with soap and water for at least 20 seconds. Use an alcohol-based hand sanitizer if soap and water are not available. Avoid touching your eyes, nose, or mouth with unwashed hands. Avoid close contact with people who are sick. Cover your mouth and nose with a tissue or your sleeve (not your hands) when coughing or sneezing. Seek medical care right away, if you traveled to Wuhan and feel sick or were exposed to someone who was in Wuhan in the last six weeks who has fever, cough, or difficulty breathing. Assistance: U.S. Embassy Bangkok, Thailand +66 2 205 4049 +66 2 205 4000 (after hours) acsbkk@state.gov American Citizens Services State Department – Consular Affairs +1 888 407 4747 or +1 202 501 4444 Thailand Country Information Enroll in Smart Traveler Enrollment Program (STEP) to receive security updates Follow us on Facebook and Twitter By U.S. Mission Thailand | 1 February, 2020 | Topics: Alert, News, U.S. Citizen Services | Tags: COVID-19
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูต ไมเคิล ฮีธ บรรยายพิเศษในหัวข้อยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิกของสหรัฐฯ ให้กับนักศึกษาที่วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) ซึ่งประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่อาวุโสของรัฐบาลไทย รวมถึงตำรวจ ทหาร และข้าราชการ โดยกล่าวถึง 3 เสาหลัก ได้แก่ ความมั่นคง การบริหารปกครอง และการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ซึ่งแสดงถึงพันธกรณีของสหรัฐฯ ต่อไทยและภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก โดย U.S. Embassy Bangkok | 8 มกราคม, 2020 | ประเภท: สหรัฐอเมริกาและไทย, อุปทูต, เหตุการณ์
Chargé d’Affaires Michael Heath delivered remarks on the U.S. Indo Pacific Strategy to the current cohort of students at Thailand National Defence College. His remarks touched on the central pillars – Security, Governance, Economic Development – of America’s commitment to Thailand and the Indo-Pacific region. The group was comprised of senior Thai government officials including officers from the police, military, and civil servants. By U.S. Embassy Bangkok | 8 January, 2020 | Topics: Chargé D’Affaires, Events, U.S. & Thailand | Tags: Indo-Pacific
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สถานทูตสหรัฐขอเรียนเชิญคณะนักธุรกิจด้านการเกษตรและการแปรรูปอาหารร่วมเดินทางประเทศลาวและกัมพูชาระหว่างวันที่4ถึง7กุมภาพันธุ์พ.ศ.2563 กลุ่มเป้าหมายของเราคือ บริษัทอเมริกันที่เป็นผู้ผลิตสินค้าและบริการด้านการเกษตร บริษัทในประเทศไทยเป็นผู้แทนจำหน่ายสินค้าจากสหรัฐอเมริกา สินค้าจากประเทศสหรัฐครอบคลุมดังต่อไปนี้:เมล็ดพันธ์พืชและผลิตผลทางการเกษตรอาหารและเครื่องดื่มปุ๋ยและยาฆ่าแมลงอาหารและยาสำหรับปศุสัตว์ระบบชลประทานเครื่องจักรการเกษตรห้องเย็นเครื่องมือที่ใช้ตรวจสอบความปลอดภัยของอาหารเครื่องจักรแปรรูปอาหารและเครื่องจักรบรรจุภัณท์สำหรับใช้ในโรงงานอาหารโรงงานแปรรูปโรงสี ไฮไลท์ของงาน การประชุมกับรัฐมนตรีเกษตรและพาณิชย์ของประเทศลาวและกัมพูชา การประชุมone-on-oneกับนักธุรกิจประเทศลาวและกัมพูชาตามวัตถุประสงค์ของแต่ละบริษัท งานเลี้ยงสังสรรค์กับนักธุรกิจชั้นนำในประเทศลาวและกัมพูชาที่บ้านของเอกอัครราชทูตสหรัฐ สัมมนาและอภิปรายในหัวข้อต่างๆ และอาจมีการเยี่ยมชมโรงงาน ท่านที่สนใจเข้าร่วมงานสามารถลงทะเบียนออนไลน์ได้ที่https://www.surveymonkey.com/r/AgDel2020 ถ้าท่านมีคำถามเพิ่มเติมกรุณาติดต่อสอบถามได้ที่คุณกรลักษณ์ฝ่ายพาณิชย์สถานทูตสหรัฐได้ที่โทร02-205-5242หรือ085-661-3442 โดย U.S. Embassy Bangkok | 20 ธันวาคม, 2019 | ประเภท: การค้าระหว่างประเทศ, ข่าว, ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก, เหตุการณ์, โอกาสทางการค้า
U.S. Embassy invites your company to join our upcoming business delegation to Cambodia and Laos, on February 4-7. Our target participants to join the delegation include: U.S. manufacturers and suppliers of agricultural and agribusiness products Local distributors/representatives of U.S. products Scope of products and services: seeds, fertilizers and pesticides, agro-processing equipment, animal and aquaculture feed, veterinary medicine, irrigation systems, cold storage, food safety solutions, food processing equipment and packaging solutions, imported food and agricultural products, etc. Highlights of the program includes: Government meetings Meetings with business leaders in Cambodia and Lao PDR Pre-arranged up to five B2B meetings with potential business partners/customers Seminars and panel discussions Networking receptions at the Ambassadors’ residence Interested companies may register online athttps://www.surveymonkey.com/r/AgDel2020 If you have additional questions, please contact event organizers atAGDEL2020@state.gov. If you are based in Thailand and would like to learn more, please contact U.S. Embassy’s Commercial Section at 085-661-3442. By U.S. Embassy Bangkok | 20 December, 2019 | Topics: Agriculture, Commercial Affairs, Commercial Opportunities, East Asia & Pacific, Events, News
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สหรัฐฯระลึกอดีตและเฉลิมฉลองให้กับอนาคตด้วยการมอบทุนสนับสนุน 150,000 ดอลลาร์สหรัฐสำหรับโครงการ “การอนุรักษ์สถาปัตยกรรมล้านนาโบราณในเชียงใหม่” ให้แก่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ผ่านโครงการกองทุนเอกอัครราชทูตเพื่อการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรม (AFCP) ประจำปี 2562 อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูต ไมเคิล ฮีธ พร้อมด้วยกงสุลใหญ่สหรัฐฯ เชียงใหม่ ฌอน โอนีลล์ มีความภูมิใจที่ได้เป็นผู้มอบทุนดังกล่าวและเฉลิมฉลองสัมพันธไมตรีอันแน่นแฟ้นระหว่างสหรัฐฯและภาคเหนือของไทยในโอกาสครบรอบการก่อตั้งสถานกงสุลใหญ่สหรัฐฯเชียงใหม่เมื่อเดือนธันวาคมปี 2493 โดย U.S. Consulate Chiang Mai | 18 ธันวาคม, 2019 | ประเภท: กงสุลใหญ่, ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, อุปทูต, เชียงใหม่, เหตุการณ์
Honoring our past and celebrating our future! The United States is proud to provide a $150,000 grant to Chiang Mai University for the “Conservation of Traditional Lanna Architecture in Chiang Mai” through the Ambassadors Fund for Cultural Preservation (#AFCP) 2019 program. U.S. Chargé d’Affaires Michael Heath and U.S. Consul General Chiang Mai Sean O’Neill were honored to deliver the grant and celebrate the strong bonds between the United States and northern Thailand, as we commemorate the establishment of the U.S. Consulate in Chiang Mai in December 1950. By U.S. Consulate Chiang Mai | 18 December, 2019 | Topics: Art & Culture, Chargé D’Affaires, Chiang Mai, Consul General, Culture, Events, News, U.S. & Thailand | Tags: AFCP, U.S. Ambassadors Fund for Cultural Preservation
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่ 18 ธันวาคมที่ผ่านมา นาวิกโยธินสหรัฐฯ จ่าเอก ไมเคิล ดาว, จ่าเอก นิโคลัส แจ๊กสัน, จ่าโท ไคล์ ปีเตอร์สัน, จ่าตรี เอ็มมานูเอล โมเรโน่ และจ่าตรี ดิลิอัส บัลล็อก เป็นตัวแทนมอบของเล่นจำนวนกว่า 200 ชิ้นให้กับเด็กๆ 150 คน ที่มูลนิธิดวงประทีปในกรุงเทพฯ ของเล่นดังกล่าวเป็นของเล่นที่พนักงานชาวไทยและสหรัฐฯ ที่สถานทูตสหรัฐฯ กรุงเทพฯ ได้บริจาคให้กับโครงการ “ของเล่นแด่น้องน้อย” ของเหล่านาวิกโยธิน ทั้งนี้มูลนิธิดวงประทีปและสถานทูตสหรัฐฯ มีความร่วมมือกันมาอย่างยาวนาน โดยมูลนิธิฯ และเหล่านาวิกโยธินได้ทำกิจกรรมเพื่อชุมชนร่วมกันหลายครั้ง และในเดือนธันวาคม 2562 นางปอมเปโอ ภริยาของรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ ยังได้เยือนมูลนิธิฯ อีกด้วย โดย U.S. Embassy Bangkok | 18 ธันวาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
On December 18th U.S. Marines; Sgt Michael Dou, Sgt Nicholas Jackson, Cpl Kyle Peterson, LCpl Emmanuel Moreno and LCpl Delious Bullock visited the Duang Prateep Foundation in Bangkok. As part of the Marine Corps “Toys for Tots” program, the Marines personally handed out over 200 toys to 150 Thai children. All the toys were donated to the Marines by Thai and U.S. employees at the U.S. Embassy in Bangkok. The Duang Prateep Foundation has a long-standing partnership with the Embassy, including a visit from Mrs. Pompeo in August 2019 and multiple joint community service events with the Marines of U.S. Embassy Bangkok. By U.S. Embassy Bangkok | 18 December, 2019 | Topics: Events, News, U.S. & Thailand | Tags: toys for tots
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สื่อมวลชนไทยเข้าร่วมโครงการศึกษาดูงานเพื่อการรายงานข่าวเกี่ยวกับอินโด-แปซิฟิกที่ศูนย์East-West Centerจัดขึ้นที่เมืองโฮโนลูลูรัฐฮาวายระหว่างวันที่7-14ธันวาคมโดยการสนับสนุนจากสถานทูตสหรัฐฯสื่อมวลชนทั้ง9คนมีโอกาสพูดคุยเกี่ยวกับประเด็นด้านการทหารและความมั่นคงร่วมกับผู้เชี่ยวชาญที่กองบัญชาการภาคพื้นอินโด-แปซิฟิกของสหรัฐฯและสถาบันAPCSSตลอดจนด้านการเตรียมตัวและการจัดการกรณีเกิดภัยพิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรมเตรียมความพร้อมกรณีเกิดภัยพิบัติศูนย์เตือนภัยสึนามิในแปซิฟิกและหน่วยงานจัดการภัยฉุกเฉินในฮาวายรวมทั้งได้พบปะและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับสื่อมวลชนท้องถิ่นที่วิทยุกระจายเสียงฮาวายและสถานีโทรทัศน์KITV4 นอกจากนี้สื่อมวลชนยังได้สัมผัสกับวัฒนธรรมที่หลากหลายของฮาวายและการต้อนรับอย่างอบอุ่นระหว่างการเยี่ยมเยือนครอบครัวชาวอเมริกันได้เรียนรู้วิถีชีวิตของชาวฮาวายจากSchool of Hawaiian Knowledgeที่University of Hawaii at Manoaเยี่ยมชมสถานที่สำคัญทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์หลายแห่งเช่นเพิร์ลฮาร์เบอร์และอนุสรณ์USS Arizona Memorialและชมวิวทิวทัศน์อันงดงามจากปากปล่องภูเขาไฟที่ดับไปแล้วอย่างDiamond Headบนเกาะโอวาฮู โดย U.S. Embassy Bangkok | 18 ธันวาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย
Nine Thai journalists participated in a U.S. Embassy Bangkok-supported Indo-Pacific Reporting Tour hosted by the East-West Center from December 7-14, 2019 in Honolulu, Hawaii. The participants had an opportunity to discuss military and security issues with experts at the U.S. Indo-Pacific Command and Asia-Pacific Center for Security Studies; as well as disaster preparedness and management at the National Disaster Preparedness Training Center, Pacific Tsunami Warning Center, and Hawaii Emergency Management Agency. The journalists met with media colleagues at the Hawaii Public Radio, and local TV station KITV4 to learn from each other. During the tour, the group experienced diverse Hawaiian culture and American hospitality during a home visit, as well as learned about the Hawaiian way of life at the University of Hawaii at Manoa’s School of Hawaiian Knowledge. They also visited several cultural and historical sites, including Pearl Harbor and USS Arizona Memorial, and enjoyed a hike up Diamond Head, a volcanic tuff cone on the Island of Oahu. By U.S. Embassy Bangkok | 18 December, 2019 | Topics: News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 สหรัฐอเมริกามอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มูลค่ารวมประมาณ 20,000 ดอลลาร์สหรัฐ ให้กับรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่องานด้านการต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติดและอาชญากรรมข้ามชาติ โดยเป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือด้านการบังคับใช้กฎหมายระหว่างสหรัฐฯ และไทยที่ดำเนินมาอย่างยาวนาน ในโอกาสดังกล่าว กงสุลใหญ่สหรัฐฯ เชียงใหม่ ฌอน โอนีลล์ ร่วมกับนายจอห์น กรินดีน หัวหน้าสำนักงานปราบปรามยาเสพติดสหรัฐฯ ประจำเชียงใหม่ เป็นผู้มอบอุปกรณ์ให้กับพล.ต.ต.พรชัย เจริญวงศ์ รองผู้บัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สหรัฐฯ มอบให้ไทย อาทิ แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ยี่ห้อ Dell จำนวน 17 เครื่อง และคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะยี่ห้อ Dell จำนวน 7 เครื่อง เพื่อให้หน่วยปฏิบัติการเฉพาะกิจร่วมไทย-สหรัฐฯ ได้ใช้งานเพื่อต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติดในไทย ซึ่งหน่วยสืบสวนพิเศษ (SIU) สำนักงานปราบปรามยาเสพติดสหรัฐฯ (DEA) ประจำเชียงใหม่นี้ เป็นหน่วยปฏิบัติการเฉพาะกิจที่ผ่านการคัดสรรและคัดกรอง ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่สืบสวนสอบสวนจากกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด (บช.ปส.) สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) และหน่วยปราบปรามยาเสพติดตำรวจภูธรภาค 5 ทั้งนี้มีเจ้าหน้าที่สืบสวนพิเศษและเจ้าหน้าที่วิเคราะห์การข่าวของ DEA ทำงานร่วมกันกับเจ้าหน้าที่ SIU ทั้งในฐานะเป็นที่ปรึกษาเพื่อให้คำแนะนำด้านการสืบสวนสอบสวน จัดหาเงินทุนสนับสนุนการปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนข้อมูลการข่าว และให้ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคกับเจ้าหน้าที่ไทย ภารกิจของโครงการ SIU คือ การจัดฝึกอบรมให้เจ้าหน้าที่ จัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ และให้ความช่วยเหลือหน่วยปฏิบัติการเฉพาะกิจในไทยได้ริเริ่มดำเนินการสืบสวนสอบสวนด้านการค้ายาเสพติดที่ซับซ้อนและดำเนินการให้บรรลุผล โดยจะต้องอาศัยการพัฒนาการปฏิบัติการร่วมกันและมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการข่าวระหว่างกัน ทั้งนี้เพื่อจุดมุ่งหมายในการ กำหนดเป้าหมาย ขัดขวาง และทำลายองค์กรลักลอบค้ายาเสพติดรายใหญ่ระหว่างประเทศ รวมถึงดำเนินคดีกับองค์กรเหล่านี้ “สหรัฐฯ ภูมิใจที่ได้สนับสนุนไทยในการหยุดผู้ลักลอบค้ายาเสพติดที่พยายามทำร้ายครอบครัวและชุมชนของเราในไทยและสหรัฐฯ” กงสุลใหญ่โอนีลล์กล่าว “ความร่วมมือด้านความมั่นคงและการบังคับใช้กฎหมายระหว่างสหรัฐฯ และไทยเป็นการเสริมสร้างความมั่นคงชายแดนของเราทั้งสองประเทศ” ท่านสามารถดาวน์โหลดรูปเพิ่มเติมจากงานได้ที่ https://photos.app.goo.gl/dHt7ZjrPMBbuRU87A โดย U.S. Consulate Chiang Mai | 17 ธันวาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก, เชียงใหม่, เอกสารข่าว
On December 16, the United States donated electronic equipment with a value of approximately $20,000 to the Royal Thai Government to fight drug trafficking and transnational crime as part of a longstanding U.S.-Thai law enforcement partnership. Consul General Sean O’Neill, joined by DEA Chiang Mai Resident Agent in Charge John Grindean, presented the equipment to the Deputy Commissioner of the Narcotics Suppression Bureau Police Maj. Gen. Pornchai Charoenwong. The equipment included 17 Dell laptop and seven Dell desktop computers for use by a joint Thai-U.S. task unit to combat drug trafficking in Thailand. The U.S. Drug Enforcement Administration (DEA) Chiang Mai Sensitive Investigative Unit (SIU) in Chiang Mai is a vetted task force comprised of investigators from the Royal Thai Police Narcotics Suppression Bureau (NSB); the Office of Narcotics Control Board (ONCB); and the Provincial Police Narcotics Suppression Unit (PPNSU). DEA Agents and Intel Analysts are embedded in the unit and act as agent advisors to provide investigative mentorship, operational funding, intelligence sharing and technical assistance to Thai colleagues. The mission of the SIU Program is to train, equip, and support a specialized unit within Thailand that initiates and brings to completion complex drug investigations involving the cooperative development and sharing of intelligence in order to target, disrupt, dismantle and prosecute major international drug trafficking organizations. “The United States is proud to support Thailand in stopping drug traffickers who try to hurt our families and communities in Thailand and the United States.” said Consul General Sean O’Neill. “U.S.-Thai security and law enforcement cooperation strengthens border security in both the United States and Thailand.” Download high resolution photos here: https://photos.app.goo.gl/dHt7ZjrPMBbuRU87A By U.S. Consulate Chiang Mai | 16 December, 2019 | Topics: Chiang Mai, East Asia & Pacific, News, Press Releases
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ในนามของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ข้าพเจ้าขอส่งความปรารถนาดีมายังประชาชนชาวไทยเนื่องในโอกาสการเฉลิมฉลองวันชาติไทย ซึ่งตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม เป็นเวลากว่า 200 ปีที่สหรัฐอเมริกาและประเทศไทยได้เสริมสร้างสัมพันธไมตรีและจิตวิญญาณแห่งความร่วมมือระหว่างกันเรื่อยมา มิตรภาพของเรานั้นค้ำจุนภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกที่เสรีและเปิดกว้าง นอกจากนี้ สายสัมพันธ์ทางธุรกิจอันยาวนานของสหรัฐฯ และไทย ยังช่วยสร้างความมั่งคั่งและความคิดริเริ่มให้กับประชาชนของทั้งสองประเทศ ดังจะเห็นได้จากการประชุม Indo-Pacific Business Forum ที่กรุงเทพฯ ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างสวยงาม ในปีนี้ประเทศไทยได้มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคในฐานะประธานสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งสหรัฐฯ ขอแสดงความยินดีกับความสำเร็จของไทยมา ณ โอกาสนี้ด้วย เรายังยินดีกับประชาชนชาวไทยในโอกาสที่ประเทศของท่านเดินหน้าสู่ความเป็นประชาธิปไตยไปอีกขั้นหนึ่งหลังจากการเลือกตั้งในปีนี้ และหวังว่าจะยังคงเป็นเช่นนั้นต่อไป สหรัฐฯ ยังคงมุ่งสานสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมและธุรกิจ ตลอดจนยกระดับความร่วมมือด้านความมั่นคงกับไทย และตั้งตารอที่จะสร้างความเป็นหุ้นส่วนระหว่างเราสองประเทศในโอกาสต่อไป สหรัฐฯ ขอแสดงความยินดีกับประชาชนชาวไทยในโอกาสวันชาติไทย และขออวยพรให้ท่านทั้งหลายมีสันติภาพและความเจริญรุ่งเรืองมา ณ ที่นี้ โดย U.S. Embassy Bangkok | 5 ธันวาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข่าว
On behalf of the government of the United States of America, I offer my warm wishes to the people of Thailand as you celebrate your National Day on December 5. For more than 200 years, the United States and Thailand have strengthened the friendship and spirit of partnership between our nations. The U.S.-Thai alliance supports a free and open Indo-Pacific region. Our longstanding business ties, highlighted in the very successful Indo-Pacific Business Forum in Bangkok, help the people of the United States and Thailand to prosper and innovate. Thailand showcased its important role in the region at this year’s Association of Southeast Asian Nations Chair, and we congratulate you on a successful chairmanship. We also congratulate the Thai people on democratic progress through this year’s elections and hope this progress will continue. As we continue to strengthen our cultural ties, business relationships, and security cooperation, the United States looks forward to new opportunities for partnership with Thailand. The United States congratulates you on Thailand’s National Day and conveys our best wishes for peace and prosperity to the people of Thailand. By U.S. Embassy Bangkok | 5 December, 2019 | Topics: News, Press Releases, U.S. & Thailand, U.S. Secretary of State | Tags: Michael R. Pompeo, Thailand National Day
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สถานทูตสหรัฐฯ ร่วมกับอุทยานการเรียนรู้เทศบาลเมืองสตูล และสำนักงานเทศบาลเมืองสตูล มีความยินดีอย่างยิ่งที่จะนำเสนอ “ศิลปะภาพวาดบนกำแพง: สตูลร่วมใจเป็นหนึ่งเดียว” ซึ่งเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนในท้องถิ่น และยังแสดงถึงความภาคภูมิใจและความสุขที่ได้เติบโตในชุมชนของตนเอง โดยน้องๆ ได้รับคำแนะนำในการแต่งแต้มผลงานจากคุณ Xaivier Ringer ศิลปินอเมริกันผู้เชี่ยวชาญด้านภาพวาดบนกำแพง สถานทูตสหรัฐฯ ดีใจที่ได้จัดกิจกรรมสร้างสัมพันธ์ในชุมชนผ่านการใช้ทัศนศิลป์ในครั้งนี้ #USMuralsInThailand โดย U.S. Embassy Bangkok | 26 พฤศจิกายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
The U.S. Embassy Bangkok, in partnership with TK Park Satun เทศบาลเมืองสตูล and the Satun Municipality Office, proudly present the “Participatory Community Mural Project: Unity and Harmony in Satun”. Under the guidance of American-born mural artist Xaivier Ringer, local students expressed pride and happiness in living in their communities, with splashes of refreshing creativity. The U.S. Embassy Bangkok is delighted to have engaged local communities, fostering bonds through visual art. By U.S. Embassy Bangkok | 22 November, 2019 | Topics: Art & Culture, Events, News, U.S. & Thailand | Tags: #USMuralsInThailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: คำกล่าวของรมต.กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ มาร์ก ที. เอสเปอร์ ระหว่างลงนามแถลงการณ์วิสัยทัศน์ร่วมว่าด้วยการเป็นพันธมิตรด้านการป้องกันประเทศระหว่างสหรัฐฯและไทย วันที่ 17 พฤศจิกายน 2562 ณ กระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไทย กรุงเทพฯ ท่านนายกรัฐมนตรีประยุทธ์ ขอบคุณครับที่ต้อนรับผมในโอกาสที่มาเยือนราชอาณาจักรไทยเป็นครั้งแรกในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผมรู้สึกประทับใจบทบาทของประเทศไทยในการเป็นเจ้าภาพการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา หรือ การประชุม ADMM-Plus ปีนี้เป็นอย่างยิ่ง และต้องขอบคุณที่ท่านทำหน้าที่ประธานอาเซียนในปีนี้เช่นกัน ประเทศของเราทั้งสองมีประวัติศาสตร์ร่วมกันมาช้านาน และดำรงไว้ซึ่งมิตรภาพที่แน่นแฟ้นและมั่นคงเป็นเวลากว่า 200 ปี อีกทั้งยังมีวิสัยทัศน์ร่วมกันในมิติความร่วมมือด้านการป้องกันประเทศ ซึ่งยกระดับความมั่นคงของสหรัฐฯ และไทยในระยะยาว อีกทั้งรักษาเสถียรภาพของภูมิภาคนี้ ตลอดจนส่งเสริมผลประโยชน์และคุณค่าร่วมกัน การลงนามแถลงการณ์วิสัยทัศน์ร่วม ค.ศ. 2020 ในวันนี้เน้นย้ำพันธกรณีต่อการเป็นพันธมิตรระหว่างสหรัฐฯ และไทย รวมถึงความร่วมมือที่มากขึ้นต่อไป ในแถลงการณ์วิสัยทัศน์ร่วม ค.ศ. 2020 เราได้วางแผนเพิ่มการปฏิบัติการร่วมกัน การพัฒนาหน่วยงานทางการทหารให้มีความทันสมัย การแลกเปลี่ยนข้อมูล และการขยายขอบเขตการฝึกและอบรมต่างๆ วิสัยทัศน์นี้แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในฐานะพันธมิตร ที่จะดำเนินการในเชิงรุกร่วมกันเพิ่มขึ้นในภูมิภาคนี้ เพื่อยกระดับผลประโยชน์ด้านความมั่นคงระหว่างกัน ภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกยังคงเป็นภูมิภาคที่มีความสำคัญอันดับหนึ่งสำหรับสหรัฐฯ เรามุ่งมั่นที่จะสนับสนุนพันธมิตรและหุ้นส่วนในภูมิภาคนี้ เพื่อให้มั่นใจว่าทุกประเทศจะมีโอกาสเดินหน้าสู่ความมั่นคงและความมั่งคั่ง โดยปราศจากการบังคับและข่มขู่จากภายนอก นับเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่เราจะต้องร่วมมือกันดำรงไว้ซึ่งระเบียบที่ยึดมั่นในกฎกติการะหว่างประเทศ ซึ่งได้ทำให้ประเทศและภูมิภาคของเรามีความมั่นคงมาเป็นเวลาหลายทศวรรษ เราเชื่อว่าอาเซียนเป็นแกนกลางของความพยายามดังกล่าวและรู้สึกขอบคุณประเทศไทยอย่างยิ่งที่ปฏิบัติหน้าที่ผู้นำในปีนี้ โดยรวมถึงการเป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดการฝึกผสมทางทะเลระหว่างสหรัฐฯ-อาเซียน เมื่อเดือนที่ผ่านมาด้วย นอกจากนี้ เรายังประทับใจบทบาทของไทยในการเป็นประธานร่วมกับสหรัฐฯ เพื่อจัดการการประชุมของคณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงทางทะเล ภายใต้กรอบการประชุม ADMM-Plus ซึ่งเป็นเวทีที่ทรงคุณค่าเพื่อยกระดับการปฏิบัติการร่วมกันระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเพื่อรักษาความมั่นคงและเปิดกว้างของน่านน้ำสากลที่สำคัญยิ่ง เราจะต้องดำเนินการเพื่อปกป้องสิทธิ์ของทุกประเทศต่อไป ด้วยการสนับสนุนเสรีภาพในการเดินเรือ การบินผ่าน และการใช้ทะเลในทางอื่นที่ชอบด้วยกฎหมาย ผมมีความยินดีอย่างยิ่งต่อทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างเราทั้งสองประเทศ ดังที่แถลงการณ์วิสัยทัศน์ร่วม ค.ศ. 2020 ได้แสดงให้เป็นที่ประจักษ์แล้วว่า สหรัฐฯ และไทยเป็นพันธมิตรที่มีผลประโยชน์ร่วมกันในด้านสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่งคั่ง กองทัพและชาติของเราจะได้รับประโยชน์อย่างยิ่งยวดจากการร่วมมือระหว่างกันต่อไป ขอขอบคุณท่านนายกรัฐมนตรีประยุทธ์อีกครั้งนะครับ สำหรับการประชุมที่เป็นประโยชน์อย่างสูงในช่วงเช้าวันนี้ ผมตั้งตารอที่จะได้ร่วมหารือกันอีกในระหว่างช่วงเวลาสองวันข้างหน้านี้ โดย U.S. Embassy Bangkok | 17 พฤศจิกายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย
Remarks at Joint Vision 2020 Signing Ceremony by Secretary of Defense Mark T. Esper November 17, 2019 Ministry of Defense, Bangkok Minister Prayut – Thank you for welcoming me here to the Kingdom of Thailand on my first visit to your country as Secretary of Defense. I greatly appreciate Thailand’s role in hosting this year’s ADMM-Plus, and thank you for serving as this year’s ASEAN Chair. Our two nations share a deep history, and have maintained a strong and durable friendship for the past 200 years. Together, we possess a vision for defense cooperation that advances our mutual security over the long-term, preserves regional stability, and promotes our shared interests and values. Today’s signing of Joint Vision 2020 reaffirms our mutual commitment to the U.S.-Thai Alliance, and to a future of even deeper cooperation. In Joint Vision 2020, we chart a course for increased interoperability, force modernization, information sharing, and expanded exercises and training. This vision demonstrates our determination as an alliance to be more active together in the region to advance our mutual security interests. The Indo-Pacific remains the United States’ number one priority region. We are committed to supporting our allies and partners here to ensure that all nations have the opportunity to pursue security and prosperity, free from external coercion and intimidation. It is important that we work together to uphold the international rules-based order that has enabled our shared security for decades. We believe ASEAN is central to this effort, and we are grateful to Thailand for its leadership role this year, to include cohosting the first-ever U.S.-ASEAN Maritime Exercise last month. We also appreciate Thailand serving as a co-chair with the United States for the ADMM-Plus Experts’ Working Group on Maritime Security. This is an important venue for improving interoperability amongst Southeast Asian nations, and preserving the security and openness of vital international waterways. We must continue to protect the rights of all nations by promoting freedom of navigation, overflight, and other lawful uses of the seas. I’m pleased with the direction that our bilateral relationship is heading as exemplified by Joint Vision 2020. It’s clear that the United States and Thailand are allies who have a common interest in peace, stability, and prosperity. Our militaries, and our nations, have much to gain from our continued work together. Thank you again Minister Prayut for the productive meeting this morning. I look forward to our continued discussions throughout the next two days. By U.S. Embassy Bangkok | 17 November, 2019 | Topics: News, U.S. & Thailand | Tags: joint vision 2020
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: แถลงการณ์วิสัยทัศน์ร่วมว่าด้วยการเป็นพันธมิตรด้านการป้องกันประเทศ ระหว่างสหรัฐอเมริกาและไทย ค.ศ. 2020 (Joint Vision Statement 2020 for the U.S. – Thai Defense Alliance) การเป็นพันธมิตรทางสนธิสัญญาป้องกันประเทศระหว่างกระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกาและกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไทยในศตวรรษที่ 21 ยังให้เกิดเสถียรภาพ ความมั่งคั่ง และความยั่งยืนในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก เพื่อส่งเสริมระเบียบที่เสมอภาคและยึดมั่นในกฎกติการะหว่างประเทศ แถลงการณ์วิสัยทัศน์ร่วม ค.ศ. 2020 ขับเคลื่อนวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันประเทศของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 2018 และ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีของประเทศไทย โดยเน้นย้ำจุดยืนที่เรามีร่วมกันต่อการเป็นพันธมิตรด้านการป้องกันประเทศที่มีมายาวนาน ทั้งยังเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่มีลักษณะพิเศษนี้ โดยคำนึงถึงการรักษาผลประโยชน์และคุณค่าร่วมกันในระยะยาว ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือด้านความมั่นคง อันจะนำไปสู่ขีดความสามารถในการป้องปรามและตอบสนองต่อความท้าทายร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต การเป็นหุ้นส่วนกัน: กระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกาและกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไทย มีขีดความสามารถในปฏิบัติการร่วมกันมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ จึงร่วมงานอย่างจริงจังกับพันธมิตรและหุ้นส่วนอื่นๆ ที่มีอุดมการณ์เดียวกัน แก้ไขปัญหาความท้าทายด้านความมั่นคงที่มีความซับซ้อนในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก การเป็นพันธมิตรด้านการป้องกันประเทศตลอด 65 ปีที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่าสหรัฐอเมริกาและประเทศไทยเติบโตและแข็งแกร่งไปด้วยกัน การดำรงบทบาท: การเป็นพันธมิตรด้านการป้องกันประเทศ ซึ่งเริ่มขึ้นบนพื้นฐานของสนธิสัญญาการป้องกันร่วมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Collective Defense Treaty) ค.ศ. 1954 และต่อมาขยายขอบเขตออกไปภายใต้แถลงการณ์ถนัด-รัสก์ (Thanat-Rusk Communiqué) ค.ศ. 1962 ส่งเสริมความมั่นคงในภูมิภาคและทั่วโลก โดยยกระดับความพร้อม การปรับตัวตามสถานการณ์ และขีดความสามารถในการฟื้นตัว ความสัมพันธ์ที่พิเศษระหว่างสหรัฐอเมริกาและไทย ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของการเคารพซึ่งกันและกัน และผลประโยชน์ร่วมกัน ช่วยส่งเสริมให้ภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกมีเสถียรภาพ มั่งคั่ง มีเสรีภาพ เปิดกว้าง เสมอภาค และยั่งยืนผ่านการดำเนินการในลักษณะต่างตอบแทนกันและความร่วมมือด้านความมั่นคง ความร่วมมือด้านความมั่นคงที่ยั่งยืน: ประเทศไทยเป็นประเทศพันธมิตรหลักนอกสนธิสัญญานาโต กระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกาและกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไทย ตระหนักถึงความสำคัญของความร่วมมือด้านความมั่นคงที่ยั่งยืน ซึ่งรวมถึงการศึกษาและฝึกอบรม การสร้างศักยภาพ การปฏิบัติการร่วมกัน และการพัฒนาหน่วยงานทางการทหารและความมั่นคงให้มีความทันสมัย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการเป็นพันธมิตรด้านการป้องกันประเทศระหว่างสหรัฐอเมริกาและไทย การเป็นผู้นำ: การเป็นพันธมิตรดังกล่าวสนับสนุนบทบาทการเป็นผู้นำของไทยภายในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) และเวทีการประชุมด้านความมั่นคงระหว่างประเทศอื่นๆ เพื่อผลักดันผลประโยชน์ร่วมกันและส่งเสริมระเบียบที่ยึดมั่นในกฎกติการะหว่างประเทศ กลไกความมั่นคงในภูมิภาค: กระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกาและกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไทย ตระหนักถึงและมุ่งมั่นที่จะดำรงไว้ซึ่งความเป็นแกนกลางของอาเซียน ตลอดจนบทบาทที่สำคัญของกลไกด้านความมั่นคงระดับภูมิภาคที่มีอาเซียนเป็นผู้นำ เช่น การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ARF) และการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา (ADMM-Plus) ในการส่งเสริมความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และสร้างความเชื่อมั่นเพื่อให้เกิดสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค กระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกาและกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไทย เน้นย้ำความสำคัญของการเป็นพันธมิตรทางสนธิสัญญาป้องกันประเทศระหว่างสหรัฐอเมริกาและไทยในศตวรรษที่ 21 เราตระหนักว่าสายสัมพันธ์ด้านการป้องกันประเทศส่งเสริมความสัมพันธ์ในมิติอื่นๆ ซึ่งรวมถึงความสัมพันธ์อันแน้นแฟ้นทางการทูต เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม เราจึงมุ่งมั่นเสริมสร้างการเป็นหุ้นส่วนที่สำคัญในด้านเหล่านี้ เพื่อบรรลุถึงสันติภาพยิ่งๆ ขึ้นไปในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก และภูมิภาคอื่นๆ จัดทำที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) (มาร์ก เอสเปอร์) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แห่งสหรัฐอเมริกา พลเอก (ประยุทธ์ จันทร์โอชา) นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แห่งราชอาณาจักรไทย โดย U.S. Embassy Bangkok | 17 พฤศจิกายน, 2019 | ประเภท: สหรัฐอเมริกาและไทย
Joint Vision Statement 2020 for the U.S. – Thai Defense Alliance The 21st century U.S. Department of Defense – Ministry of Defence of the Kingdom of Thailand defense treaty alliance enables stability, prosperity and sustainability in the Indo-Pacific region in support of an inclusive and rules-based international order Joint Vision Statement 2020 advances the 2018 U.S. National Defense Strategy and Thailand’s 20-Year National Strategy objectives by reaffirming our shared commitment to the long-standing defense alliance. It strengthens the special relationship with a focus on the long-term advancement of mutual interests and shared values while also promoting security cooperation capable of deterring or acting decisively to meet the shared challenges of the future. PARTNERSHIP: Increasingly interoperable and compatible, the U.S. Department of Defense and Ministry of Defence of the Kingdom of Thailand participate actively with other allies and like-minded partners to address complex security challenges across the Indo-Pacific region. As demonstrated by a 65-year defense alliance, the United States and Thailand are stronger together. ENDURING PRESENCE: The defense treaty alliance, founded on the 1954 Southeast Asia Collective Defense Treaty, and later expanded under the Thanat-Rusk Communiqué of 1962, supports regional and global security by enhancing readiness, flexibility, and resilience. The special relationship between the United States and Thailand, based on mutual respect and shared interests, facilitates a stable, prosperous, free, open, inclusive and sustainable Indo-Pacific region through enhanced reciprocal access and security cooperation. SUSTAINABLE SECURITY COOPERATION: Thailand is a Major Non-NATO Ally (MNNA). The U.S. Department of Defense and the Ministry of Defence of the Kingdom of Thailand recognize the importance of sustained security cooperation, including education and training, capacity-building, interoperability, and modernization of defense and security institutions to strengthen the U.S. – Thai defense alliance. LEADERSHIP: The alliance supports Thailand’s leadership role within the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) and other international security fora to advance mutual interests and reinforce the rules-based international order. REGIONAL SECURITY ARCHITECTURE: The U.S. Department of Defense and the Ministry of Defence of the Kingdom of Thailand recognize and seek to maintain ASEAN Centrality and the important role of the ASEAN-led regional security architecture, including the ASEAN Regional Forum (ARF) and the ASEAN Defence Ministers’ Meeting-Plus (ADMM-Plus), in promoting mutual trust and confidence-building for regional peace and stability. The U.S. Department of Defense and the Ministry of Defence of the Kingdom of Thailand reaffirm the importance of the U.S.-Thailand defense treaty alliance for the 21st century. We note that defense ties complement all elements of our much broader relationship, including strong diplomatic, economic, and cultural ties. We are committed to strengthening all of these important partnerships in order to achieve greater peace in the Indo-Pacific region and beyond. Issued in Bangkok, Thailand, on November 17, 2019 (B.E. 2562) ( Mark Esper ) Secretary of Defense U.S. Department of Defense General ( Prayut Chan-o-cha ) Prime Minister and Minister of Defence of the Kingdom of Thailand By U.S. Embassy Bangkok | 17 November, 2019 | Topics: U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่ 14-16 พฤศจิกายน ทีมงาน EducationUSA Thailand เดินทางไปยังจังหวัดขอนแก่น และ มหาสารคาม ที่ขอนแก่นทีมงานได้ไปให้ความรู้กับน้องๆ มัธยมปลายที่โรงเรียนกัลยาณวัตร เกี่ยวกับเรื่องขั้นตอนการสมัครขอรับทุนการศึกษาในอเมริกา และทีมงานยังได้เดินทางไปยัง American Corner ที่ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม เพื่อจัดเวิร์กชอปให้กับอาจารย์ที่ปรึกษาโรงเรียนมัธยมปลายในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้ช่วยทูตฝ่ายวัฒนธรรมและการศึกษา นีล มูราตะ ได้กล่าวต้อนรับอาจารย์ที่ปรึกษามากกว่า 20 โรงเรียน ผ่านทางวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ อาจารย์จากจังหวัดมหาสารคาม ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มุกดาหาร และนครพนม ได้เรียนรู้ข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอนการสมัครเรียนเข้ามหาวิทยาลัยในอเมริกาจากตัวแทนมหาวิทยาลัย University of San Francisco และเจ้าหน้าที่ EducationUSA และยังมีเจ้าหน้าที่กงสุลมาให้ข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอนการขอวีซ่านักเรียนผ่านวิดิโอ พร้อมเปิดให้ถามข้อมูล เกี่ยวกับวีซ่าออนไลน์ โดย U.S. Embassy Bangkok | 14 พฤศจิกายน, 2019 | ประเภท: American Spaces, การศึกษา, ข่าว, เหตุการณ์
On November 14-16, the EducationUSA Thailand team travelled to Khon Kaen and Maha Sarakham provinces. In Khon Kaen, the team conducted a presentation for high school students at Kanlayanawat School on the U.S. scholarship application process. The team also organized a workshop for more than 20 high school counselors in the Northeastern region at the American Corner Maha Sarakham, Maha Sarakham University. The counselors were welcomed by U.S. Embassy Cultural Attaché Neal Murata via video conference. High school counselors from Maha Sarakham, Khon Kaen, Roi Et, Mukdahan, and Nakhon Phanom provinces learned about the admission process from a representative from the University of San Francisco and EducationUSA advisers. A member of the U.S. Embassy consular staff joined the workshop via Skype presenting information on the student visa application process. A Q&A session followed. By U.S. Embassy Bangkok | 14 November, 2019 | Topics: American Spaces, Education, Events, News
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา สติลเวลล์ เยือนประเทศไทย ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ฝ่ายกิจการเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก เดวิด อาร์. สติลเวลล์ เดินทางถึงกรุงเทพฯ ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 เพื่อเข้าร่วมการประชุมทวิภาคีกับเจ้าหน้าที่รัฐบาลไทยและองค์กรภาคประชาสังคม รวมทั้งประชุมทวิภาคีและพหุภาคีกับประเทศคู่เจรจาในภูมิภาคนอกรอบการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก เป็นเวลารวม 4 วัน ในวันที่ 3-4 พฤศจิกายน ผู้ช่วยรัฐมนตรีฯ สติลเวลล์ จะเข้าร่วมการประชุมสุดยอดอาเซียน-สหรัฐฯ ครั้งที่ 7 และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก พร้อมกันกับที่ปรึกษาความมั่นคงแห่งชาติสหรัฐฯ โรเบิร์ต ซี. โอไบรอัน ซึ่งประธานาธิบดีทรัมป์ได้แต่งตั้งให้เป็นผู้แทนพิเศษและหัวหน้าคณะผู้แทนสหรัฐฯ นอกจากนี้ ผู้ช่วยรัฐมนตรีฯ สติลเวลล์ จะเข้าร่วมการประชุม Indo-Pacific Business Forum ประจำปี ครั้งที่ 2 ในวันที่ 4 พฤศจิกายน พร้อมกันกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ วิลเบอร์ รอสส์ ด้วย ในการประชุมกับเจ้าหน้าที่รัฐบาลไทย ผู้ช่วยรัฐมนตรีฯ สติลเวลล์จะหารือถึงความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และไทย ซึ่งขยายขอบเขตออกไปในหลายด้าน รวมถึงความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างสหรัฐฯ และไทย การพัฒนาความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจ การส่งเสริมธรรมาภิบาลตามหลักประชาธิปไตย และการผลักดันให้มีการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและการศึกษามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ผู้ช่วยรัฐมนตรีฯ สติลเวลล์ จะเน้นย้ำถึงความสำคัญของอาเซียนในฐานะแกนกลางของอินโด-แปซิฟิกที่เสรีและเปิดกว้าง ผู้ช่วยรัฐมนตรีฯ สติลเวลล์ กล่าวว่า “ผมยินดีที่ได้กลับมาเยือนประเทศไทยเป็นครั้งที่สามในปีนี้ เพื่อเข้าร่วมการประชุมสุดยอดอาเซียน-สหรัฐฯ การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก การประชุม Indo-Pacific Business Forum และหารือกับประเทศคู่เจรจาในภูมิภาคอาเซียนของเรา ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างเรากับประเทศไทยและประเทศคู่เจรจาอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังคงเป็นเสาหลักของความมุ่งมั่นที่สหรัฐฯ มีต่อภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก” โดย U.S. Mission Thailand | 1 พฤศจิกายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก, เอกสารข่าว
U.S. Assistant Secretary of State Stilwell Visits Thailand U.S. Assistant Secretary of State for East Asian and Pacific Affairs David R. Stilwell arrived in Bangkok on November 1, 2019 to begin a four-day visit of bilateral meetings with Thai government officials and civil society organizations, as well as bilateral and multilateral meetings with regional partners on the margins of the East Asia Summit. On November 3 and 4, Assistant Secretary Stilwell will join National Security Advisor Robert C. O’Brien, who has been named by President Trump as Special Envoy and the head of the U.S. delegations to the 7th U.S.-ASEAN Summit and the East Asia Summit. Additionally, Assistant Secretary Stilwell will join U.S. Secretary of Commerce Wilbur Ross at the second annual Indo-Pacific Business Forum on November 4. In his meetings with Thai officials, Assistant Secretary Stilwell will discuss the broad and growing relationship between the two countries, including U.S.-Thai security cooperation, expanding economic ties, promoting democratic governance and furthering cultural and educational exchanges. Assistant Secretary Stilwell will also reiterate ASEAN centrality as a core tenet of a free and open Indo-Pacific. Assistant Secretary Stilwell noted: “I am pleased to return to Thailand for the third time this year to attend the U.S.-ASEAN and East Asia Summits, the Indo-Pacific Business Forum, and to engage with our ASEAN partners. Our treaty alliance with Thailand and close partnerships across Southeast Asia remain key pillars of the United States’ commitment to the Indo-Pacific.” By U.S. Embassy Bangkok | 1 November, 2019 | Topics: East Asia & Pacific, News, Press Releases
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ประธานาธิบดีทรัมป์ประกาศตัวผู้แทนรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในการประชุมสุดยอดสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้-สหรัฐอเมริกา และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก วันนี้ ประธานาธิบดีโดนัลด์ เจ. ทรัมป์ ประกาศการเข้าร่วมของสหรัฐอเมริกาในการประชุมสุดยอดสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้-สหรัฐอเมริกา และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ณ กรุงเทพฯ ราชอาณาจักรไทย ระหว่างวันที่ 3-4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ประธานาธิบดีทรัมป์ได้แต่งตั้งผู้ช่วยประธานาธิบดีฝ่ายกิจการความมั่นคงแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา โรเบิร์ต ซี. โอไบรอัน เป็นผู้แทนพิเศษเพื่อเข้าร่วมการประชุมสุดยอดดังกล่าว ผู้ช่วยประธานาธิบดีฝ่ายกิจการความมั่นคงแห่งชาติ สหรัฐฯ โอไบรอันจะเดินทางไปพร้อมกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ วิลเบอร์ รอสส์ ซึ่งเป็นตัวแทนระดับสูงของรัฐบาลสหรัฐฯ ในการประชุมIndo-PacificBusiness Forum ประจำปี ครั้งที่ 2 ที่กรุงเทพฯ รัฐมนตรีรอสส์จะนำคณะผู้แทนการค้าระดับสูงไปยังประเทศไทย อินโดนีเซีย และเวียดนาม ระหว่างวันที่ 3-8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 โดย U.S. Embassy Bangkok | 30 ตุลาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก, เหตุการณ์
President Trump Announces the United States Government Mission to the United States-Association of Southeast Asian Nations Summit and East Asia Summit Today, President Donald J. Trump announced the United States participation in theUnited States-Association of Southeast Asian Nations Summit and the East Asia Summit inBangkok,the Kingdom of Thailand,from November 3 to 4, 2019. The President has namedAssistant to the President for National Security Affairs Robert C. O’Brienas hisSpecial Envoy to the Summits. Assistant to the President for National Security Affairs O’Brien will be accompanied by Secretary of Commerce Wilbur Ross, who will be the senior United States Government representative at the second annualIndo-PacificBusiness Forumin Bangkok. Secretary Ross is leading an executive trade mission toThailand, Indonesia, and Vietnam fromNovember 3 to 8, 2019. By U.S. Embassy Bangkok | 30 October, 2019 | Topics: East Asia & Pacific, Events, News, President of the United States | Tags: East Asia Summit, U.S. & ASEAN, US-ASEAN Summit
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ข้อมูลสำหรับผู้สมัคร หมดเขตรับสมัคร: วันอังคาร ที่ 24 ธันวาคม 2562 ขอเชิญนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในประเทศไทย สมัครเข้าร่วมโครงการผู้นำเยาวชนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Youth Leadership Program) ซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนเมษายน 2563 กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาจะคัดเลือกเยาวชนจำนวน 50-60 คน จากประเทศสมาชิกอาเซียน เข้าร่วมโครงการ สำหรับประเทศไทย จะมีนักเรียน 5 คน ได้รับคัดเลือกให้ร่วมโครงการ โครงการผู้นำเยาวชนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะใช้แนวทางการฝึกอบรมเชิงปฏิสัมพันธ์ ทั้งในรูปแบบของการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดกิจกรรมสาธารณะและกิจกรรมในชุมชน การร่วมกิจกรรมกับโรงเรียนมัธยมปลาย องค์กรชุมชน กลุ่มเยาวชน และผู้นำชุมชนของสหรัฐฯ จะทำให้นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับความท้าทายที่สหรัฐฯ และอาเซียนกำลังเผชิญในศตวรรษที่ 21 โครงการแลกเปลี่ยนแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ 1) การปฐมนิเทศที่กรุงเทพฯ ก่อนการเดินทางไปสหรัฐฯ 2) โครงการแลกเปลี่ยนนาน 3 สัปดาห์ ในสหรัฐอเมริกาที่ให้โอกาสนักเรียนได้เรียนรู้หลักการของการเป็นผู้นำและการทำกิจกรรมในชุมชน และ 3) กิจกรรมหลังเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยน ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการจะร่วมกันทำกิจกรรมหรือโครงการในชุมชนบ้านเกิดของตน โครงการแลกเปลี่ยนนี้จะมีเนื้อหาเข้มข้น เป็นวิชาการ และมีการปฏิสัมพันธ์สูง โดยโครงการต้องการผู้สมัครที่กระตือรือร้นซึ่งพร้อมที่จะพัฒนาความสามารถของตนในการเป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพในโรงเรียนและชุมชนของตน นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจาก 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน จะเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนนาน 3 สัปดาห์ ที่เน้นเรื่องการพัฒนาเยาวชนและความเป็นผู้นำ ขณะเดียวกันก็จะได้ศึกษาถึงความท้าทายที่สหรัฐฯ กับประเทศสมาชิกอาเซียนกำลังเผชิญร่วมกันผ่าน 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน ได้แก่ ความร่วมมือทางการเมืองและความมั่นคง การสร้างทักษะทางเศรษฐกิจ (ผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการต่างๆ) และความเป็นผู้นำทางสังคมวัฒนธรรม (ผ่านการลงมือทำกิจกรรมด้วยตนเอง การประชุมเชิงปฏิบัติการ การสัมมนา และการทัศนศึกษาเพื่อส่งเสริมการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ) ภายหลังเข้าร่วมโครงการที่สหรัฐฯ และเดินทางกลับถึงประเทศไทยแล้ว ผู้ร่วมโครงการจะต้องร่วมกันดำเนินโครงการที่ต้องสนองตอบความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งของโรงเรียนหรือชุมชนของตนด้วย * * * * * * * โครงการผู้นำเยาวชนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมความเป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพ ความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง และกิจกรรมภาคประชาชนในหมู่เยาวชนที่จะเป็นผู้นำของเราในอนาคต และจะเปิดโอกาสแก่ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้หลักการประชาธิปไตยและประชาสังคมในสหรัฐฯ และได้พัฒนาทักษะความเป็นผู้นำในเวลาเดียวกัน ตลอดการเข้าร่วมการแลกเปลี่ยน จะมีการแบ่งผู้ร่วมโครงการเป็นกลุ่มๆ แต่ละกลุ่มจะประกอบไปด้วยเยาวชนจากประเทศต่างๆ เพื่อเพิ่มการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกจากทุกประเทศ สำหรับกิจกรรมในสหรัฐฯ รวมไปถึงการประชุมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมเชิงปฏิสัมพันธ์ ห้องเรียนการทูตเสมือนจริง การเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้นำ การแก้ไขข้อขัดแย้ง และการเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้นำ ผู้ร่วมโครงการยังจะได้ทำกิจกรรมนอกห้องเรียน ได้แก่ กิจกรรมอาสาสมัคร และการทัศนศึกษาในองค์กรในชุมชน และจะได้อาศัยอยู่กับครอบครัวชาวอเมริกันอีกด้วย ส่วนสำคัญของโครงการนี้ คือ การที่ผู้ร่วมจะต้องพัฒนาและดำเนินโครงการหลังจากเดินทางกลับประเทศของตน โดยโครงการเหล่านี้จะต้องสนองตอบความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งของโรงเรียนหรือชุมชนของตน เช่น การสนับสนุนการจัดตั้งสภานักเรียนหรือวิธีการอื่นๆ ที่จะทำให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจของโรงเรียน การจัดทำทัศนูปกรณ์ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นสังคม การจัดทำโครงการหรือการประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการให้การสนับสนุนหรือการไกล่เกลี่ยภายในกลุ่ม การร่วมมือกับองค์กรพัฒนาเอกชนเพื่อส่งเสริมการมีจิตอาสา หรือการสนับสนุนกิจกรรมที่ช่วยให้สื่อมวลชนเสนอข่าวเกี่ยวกับเยาวชนมากขึ้น ผู้ร่วมโครงการทุกคนต้องทำโครงการเหล่านี้จนเสร็จสิ้น รายละเอียดอื่นๆ ที่ควรทราบ รัฐบาลสหรัฐฯ ร่วมกับภาคเอกชนที่ร่วมอุปถัมภ์โครงการจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินทางภายในสหรัฐฯ การเดินทางไปและกลับจากสหรัฐฯ การปฐมนิเทศ ค่าธรรมเนียมในการจัดและบริหารโครงการ ค่าใช้จ่ายในการเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ และการสัมมนา ที่พักและอาหารส่วนใหญ่ กิจกรรมทางวัฒนธรรม วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา ค่ารักษาพยาบาลในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย และเงินสำหรับใช้ส่วนตัวจำนวนหนึ่ง ผู้ร่วมโครงการจะพักอาศัยกับครอบครัวชาวอเมริกันที่สมัครเป็นผู้สนับสนุน ผู้ร่วมโครงการต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการสมัครเข้าร่วมโครงการ (ค่าถ่ายสำเนาเอกสาร ค่าไปรษณียากร ค่ารูปถ่าย ฯลฯ) ค่าธรรมเนียมหนังสือเดินทาง ค่าของที่ระลึก ค่าโทรศัพท์ และค่าซื้อของใช้ส่วนตัวระหว่างที่อยู่ในสหรัฐฯ ผู้ร่วมโครงการจะได้รับอนุมัติวีซ่าประเภทโครงการแลกเปลี่ยน เจ-1 ผู้ที่ได้รับวีซ่าประเภทนี้ต้องเดินทางกลับประเทศภูมิลำเนาและต้องพำนักอยู่ในประเทศเป็นเวลาอย่างน้อย 2 ปี ก่อนที่จะมีสิทธิ์ขอวีซ่าถาวรหรือวีซ่าทำงานชั่วคราวในสหรัฐฯ อย่างไรก็ตาม ผู้ได้รับวีซ่า เจ-1 ยังมีสิทธิ์ขอวีซ่าประเภทอื่นได้ เช่น วีซ่านักเรียนเพื่อเดินทางไปศึกษาต่อในสหรัฐฯ เป็นต้น คุณสมบัติของผู้สมัครร่วมโครงการ มีสัญชาติไทย อาศัยและศึกษาอยู่ในประเทศไทยขณะยื่นใบสมัคร (ผู้สมัครที่ถือทั้งสัญชาติไทยและสหรัฐฯ จะไม่ได้รับการพิจารณา) เกิดตั้งแต่วันที่ 5 เมษายน 2546 ถึง 5 เมษายน 2548 กำลังศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในประเทศไทย และจะสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2563หรือปีการศึกษาหลังจากนั้น มีทักษะภาษาอังกฤษดี ได้รับอนุญาตจากทั้งผู้ปกครองและโรงเรียนให้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมดของโครงการ เกณฑ์ในการคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการ มีผลการเรียนและทักษะทางสังคมดี แสดงความเป็นผู้นำในโรงเรียนหรือชุมชน มีความสนใจและความมุ่งมั่นอย่างชัดเจนที่จะอาสาและมีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมชน มีทักษะดีในการเข้าสังคมและการสื่อสาร สามารถทำงานเป็นกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ และสามารถยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ขั้นตอนการสมัคร ผู้สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการต้องกรอกใบสมัครให้ครบถ้วน พร้อมแนบจดหมายแนะนำ 2 ฉบับ และสำเนาผลการเรียนล่าสุด ส่งมาที่อีเมล์ PAExchangesBKK@gmail.com พร้อมระบุหัวข้ออีเมล์ว่า “SEAYLP 2020_ชื่อ-นามสกุลของผู้สมัคร” ภายในวันอังคาร ที่ 24 ธันวาคม 2562 สำหรับจดหมายแนะนำ (letter of recommendation) ผู้สมัครต้องแนบจดหมายแนะนำ 2 ฉบับ พร้อมกับใบสมัคร (รูปแบบจดหมายอยู่หน้า 7-10 ของใบสมัคร) เป็นจดหมายจากอาจารย์วิชาภาษาอังกฤษ 1 ฉบับ และจากอาจารย์ประจำชั้น อาจารย์ที่ปรึกษา หรือเจ้าที่หน้าที่ของโรงเรียน อีก 1 ฉบับ ผู้สมัครยังสามารถส่งใบสมัครพร้อมเอกสารต่างๆ มาทางไปรษณีย์ตามที่อยู่ต่อไปนี้ ฝ่ายสื่อมวลชนและวัฒนธรรม (SEAYLP 2020) สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา 95 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 **กรุณาส่งใบสมัครด้วยเพียงวิธีใดวิธีหนึ่งเท่านั้น ทางโครงการขอสงวนสิทธิ์รับเฉพาะใบสมัครที่ส่งมาถึงฝ่ายสื่อมวลชนและวัฒนธรรม ภายในวันอังคาร ที่ 24 ธันวาคม 2562 และไม่รับใบสมัครที่นำมายื่นด้วยตนเอง** ฝ่ายสื่อมวลชนและวัฒนธรรมจะติดต่อไปยังผู้สมัครที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อสอบสัมภาษณ์เท่านั้น การสัมภาษณ์จะจัดขึ้นที่แผนกสื่อมวลชนและวัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ในวันพุธ ที่ 15 มกราคม 2563 โครงการจะแจ้งรายละเอียดการสัมภาษณ์ให้กับผู้ที่ได้รับการคัดเลือกให้มาสัมภาษณ์ทราบล่วงหน้าก่อนการสอบสัมภาษณ์ โดยผู้ที่ได้รับการคัดเลือกดังกล่าวจะต้องมาสัมภาษณ์ด้วยตนเองเท่านั้น ส่วนรายชื่อผู้ผ่านการสอบสัมภาษณ์และตัวสำรอง ทางโครงการจะประกาศในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับโครงการกรุณาติดต่อเราได้ที่ PAExchangesBKK@gmail.com พร้อมระบุหัวข้ออีเมล์ว่า “SEAYLP 2020” ขั้นตอนหลังจากนั้น นักเรียนที่ผ่านการสอบสัมภาษณ์จะได้รับเอกสารการปฐมนิเทศก่อนเริ่มโครงการเพื่อเตรียมตัวสำหรับโครงการและการเดินทางไปยังสหรัฐฯ หนึ่งเดือนก่อนการเดินทาง จะมีการปฐมนิเทศและการฝึกอบรมสำหรับนักเรียนและอาจารย์ที่จะร่วมเดินทางไปด้วย ในโอกาสนี้ นักเรียนและครอบครัวจะมีโอกาสซักถามฝ่ายสื่อมวลชนและวัฒนธรรมเกี่ยวกับโครงการทางอีเมลที่จะแจ้งให้ทราบในภายหลัง หลังจากเดินทางกลับประเทศ นักเรียนมีหน้าที่จัดทำและดำเนินโครงการตามที่ระบุไว้ข้างต้นจนเสร็จสิ้น ขอบคุณทุกท่านที่ให้ความสนใจในโครงการนี้และขอให้โชคดี! โดย U.S. Embassy Bangkok | 24 ตุลาคม, 2019 | ประเภท: ทุนการศึกษาและโครงการแลกเปลี่ยน
Information for Applicants Application Deadline: Tuesday, December 24, 2019 Secondary school students from Thailand are invited to apply for participation in the Southeast Asia Youth Leadership Program (SEAYLP) which will take place in April 2020. The program will host 50 to 60 participants from countries in Southeast Asia that are members of the Association of South East Asian Nations (ASEAN). There will be five students selected to represent Thailand. The program will employ a highly interactive approach both in workshops and in a range of public and community settings. Through engagement with U.S. high schools, community organizations, youth groups, and community leaders, student and adult mentor participants will explore challenges facing the U.S. and ASEAN in the 21st century. This is an intensive program with three segments: (1) A pre-departure orientation in Bangkok; (2) a three-week U.S.-based exchange program that will offer students and their adult mentors the opportunity to explore the principles of leadership and community activism in the United States; and (3) follow-on activities, where participants will conduct projects in their home communities. The program will be intensive, academic, and highly interactive. The program sponsors seek energetic applicants who are ready to develop their skills in order to be effective leaders in their schools and communities. The program convenes high school students from ten ASEAN member countries for a three-week exchange program focused on leadership and youth development and to explore shared challenges faced by the United States and ASEAN member countries. These challenges are explored through the three pillars of the ASEAN community: political and security cooperation, economic skills-building (through the exchange’s project development), and socio-cultural leadership (through hands-on activities, workshops, seminars, and site visits to foster greater communication). Participants will develop projects to address the needs of their communities upon their return home. * * * * * * * This program is designed to promote high-quality leadership, civic responsibility, and civic activism among our countries’ future leaders. It will offer a practical examination of the principles of democracy and civil society as practiced in the United States and provide participants with training that allows them to develop their leadership skills. The 2020 SEAYLP will emphasize ASEAN identity by organizing into multi-country teams to enhance cross-cultural experience wherever possible across the country cohorts. Exchange activities in the U.S. will include workshops, interactive sessions, diplomacy simulations, leadership training, and team-building exercises. Extracurricular activities round out the program with volunteer service opportunities as well as site visits with relevant organizations in host communities. All participants will have homestays with American families and side study tours to the location of the implementer and Washington, D.C. An important part of the program is the development of projects to implement on students’ return home. These projects will respond to a need in their schools or communities. Examples include supporting student government or other means of student involvement in the decision making process in schools, producing visual materials that share information on social issues, developing peer-support or peer-mediation programs or workshops, cooperating with local NGOs trying to develop a spirit of volunteerism, or supporting activities that help increase media coverage of youth issues. All participants will be expected to complete these follow-on projects. What else do I need to know? If you are selected for the program, the United States Government, in conjunction with its private partners, will pay for domestic transportation, international transportation to and from the United States, orientations, program fees and administration, site visits and seminars, lodging and most meals, some cultural activities, educational materials, accident and sickness coverage, and a modest amount of pocket money. Participants will stay with volunteer host families. Participants are responsible for expenses related to the application process (copying, mailing, photographs, etc.), passport fees, and spending money for souvenirs, telephone calls, and other personal items in the United States. Participants will travel to the United States on J-1 exchange visitor visas provided through this program. By accepting this visa, participants will be subject to a two-year home residency requirement, meaning they must return to and live in their home country for a total of two years before they would be eligible for an immigrant or temporary worker U.S. visa. This does not restrict other types of visas, however, so this would not prevent you from being able to apply for a student visa to attend university, for example. Who is eligible to apply? Student applicants must Be a Thai citizen currently residing and studying in Thailand (applicants with dual U.S. citizenship will not be considered); Be born from April 5, 2003-April 5, 2005; Be a high school student and have a high school graduation year of 2020 or later; Have proficiency in English; Have permission from both parent(s)/guardian(s) and schools to participate in the entire program. What are the criteria for selection? Students will be evaluated on their ability to demonstrate the following characteristics: Have strong academic and social skills, leadership potential, an interest in or a commitment to civic action and community service; Initiative, good communication, and an energetic, positive attitude; Possess the ability to work cooperatively in a team and tolerate the opinions of others; How do I apply? Complete an application form along with two letters of recommendation (one from an English teacher, and the other from another teacher and/or school official), and your most recent transcript, and submit your complete package to the Media and Cultural Section of the U.S. Embassy Bangkok via email: PAExchangesBKK@gmail.com with the subject line of “SEAYLP 2020_Your Full Name”. Alternatively, you can submit your application via post to the following address: Media and Cultural Section (SEAYLP 2020) U.S. Embassy Bangkok 95 Wireless Road, Lumpini Pathumwan, Bangkok 10330 Your complete package must be received by Tuesday, December 24, 2019. Submission via email or post will automatically log the date and time an application submission is made. The U.S. Embassy will use this information to determine whether an application has been submitted on time. Late applications are neither reviewed nor considered. We do not accept applications submitted by hand. Based on the criteria above, as demonstrated in the application, only shortlisted applicants will be contacted by the Media and Cultural Section for interviews. Interviews will take place on Wednesday, January 15, 2020 at the Media and Cultural Section, U.S. Embassy, Bangkok. Shortlisted candidates must be able to travel to the interview site. We will notify the candidates of the details of the interview before the interview date. The list of finalists and alternates will be announced in February 2020. Questions should be addressed to: PAExchangesBKK@gmail.com with the subject line “SEAYLP 2020” And after that…? Selected participants will receive orientation materials in the weeks prior to the start of the program to help prepare them for the program and their trip to the United States. A pre-departure orientation and training sessions with both students and the adult mentor will take place in the month prior to departure. Participants and their families will have an opportunity to speak with the Media and Cultural Section about the project at that time. After their return home and through the following months, participants will be responsible for completing their follow-on projects. Thank you for your interest in the program and good luck with your applications! By U.S. Embassy Bangkok | 24 October, 2019 | Topics: Scholarships and Exchanges | Tags: SEAYLP, Youth Leadership Program
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เอกสารข่าว สำหรับเผยแพร่ทันที วันจันทร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2562 สหรัฐอเมริกาเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมYoung Southeast Asian Leaders Initiative (YSEALI) Summit ประจำปี2562ภายใต้แนวคิด “ร่วมมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน” ที่จังหวัดภูเก็ต กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา จะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมYoung Southeast Asian Leaders Initiative (YSEALI) Summitประจำปี2562ที่จังหวัดภูเก็ต ประเทศไทย ระหว่างวันที่29กันยายนถึง3ตุลาคม พ.ศ.2562โดยมีผู้นำรุ่นใหม่อายุตั้งแต่18ถึง35ปี จำนวน150คน จากทั้ง10ประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) และประเทศติมอร์-เลสเต เข้าร่วมในการประชุมครั้งนี้ การประชุมYSEALI Summitประจำปี2562จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “ร่วมมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน” (Advancing Partnership for Sustainability) โดยเน้นประเด็นการเติบโต นวัตกรรม และความเป็นผู้ประกอบการ ในระหว่างการประชุม ผู้เข้าร่วมจะได้รับการฝึกอบรมระดับสูงด้านการเป็นผู้นำ ค้นหาวิธีขยายความร่วมมือในระดับภูมิภาค รวมทั้งสร้างเครือข่ายระหว่างกันในภูมิภาค และกับผู้เยี่ยมเยือนจากสหรัฐฯ ในการประชุมครังนี้ยังจัดให้มีการตัดริบบิ้นเปิดงานนิทรรศการ“Common Tides”ของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงเวลา75ปีที่ผ่านมา “YSEALIเป็นโครงการอันโดดเด่นของสหรัฐอเมริกาที่พัฒนาทักษะความเป็นผู้นำและสร้างเครือข่ายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และภูมิภาคนี้”นางมารี รอยซ์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่ากระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ฝ่ายกิจการการศึกษาและวัฒนธรรม กล่าว โดยนางรอยซ์ได้เข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้ และกล่าวกับผู้เข้าร่วมประชุมในระหว่างพิธีต้อนรับและพิธีเปิดด้วย โครงการYSEALIเปิดตัวครั้งแรกในปี2556โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างสหรัฐฯ และอาเซียน พร้อมสนับสนุนผู้นำรุ่นเยาว์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยยกระดับทักษะความเป็นผู้นำและเปิดโอกาสให้พวกเขาเหล่านั้นได้เรียนรู้จากเพื่อนๆ คนรุ่นใหม่ในภูมิภาค ทั้งยังส่งเสริมชุมชนผู้นำด้านกิจการพลเมือง เศรษฐกิจ และองค์กรนอกภาครัฐในอาเซียน ซึ่งทำงานเพื่อแก้ปัญหาที่เผชิญร่วมกัน การประชุมYSEALISummitเน้นย้ำจุดเด่นของความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับประชาชน และความมุ่งมั่นของสหรัฐฯ ต่อเสาสังคมวัฒนธรรมภายใต้กรอบหุ้นส่วนยุทธศาสตร์สหรัฐฯ–อาเซียน การประชุมYSEALISummitในปีนี้นับเป็นการรวมตัวกันครั้งที่6ของผู้ที่เคยเข้าร่วมโครงการAcademic Fellowship,โครงการProfessionalFellowship,เวิร์กชอปในภูมิภาค และโครงการทุนสนับสนุนSeeds for the FutureของYSEALIทั้งนี้ การประชุมครั้งก่อนๆ ได้จัดขึ้นที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ (ปี2557),กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย (ปี2558),เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว (ปี2559),กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ (ปี2560) และประเทศสิงคโปร์ (ปี2561) นับตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นเครือข่ายYSEALIมีสมาชิกแล้วกว่า142,000คน ผู้เข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้จะได้พัฒนาทักษะความเป็นผู้นำ วางแผนการดำเนินงานเพื่อรับมือกับความท้าทายที่ซับซ้อนด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นปัญหาที่ประชาชนในประเทศอาเซียนต่างเผชิญอยู่ นอกจากนี้ ผู้เข้าร่วมการประชุมจะได้เยี่ยมชมโครงการและสถาบันซึ่งเป็นที่รู้จักหลายแห่ง เช่น ศูนย์ชีววิทยาทางทะเลภูเก็ต ไร่สับปะรดเชิงนิเวศน์ และฟาร์มเลี้ยงแพะที่ยั่งยืน ทั้งยังได้เรียนรู้วิธีการดำเนินงานเพื่อลดขยะพลาสติกทางทะเลของสมาคมโรงแรมภูเก็ต ซึ่งมีสมาชิกเป็นโรงแรมสัญชาติอเมริกันหลายแห่ง ผู้เข้าร่วมการประชุมจะมีโอกาสวางแผนธุรกิจ และรับมอบเงินทุนระยะเริ่มต้นจากกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ หากข้อเสนอโครงการผ่านการคัดเลือกเพื่อดำเนินการจริงทั่วทั้งอาเซียน เชิญอ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับYSEALIได้ที่https://asean.usmission.gov/yseali/และติดตามการประชุมแบบเรียลไทม์ได้ทางFacebook, InstagramและTwitterจาก#YSEALISummit2019 สามารถดูรูปภาพจากกิจกรรมการมีส่วนร่วมในชุมชนของผู้เข้าร่วมการประชุมYSEALI Summitประจำปี2562ได้จากhttps://drive.google.com/drive/folders/1LIKwjeDGf7o75gGi7Cb8YuOsWx9wSDMHหลังจบงาน โดย U.S. Embassy Bangkok | 30 กันยายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก, เหตุการณ์
Media Release FOR IMMEDIATE RELEASE Date: September 30, 2019 United States Hosts 2019 Young Southeast Asian Leaders Initiative Summit in Phuket: Advancing Partnership for Sustainability The U.S. Department of State will host the 2019Young Southeast Asian Leaders Initiative (YSEALI) Summitin Phuket, Thailand from September 29 to October 3, 2019. The leadership summit will bring together 150 emerging leaders, from all ten Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) member states and Timor-Leste. The Summit theme isAdvancing Partnership for Sustainability,with an emphasis on growth, innovation, and entrepreneurship. During the summit, participants will take advanced leadership training, explore ways to expand regional collaboration, and network with their regional peers and visitors from the United States. The Summit will also include a ribbon cutting of the U.S. Department of State’s “Common Tides” exhibit showcasing the ties between the United States and Southeast Asia over the last 75 years. “YSEALI is the U.S. Government’s signature program to strengthen leadership development and networking in Southeast Asia — strengthening ties between the United States and the region,” said Assistant Secretary of State for Educational and Cultural Affairs Marie Royce, who will be attending the Summit where she will engage with participants and deliver welcome and opening remarks. Initially launched in 2013, YSEALI seeks to strengthen the partnership between the United States and ASEAN. YSEALI supports emerging young leaders in Southeast Asia by enhancing their leadership skills and providing an opportunity to learn from their peers in the region, and nurtures an ASEAN community of civic, economic and non-governmental leaders who can work together to solve common issues. The YSEALI Summit highlights the strength of our people to people ties and our commitment to the socio-cultural pillar under the U.S.-ASEAN strategic partnership. This year’s YSEALI Summit will mark the sixth such gathering of alumni from YSEALI academic and professional fellowships, regional workshops, and Seeds for the Future grants programs. Previous summits were held in Manila, Philippines (2014), Kuala Lumpur, Malaysia (2015), Luang Prabang, Laos (2016), Manila, Philippines (2017), and Singapore (2018). Since its inception, the YSEALI network has grown to more than 142,000 members. Summit participants will enhance their leadership skills, develop an agenda for action aimed at addressing the complex political, social, economic, and environmental challenges faced by the citizens of ASEAN. Participants will also visit a number of notable local projects and institutions including, the Phuket Marine Biological Center, an ecological pineapple farm, and a sustainable goat farm. Participants will also engage with the Phuket Hotel Association, which includes several American hotels, to learn how the association is working to reduce marine plastic waste. The summit will include an entrepreneurial project pitch competition. The participants will develop business plans and the U.S. Department of State will award seed funding to the most compelling project proposals for eventual implementation across ASEAN. Learn more about the Young Southeast Asian Leaders Initiative at https://asean.usmission.gov/yseali/ Follow summit updates in real-time on Facebook, Instagram, and Twitter at#YSEALISummit2019 Photos of the YSEALI Summit 2019 community engagement will be available here after its conclusion at: https://drive.google.com/drive/folders/1LIKwjeDGf7o75gGi7Cb8YuOsWx9wSDMH By U.S. Embassy Bangkok | 30 September, 2019 | Topics: East Asia & Pacific, Events, News | Tags: YSEALI, YSEALI Summit
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูต ไมเคิล ฮีธ พร้อมด้วยรักษาการอัครราชทูตที่ปรึกษา โรเบิร์ต โพสต์ และคุณจอห์น เบิร์นเลอร์ ที่ปรึกษาด้านบริหาร ร่วมกิจกรรมวันปลอดรถสากล นำทีมรณรงค์สร้างความตระหนักรู้ถึงระดับมลพิษที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องของกรุงเทพฯ เจ้าหน้าที่และพนักงานสถานทูตสหรัฐฯร่วมกิจกรรมวันดังกล่าวโดยการเดิน ใช้ระบบขนส่งมวลชน ใช้รถยนต์ร่วมกันหลายคน หรือขี่จักรยานมาทำงานในวันที่ 23 กันยายน World Car Free Day 2019 อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูต ไมเคิล ฮีธ พร้อมด้วยรักษาการอัครราชทูตที่ปรึกษา โรเบิร์ต โพสต์ และคุณจอห์น เบิร์นเลอร์ ที่ปรึกษาด้านบริหาร ร่วมกิจกรรมวันปลอดรถสากล นำทีมรณรงค์สร้างความตระหนักรู้ถึงระดับมลพิษที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องของกรุงเทพฯ เจ้าหน้าที่และพนักงานสถานทูตสหรัฐฯร่วมกิจกรรมวันดังกล่าวโดยการเดิน ใช้ระบบขนส่งมวลชน ใช้รถยนต์ร่วมกันหลายคน หรือขี่จักรยานมาทำงานในวันที่ 23 กันยายน Chargé d'affaires Michael Heath, Acting Deputy Chief of Mission Robert Post, and John Bernlohr, Management Counselor spearheaded a campaign to raise awareness to the constantly rising pollution level in Bangkok by taking part in World Car Free Day. Members of the mission joined them by walking, riding alternative modes of transportation, carpooling or biking to work on September 23. Posted by U.S. Embassy Bangkok on Sunday, September 22, 2019 โดย U.S. Embassy Bangkok | 23 กันยายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, อุปทูต, เหตุการณ์
Chargé d’affaires Michael Heath, Acting Deputy Chief of Mission Robert Post, and John Bernlohr, Management Counselor spearheaded a campaign to raise awareness to the constantly rising pollution level in Bangkok by taking part in World Car Free Day. Members of the mission joined them by walking, riding alternative modes of transportation, carpooling or biking to work on September 23. World Car Free Day 2019 อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูต ไมเคิล ฮีธ พร้อมด้วยรักษาการอัครราชทูตที่ปรึกษา โรเบิร์ต โพสต์ และคุณจอห์น เบิร์นเลอร์ ที่ปรึกษาด้านบริหาร ร่วมกิจกรรมวันปลอดรถสากล นำทีมรณรงค์สร้างความตระหนักรู้ถึงระดับมลพิษที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องของกรุงเทพฯ เจ้าหน้าที่และพนักงานสถานทูตสหรัฐฯร่วมกิจกรรมวันดังกล่าวโดยการเดิน ใช้ระบบขนส่งมวลชน ใช้รถยนต์ร่วมกันหลายคน หรือขี่จักรยานมาทำงานในวันที่ 23 กันยายน Chargé d'affaires Michael Heath, Acting Deputy Chief of Mission Robert Post, and John Bernlohr, Management Counselor spearheaded a campaign to raise awareness to the constantly rising pollution level in Bangkok by taking part in World Car Free Day. Members of the mission joined them by walking, riding alternative modes of transportation, carpooling or biking to work on September 23. Posted by U.S. Embassy Bangkok on Sunday, September 22, 2019 By U.S. Embassy Bangkok | 23 September, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, Events, News
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2562 อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ไมเคิล ฮีธ พร้อมด้วยคุณมิเชลและคุณนาตาลี ภริยาและบุตรสาว และรักษาการอัครราชทูตที่ปรึกษา โรเบิร์ต โพสต์ คุณเดนนิส เพสุต และคุณจอห์น เบิร์นเลอร์ ที่ปรึกษาด้านบริหาร นำคณะเจ้าหน้าที่พนักงานสถานทูตสหรัฐฯ และครอบครัวกว่า 90 คน ร่วมเป็นอาสาสมัครในกิจกรรม Clean Up the World ที่โรงแรมแม่น้ำ รามาดาพลาซา เก็บขยะมูลฝอยในแม่น้ำเจ้าพระยา ลำคลองและตรอกซอยบริเวณถนนเจริญกรุง พร้อมกับกลุ่มพันธมิตรบางกอกริเวอร์พาร์ตเนอร์ส นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล และพนักงานของโรงแรมแม่น้ำ รามาดาพลาซา โดยกิจกรรมดังกล่าวเป็นตัวอย่างความร่วมมือระหว่างสถานทูตสหรัฐฯ กับหน่วยงานรัฐบาลไทย และกลุ่มองค์กรในประเทศเพื่อส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่สะอาดและยั่งยืน โดย U.S. Embassy Bangkok | 21 กันยายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, อุปทูต, เหตุการณ์
On September 21, 2019 Chargé d’affaires Michael Heath, his wife Michelle, daughter Nathalie; Acting Deputy Chief of Mission Robert Post, and Mr. Denis Pesut; and John Bernlohr, Management Counselor, led over 90 Mission Personnel and Eligible Family Members who volunteered to attend the Clean Up the World event at the Ramada Plaza Menam Hotel. The Embassy teamed up with the Bangkok River Partners, Mahidol University students and Ramada Plaza by Wyndham Bangkok Menam Riverside staff, to pick-up trash and debris from the Chao Praya river, nearby klongs and sois near the Charoenkrung road. This event showcases the Mission’s collaborative efforts with the Royal Thai Government and various local groups supporting a cleaner and more sustainable environment. By U.S. Embassy Bangkok | 21 September, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, Environment, Events, News
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สำนักงานค้นหาเชลยศึกและผู้สูญหายของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ (DPAA) จัดพิธีวันรำลึกถึงเชลยศึกและชาวอเมริกันที่สูญหายในสงคราม (National POW/MIA Recognition Day) ณ ศาลาไทยในสถานทูตสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 20 กันยายน ในโอกาสนี้ พลอากาศเอก ศักดิ์พินิต พร้อมเทพ แห่งกองทัพอากาศไทย ได้เข้าร่วมในพิธีพร้อมกันกับเจ้าหน้าที่และพนักงานสถานทูตสหรัฐฯ โดยคุณรัชนียากร ทรงอยู่ บุตรีของพันเอกชัยชาญ หาญนาวี ได้กล่าวปาฐกถาในพิธีซึ่งจัดให้มีช่วงเวลาสงบนิ่งเพื่อรำลึกถึงพันเอกชัยชาญแห่งกองทัพบกไทย ผู้เป็นเชลยศึกที่ถูกคุมขังยาวนานที่สุดในช่วงสงครามเวียดนาม และเสียชีวิตในปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ สหรัฐฯ กำหนดให้มีวันรำลึกถึงเชลยศึกและชาวอเมริกันที่สูญหายในสงครามขึ้นเพื่อยกย่องและรำลึกถึงเชลยศึก ทั้งผู้ที่กลับคืนสู่มาตุภูมิแล้วและผู้ที่ยังคงสูญหายอยู่ DPAA มุ่งมั่นค้นหาเชลยศึกและผู้สูญหายเพื่อเชิดชูเกียรติเหล่าผู้เสียสละ ไม่ว่าจะเป็นทหารหาญหรือพลเรือนชาวอเมริกัน ทุกคนจะไม่ถูกลืม โดยในปีที่ผ่านมา DPAA ค้นหาและระบุตัวผู้สูญหายได้ทั้งสิ้น 175 ราย โดย U.S. Embassy Bangkok | 20 กันยายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, อุปทูต, เหตุการณ์
On September 20, the Defense Prisoner of War/Missing in Action Accounting Agency (DPAA) hosted U.S. Embassy officers and staff at the Embassy’s Sala Thai for National Prisoner of War / Missing in Action (POW/MIA) Recognition Day. Royal Thai Air Force, Air Chief Marshal General Sakpinit Promthep attended the ceremony and Khun Ratchneeyakorn Songyoo gave the keynote address. The United States established the National POW/MIA Recognition Day to honor those who were held captive and returned, as well as those who still remain missing. The men and women of DPAA are committed to honor their sacrifice and every U.S. service member or civilian/contractor is entitled to one certainty: that he or she will not be forgotten. In the last year DPAA identified 175 members previously listed as missing. This year’s ceremony held a special moment of silence in remembrance of the Royal Thai Army’s Colonel Chaicharn Harnnavee, Khun Ratchneeyakorn’s father, and the longest held POW of the Vietnam War, who passed away last year. By U.S. Embassy Bangkok | 20 September, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, Events, News | Tags: POW/MIA
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูตไมเคิล ฮีธ กล่าวปาฐกถาในพิธีรำลึกวีรกรรมของขบวนการเสรีไทยในสงครามโลกครั้งที่ 2 ณ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ในวันที่ 5 กันยายน โดยภายในงานมีกิจกรรมมากมาย เช่น การแข่งตอบคำถาม การประกวดเรียงความ และการประกวดวาดภาพเกี่ยวกับเรื่องราวของขบวนการเสรีไทยจากนักเรียนทั่วประเทศ ในโอกาสนี้ อุปทูตฯ ไมเคิล ได้ทักทายและแสดงความเคารพต่อพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ รักษาการประธานองคมนตรี ผู้ดำรงตำแหน่งประธานในพิธีนับตั้งแต่การจัดงานครั้งแรก “ประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ของเสรีไทยสะท้อนให้เราได้เห็นถึงความหวังและความกล้าหาญของวีรชนในสงคราม และบทบาทที่สำคัญยิ่งของมิตรภาพระหว่างประเทศของเราทั้งสองที่มีส่วนช่วยรักษาอิสรภาพ อันเป็นสิ่งซึ่งเราต่างหวงแหน…ขอให้ชาติของเราทั้งสอง ซึ่งเป็นพันธมิตรใกล้ชิดกันมาโดยตลอด ทั้งในยามรบและยามสงบ ทำงานร่วมกันสืบต่อไป เพื่อส่งเสริมสันติภาพ ความมั่นคง และความยุติธรรม ให้งอกงามยิ่งๆ ขึ้นไป ตลอดทุกภูมิภาคทั่วโลก”– อุปทูตฯ ไมเคิล ฮีธ กล่าวในระหว่างปาฐกถา โดย U.S. Embassy Bangkok | 5 กันยายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, อุปทูต, เหตุการณ์
Chargé d’Affaires Michael Heath gave a keynote address at the National Institute of Development Administration (NIDA) September 5, during a ceremony to commemorate the heroics of those involved in the Seri Thai Movement during World War II. Key activities for the event include a nationwide student quiz competition, essay competition, and picture contest depicting the story of the Seri Thai Movement. The Chargé also paid his respects to Acting President of the Privy Council General Surayud Chulanont, who has presided over the event since its inception. “The remarkable history of the Seri Thai speaks to us of hope and of heroism, and of the vital role that the friendship between our two countries has played in defending the freedoms we all cherish. May our two nations, which have been such close allies in both war and peace, continue to work together toward greater peace, security, and justice in all regions throughout the world.” – Chargé d’Affaires Michael Heath, Keynote Address By U.S. Embassy Bangkok | 5 September, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, Events, News, U.S. & Thailand | Tags: Free Thai Movement, Seri Thai
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เอกสารข้อมูล พิธีลงนามข้อตกลงความช่วยเหลือแบบให้เปล่าระหว่าง USTDA และบลู โซลาร์ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562 โครงการบลู โซลาร์ สำนักงานส่งเสริมการค้าและการพัฒนาแห่งสหรัฐอเมริกา (U.S. Trade and Development Agency) หรือ USTDA จะให้การสนับสนุนเงินทุนแก่บริษัท บลู โซลาร์ จำกัด (“บลู โซลาร์”) ผู้ผลิตพลังงานของไทย เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ (PV) พร้อมระบบกักเก็บพลังงาน ในจังหวัดสุพรรณบุรี ประเทศไทย การศึกษาความเป็นไปได้จะประเมินข้อมูลด้านเทคนิคและการเงิน รวมทั้งองค์ประกอบสำคัญอื่นๆ ของโครงการ อีกทั้งจัดทำผลการวิเคราะห์ที่สำคัญ แบบร่าง และเอกสารที่จำเป็นต่อการจัดหาเงินทุนและการดำเนินโครงการ นอกจากนี้ การศึกษาดังกล่าวยังจะช่วยบลู โซลาร์ ในการประเมินทางเลือกด้านเทคโนโลยีการกักเก็บแสงอาทิตย์และพลังงานของสหรัฐฯ ที่มีความเหมาะสมกับโครงการ โครงการของบลู โซลาร์ เป็น 1 ใน 17 โครงการด้านพลังงานทดแทนที่ผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (ERC) เพื่อลงนามในโครงการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในแบบ SPP Hybrid Firm พ.ศ. 2560 ของประเทศไทย การดำเนินโครงการนี้จะสนับสนุนเป้าหมายของไทยในการขยายการลงทุนในภาคพลังงานของประเทศ และช่วยตอบสนองความต้องการพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นและเป้าหมายด้านความยั่งยืน โดยการเพิ่มศักยภาพพลังงานทดแทนแบบใหม่ โครงการนี้จะเป็นหนึ่งในโครงการแรกๆ ของภาคเอกชนในประเทศไทย ที่กักเก็บพลังงานระดับโรงผลิตไฟฟ้าด้วยแบตเตอรี่ การดำเนินโครงการนี้จะช่วยกระตุ้นตลาดสำหรับเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานในภูมิภาค โดยจะเป็นโครงการอ้างอิงสำคัญสำหรับการผลิตพลังงานทดแทนที่ขาดความต่อเนื่องร่วมกับการกักเก็บ เพื่อการจ่ายไฟฟ้าที่เชื่อถือได้และราคาย่อมเยา การสนับสนุนข้อริเริ่ม Asia EDGE โครงการนี้สนับสนุนวัตถุประสงค์ของข้อริเริ่ม Asia EDGE (Enhancing Development and Growth Through Energy) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างทุกภาคส่วนของรัฐบาลสหรัฐฯ เพื่อส่งเสริมตลาดพลังงานที่ยั่งยืนและมั่นคงทั่วภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก เครื่องมือเตรียมความพร้อมโครงการของ USTDA ขับเคลื่อนการดำเนินโครงการโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานที่มีคุณภาพในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากร โรงกลั่น การผลิตและการจำหน่ายกระแสไฟฟ้า ประสิทธิภาพพลังงาน การกักเก็บพลังงาน การพัฒนาสาธารณูปโภคให้ทันสมัย และการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ระบบดิจิทัล USTDA ในประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2535 เป็นต้นมา USTDA ให้การสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมในประเทศไทยกว่า 80 รายการให้ลุล่วง ในรูปแบบของความช่วยเหลือแบบให้เปล่าเพื่อเตรียมความพร้อมของโครงการ รวมถึงการอำนวยการให้ผู้แทนการค้าของไทยเดินทางไปพบผู้ผลิตในสหรัฐฯ ในประเทศไทย USTDA ได้ให้ความช่วยเหลืออย่างครอบคลุมแก่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในด้านต่างๆ เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางธนาคาร การแจ้งเตือนและการจัดการภัยพิบัติ การออกแบบและการประเมินความปลอดภัยท่าอากาศยาน ระบบการนำร่องทางอากาศ การผลิตและการจำหน่ายกระแสไฟฟ้า การบริหารจัดการของเสียและน้ำเสีย ยานยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยก๊าซธรรมชาติและการดำเนินกิจการเกี่ยวกับก๊าซธรรมชาติเหลว รวมถึงการพัฒนาระบบการคมนาคมขนส่งทางรางให้ทันสมัย สำนักงานประจำภูมิภาคของ USTDA ตั้งอยู่ที่สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย ในกรุงเทพฯ ทำหน้าที่สนับสนุนการพัฒนาธุรกิจและการดำเนินโครงการของ USTDA ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก การสนับสนุนของ USTDA ในงาน Indo-Pacific Business Forum USTDA ให้การสนับสนุน Indo-Pacific Business Forum (IPBF) ครั้งที่ 2 ซึ่งจะจัดขึ้นหลังการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก และการประชุมสุดยอดธุรกิจและการลงทุนอาเซียน ในวันที่ 4 พฤศจิกายน 2562 ที่กรุงเทพฯ การประชุม IPBF ครั้งที่ 2 นี้ เป็นความร่วมมือระหว่างรัฐบาลสหรัฐฯ รัฐบาลไทย หอการค้าสหรัฐฯ หอการค้าไทย สภาธุรกิจสหรัฐอเมริกา-อาเซียน และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นผู้นำอาเซียนในปี 2562 การประชุม IPBF จะเป็นโอกาสอันดีในการสร้างเครือข่ายระหว่างผู้นำธุรกิจและรัฐบาลจากภูมิภาคนี้ ข้อมูลเกี่ยวกับ USTDA สำนักงานส่งเสริมการค้าและการพัฒนาแห่งสหรัฐอเมริกา (USTDA) เป็นสะพานเชื่อมภาคเอกชนของสหรัฐฯ เข้ากับโอกาสด้านโครงการโครงสร้างพื้นฐานในตลาดใหม่ๆ USTDA ดำเนินการโดยให้เงินสนับสนุนการศึกษาความเป็นไปได้ ความช่วยเหลือทางเทคนิค และโครงการนำร่องต่างๆ ที่ได้บูรณาการความเชี่ยวชาญของบริษัทสัญชาติอเมริกัน USTDA ยังสนับสนุนโครงการโครงสร้างพื้นฐานและการวางแผนการจัดซื้อจัดจ้างในขั้นเริ่มต้นที่จะต้องระบุตัวเลือกและข้อกำหนดด้านเทคโนโลยีต่างๆ ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สำคัญยิ่ง นอกจากนี้ USTDA ยังเชื่อมโยงผู้สนับสนุนโครงการจากต่างประเทศเข้ากับเทคโนโลยีและผู้ให้บริการในสหรัฐฯ โดยอำนวยการให้ผู้แทนการค้าชาวต่างชาติเดินทางไปพบผู้ผลิตในสหรัฐฯ รวมทั้งจัดให้มีการสัมมนาและการประชุมเชิงปฏิบัติการในภาคอุตสาหกรรม ตัวอย่างเครื่องมือของ USTDA มีดังนี้ ความช่วยเหลือแบบให้เปล่าเพื่อการศึกษาความเป็นไปได้และให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค: USTDA มอบเงินทุนแบบให้เปล่าเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ ให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค และดำเนินกิจกรรมการวางแผนโครงการอื่นๆ ที่ทำให้เกิดการวิเคราะห์อย่างครอบคลุม ซึ่งจำเป็นสำหรับการเดินหน้าการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานและระบบ จากขั้นตอนการกำหนดแนวคิดไปยังขั้นตอนการจัดหางบประมาณและดำเนินการ ความช่วยเหลือแบบให้เปล่าสำหรับโครงการนำร่อง: USTDA มอบเงินทุนแบบให้เปล่าสำหรับโครงการนำร่อง เพื่อแสดงถึงประสิทธิผลของบริการด้านเทคโนโลยีของสหรัฐฯ รวมถึงวิเคราะห์ ประเมิน และให้ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่จำเป็นต่อการอนุมัติเงินทุนที่ใช้ดำเนินการ การเดินทางไปพบผู้ผลิตในสหรัฐฯ ของผู้แทนการค้าชาวต่างชาติ: USTDA อำนวยการให้ผู้แทนการค้าชาวต่างชาติเดินทางไปพบผู้ผลิตในสหรัฐฯ และจัดให้มีการเยี่ยมเยือนเพื่อทำความรู้จัก ทำให้บุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ทั้งผู้มีอำนาจในการตัดสินใจและผู้พัฒนาโครงการ ได้เดินทางไปยังสหรัฐฯ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีและผู้ให้บริการ ผู้ให้ทุน กรอบการดำเนินงานด้านนโยบายและกฎหมาย และทรัพยากรอื่นๆ ของสหรัฐฯ ซึ่งสามารถสนับสนุนการริเริ่มใช้โครงสร้างพื้นฐานใหม่ได้ โดย U.S. Embassy Bangkok | 14 สิงหาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, ธุรกิจ, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข้อเท็จจริง
FACT SHEET USTDA & Blue Solar Grant Signing Ceremony August 14, 2019 Blue Solar Project: A USTDA grant is funding a feasibility study for the Thai energy developer Blue Solar Co., Ltd. (“Blue Solar”) to support the development of a solar photovoltaic (PV) project with an integrated energy storage system located in Suphan Buri Province, Thailand The feasibility study will assess the technical, financial, and other key elements of the project and provide the necessary analysis, designs, and documentation required for financing and implementation. The study will also help Blue Solar to evaluate U.S. solar and energy storage technology options for the project. Blue Solar’s project is one of 17 renewable energy projects selected by the Energy Regulatory Commission (ERC) to advance under Thailand’s 2017 Small Power Producer Hybrid Firm Power Purchasing Agreement Program. Implementation of the project will support Thailand’s goals to further increase investment in the country’s energy sector and help to meet growing power demand and sustainability targets through the addition of new renewable energy capacity. The project represents one of the first private sector deployments of utility-scale battery storage in Thailand. Implementation of the project will help to catalyze the market for energy storage technology in the region by serving as an important reference case for integrating intermittent renewable power with storage to deliver reliable and affordable power. Supporting Asia EDGE: This project supports objectives of the U.S. Government’s Asia EDGE (Enhancing Development and Growth Through Energy) initiative, a U.S. whole-of-government effort to foster sustainable and secure energy markets throughout the Indo-Pacific region. USTDA’s project preparation tools drive the implementation of quality energy infrastructure projects in the Indo-Pacific region, with a focus on resource development, refineries, power generation, distribution, energy efficiency, energy storage, utility modernization and digitization. USTDA in Thailand: Since 1992, USTDA has completed more than 80 project preparation grants and reverse trade mission activities for Thailand. In Thailand, USTDA has provided extensive support for infrastructure development in areas including: banking IT systems; disaster warning and management; airport design and security assessments; air navigation systems; power generation and distribution; waste and wastewater management; natural gas vehicle and liquefied natural gas operations; and rail sector modernization. USTDA’s regional office located at the U.S. Embassy in Bangkok supports the agency’s business development and program implementation across the Asia Pacific region. USTDA Support for the Indo-Pacific Business Forum: USTDA is supporting the Second Indo-Pacific Business Forum (IPBF) that will be held following the East Asia Summit, and ASEAN Business and Investment Summit on November 4, 2019 in Bangkok. The 2nd IPBF event is a joint effort among the U.S. Government; The Royal Thai Government; the U.S. Chamber of Commerce; the Thai Chamber of Commerce; the U.S.-ASEAN Business Council; and the Board of Trade of Thailand. With Thailand’s chairmanship of ASEAN in 2019, the IPBF will provide a unique opportunity to network with business and government leaders from across the region. About USTDA The S. Trade and Development Agency connects America’s private sector to infrastructure project opportunities in emerging markets. USTDA approaches its mission by funding feasibility studies, technical assistance and pilot projects that integrate the expertise of American companies. USTDA supports infrastructure projects and procurement planning at the critical early stages when the technology options and requirements are being defined. The Agency also connects overseas project sponsors with U.S. technology and service providers through its reverse trade missions, industry conferences and workshops. USTDA’s tools include: Feasibility Studies and Technical Assistance Grants: USTDA provides grants to fund feasibility studies, technical assistance, and other project planning activities that provide the comprehensive analysis required for infrastructure and systems investments to move from the concept stage to the financing and implementation stage. Pilot Project Grants: USTDA provides grants to fund pilot projects in order to demonstrate the effectiveness of U.S. technology solutions and provide the analysis, evaluation and empirical data needed to secure implementation funding. Reverse Trade Missions: USTDA-sponsored Reverse Trade Missions and orientation visits bring key decision makers and project developers from overseas to the United States to learn more about U.S. technology and service providers, financiers, policy and regulatory frameworks, and other resources that can support the deployment of new infrastructure. By U.S. Embassy Bangkok | 14 August, 2019 | Topics: Business, Fact Sheets, News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สารถวายพระพรชัยมงคลจากอุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ปีเตอร์ เฮย์มอนด์ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๗ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง วันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ หน่วยงานสหรัฐอเมริกาในประเทศไทย ขอถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ขอพระองค์ทรงมีพระพลานามัยสมบูรณ์และทรงพระเกษมสำราญยิ่ง มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ดำเนินงานอย่างไม่หยุดหย่อนเพื่อช่วยให้ประชาชนชาวไทยทุกภาคของประเทศมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และธำรงรักษาวัฒนธรรมและงานหัตถกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของไทยเอาไว้ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเป็นสหายใกล้ชิดของสหรัฐอเมริกา และทรงเสริมสร้างสัมพันธไมตรีอันยาวนานระหว่างประเทศที่ยิ่งใหญ่ของเราทั้งสองให้เจริญงอกงามต่อมาจนถึงปัจจุบัน โดย U.S. Embassy Bangkok | 9 สิงหาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, อุปทูต, เอกสารข่าว
Message from U.S. Chargé d’Affaires Peter Haymond In Honor of Her Majesty Queen Sirikit The Queen Mother’s 87th Birthday August 12, 2019 The United States Mission to the Kingdom of Thailand extends our warmest wishes to Her Majesty Queen Sirikit The Queen Mother on the auspicious occasion of Her Majesty’s birthday. We wish Her Majesty good health and happiness. Her Majesty’s SUPPORT Foundation has worked tirelessly to improve the lives of Thai people throughout the Kingdom and to preserve the uniqueness of Thai traditions and craftsmanship. Her Majesty has been an unwavering friend of the United States and has helped the longstanding partnership between our two great nations continue to prosper to this day. By U.S. Embassy Bangkok | 9 August, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, News, Press Releases, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ถ้อยแถลงโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ไมเคิล อาร์. ปอมเปโอ ในนามของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ผมขอแสดงความยินดีกับสิบประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) และสำนักงานเลขาธิการอาเซียน ในโอกาสครบรอบ 52 ปีแห่งการก่อตั้งอาเซียนในวันที่ 8 สิงหาคมนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา อาเซียนได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภูมิภาคมีความมั่นคง มั่งคั่ง และสงบสุขมากยิ่งขึ้น สหรัฐฯ เชื่อมั่นในบทบาทที่สำคัญของอาเซียนในภูมิภาคนี้เหมือนเช่นที่เคยเป็นมา สหรัฐฯ และอาเซียนเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ระหว่างกัน อันนำไปสู่วิสัยทัศน์ร่วมกันเพื่ออินโด-แปซิฟิกที่สงบสุขภายใต้กฎกติกา เปิดกว้าง และทุกประเทศมีส่วนร่วม เราจะยังคงร่วมงานกันต่อไปเพื่อส่งเสริมคุณค่า ผลประโยชน์ และนโยบายที่ยังผลให้ภูมิภาคมีความเจริญรุ่งเรืองและเฟื่องฟู ทั้งยังสานสายสัมพันธ์ระหว่างประชาชนของสหรัฐฯ และประชาชนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สหรัฐฯ มุ่งหวังที่จะร่วมงานเป็นหุ้นส่วนกับอาเซียนสืบต่อไป โดย U.S. Embassy Bangkok | 8 สิงหาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว
Press Statement Michael R. Pompeo, Secretary of State On behalf of the Government of the United States of America, I’m pleased to congratulate the ten member states of the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) and the ASEAN Secretariat on the 52nd anniversary of the founding of ASEAN on August 8. Throughout its history, ASEAN has helped foster a more stable, prosperous, and peaceful region. The United States remains committed to ASEAN’s central role in the region. The strategic partnership between the United States and ASEAN contributes to our shared vision of a rules-based, open, and inclusive Indo Pacific. We will continue to work together to promote the values, interests, and policies that help the region grow and thrive and build ties between the people of the United States and the people of Southeast Asia. The United States looks forward to many more years of partnership with ASEAN. By U.S. Embassy Bangkok | 8 August, 2019 | Topics: News, U.S. Secretary of State | Tags: ASEAN, U.S. & ASEAN
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ด้วยจำนวนประชากร 650 ล้านคนและอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) เฉลี่ยร้อยละ 5 มูลค่าเกือบ 3 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ อีกทั้งประชากรในวัยหนุ่มสาวที่เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี สมาชิกอาเซียนทั้งสิบประเทศรวมกันจึงเป็นภูมิภาคที่เปี่ยมพลวัตที่สุดภูมิภาคหนึ่งของโลก สหรัฐอเมริกาและอาเซียนทำงานร่วมกันตลอด 42 ปีที่ผ่านมาเพื่อส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ และความเจริญรุ่งเรือง ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ กับอาเซียนเริ่มต้นขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2520 ก่อนยกระดับเป็นหุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์ในปี 2558 ทั้งสองฝ่ายเล็งเห็นว่า หลักการที่เชิดชูไว้ในมุมมองของอาเซียนต่อแนวคิดอินโด–แปซิฟิก (ASEAN Outlook on the Indo-Pacific) อันได้แก่ การมีส่วนร่วม การเปิดกว้าง การเป็นภูมิภาคซึ่งยึดถือหลักนิติธรรม ธรรมาภิบาล และการเคารพกฎหมายระหว่างประเทศ หลักการเหล่านี้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสหรัฐฯ ว่าด้วยภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกที่เสรีและเปิดกว้าง ตลอดจนแนวทางดำเนินการในภูมิภาคของพันธมิตร หุ้นส่วน และมิตรประเทศของสหรัฐฯ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจอันเข้มแข็งของสหรัฐฯ และอาเซียน เศรษฐกิจอันอุดมพลวัตและอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับสูงของอาเซียนทำให้อาเซียนเป็นตลาดการส่งออกและการลงทุนที่สำคัญของสหรัฐฯ อาเซียนคือจุดหมายปลายทางการลงทุนอันดับ 1 ของสหรัฐฯ ในภูมิภาคอินโด–แปซิฟิก การลงทุนของสหรัฐฯ ในอาเซียน (ปริมาณการลงทุนรวมสะสม 329,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) นั้นมากกว่าปริมาณการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment) หรือ FDI ของสหรัฐฯ ในจีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี และอินเดียรวมกัน อาเซียนเป็นตลาดส่งออกสินค้าอันดับที่ 4 ของสหรัฐฯ การส่งออกของสหรัฐฯ ไปยังอาเซียนสนับสนุนตำแหน่งงานกว่า 500,000 ตำแหน่ง ทั้งนี้ สหรัฐฯ เป็นประเทศคู่ค้าลำดับที่ 4 ของอาเซียน โครงการระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน (ASEAN Single Window) หรือ ASW ซึ่งพัฒนาโดยได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิคจากสหรัฐฯ เมื่อ พ.ศ. 2551 ได้ช่วยให้อาเซียนลดค่าใช้จ่ายในการทำธุรกิจ พร้อมทั้งปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการการค้าขายสินค้าให้ยิ่งกระชับขึ้น องค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (USAID) ได้ให้ความช่วยเหลือในการยกระดับซอฟต์แวร์ด้านเทคนิคและการปฏิรูปกฎหมาย เพื่อรองรับระบบ ASW ให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลศุลกากรระหว่างชาติสมาชิกอาเซียนกับสหรัฐฯ ได้โดยสะดวกยิ่งขึ้น เครือข่ายการดำเนินงานและความช่วยเหลือด้านโครงสร้างพื้นฐานของสหรัฐฯ (Infrastructure Transaction and Assistance Network) หรือ ITAN ส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่มีคุณภาพสูงและมีความยั่งยืนทางการเงินในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก เพื่อช่วยอาเซียนตอบสนองความจำเป็นในการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน เครือข่าย ITAN ให้ความช่วยเหลือทางเทคนิคแก่ฟิลิปปินส์ สนับสนุนเวียดนามในการดำเนินงานตามแผนพัฒนาพลังงานแห่งชาติ (Power Development Plan) และดึงดูดการลงทุนจากภาคเอกชน ตลอดจนร่วมมือกับรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าแห่งอินโดนีเซียปรับปรุงระบบโครงข่ายไฟฟ้าให้ทันสมัยและแสวงหาแหล่งพลังงานที่หลากหลายยิ่งขึ้น กองทุนให้คำปรึกษาด้านการดำเนินการ (Transaction Advisory Fund) ของ ITAN ประกาศจัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2561 จะบริการให้คำปรึกษาด้านกฎหมายและมอบความช่วยเหลือทางเทคนิคแก่ชาติสมาชิกอาเซียน เพื่อประเมินศักยภาพของโครงการโครงสร้างพื้นฐาน โดยรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการจะประกาศภายในปลายปี 2562 บรรษัทการลงทุนภาคเอกชนในต่างประเทศ (OPIC) มุ่งเน้นความสำคัญของโครงการในอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ไทย และเมียนมา โดยมีโครงการปัจจุบัน อาทิ การดำเนินงานเชื่อมโยงผู้ให้กู้ยืมเงินทุนกับผู้ผลิตสินค้าเกษตรในเมียนมา มูลค่า 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และโครงการริเริ่ม มูลค่า 160 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สำหรับพัฒนาฟาร์มกังหันลมในอินโดนีเซีย โครงการหุ้นส่วนเมืองอัจฉริยะสหรัฐฯ–อาเซียน (USASCP) – การลงทุนในนวัตกรรม เมืองอัจฉริยะ คือเมืองที่นำเทคโนโลยีด้านข้อมูลมาใช้สร้างสรรค์นวัตกรรมและบริหารจัดการทรัพยากรของเมือง อันเป็นกุญแจสำคัญสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งในสหรัฐฯ และอาเซียน กิจกรรมแรกของโครงการ U.S.-ASEAN Smart Cities Partnership หรือ USASCP จัดขึ้น ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ในเดือนกรกฎาคม โดยผู้แทนจาก 26 เมืองนำร่องในเครือข่ายเมืองอัจฉริยะอาเซียน (ASEAN Smart Cities Network) มาแลกเปลี่ยนมุมมองกับภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้เชี่ยวชาญด้านเมืองอัจฉริยะ พร้อมทั้งศึกษาบริการโซลูชั่นเชิงพาณิชย์ของสหรัฐฯ เพื่อตอบรับความท้าทายของเมืองอัจฉริยะ สหรัฐฯ ลงทุนเบื้องต้นในโครงการนี้ คิดเป็นมูลค่า 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ การสร้างศักยภาพของอาเซียนในโลกดิจิทัล เศรษฐกิจดิจิทัลของอาเซียนเป็นปัจจัยหลักอย่างหนึ่งที่ขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ภูมิภาคนี้ยังคงเผชิญกับปัญหาท้าทายในด้านการเชื่อมโยงและความมั่นคงทางไซเบอร์ ซึ่งสหรัฐฯ ได้นำความรู้ความชำนาญมาช่วยจัดการ สหรัฐฯ เตรียมต่อยอดจากโครงการหุ้นส่วนการเชื่อมโยงด้านดิจิทัลและความมั่นคงทางไซเบอร์ (Digital Connectivity and Cybersecurity Partnership – DCCP) และถ้อยแถลงผู้นำสหรัฐฯ-อาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านความมั่นคงทางไซเบอร์ (U.S.-ASEAN Leaders’ Statement on Cybersecurity Cooperation) โดยวางแผนจัดการหารืออาเซียน–สหรัฐฯ เกี่ยวกับนโยบายไซเบอร์ (U.S.-ASEAN Cyber Policy Dialogue) ขึ้นเป็นครั้งแรกในงาน Singapore International Cyber Week ระหว่างวันที่ 1-3 ตุลาคมนี้ ภายใต้กรอบความร่วมมือ DCCP สำนักงานส่งเสริมการค้าและการพัฒนาแห่งสหรัฐอเมริกา (USTDA) ได้สนับสนุนกิจกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในภูมิภาค เช่น สนับสนุนเงินทุนสำหรับความช่วยเหลือทางเทคนิคที่มอบแก่ฟิลิปปินส์ เพื่อดำเนินโครงการโครงข่ายบรอดแบนด์แห่งชาติ (National Broadband Network Project) ความช่วยเหลือนี้จะช่วยขัดเกลาแผนออกแบบทางเทคนิคและปฏิบัติการให้สามารถขยายการเข้าถึงบรอดแบนด์ไปยังตลาดที่ขาดแคลนทั่วฟิลิปปินส์ โครงการฝึกอบรมประเทศที่สามระหว่างสหรัฐฯ–สิงคโปร์ (U.S.–SingaporeThird Country Training Program) U.S.-ASEAN Connect และ DCCP มุ่งลดช่องว่างทางการพัฒนาในภูมิภาคผ่านการฝึกอบรมบุคลากรจากประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศและติมอร์-เลสเต เกี่ยวกับการเชื่อมโยงทางดิจิทัล ความมั่นคงทางไซเบอร์ ตลอดจนเทคโนโลยีใหม่ๆ ในปีนี้ สหรัฐฯ ได้ให้การสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถด้านแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศว่าด้วยการวางนโยบายไซเบอร์แห่งชาติด้วยการปรับปรุงความสามารถในการตอบสนองเหตุ เพิ่มความตระหนักรู้เกี่ยวกับความมั่นคงทางไซเบอร์ และพัฒนาแรงงานไซเบอร์ โครงการ Digital Economy Series ภายใต้ U.S.-ASEAN Connectนำเสนอกิจกรรมเชื่อมโยงผู้กำหนดนโยบายในอาเซียนกับบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำของสหรัฐฯ เพื่อแบ่งปันแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในภาคดิจิทัล และช่วยอำนวยการจัดพื้นที่ดิจิทัลที่เปิดกว้างและทันสมัย หุ้นส่วนความมั่นคงด้านพลังงาน มีการประมาณการว่า ความต้องการพลังงานของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะเพิ่มขึ้นมากกว่า 2 ใน 3 ภายในปี 2583 การสนับสนุนของสหรัฐฯ นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการตอบสนองความต้องการของตลาดที่กำลังเติบโตพร้อมกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี แผนดำเนินงานส่งเสริมความร่วมมือด้านพลังงานสหรัฐฯ–อาเซียน (U.S.-ASEAN Energy Cooperation Work Plan) สนับสนุนความมุ่งหมายและจุดประสงค์ด้านพลังงานระดับภูมิภาคของอาเซียน ซึ่งรวมถึงการพัฒนาตลาดไฟฟ้าและก๊าซธรรมชาติในภูมิภาค การใช้เทคโนโลยีพลังงานสะอาดขั้นสูง และการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ภายใต้โครงการ Clean Power Asia Program สหรัฐฯ เตรียมทุ่มงบประมาณ 750 ล้านดอลลาร์สหรัฐลงทุนด้านพลังงานสะอาดเป็นระยะเวลา 5 ปีผ่านการฝึกอบรมภาครัฐสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนที่ได้รับการคัดเลือก ให้สามารถจัดการประมูลย้อนกลับ (reverse auction) ในการประมูลเสนอบริการพลังงานหมุนเวียน รูปแบบการประมูลเช่นนี้อาศัยการแข่งขันเพื่อลดค่าใช้จ่ายและนำทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ได้ Asia EDGE (Enhancing Development and Growth through Energy) ซึ่งริเริ่มดำเนินโครงการโดยสหรัฐฯ จะสนับสนุนคณะมนตรีอาเซียนด้านปิโตรเลียม (ASEAN Council on Petroleum) เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศว่าด้วยการบริหารจัดการท่อส่งปิโตรเลียมข้ามพรมแดนและการกำหนดมาตรฐานคุณภาพก๊าซธรรมชาติ อันเป็นส่วนสำคัญในการบูรณาการด้านพลังงานของอาเซียน ความช่วยเหลือทางทะเลเพื่อความมั่นคงอาเซียน อาเซียนที่เข้มแข็งและมีความสามารถ ณ ใจกลางของภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกนั้นมีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาโครงสร้างระดับภูมิภาคซึ่งส่งเสริมการปกครองที่เป็นประชาธิปไตยและสามารถระงับข้อพิพาทโดยสันติด้วยกฎหมายระหว่างประเทศ สหรัฐฯ ฝึกฝนหน่วยยามฝั่ง (Coast Guards) และฝึกอบรมภาคส่วนที่เกี่ยวข้องผ่านกรอบความร่วมมือ Southeast Asia Maritime Lane Enforcement Initiative (ชื่อทางการคือ ความร่วมมืออ่าวไทย) เพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติการร่วมและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน โครงการความช่วยเหลือด้านความมั่นคง อาทิ โครงการเงินช่วยเหลือทางทหารต่างประเทศ (Foreign Military Financing) โครงการศึกษาและฝึกอบรมทางการทหารระหว่างประเทศ (International Military Education and Training) และข้อริเริ่มด้านความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security Initiative) ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ความชำนาญของกองกำลังทางทหารของประเทศสมาชิกอาเซียนในแต่ละประเทศ ตลอดทั้งเสริมสร้างความมั่นคงทางทะเลและพัฒนาความสามารถในการตระหนักรู้สถานการณ์ทางทะเลของชาติสมาชิก ในเดือนกันยายนนี้ สหรัฐฯ กับไทยจะร่วมเป็นเจ้าภาพจัด การฝึกผสมทางทะเลระหว่างอาเซียน–สหรัฐฯ (ASEAN-U.S. Maritime Exercise) การฝึกครั้งนี้มุ่งเสริมสร้างความสามารถด้านการตระหนักรู้สถานการณ์ทางทะเล การแลกเปลี่ยนข้อมูล และการขัดขวางการลักลอบเข้าประเทศอย่างผิดกฎหมายทางทะเล การส่งเสริมผู้นำเยาวชนผ่านความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน ประชากรอาเซียนร้อยละ 65 มีอายุน้อยกว่า 35 ปี การส่งเสริมผู้นำรุ่นใหม่ให้มีบทบาทนำในชุมชนอาเซียนย่อมเป็นการรับรองว่าสันติภาพและความเจริญรุ่งเรืองจะธำรงสืบต่อไป นักท่องเที่ยวจากอาเซียนเพิ่มมูลค่าแก่เศรษฐกิจของสหรัฐฯ ถึง 5,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี นักเรียนนักศึกษาจากอาเซียนนำเงินเข้าสู่เศรษฐกิจของสหรัฐฯ มากกว่า 2,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี โครงการ Young Southeast Asian Leaders Initiative(YSEALI) อบรมผู้นำรุ่นใหม่รวมเกือบ 5,000 คนตั้งแต่ พ.ศ. 2556 โดยมีเยาวชนอายุระหว่าง 18-35 ปี มากกว่า 142,000 คนเข้าร่วมเป็นสมาชิกออนไลน์ของโครงการ YSEALI โครงการแข่งขันชิงทุน YSEALI Seeds for the Future มอบทุนรวมกว่า 1.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐตั้งแต่ พ.ศ. 2558 เพื่อสนับสนุนเงินทุนเริ่มต้นแก่โครงการพัฒนาชุมชน แต่ละปี มีนักเรียนนักศึกษาจากประเทศในอาเซียนเกือบ 60,000 คนศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โครงการ Fulbright ASEAN Research Program สำหรับนักวิชาการจากสหรัฐฯ ได้มอบทุนจำนวน 14 ทุนนับตั้งแต่ พ.ศ. 2560 เพื่อดำเนินงานศึกษาวิจัยร่วมระหว่างสหรัฐฯ กับอาเซียน ติดตามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ของคณะผู้แทนสหรัฐอเมริกาประจำสำนักเลขาธิการอาเซียน https://asean.usmission.gov/ *การแปลนี้จัดทำขึ้นโดยความอนุเคราะห์และเฉพาะต้นฉบับภาษาอังกฤษเท่านั้นที่ควรถือว่าเชื่อถือได้ โดย U.S. Embassy Bangkok | 2 สิงหาคม, 2019 | ประเภท: ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก, เอกสารข้อเท็จจริง
With a population of 650 million, average GDP growth of five percent nearing $3 trillion, and a young, tech-savvy demographic, the ten ASEAN countries make up one of the world’s most dynamic ‎regions. Over the past 42 years, the United States and ASEAN have worked together to promote peace, stability, and prosperity. The U.S.-ASEAN relationship began in 1977 and was elevated to a strategic partnership in 2015. We see strong convergence between the principles enshrined inASEAN’s Indo-Pacific Outlook—inclusivity, openness, a region based on rule of law, good governance, and respect for international law—and the vision of the United States for a free and open Indo-Pacific, as well as the regional approaches of our allies, partners, and friends. Strong U.S. and ASEAN Economic Ties ASEAN’s dynamic economies and high growth rates make it a key market for U.S. exports and investment. ASEAN is the number one U.S. investment destination in the Indo-Pacific. U.S. investment (cumulatively $329 billion) is larger than U.S. FDI in China, Japan, Republic of Korea, and India combined. ASEAN is the 4th largest export market for U.S. goods. U.S. exports to ASEAN support an estimated 500,000 jobs. The United States is ASEAN’s 4th largest trading partner. TheASEAN Single Window (ASW) Initiative, developed with U.S. technical assistance in 2008, has helped ASEAN reduce the cost of doing business and streamline trade in goods. USAID has provided assistance to upgrade technical software and reform laws for the ASW, allowing for easier exchange of customs information between ASEAN countries and the United States. The U.S.Infrastructure Transaction and Assistance Network(ITAN) promotes high-quality and financially sustainable infrastructure in the Indo-Pacific to help ASEAN’s infrastructure investment needs. The ITAN provides technical assistance to the Philippines, helps Vietnam implement its Power Development Plan and attract private sector investment, and partners with Indonesia’s state electric company to help modernize power grids and diversify energy sources. The ITANTransaction Advisory Fund, announced in July 2018, will provide legal advisory services and technical assistance to ASEAN countries to assess potential infrastructure projects. Specific projects will be announced by the end of 2019. TheOverseas Private Investment Corporationis prioritizing projects in Indonesia, Philippines, Vietnam, Thailand, and Myanmar. Current projects include a $10 million effort in Myanmar to connect lenders with agricultural suppliers, and a $160 million initiative to develop a wind farm in Indonesia. U.S.-ASEAN Smart Cities Partnership (USASCP) – Investing in the Innovative Smart Cities – cities using data-driven technology to innovate and manage city resources – are a key to sustainable development in both the United States and ASEAN. The inaugural USASCP event was held in Washington, D.C. in July with representatives of the 26 pilot cities in theASEAN Smart Cities Networkexchanging views with public and private sector smart city experts and exploring U.S. commercial solutions to smart city challenges. The initial U.S. commitment to this partnership is $10 million. Building Capacity in the ASEAN Digital World ASEAN’s digital economy is a key driver of regional economic growth, but the region still faces connectivity and cybersecurity challenges that U.S. expertise is helping to address. Building on theDigital Connectivity and Cybersecurity Partnership(DCCP) and the 2018 U.S.-ASEAN Leaders’ Statement on Cybersecurity Cooperation, the United States is planning the firstU.S.-ASEAN Cyber Policy Dialogueduring the Singapore International Cyber Week from October 1-3. As part of the DCCP, USTDA has supported a range of information and communications technology activities across the region, includingfunding for a technical assistance grant to help the Philippinesimplement its National Broadband Network Project. The assistance will help refine technical and operational design plans to provide broadband access to underserved markets throughout the Philippines. TheU.S.–SingaporeThird Country Training Program, USASEAN Connect, and DCCP aim to bridge development gaps in the region, training officials from all 10 ASEAN countries and Timor-Leste on digital connectivity, cybersecurity, and emerging technologies. This year, the United States supported capacity development on best practices in national cyber policy formation, by improving incident response capabilities and cybersecurity awareness and developing a cyber-workforce. U.S.-ASEAN Connect’s Digital Economy Seriesconnects ASEAN policymakers and leading U.S. technology companies to share best practices in the digital sector, and by helping to facilitate an open and innovative digital space. Partners in Energy Security Southeast Asia’s energy demand is projected to increase by more than two-thirds by 2040. U.S. support is critical to meeting the needs of these growing markets and technological advances. TheU.S.-ASEAN Energy Cooperation Work Plansupports ASEAN’s regional energy ambitions and objectives, including advancement of regional markets for electricity and natural gas, deployment of advanced and clean energy technologies, and the promotion of energy efficiency. Under theClean Power Asia Program, the United States seeks to mobilize $750 million in clean energy investments over a five-year period bytraining select ASEAN governments to run reverse auctions for renewable energy tenders, a tool that uses competition to lower costs and deploy renewable capacity. The U.S.-initiatedAsia EDGE(Enhancing Development and Growth through Energy) will support the ASEAN Council on Petroleum on best practices for cross-border pipeline management and natural gas quality standardization, a key to ASEAN energy integration. Maritime Assistance for ASEAN Security A strong, capable ASEAN at the heart of the Indo-Pacific region is critical to advancing a regional architecture that supports democratic governance and resolves disputes peacefully, through international law. The United States trains Coast Guards and other stakeholders through theSoutheast Asia Maritime Lane Enforcement Initiative(formally the Gulf of Thailand initiative) to improve inoperability and information sharing. Security assistance programs, such asForeign Military Financing, International Military Education and Training and the Maritime Security Initiative,support the professionalization of individual ASEAN countries’ militaries and enhance their maritime security and maritime domain awareness. In September, the United States and Thailand will co-host the inauguralASEAN-U.S. Maritime Exercise. This exercise will build capacity in maritime domain awareness, information sharing, and sea interdiction. Promoting Youth Leadership through People-to-People Ties 65% of ASEAN’s population is under the age of 35. Mobilizing young and emerging leaders to take ownership of the ASEAN community will ensure continued peace and prosperity. ASEAN visitors add $5 billion to the U.S. economy annually. ASEAN students contribute more than $2 billion to the U.S. economy annually. The U.S.Young Southeast Asian Leaders Initiative(YSEALI) has trained nearly 5000 emerging leaders since 2013. More than 142,000 young people aged 18-35 have become YSEALI virtual members. TheYSEALI Seeds for the Futuresmall grants competition has dedicated more than $1.6 million since 2015 in seed funding for community improvement projects. Nearly 60,000 students from ASEAN countries study in the United States annually. Since 2017, theFulbright ASEAN Research Programfor U.S. Scholars has awarded 14 scholarships to conduct collaborative U.S.-ASEAN research. For further information, please visit the U.S. Mission to ASEAN athttps://asean.usmission.gov/. By U.S. Embassy Bangkok | 2 August, 2019 | Topics: East Asia & Pacific, Fact Sheets
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: แม่น้ำโขงสำคัญต่อสหรัฐอเมริกา ภูมิภาคลุ่มน้ำโขง อันได้แก่ กัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมียนมา ไทย และเวียดนาม มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ต่อสหรัฐอเมริกา ภูมิภาคนี้เป็นจุดหลักในยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิกของสหรัฐฯ และเป็นองค์ประกอบสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ กับอาเซียน สหรัฐอเมริกาประสงค์ร่วมมือกับพันธมิตรลุ่มน้ำโขงของเราเพื่อผดุงซึ่งอธิปไตย ความโปร่งใส ธรรมาภิบาล ความเป็นแกนกลางของอาเซียน และระเบียบที่ยึดมั่นในกฎกติกา สายสัมพันธ์ระหว่างอเมริกากับภูมิภาคลุ่มน้ำโขงนั้นลึกซึ้งยิ่ง ตลอดช่วง 10 ปีที่ผ่านมา หน่วยงานรัฐบาลสหรัฐฯ ได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศลุ่มน้ำโขงกว่า 3,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ การลงทุนโดยตรงของสหรัฐฯ ในภูมิภาคนี้มีมูลค่าถึง 17,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2560 โดยเพิ่มขึ้นจาก 10,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในทศวรรษก่อน มูลค่ารวมการค้าระหว่างสหรัฐฯ กับประเทศในภูมิภาคนี้อยู่ที่ 109,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2561 สหรัฐฯ ส่งออกสินค้าไปยังประเทศในลุ่มน้ำโขง ซึ่งสร้างงานให้ชาวอเมริกันกว่า 1.4 ล้านตำแหน่งตั้งแต่ปี 2542 ในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร และเครื่องจักร เป็นต้น ในปี 2561 มีนักศึกษาจำนวนกว่า 33,000 คนจากภูมิภาคนี้ลงทะเบียนเรียนในวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยในสหรัฐฯ เยาวชนกว่า 72,000 คนในภูมิภาคนี้เป็นสมาชิกของโครงการ Young Southeast Asian Leaders Initiative (YSEALI) ภายใต้การนำของสหรัฐฯ นับตั้งแต่เปิดตัวอย่างเป็นทางการที่กรุงมะนิลา เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 ประเทศไทยเป็นพันธมิตรเก่าแก่ที่สุดของอเมริกาในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกโดยมีความสัมพันธ์ยาวนานมาถึง 2 ศตวรรษ ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ กับเวียดนามกำลังทวีความสำคัญทางยุทธศาสตร์มากยิ่งขึ้น ข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่าง – ทศวรรษแห่งการสร้างทุนมนุษย์ นับตั้งแต่ข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่าง (LMI) เปิดตัวเมื่อปี 2552 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ได้พบหารือกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจากประเทศสมาชิก 5 ประเทศในลุ่มน้ำโขงเป็นประจำทุกปีผ่านข้อริเริ่มนี้ ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา โครงการภายใต้ข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่างได้ช่วยให้ประเทศในลุ่มน้ำโขงรับมือสิ่งท้าทายข้ามพรมแดนต่างๆ ได้ดีขึ้น ทั้งปัญหาความมั่นคงด้านน้ำ ระบบพลังงานน้ำอัจฉริยะ การวางแผนพลังงานและโครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจนสะเต็มศึกษา โครงการภายใต้ข้อริเริ่มฯ พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้คนในภูมิภาคแม่น้ำโขง โดยมีผลลัพธ์เป็นรูปธรรมดังต่อไปนี้ ช่วยให้ประชาชน 340,000 คนเข้าถึงน้ำดื่มสะอาด และช่วยให้ประชาชน 27,000 คนสามารถเข้าถึงการสุขาภิบาลที่ดีขึ้น ฝึกอบรมหลักสูตรสะเต็มศึกษาให้แก่ครูอาจารย์ 1,000 คน (ซึ่งสอนนักเรียน 80,000 คน) ร่วมมือกับสิงคโปร์ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่จากประเทศลุ่มน้ำโขง 1,200 คนในประเด็นด้านกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวกับการเชื่อมโยงและการพัฒนาที่ยั่งยืนผ่านโครงการฝึกอบรมในประเทศที่สาม ยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษเชิงเทคนิคสำหรับเจ้าหน้าที่ ครูอาจารย์ และนักเรียน 3,800 คน สนับสนุนนักธุรกิจสตรีเจ้าของกิจการจำนวนหลายร้อยคนผ่านศูนย์ส่งเสริมผู้ประกอบการ 3 แห่ง เพิ่มขีดความสามารถของภูมิภาคในการตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินและการฟื้นฟูหลังสถานการณ์ ผ่านโครงการ Pacific Resilience Disaster Response Exercise and Exchange ที่จัดเป็นประจำทุกปีโดยเหล่าทหารช่างของกองทัพบกสหรัฐฯ โครงการอื่นๆ ภายใต้ข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่างได้แก่ โครงการข้อริเริ่มในการจัดการข้อมูลด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำโขง (Mekong Water Data Initiative) ดำเนินการพัฒนาแนวนโยบายที่ทันสมัยและมั่นคง เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่บทบาทของคณะกรรมาธิการแม่น้ำโขงในการแบ่งปันข้อมูล เพื่อปรับปรุงการพยากรณ์อุทกภัยและภัยแล้งให้ดีขึ้น โครงการหุ้นส่วนเพื่อโครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน (Sustainable Infrastructure Partnership) ให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการและวิทยาศาสตร์สำหรับโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พลังงานสะอาด และการใช้ที่ดินและทรัพยากรน้ำ โครงการฝึกอบรมโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพภายใต้ข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่าง (LMI Quality Infrastructure Training Program) ดำเนินการพัฒนาศักยภาพของภาคเอกชนในการออกแบบโครงการตามมาตรฐานสากล โครงการนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ภายใต้ข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่าง (LMI Young Scientist Program) ดำเนินงานวิจัยค้นคว้าวิธีการรูปแบบใหม่ๆ เพื่อแก้ปัญหาโรคติดต่อนำโดยแมลง ความท้าทายใหม่ ภูมิภาคลุ่มน้ำโขงกำลังเผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ อันรวมถึงการพึ่งพาหนี้เงินกู้ การสร้างเขื่อนจำนวนมากโดยมุ่งควบคุมการไหลของน้ำในพื้นที่ท้ายน้ำ แผนการระเบิดและขุดร่องน้ำ การลาดตระเวนแม่น้ำนอกอาณาเขต และการที่บางประเทศผลักดันให้ประยุกต์ใช้กฎระเบียบใหม่ๆ เพื่อควบคุมแม่น้ำในลักษณะอันบ่อนทำลายสถาบันที่มีอยู่ในปัจจุบัน สหรัฐอเมริกามุ่งมั่นที่จะทำงานร่วมกับประเทศในลุ่มน้ำโขงเพื่อเผชิญกับความท้าทายใหม่เหล่านี้ นอกจากนี้ สหรัฐอเมริกายังปรับแนวทางความพยายามของเราให้สอดคล้องกับ “มิตรประเทศลุ่มน้ำโขงตอนล่าง” (Friends of the Lower Mekong) เพื่อปรับปรุงการประสานงานระหว่างผู้ให้ทุนกับธนาคารพัฒนาเอเชีย ออสเตรเลีย สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ สาธารณรัฐเกาหลี และธนาคารโลก สหรัฐฯ ร่วมมือกับประเทศสมาชิกข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่างประสานงานโครงการต่างๆ ของเราโดยดำเนินการตามค่านิยม หลักการ และวิสัยทัศน์ที่มีร่วมกันเพื่อภูมิภาคนี้ การขยายขอบเขตความร่วมมือของสหรัฐฯ สหรัฐอเมริกายังคงส่งเสริมโครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน และเศรษฐกิจดิจิทัลผ่านโครงการที่เปิดตัวภายใต้ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิกของสหรัฐฯ โดยในวันนี้ (1 สิงหาคม 2562) รัฐมนตรีปอมเปโอประกาศว่า รัฐบาลสหรัฐฯ ร่วมกับสภาคองเกรสมีเจตจำนงจะจัดมอบทรัพยากรเพิ่มเติมอีกประมาณ 45 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อขยายความร่วมมือของเราในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ อันได้แก่ หุ้นส่วนด้านพลังงานแม่น้ำโขงระหว่างญี่ปุ่น-สหรัฐฯ (Japan-U.S. Mekong Power Partnership) มูลค่า 29.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานพลังงานในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงที่ยั่งยืนและดำเนินการตามหลักการ การบริจาคทรัพยากรเพิ่มเติมมูลค่า 14 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อต่อต้านอาชญากรรมและการลักลอบค้าข้ามชาติ อันได้แก่ การค้ายาเสพติด การค้ามนุษย์ และการค้าสัตว์ป่า การดำเนินความร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญจากธนาคารโลก ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส และญี่ปุ่น เพื่อดำเนินการตรวจสอบความปลอดภัยเขื่อน 55 แห่งในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การให้ความสนับสนุนโครงการพลังงานและโครงสร้างพื้นฐานเพื่อจัดสร้างสถานีชุมทางการนำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลวและโครงการสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากก๊าซธรรมชาติในเวียดนาม และการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์ การดำเนินงานร่วมกับสาธารณรัฐเกาหลีในการใช้เทคโนโลยีดาวเทียมเพื่อประเมินแนวโน้มของอุทกภัยและภัยแล้งให้แม่นยำยิ่งขึ้น การให้ความสนับสนุนยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง (ACMECS) ในฐานะหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา โดยสร้างความมั่นใจว่าโครงการภายใต้ข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่างสอดคล้องกับเป้าหมายของ ACMECS สหรัฐฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเราจะยังคงความเป็นหุ้นส่วนและร่วมมือกันสืบต่อไป เพื่อสร้างหลักประกันแห่งภูมิภาคอันสงบสุข มั่นคง และมั่งคั่ง เชิญอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.lowermekong.org และ www.mekongwater.org *การแปลนี้จัดทำขึ้นโดยความอนุเคราะห์และเฉพาะต้นฉบับภาษาอังกฤษเท่านั้นที่ควรถือว่าเชื่อถือได้ โดย U.S. Embassy Bangkok | 2 สิงหาคม, 2019 | ประเภท: ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก, เอกสารข้อเท็จจริง
The Mekong Matters to America The Mekong region –Cambodia, Lao PDR, Myanmar, Thailand, and Vietnam– is strategically important to the United States. The region isa focus of the U.S. Indo-Pacific Strategy, andintegral to our engagement with ASEAN. The United States aims to uphold sovereignty, transparency, good governance, ASEAN centrality, and a rules-based order, in conjunction with our Mekong partners.America’s ties with the Mekong region run deep: Over the last 10 years, U.S. agencies have provided more than $3.5 billion in assistance to the countries of the Mekong. U.S. direct investment position in the region reached $17 billion in 2017, up from $10 billion a decade ago. Two-way trade stood at $109 billion in 2018. U.S. exports to the Mekong countries have created more than 1.4 million American jobs since 1999 in industries such as electronics, agricultural products, and machinery. More than 33,000 students from the region enrolled in U.S. colleges and universities in 2018. More than 72,000 of the region’s youth are members of the U.S.-led Young Southeast Asian Leaders Initiative since its official launch in Manila in December 2013. Thailand is America’s oldest ally in the Indo-Pacific, with a relationship stretching back two centuries. The U.S.-Vietnam relationship is of increasingly strategic import. Lower Mekong Initiative: A Decade of Building Human Capital Since its launch in 2009, the Secretary of State has met annually with his five Mekong country counterparts through the Lower Mekong Initiative (LMI). Over the past decade, LMI programs have helped Mekong countries better address transboundary challenges on water security, smart hydropower, energy and infrastructure planning, and STEM education. LMI projects have delivered tangible improvements to the lives of the people of the Mekong region by: Giving 340,000 people access to clean drinking water, 27,000 to improved sanitation; Training 1,000 teachers (of 80,000 students) in STEM curriculum; Partnering with Singapore to train 1,200 Mekong country officials on regulatory issues concerning connectivity and sustainable development, through the Third Country Training Program; Raising technical English standards for 3,800 officials, teachers, and students; Supporting hundreds of women business owners through three entrepreneurship centers; Enhancing regional capacity to respond to and recover from emergency situations through the annual Pacific Resilience Disaster Response Exercise and Exchange, organized by the U.S. Army Corps of Engineers, Other LMI programs include: The Mekong Water Data Initiative,which is developing an advanced, secure platform to strengthen the role of the Mekong River Commission in sharing data to improve flood and drought forecasting; The Sustainable Infrastructure Partnership, which provides technical and scientific assistance for environmentally sound infrastructure, clean energy, and land and water use; The LMI Quality Infrastructure Training Program, which works to improve public sector capacity to design projects to international standards; The LMI Young Scientist Program,which researches innovative solutions to vector borne diseases. New Challenges The Mekong region is facing new challenges, including debt dependency; a spree of dam-building that concentrates control over downstream flows; plans to blast and dredge riverbeds; extraterritorial river patrols; and a push by some to mold new rules to govern the river in ways that undermine existing institutions. The United States is committed to working with the Mekong countries to meet these new challenges. The United States is also aligning our efforts with the “Friends of the Lower Mekong” to improve donor coordination with the Asian Development Bank, Australia, the European Union, Japan, New Zealand, the Republic of Korea, and the World Bank. Together with the LMI countries, we are coordinating our programs based on shared values, principles, and vision for the region. Expanding U.S. Engagement The United States continues to promote infrastructure, energy, and the digital economy through programs launched under the U.S. Indo-Pacific Strategy. Today,Secretary Pompeo announced that the United States, working with Congress, intends to provide approximately $45 million in additional resources to expand our engagement in the strategically important Mekong region, including: Japan-U.S. Mekong Power Partnership: $29.5 million to promote and develop principles-based, sustainable Mekong regional energy infrastructure. The dedication of $14 million in additional resources to counter transnational crime and trafficking in drugs, people, and wildlife. A partnership with experts from the World Bank, Australia, France, and Japan to conduct dam safety reviews for 55 dams in Lao PDR. Support for energy and infrastructure projects to advance liquefied natural gas import terminal sites and gas-to-power projects in Vietnam, and wind and solar power generation. A partnership with the Republic of Korea to apply satellite technology to better assess trends in flooding and droughts. Support for Ayeyawady-Chao Praya-Mekong Economic Cooperation Strategy (ACMECS) as a development partner, and ensuring LMI programs align with ACMECS goals. Welook forward to many more years of partnership and collaboration to ensure a peaceful, secure, and prosperous region. For further information, please visitwww.lowermekong.organdwww.mekongwater.org. By U.S. Embassy Bangkok | 2 August, 2019 | Topics: East Asia & Pacific, Fact Sheets
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ปาฐกถาโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯไมเคิลอาร์. ปอมเปโอ วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2562 สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย รัฐมนตรีปอมเปโอ: อรุณสวัสดิ์ครับทุกท่าน ขอบคุณครับปีเตอร์ที่ช่วยแนะนำผมให้ทุกคนได้รู้จัก ขอขอบคุณสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์และท่านนายกสยามสมาคมฯ ที่กรุณาเป็นเจ้าภาพ ผมยังทราบมาว่า วันนี้มีนักธุรกิจที่มีชื่อเสียงหลายท่านมาอยู่กับเราในห้องนี้ ผมขอขอบคุณ คุณเกรก แบชชัน ประธานหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย ท่านจบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหาร West Point ซึ่งน่าชื่นชมมาก ผมขอขอบคุณเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกาท่านใหม่เป็นพิเศษที่กรุณามาร่วมงานกับเราในวันนี้ ขอบคุณครับท่านที่มางานนี้ และไม่มีใครจะเป็นแขกคนพิเศษไปกว่าซูซาน ภรรยาของผม ซูซานนั่งแถวหน้าเช่นกันครับ (เสียงหัวเราะ) เอาล่ะ ผมทำแต้มได้ ดีจัง (เสียงหัวเราะ) ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่ผมเดินทางเยือนกรุงเทพฯ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ผมเคยมากรุงเทพฯ แล้วครับ ผมได้มาภูมิภาคนี้หลายครั้งแล้ว ถือเป็นโอกาสพิเศษจริงๆ ที่ได้มาที่นี่ ณ เวลานี้ สหรัฐอเมริกามีความสัมพันธ์ยาวนานที่มีค่ายิ่งสำหรับเรา ดังที่ท่านอุปทูตฯ กล่าวไว้ว่า ความสัมพันธ์นี้ยืนยาวมาถึง 200 ปี และผมก็คิดว่า เราจะยังคงเป็นมิตรที่ดีต่อกันไปอีกสองศตวรรษ สถานที่ที่เรายืนอยู่ในวันนี้มีคติพจน์ คติพจน์ของสยามสมาคมฯ คือ “วิชชายังให้เกิดมิตรภาพ” และเมื่อพูดถึงเรื่องนี้ ผมอยากแบ่งปันกับท่านทั้งหลายถึงมุมมองของผมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ในภูมิภาคนี้ ไม่มีองค์ประกอบใดในความสัมพันธ์ของเราจะสำคัญยิ่งไปกว่าประเด็นนี้ นี่คือประวัติศาสตร์ที่บางครั้งก็ถูกลืม และบางครั้งก็เลวร้ายยิ่งกว่าถูกลืม นั่นคือ ถูกบิดเบือนโดยผู้ที่ไม่ได้ให้ความสำคัญกับผลประโยชน์ร่วมของเรา นี่คือเรื่องราวของความเป็นหุ้นส่วนที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นไปไม่ได้ แต่ปัจจุบันเป็นสิ่งที่พวกเราขาดไม่ได้เลย นี่คือเรื่องราวของประเทศที่แสวงหาข้อเสนอที่ทั้งสองฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ นี่คือเรื่องราวของหลักการของอเมริกาและความรุ่งเรืองของเอเชีย ผมขอเล่าให้ฟังถึงครอบครัวคุณอนุรักษ์จากประเทศไทยนี้เอง ไม่นานมานี้ คุณอนุรักษ์เป็นหัวหน้าคนงานบริษัทก่อสร้างแห่งหนึ่ง ภรรยาเป็นพยาบาล ชีวิตชนชั้นกลางความเป็นอยู่สุขสบาย แต่ทั้งสองต้องการอะไรที่มากกว่านั้น พวกเขาอยากได้อะไรมากกว่านั้นเพื่อลูกๆ ซึ่งไม่ต่างจากความต้องการของทุกครอบครัว ทั้งสองเริ่มทำฟาร์มเลี้ยงไก่ฟาร์มเล็กๆ ในปี 2549 Cargill บริษัทสัญชาติอเมริกันซึ่งลงทุนในไทยตั้งแต่ปี 2511 ได้ค้นพบทั้งสองคน บริษัท Cargill ทำงานร่วมกับครอบครัวนี้ในการพัฒนาผลผลิต ปรับปรุงประสิทธิภาพ และช่วยพวกเขาด้วยเทคนิคการบริหารจัดการ ความร่วมมือกับอเมริกาครั้งนั้นประสบความสำเร็จอย่างดีทีเดียว ปัจจุบัน พวกเขาขยายกิจการจากฟาร์มแห่งเดียวเป็นห้าแห่งและมีรายได้เฉลี่ย 78,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อเดือนทุกเดือน และเมื่อพวกเขาพร้อมที่จะเติบโตต่อไป พวกเขาก็รู้ว่าตนเองมีบริษัทอเมริกันแห่งนั้นเป็นหุ้นส่วนที่ไว้ใจได้ ความมั่งคั่งอันน่าอัศจรรย์นี้แตกต่างจากความเสียหายและความไม่แน่นอนที่ปกคลุมเอเชียหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งนับไปแล้วก็ไม่นานมานี้เอง ณ ช่วงเวลานั้น อินโด-แปซิฟิกเป็นสถานที่แห่งความเจริญรุ่งเรือง – ไม่ใช่สถานที่แห่งความเจริญรุ่งเรือง ไม่มีอะไรคล้ายกับสิ่งที่เรารู้เห็นในปัจจุบัน เป็นเวลาหลายทศวรรษที่ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคนี้ต้องดิ้นรนหาหนทาง อินเดียได้รับอิสรภาพจากจักรวรรดิอังกฤษ และจากนั้น ปากีสถานและบังกลาเทศหันหลังให้กัน สิงคโปร์และมาเลเซียแยกทางกัน ไต้หวันและจีนแผ่นดินใหญ่แตกแยกกัน อุดมการณ์ลัทธิคอมมิวนิสต์เดินสวนสนามบนคาบสมุทรเกาหลี ในเวียดนาม ตลอดจนในอินโดนีเซีย แต่เวลาได้เปลี่ยนแปลงสถานการณ์ไป กรุงโซลเป็นที่ตั้งของบริษัทชั้นนำระดับโลก เช่น Samsung และ LG สิงคโปร์เป็นสำนักงานใหญ่ประจำภูมิภาคของ Facebook, Microsoft, Pfizer และนักกฎหมายจำนวนมาก กรุงฮานอยเต็มไปด้วยเสียงจักรยานยนต์และรถยนต์แล่นไปมา เมืองบังคาลอร์เป็นแหล่งให้บริการด้านการแก้ปัญหาไอทีแก่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก ตึกระฟ้าของกรุงไทเป – อาคารไทเป 101 เด่นตระหง่าน เป็นหนึ่งในอาคารที่สูงที่สุดของโลก แม้แต่กรุงปักกิ่งและนครเซี่ยงไฮ้ก็กลายเป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และแน่นอนคำถามที่ถูกต้องสำหรับอนาคตคือการถามว่า ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร นี่ไม่ใช่ปาฏิหาริย์ทางเศรษฐกิจ แต่ที่จริงแล้วก็ไม่ได้ถูกกำหนดไว้ล่วงหน้า ความเจริญรุ่งเรืองนี้เกิดขึ้นเนื่องจากสองปัจจัยที่มิใช่สิ่งเหนือธรรมชาติเลย นั่นคือ การค้าและเสรีภาพ เพราะผมเป็นทหารบก เลยไม่ชอบให้เครดิตอะไรกับกองทัพเรือมากนัก แต่ความจริงก็คือ – ความจริงก็คือ ทั้งในอดีตและปัจจุบันทหารเรืออเมริกันให้ความคุ้มครองเส้นทางขนส่งสินค้าทางเรือที่สำคัญของอินโด-แปซิฟิก ในขณะที่ประเทศมหาอำนาจอาณานิคมในอดีตเรียกร้องให้ยอมจำนน อเมริกายื่นเสนอความมั่นคงให้ ในเชิงเศรษฐกิจ เป็นความจริงที่ว่ารัฐบาลสร้างบริษัทยักษ์ใหญ่ชั้นนำระดับชาติบางแห่ง แต่นั่นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของเรื่องราวทั้งหมด การเจริญเติบโตที่นำโดยรัฐพาเราไปได้ถึงจุดๆ หนึ่งเท่านั้น เพราะท้ายที่สุดแล้ว ความรุ่งเรืองของมนุษย์จะเฟื่องฟูได้อย่างแท้จริงต่อเมื่อรัฐบาลถอยห่างออกไปเท่านั้น ภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกเริ่มเติบโตขึ้นอย่างจริงจังเมื่อประเทศต่างๆ ประยุกต์ใช้หลักการที่ผมกล่าวไว้ในการประชุม Global Entrepreneurship Summit (GES) ที่กรุงอัมสเตอร์ดัมช่วงฤดูร้อนที่ผ่านมา หลักการนี้ตรงไปตรงมาก นั่นคือ สิทธิ์ในทรัพย์สิน หลักนิติธรรม อัตราภาษีที่ลดลง ซึ่งเป็นการใช้กฎระเบียบของรัฐบาลควบคุมโดยรวมเพียงกว้างๆ เท่านั้น นั่นคือเมื่อพยัคฆ์แห่งเอเชียคำรามและลูกพยัคฆ์ยืนบนลำแข้งของตนเองได้ นั่นเป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในจีนแผ่นดินใหญ่เหมือนกับที่เกิดขึ้นในสิงคโปร์ ในไต้หวัน และปัจจุบันเกิดขึ้นที่นี่ในประเทศไทย บริษัทยักษ์ใหญ่ เช่น Samsung, Honda, Taiwan Semiconductor, Mahindra & Mahindra และอีกมากมายผงาดขึ้นมา และสหรัฐอเมริกาอยู่เคียงข้างท่านมาตลอดเส้นทาง ทั้งจะยืนหยัดเคียงข้างต่อไปเพื่อช่วยให้ท่านเติบโตและสานสัมพันธ์ให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น เราสร้างเอเปค เราสร้างอาเซียน รวมทั้งข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่าง โดยสหรัฐฯ ดำเนินการร่วมกับท่าน เคียงข้างท่าน สิ่งที่สำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันคือ สหรัฐฯ ลงทุนในทุนมนุษย์ของท่าน เป็นเวลาหลายทศวรรษที่หลักสูตรการศึกษาและมหาวิทยาลัยของเราได้บ่มเพาะผู้นำในเอเชียหลายพันคน ตั้งแต่ผู้นำระดับท้องถิ่นไปจนถึงผู้นำของรัฐ เอกอัครราชทูตที่สำคัญที่สุดบางส่วนของเรา – บริษัทเอกชน – เติบโตเคียงข้างท่านเพื่อผลประโยชน์ร่วมกันของเรา ผมได้เล่าเรื่องเกี่ยวกับ Cargill ให้ฟังแล้ว ขอให้ท่านพิจารณาการดำเนินการของ Chevron ที่ส่งเสริมความมั่งคั่งที่นี่ หรือ Texas Instruments ที่เอื้อความรุ่งเรืองในฟิลิปปินส์ ปัจจุบัน บริษัทอเมริกันมากกว่า 4,200 บริษัทดำเนินงานภายในภูมิภาคอาเซียน ทำการว่าจ้าง ฝึกอบรมและลงทุนในผู้คนหลายล้านคนทั่วภูมิภาค บริษัทสัญชาติสหรัฐฯ ลงทุนกว่าหนึ่งล้านล้านดอลลาร์สหรัฐในภูมิภาคนี้ ไม่มีประเทศอื่นใดที่ลงทุนได้ใกล้เคียงเลย มีคำกล่าวว่า อย่างน้อยในอเมริกามีคำกล่าวว่า เงินไม่ได้งอกตามต้นไม้ บางทีมันอาจจะงอกที่อื่น แต่ผมขอบอกท่านทั้งหลายว่า เงินจะหยั่งรากในภูมิภาคนี้เมื่อรัฐบาลทุ่มเทสรรค์สร้างปัจจัยแวดล้อมเพื่อให้เกิดสภาวะเช่นนั้น ผู้นำจากภาครัฐและภาคธุรกิจจะพูดคุยกันเกี่ยวกับแนวทางพัฒนาความมั่งคั่งให้รุ่งโรจน์ยิ่งขึ้นในการประชุมที่จัดขึ้นวันนี้และการประชุม Indo-Pacific Business Forum ในเดือนพฤศจิกายนซึ่งจะจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ เราควรภาคภูมิใจในสิ่งนี้ นี่เป็นเรื่องราวที่ยอดเยี่ยมและเป็นสิ่งที่คนไทยได้ประสบโดยตรง อัตราความยากจนที่นี่ลดลงจากร้อยละ 67 เมื่อปี 2529 เป็นร้อยละ 7.8 ในปี 2560 ซึ่งน่าทึ่งมาก ปัจจุบัน ประเทศไทยมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 20 ของโลก ขอให้ท่านลองพิจารณาประเด็นนี้ดู เราต้องการเห็นการเติบโตลักษณะนี้ในทุกประเทศทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่ว่าจะเป็นประเทศเล็กหรือประเทศใหญ่ และเราทราบ – เราทราบเพราะเราได้เห็นแล้วว่า ความเจริญรุ่งเรืองในภูมิภาคดำเนินควบคู่ไปกับนวัตกรรม ธรรมาภิบาล และหลักนิติธรรม ดังนั้น รัฐบาลภายใต้การบริหารของประธานาธิบดีทรัมป์จึงทุ่มความพยายามในการส่งเสริมอำนาจอธิปไตย ความสามารถยืดหยุ่นในการฟื้นคืนสู่ปกติ และความเจริญรุ่งเรืองของทุกประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไม่เพียงเท่านั้น แต่สหรัฐฯ ยังต้องการกระชับและขยายความสัมพันธ์ของเราในภูมิภาคนี้ด้วย กรุณาอย่าเชื่อใครก็ตามที่พยายามบอกท่านเป็นอย่างอื่น ราวสองปีที่แล้ว ประธานาธิบดีทรัมป์กำหนดนโยบายให้สหรัฐฯ มุ่งสานสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจอีกครั้ง และประวัติศาสตร์ก็ได้เผยให้ประจักษ์ถึงผลสัมฤทธิ์ของหลักการสู่ความสำเร็จนี้ นี่คือสิ่งที่ผมเพิ่งอธิบายไป ท้ายที่สุดเราทราบว่า เสรีภาพคือแหล่งกำเนิดที่แท้จริงของการฟื้นฟู สหรัฐฯ ต้องการเห็นภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกที่เสรีและเปิดกว้าง กอปรด้วยลักษณะเด่นแห่งหลักนิติธรรม การเปิดกว้าง ความโปร่งใส ธรรมาภิบาล การเคารพในอธิปไตยของแต่ละประเทศและทุกประเทศ พันธมิตรที่แท้จริง นี่คือเหตุผลที่เราสนับสนุนกฎหมาย BUILD Act ในสภาคองเกรสของเรา ซึ่งเพิ่มความสามารถทางการเงินเพื่อการพัฒนาของอเมริกาขึ้นกว่าสองเท่าเป็น 60,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ท้ายที่สุด เราเชื่อในระบอบประชาธิปไตย และเราขอชมเชยเพื่อนชาวไทยของเราที่ได้กลับมาสู่ประชาธิปไตย นอกจากนี้ สหรัฐฯ เชื่อในสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ เหตุการณ์ความไม่สงบในฮ่องกงในขณะนี้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า เจตนารมณ์และเสียงของผู้ที่อยู่ใต้การปกครองจะมีผู้ได้ยินเสมอ และสหรัฐฯ ต้องการการค้าเสรีและเป็นธรรม ไม่ใช่การค้าที่บ่อนทำลายการแข่งขัน สหรัฐฯ ต้องการให้นำเงินหลายล้านล้านดอลลาร์สหรัฐในเงินทุนของภาคเอกชนทั่วโลกที่ยังไม่ได้ลงทุนไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในภูมิภาคนี้ เราได้เห็นการกระทำเช่นนี้แล้ว นักลงทุนภาคเอกชนมีเงินมากกว่าที่รัฐบาลใดรัฐบาลหนึ่งจะสามารถมอบให้แก่ประเทศอื่นเพื่อสร้างสะพาน ท่าเรือ หรือโครงข่ายไฟฟ้า การลงทุนของสหรัฐฯ มิใช่เพื่อรัฐบาลใด และการลงทุนของเราที่นี่มิใช่ทำเพื่อพรรคการเมืองใด และผมขอกล่าวอย่างไปตรงมา… หรือเพื่อความทะยานอยากแห่งจักรวรรดินิยมของประเทศใด ไม่ใช่อย่างนั้นเลย แต่สหรัฐฯ กำลังสร้างเส้นทางที่ลาดสู่อำนาจอธิปไตยของชาติเรา สหรัฐฯ ไม่ลงเงินสร้างสะพานเพื่อปิดช่องว่างแห่งความภักดี บริษัทของเราได้รับการส่งเสริมให้ทำงานที่มีคุณภาพสูงซึ่งยังประโยชน์แก่ผู้บริโภคและประชาชน ขอให้ท่านถามตัวเอง ถามตัวเองว่า ใครยึดถือประโยชน์ประชาชนเป็นอันดับแรกอย่างแท้จริง ขุมพลังการค้าที่เคารพอธิปไตยของท่าน หรือผู้ที่เย้ยอธิปไตย ขอให้ท่านถามตัวเองว่า ใครสนับสนุนการสร้างสรรค์นวัตกรรมและการปฏิรูปอย่างแท้จริง บริษัทในภาคเอกชนหรือรัฐวิสาหกิจ ขอให้ท่านถามตัวเองว่า ใครสนับสนุนการพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจอย่างแท้จริงและไม่ส่งเสริมการพึ่งพาอาศัยผู้อื่น นักลงทุนที่ทำงานเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคของท่าน หรือผู้ที่ล่อให้ท่านติดกับหนี้สิน สหรัฐอเมริกาในวันนี้มีเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งที่สุดในโลก และผู้บริโภคของเรากำลังขับเคลื่อนความต้องการผลิตภัณฑ์ของท่าน ในทางตรงกันข้าม เศรษฐกิจของจีนกำลังเข้าสู่ภาวะปกติแบบใหม่ ซึ่งเป็นความปกติแบบใหม่ของอัตราการเติบโตที่ช้าลง ปัญหาของจีนเกิดจากสภาพภายในประเทศ แต่การที่ประธานาธิบดีทรัมป์ปะทะกับแนวปฏิบัติทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมของจีนได้ช่วยให้พวกเขามองเห็นความจริง เราต้องการแก้ไขประเด็นการค้าของเราโดยเร็วที่สุด ทั้งหมดที่เราต้องการ ทั้งหมดที่ท่านประธานาธิบดีทรัมป์เรียกร้องคือ ขอให้จีนแข่งขันอย่างเป็นธรรมกับทุกคนไม่ใช่แค่กับสหรัฐอเมริกาเท่านั้น แนวทางนี้จะยังประโยชน์ไม่เพียงแต่กับสหรัฐฯ แต่ยังประโยชน์กับท่านทั้งหลายและระบบการค้าทั่วโลกด้วย ห้วงเวลานี้เหมาะสมที่เราจะทำงานร่วมกันมากขึ้นโดยใช้แม่แบบที่ผ่านการทดสอบแห่งกาลเวลา โดยใช้หลักการที่ทำให้อเมริกาเป็นพลังที่ยังประโยชน์ในภูมิภาคนี้ – อย่างถาวร ผลการวิเคราะห์ข้อมูลของสหประชาชาติประมาณการและคาดการณ์ว่า เศรษฐกิจเอเชียในปี 2563 จะมีขนาดใหญ่กว่าประเทศอื่นๆ ทั่วโลกรวมกันซึ่งเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 อันที่จริง ชนชั้นกลางชาวเอเชียมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นมาก เอเชียเดินทางมาถึงจุดที่เติบโตเข้มแข็งอย่างแท้จริง ตอนนี้ เราต้องปกป้องผลแห่งความก้าวหน้าเหล่านั้น ขอให้เราธำรงไว้ซึ่งการค้าเสรีและเป็นธรรม ขอให้เรายืนกรานเรียกร้องการลงทุนที่โปร่งใส มีมาตรฐานสูง ที่สร้างงานในท้องถิ่น ขอให้เรายืนหยัดเพื่อสิทธิอธิปไตยของประเทศชาติและประชาชน สุดท้ายนี้ ผมรอฟังคำถามและพูดคุยเกี่ยวกับประเด็นข้องใจต่างๆ ของท่าน ในขณะที่ผมกล่าวสรุปนี้ ผมอดคิดไม่ได้ว่าเหมาะสมโดยแท้ที่ได้มานำเสนอความคิดเหล่านี้ ณ กรุงเทพฯ ประเทศไทย ประเทศไทยเป็นพันธมิตรด้านสนธิสัญญาที่เก่าแก่ที่สุดในเอเชียของสหรัฐฯ และท่านได้ธำรงซึ่งเอกราชของท่านไว้อย่างน่าภาคภูมิใจ ท่านได้ยึดมั่นในเส้นทางแห่งรัฏฐาธิปัตย์และความเป็นอิสระในการปกครองประเทศตนเอง และอเมริกาและชาวอเมริกันภาคภูมิใจที่ได้ให้การสนับสนุนความเจริญรุ่งเรืองของประเทศท่านมานานกว่าสองศตวรรษ ในปี 2378 ชายคนหนึ่งชื่อ แดน บีช แบรดลีย์ เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรไทยในฐานะหมอสอนศาสนา หมอแบรดลีย์ (หมอบรัดเลย์) นำการแพทย์แผนตะวันตกเข้ามาในไทยและรับใช้ราชสำนักสยาม เขาได้รับความไว้วางใจและมิตรภาพจากพระมหากษัตริย์ในอนาคตของสยามหลังได้รักษาความเจ็บป่วยร้ายแรงของเจ้าฟ้าชายพระองค์นั้น นอกจากนี้ เขายังนำแท่นพิมพ์อักษรไทยเครื่องแรกเข้ามาในสยามและก่อตั้งหนังสือพิมพ์ภาษาไทยฉบับแรกภายใต้ชื่อ หนังสือจดหมายเหตุ (The Bangkok Recorder) แต่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่านั้นคือ เขาได้นำความรู้เข้าสู่สยามอันเป็นบ่อเกิดแห่งมิตรภาพ มรดกของหมอแบรดลีย์ยิ่งใหญ่กว่านั้น เพราะมรดกของท่านมิได้ยุติแค่ตรงนั้น โซเฟีย ลูกสาวของเขาเปิดโรงเรียนเล็กๆ ในบ้านของเธอเพื่อมอบโอกาสทางการศึกษาที่เท่าเทียมกันแก่เด็กผู้หญิง โรงเรียนแห่งนี้เติบโตขึ้นเรื่อยๆ จนถึงทุกวันนี้ ดาราวิทยาลัยเป็นโรงเรียนเอกชนที่ได้รับความนับถือเป็นอย่างมากในประเทศไทย เกร็ดประวัติศาสตร์เล็กๆ นี้บ่งชี้ว่า เป็นเวลาหลายศตวรรษที่สิ่งสืบทอดจากคนรุ่นก่อนของอเมริกาได้เป็นส่วนหนึ่งแห่งความเป็นหุ้นส่วนระหว่างเรา มิใช่จากเพียงแค่ความสัมพันธ์ระดับรัฐบาล อเมริกาสรรค์สร้างสิ่งต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน และเราสร้างให้ยืนยง ประธานาธิบดีทรัมป์และคณะรัฐบาลของเรามุ่งมั่นสานต่อพันธกรณีนี้ ขอให้พระผู้เป็นเจ้าประทานพรแด่ท่านทั้งหลาย และผมรอรับฟังคำถามครับ ขอบคุณทุกท่านที่มาร่วมงานในเช้านี้ (เสียงปรบมือ) คุณอามิน:สวัสดีค่ะท่านรัฐมนตรีปอมเปโอ ยินดีต้อนรับกลับสู่เอเชียสำหรับการเดินทางมาเอเชียครั้งที่สามของท่าน สิ่งนี้แสดงถึงความมุ่งมั่นในการสร้างสัมพันธ์กับภูมิภาคนี้ดังท่านได้กล่าวมาแล้ว ท่านกล่าวถึงการสร้างความสัมพันธ์กับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กับเอเชีย ทั้งการกระชับความสัมพันธ์และสัมพันธภาพทางการค้า แต่เมื่อเช้านี้ เราตื่นขึ้นมาฟังข่าวประธานาธิบดีทรัมป์เตรียมขึ้นอัตราภาษีนำเข้าร้อยละ 10 สำหรับสินค้าจีนมูลค่า 300,000 ล้านดอลลาร์เพิ่มเติมจากจำนวนเดิม ฟังดูไม่ดีกับโลกเรานะคะ ไม่ดีกับเอเชีย ไม่ดีกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยค่ะ เกิดอะไรขึ้นระหว่างการเจรจาเหล่านั้นคะ บางคนพูดว่า มีการบรรลุผลบางประการเพราะมีแผนสำหรับการเจรจาในเดือนกันยายน การเจรจาเหล่านั้นเลวร้ายขนาดไหนคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: จะมีการเจรจาที่กรุงวอชิงตันในเดือนกันยายน แต่ขอกลับมาที่หลักการแรกก่อนนะครับ จีนได้แสวงประโยชน์จากการค้ามานานหลายทศวรรษ แสวงประโยชน์จากการค้ากับสหรัฐอเมริกา และแสวงประโยชน์จากการค้ากับประเทศในเอเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บัดนี้ ถึงเวลาที่การแสวงประโยชน์นั้นต้องยุติลง ประธานาธิบดีทรัมป์กล่าวว่า เราจะแก้ไขปัญหานี้ และการแก้ไขปัญหานั้นจำต้องมีความเด็ดเดี่ยว และผมคิดว่านั่นคือสิ่งที่คุณเห็นเมื่อเช้านี้ ท่านประธานาธิบดีมุ่งมั่นที่จะบรรลุผลสัมฤทธิ์นี้ สิ่งที่เราเรียกร้องนั้นเป็นเรื่องง่ายมาก อันที่จริงฝ่ายจีนก็เห็นด้วยในระดับหนึ่ง แต่แล้วก็ทิ้งข้อตกลงนั้นไป คุณอามิน: ถ้าอย่างนั้นสิ่งที่สหรัฐฯ เรียกร้องคืออะไรคะ ปมปัญหาอยู่ที่บริษัท Huawei หรือเปล่าคะ สามารถประนีประนอมกันได้ไหมคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ไม่ใช่ครับ นี่ไม่ใช่เรื่องของ – เรื่องนี้ใหญ่โตกว่านั้นมาก คือเรื่องสมมุติฐานกลางว่าด้วยแนวทางดำเนินการค้าขายทั่วโลก สมควรไหมหากประเทศที่เคยอยู่ในสถานะกำลังพัฒนายังคงฉกฉวยเอาเปรียบในเมื่อไม่ได้อยู่ในสถานะนั้นอีกแล้ว สมควรไหมหากประเทศจะตั้งอัตราภาษีศุลกากรสูงลิ่วหากฝ่ายคู่ค้าในความตกลงไม่กระทำเช่นนั้น เป็นเรื่องที่ยอมรับได้ไหมหากจะตั้งอัตราภาษีศุลกากรและอุปสรรคทางการค้าต่อบริษัทอเมริกันที่ลงทุนในจีนโดยที่สหรัฐฯ เปิดกว้างต่อการลงทุนเช่นนี้ สิ่งที่สหรัฐฯ เรียกร้องนั้นเรียบง่ายมาก คือสิ่งที่คุณ – คือหลักจริยธรรมนั่นเอง นี่คือสิ่งที่คุณสอนลูกของคุณนะครับ ปฏิบัติต่อผู้อื่นดังเช่นที่คุณหวังให้เขาปฏิบัติต่อคุณ เราต้องการความเป็นธรรม ความเท่าเทียม และการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน เหล่านี้คือแนวคิดที่สำคัญ คือสิ่งที่ผมกล่าวถึง เมื่อสิ่งนี้เกิดขึ้นแล้วเอเชียจะรุ่งเรือง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะรุ่งเรือง ระบบการค้าระหว่างประเทศของสหรัฐฯ จะรุ่งเรือง แต่จะไม่อาจเป็นเช่นนั้นได้หากประเทศใดประเทศหนึ่งใช้นโยบายคุ้มครองการค้าเพื่อปกป้องสินค้าของตน รวมถึงใช้กลยุทธ์ขจัดคู่แข่งขันตัดโอกาสเติบโตของเศรษฐกิจประเทศอื่น คุณอามิน: แล้วต้องแลกมาด้วยอะไรคะ เราเห็นดัชนี PMI ทั่วโลกชะลอตัวลง เราเห็นประเทศทั่วโลกปรับลดตัวเลขประมาณการการเติบโต ดิฉันหมายความว่า ใช่ค่ะ สหรัฐฯ อยู่ในจุดที่สามารถเป็นผู้นำในการเติบโตของเศรษฐกิจโลกได้ แต่กับทรัมป์ ประธานาธิบดีทรัมป์กล่าวว่าจะรีดเค้นเก็บภาษีจากจีนให้ถึงที่สุด นี่ก็มีนัยเชิงลบนะคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: นัยเชิงลบจากพฤติกรรมแย่ๆ ในส่วนของจีนที่ทำมาหลายสิบปีนั่นมีอยู่แล้วครับ คุณอามิน: ถ้าลองพิจารณาแนวทางที่สหรัฐฯ – รัฐมนตรีปอมเปโอ: นัยที่ส่งผลเชิงลบต่อธุรกิจทุกรายในห้องนี้ และสหรัฐฯ จะแก้ไขสิ่งนี้ครับ คุณอามิน: ตอนนี้มีการตรวจสอบบริษัทสัญชาติจีนอย่างกว้างขวางขึ้น โดยเฉพาะที่ดำเนินการผ่านคณะกรรมาธิการกำกับและดูแลการลงทุนจากต่างประเทศของสหรัฐฯ (Committee on Foreign Investment in the United States) ที่ท่านเองก็มีบทบาทสำคัญในนั้น เมื่อลองพิจารณาข้อมูลของ Bloomberg จะเห็นว่ามีบริษัทสัญชาติจีนประมาณ 173 บริษัท มูลค่าราว 750,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่ยังดำเนินกิจการอยู่และจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในอเมริกา 750,000 ล้านนี้แค่บริษัทสัญชาติจีนในสหรัฐฯ เท่านั้น ท่านอาจกำลังส่งสารแง่ลบต่อบริษัทเหล่านี้ที่สนใจนำเงินเข้าประเทศของท่านหรือไม่อย่างไรคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ไม่ครับ เรายินดีต้อนรับเงินลงทุนที่เข้ามาในอเมริกาเสมอ สิ่งที่เราต้องการตรวจสอบให้แน่ชัดคือฐานวิถีที่เงินลงทุนเหล่านี้หลั่งไหลเข้าสหรัฐฯ เราต้องการดำเนินการให้มั่นใจว่าเงินลงทุนจากอเมริกาที่ปรารถนาเข้ามายังภูมิภาคนี้ เข้าไปยังจีน จะทำเช่นนั้นได้โดยเท่าเทียมและเป็นธรรม เราอยากแน่ใจว่าเงินทุนเหล่านี้จะไม่เป็นภัยคุกคามต่อสหรัฐอเมริกา สิ่งเหล่านี้คือเกณฑ์ขั้นต่ำ คือมาตรฐานขั้นพื้นฐาน คือสิ่งที่ทุกประเทศพึงกระทำเพื่อปกป้องอธิปไตยของตน ดังนั้น ไม่ครับ สารที่เราส่งถึงพวกเขาคือ “มาเถอะ มาอเมริกา เข้ามามีส่วนร่วม เข้ามาโดยยึดถือหลักกฎหมาย เข้ามาด้วยวิธีการที่โปร่งใส อย่าให้เงินอุดหนุนแก่ประเทศเหล่านั้น อย่าสร้างผู้ชนะด้วยวัตถุประสงค์ทางการเมือง จงเปลี่ยนวัตถุประสงค์เหล่านั้นให้เป็นด้านเศรษฐกิจ หากทำเช่นนี้ บริษัทสัญชาติจีนมากมายจะเข้ามาในอเมริกา เข้ามาแข่งขัน และประสบความสำเร็จอย่างยิ่งยวด สหรัฐฯ ยินดีต้อนรับ” คุณอามิน: ถึงกระนั้น (ฟังไม่ได้ยิน) บ้างกล่าวว่า ปมปัญหาความตึงเครียดทางการค้าระหว่างสหรัฐฯ กับจีนแท้จริงแล้วคือความเข้าใจผิดระดับพื้นฐานในมุมมองของสหรัฐฯ ต่อจีน ที่ว่าจีนในปัจจุบันแตกต่างจากจีนเมื่อ 20 ปีก่อน และจีนในปัจจุบันต้องการเวลาเพื่อปฏิรูปและปฏิรูปตามจังหวะเวลาของตนเอง มุมมองนี้มีตรงไหนเข้าใจคลาดเคลื่อนไปไหมคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ผมไม่มั่นใจว่าจะตอบอย่างไรดี – เมื่อคืนก่อน – วันก่อนผมได้มีโอกาสพบกับ ดร. คิสซินเจอร์ ท่านมาเยี่ยมกระทรวงการต่างประเทศเพื่อร่วมฉลองครบรอบ 230 ปีของการก่อตั้งกระทรวง เราพูดคุยถึงประเด็นนี้ด้วย นั่นคือความคิดที่ว่าหากจีนเปิดประตูเศรษฐกิจ จีนก็จะเริ่มก้าวเข้าสู่การแข่งขันอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้ยังไม่เกิดขึ้น นั่นจึงเป็นสิ่งที่เราพยายามขับเคลื่อน เป็นสิ่งที่สำคัญมากครับ คุณอามิน: จากบทสนทนานั้น หากมีสิ่งหนึ่งที่จีนจำเป็นต้องกระทำทันทีเพื่อปัดป้องภาษีศุลกากรเพิ่มเติม สิ่งนั้นคืออะไรคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ครับ – คุณอามิน: แค่ก้าวแรกก้าวเดียวที่ต้องดำเนินการน่ะค่ะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ขอโทษครับ ผมไม่ได้มีบทบาทเกี่ยวข้องโดยตรงในการเจรจาการค้า แต่มีข้อตกลงฉบับหนึ่งที่เคยเจรจากันก่อนหน้านี้ซึ่งเอื้อให้สหรัฐฯ อยู่ในสถานะที่ดีมากๆ ดังนั้น ขั้นแรกจีนอาจต้องถอยกลับมาก่อน อย่างน้อยก็กลับมาอยู่ในจุดเดียวกับตอนเจรจาข้อตกลงฉบับนั้น คุณอามิน: ก่อนหน้านี้ท่านกล่าวถึงฮ่องกงและพูดถึงการที่รัฐบาลควรรับฟัง ลือกันว่าอาจมีการเตรียมรวบรวมกำลังพลในพื้นที่พรมแดนรอจังหวะเคลื่อนไหวหากสถานการณ์แย่ลง ท่านคิดว่าสิ่งนี้จะเกิดขึ้นไหมคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ผมคิดว่าประธานาธิบดีทรัมป์แสดงออกไว้ชัดเจนแล้ว สหรัฐฯ ขอเพียงให้จีนกระทำสิ่งที่ถูกต้อง การรับรองว่าพลเมืองทุกคนมีสิทธิแสดงออกความรู้ผิดรู้ชอบ ความคิดเห็นของตนนั้นเป็นสิ่งที่อเมริกาถือปฏิบัติมายาวนาน เราหวังให้ทั่วโลกเป็นเช่นเดียวกันนี้ รวมทั้งในจีนด้วย ผมหวังว่าสถานการณ์ในฮ่องกงจะดำเนินไปในทิศทางที่ไม่เกิดความรุนแรง ความรุนแรงไม่ก่อประโยชน์ต่อฝ่ายใดในภูมิภาคนี้ และเราหวังว่าไม่ว่าแห่งหนใดก็ตามที่พลเมืองต้องการแสดงออกความคิดเห็น ทั้งที่สนับสนุนหรือเป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลหนึ่งรัฐบาลใด พวกเขาจะได้รับอนุญาตให้ทำเช่นนั้นได้ คุณอามิน: แต่ประธานาธิบดีทรัมป์ก็กล่าวไว้ชัดเจนว่านี่เป็นเรื่องของจีน เป็นเรื่องของฮ่องกง หากกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน (People’s Liberation Army) เคลื่อนกำลังข้ามชายแดนเข้าฮ่องกง ลงมายังท้องถนนของฮ่องกง สหรัฐฯ จะใช้กำลังทหารอะไรไหมคะ จะพิจารณาเคลื่อนกำลังเข้ามาปกป้องฮ่องกงไหมคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: อย่างหนึ่งที่รัฐบาลชุดนี้ทำได้ดีเยี่ยมคือไม่สะเพร่าหลุดเผยว่าเราจะทำหรือไม่ทำอะไร และผมก็ตามนั้นครับสำหรับเช้านี้ คุณอามิน: (เสียงหัวเราะ) โอเคค่ะ เข้าใจแล้ว (เสียงหัวเราะ) มาพูดถึงเกาหลีเหนือกันบ้างค่ะ ดูเหมือนว่าประธานาธิบดีทรัมป์ให้เกียรติและให้เวลาพบปะกับเกาหลีเหนือมากทีเดียว มีการจัดการประชุมสุดยอดถึงสองครั้งแล้ว ท่านเดินทางไปยังเกาหลีเหนือ ท่านเป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ คนแรกที่เดินทางไปยังเกาหลีเหนือขณะดำรงตำแหน่ง อีกทั้งยังเสนอว่าอาจเชิญประธานคิมเยือนกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เหมือนว่าสหรัฐฯ หยิบยื่นให้มากมายเพื่อผลตอบแทนน้อยนิด นี่เป็นเพราะเรากลับมาที่ศูนย์อีกครั้งหลังจากที่เกาหลีเหนือต้อนรับท่านเยือนเอเชียด้วยการยิงขีปนาวุธ ท่านคิดเห็นอย่างไรกับเรื่องนี้คะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ผมคิดว่าคุณกล่าวไม่ถูกต้องนัก การพบหารือกับประธานคิมไม่ได้หยิบยื่นอะไรให้ท่านทั้งนั้น หากแต่เป็นความพยายามทางการทูตต่อเกาหลีเหนือเพื่อบรรลุผลลัพธ์ที่ไม่เคยสัมฤทธิ์ผลมาตลอดหลายทศวรรษ เราลองมาหลายแนวทางแต่ก็ล้วนไม่ประสบผลสำเร็จ ผมจึงเป็น – สมัยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลาง ผมเป็นคนแรกที่เดินทางไปพบประธานคิมเพื่อเปิดโอกาสนี้ เราทั้งสองฝ่ายยังมีการดำเนินการร่วมกันอยู่ สหรัฐฯ หวังว่าเกาหลีเหนือจะจัดคณะทำงานขึ้นอีกครั้งและมาพบหารือกับเราในเร็ววัน แต่ต้องระลึกไว้ว่า คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติยังคงมาตรการคว่ำบาตรขั้นเข้มงวดที่สุดเท่าที่เคยบังคับใช้ต่อเกาหลีเหนือไว้เต็มพิกัด เราร่วมงานกับนานาประเทศทั่วโลก หลายประเทศในภูมิภาคนี้ปฏิบัติตามมาตรการเหล่านี้เป็นอย่างดี โดยเป็นความพยายามเพื่อให้แน่ใจว่าเราจะมีสมรรถภาพพอผลักดันสิ่งที่ประธานคิมให้คำมั่นไว้เมื่อเดือนมิถุนายนที่สิงคโปร์ เมื่อเดือนมิถุนายนปีที่แล้วที่สิงคโปร์ นั่นคือการปลดอาวุธนิวเคลียร์จากเกาหลีเหนือโดยสมบูรณ์ แลกกับอนาคตอันสดใสกว่าสำหรับประชาชนชาวเกาหลีเหนือ ตามที่ประธานาธิบดีทรัมป์บอกไว้ คุณอามิน: การยิงขีปนาวุธนี้ขัดต่อมติสหประชาชาติ สหรัฐฯ จะอดทนได้ถึงไหนคะ ถึงจุดไหนที่ท่านจะตัดสินใจกระชับมาตรการคว่ำบาตร ดำเนินการกับเรื่องนี้ และส่งสารไปยังเกาหลีเหนือว่าการกระทำเช่นนี้เป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ รัฐมนตรีปอมเปโอ: คุณไม่ควรต้องสงสัยในสิ่งที่เรากำลังสื่อสารกับฝ่ายเกาหลีเหนือเลย การเจรจาหารือดำเนินอยู่ตลอดแม้กระทั่งตอนที่เรากำลังคุยกันอยู่นี้ ทว่าหนทางการทูตมักเต็มไปด้วยอุปสรรคกระทบกระทั่ง การหารือซ้ำไปซ้ำมา ก้าวหน้าบ้าง ถอยหลังบ้าง สหรัฐฯ ยังคงยึดมั่นเต็มที่ในการบรรลุผลลัพธ์ตามที่ตั้งไว้ นั่นคือการปลดอาวุธนิวเคลียร์ในเกาหลีเหนือที่ได้รับการพิสูจน์ยืนยันโดยสมบูรณ์ อันกระทำผ่านการดำเนินการทางการทูต คุณอามิน: ท่านมั่นใจแค่ไหนคะว่าจะไปถึงจุดนั้นได้ รัฐมนตรีปอมเปโอ: เราพยายามอยู่ครับ คุณอามิน: (เสียงหัวเราะ) มีกรอบเวลาที่พิจารณาไว้ไหมคะ ดิฉันหมายความว่า การเจรจาไม่อาจยืดยาวตลอดไปได้ ถึงขั้นไหนที่ท่านจะเริ่มปฏิบัติต่อเกาหลีเหนือด้วยท่าทีที่แข็งกร้าวมากขึ้นคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ผมว่าท่าทีของเราแข็งกร้าวที่สุดเท่าที่เคยมีมาแล้วครับ คุณอามิน: ท่านเคย – รัฐมนตรีปอมเปโอ: ที่คุณบอกว่า ท่าทีที่แข็งกร้าวขึ้น หากคุณย้อนกลับไปดูรายข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ แล้วไม่ดูแค่ตัวข้อมติ แต่พิจารณาประสิทธิภาพของนานาประเทศในการบังคับใช้ข้อมติเหล่านี้ด้วย ผมว่าคงจินตนาการได้ยากว่ามีการใช้มาตรการคว่ำบาตรชุดใดที่เข้มงวดกว่านี้อีก ให้เวลาเราได้มีโอกาสนี้ นี่คือสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมสำหรับโลก การดำเนินความพยายามทางการทูตนี้ต่อไปคือแนวทางที่ถูกต้อง ณ วันนี้ สิ่งนี้คือแนวทางที่ถูกต้อง โดยประธานาธิบดีทรัมป์และผมรวมถึงฝ่ายความมั่นคงแห่งชาติจะประเมินแนวทางนี้ต่อไปพร้อมกับคู่ความร่วมมือของเราในญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ จีน รัสเซีย ทุกฝ่ายที่ต้องการเห็นเกาหลีเหนือปลดอาวุธจะยังคงสืบสานดำเนินงานกับชุดปัญหานี้ต่อไป คุณอามิน: เราจะได้เห็นการประชุมสุดยอดครั้งที่สามในเร็ววันนี้ไหมคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: รอติดตามนะครับ คุณอามิน: (เสียงหัวเราะ) ท่านรู้สึกผิดหวังไหมคะที่รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีเหนือไม่ได้เดินทางมาที่นี่ เลยพลาดโอกาสเจรจาไป รัฐมนตรีปอมเปโอ: ผมหวังว่าจะมีโอกาสพูดคุยกับท่าน ผมหวังว่าทางฝ่ายนั้นจะมาที่นี่ ผมคิดว่านั่นคงเปิดโอกาสให้เราได้สนทนากันอีก หวังว่าอีกไม่นานผมจะได้มีโอกาสนั้นครับ คุณอามิน: แต่ท่านจะคาดหวังได้อย่างไรว่ามีโอกาสเจรจาหารือหากรัฐมนตรีฝ่ายนั้นไม่ยอมมาพูดคุยด้วยคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ขณะนี้มีการเจรจาหารือกันมากมายครับ คุณอามิน: ท่านกังวลแค่ไหนคะกับการที่นายคิม จอง อึน ดำเนินโครงการขีปนาวุธ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ครับ ตลอดมานั้น – เรากังวลกันตลอดใช่ไหมครับ ประธานาธิบดีทรัมป์กำหนดให้การไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์เป็นหัวใจของงานที่เราทำ ไม่ว่าจะเป็นการดำเนินงานของเรากับอิหร่าน การดำเนินงานของเราในเกาหลีเหนือ ประธานาธิบดีทรัมป์เข้าใจครับว่า เรากำลังประสานงานเกี่ยวกับการหารือยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงกับรัสเซีย ทั้งหมดนี้มีแนวคิดหลักร่วมกัน นั่นคือความเสี่ยงจากอาวุธนิวเคลียร์และการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์นั้นมีอยู่จริงและเป็นอันตรายร้ายแรง ดังนั้น ครับ ผมหวังอย่างยิ่งให้การหารือกับเกาหลีเหนือเดินหน้าต่อไป เราอยากผ่านพ้นขั้นตอนการหารือไปยังการลงมือปฏิบัติในพื้นที่จริงแล้ว นั่นคืองานของเรา นั่นคือภารกิจที่ท่านประธานาธิบดีมอบหมายไว้แก่ผม และเรากำลังทำงานอย่างแข็งขันเพื่อบรรลุถึงจุดนั้นโดยไวที่สุดเท่าที่เราจะทำได้ คุณอามิน: ท่านคิดว่าจีนเข้ามามีบทบาทตรงนี้ได้อย่างไรบ้างคะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: บทบาทสำคัญเลยครับ และพวกเขาก็ได้ทำแล้ว ผมขอชื่นชมความพยายามของจีนในการบังคับใช้มาตรการตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ พวกเขาเป็นปราการป้องกันที่แท้จริง พวกเขาให้ความช่วยเหลืออย่างดี ผมพบกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของจีนเมื่อวานนี้ เราพูดคุยกันเรื่องนี้อีกครั้ง ฝ่ายจีนเน้นย้ำเป้าหมายเพื่อมุ่งสู่ทางออกของปัญหานี้ด้วยการทูต ตลอดจนยืนยันว่าจะยังคงยึดมั่นปฏิบัติตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คุณอามิน: ท่านรัฐมนตรีปอมเปโอคะ ดิฉันได้รับแจ้งให้เข้าบทสรุปการสนทนาแล้ว แต่ขอคำถามสุดท้ายอีกข้อนะคะ ในเมื่อท่านกล่าวถึงอิหร่านแล้ว สหรัฐฯ พยายามสกัดกั้นการส่งออกน้ำมันของอิหร่าน ทว่ายังมีความกังวลอยู่ว่าพันธมิตรในเอเชียของท่านอาจยังนำเข้าน้ำมันจากอิหร่านอยู่ ท่านคิดเห็นอย่างไรคะ ตั้งใจว่าจะดำเนินการอะไรไหม รัฐมนตรีปอมเปโอ: คำนวณง่ายๆ นะครับ ก่อนบังคับใช้มาตรการคว่ำบาตร อิหร่านส่งออกน้ำมันไปทั่วโลกกว่า 2.7 ล้านบาร์เรลต่อวัน ตัวเลขของเดือนมิถุนายนและเดือนกรกฎาคมนั้นในเดือนหนึ่งเหลือต่ำกว่า 500,000 บาร์เรล ซึ่งน่าจะค่อนไปทางศูนย์มากกว่าทาง 500,000 ด้วย มาตรการคว่ำบาตรมีประสิทธิภาพมากครับ และเราบังคับใช้ทุกที่ เราจะบังคับใช้มาตรการเหล่านี้กับบริษัทใดหรือประเทศใดที่ยังละเมิดการคว่ำบาตรนี้ เราได้ดำเนินการคว่ำบาตรบริษัทหนึ่งในจีนแล้ว และจะดำเนินการเช่นนี้ต่อไป จำเป็นอย่างยิ่งที่เราจะต้องปฏิเสธไม่ให้อญาโตลลอฮ์และสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านมีทรัพย์สินและทรัพยากรสำหรับสร้างโครงการนิวเคลียร์ที่สามารถคุกคามทุกคนบนโลกได้ คุณอามิน: ขอจบแต่เพียงเท่านี้นะคะ ท่านรัฐมนตรีปอมเปโอ ขอบคุณที่สละเวลาในวันนี้ค่ะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ขอบคุณมากครับ คุณอามิน: ขอบคุณที่แบ่งปันทัศนะของท่านค่ะ รัฐมนตรีปอมเปโอ: ขอบคุณครับ คุณอามิน: ท่านสุภาพสตรีและสุภาพบุรุษคะ ขอบคุณที่ติดตามค่ะ (เสียงปรบมือ) โดย U.S. Embassy Bangkok | 2 สิงหาคม, 2019 | ประเภท: ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก
REMARKS MICHAEL R. POMPEO, SECRETARY OF STATE SIAM SOCIETY BANGKOK, THAILAND AUGUST 2, 2019 SECRETARY POMPEO: Good morning, everyone. Peter, thank you for the kind introduction. I also want to thank the Siam Society and your president for hosting me. I know too we have many prominent businesspeople here in the room with us today. I want to recognize Greg Bastion, the president of AmCham Thailand. He’s a West Point grad, so that’s always good. I especially want to thank the incoming Thai ambassador to the United States as well for joining us here today. Thank you for being here, sir. And there’s no bigger VIP than my wife, Susan, who’s sitting in the front row as well. (Laughter.) All right, I hit my mark on that one, it’s all good. (Laughter.) This is my first visit to Bangkok as the Secretary of State. I’ve been here before. I’ve been in the region many, many times. It’s special to be here in this place at this time. The United States has a long, cherished relationship, as the charge said, of 200 years. And I know we will remain great and good friends for the next two centuries as well. This place that we’re standing today has a motto. Siam Society’s motto is, quote, “Knowledge gives rise to friendship.” In that spirit, I’d like to share with you today my perspective on our economic engagement in the region. I don’t know that any element of our relationship could be more important. It is a history that has been forgotten at times, and worse, distorted by those who don’t have our mutual best interests at heart. It’s a story of partnerships which were once unimaginable, but are now absolutely indispensible to all of us. It’s the story of a country that really seeks win-win propositions. It’s a story of American principles and Asian prosperity. Let me tell you about the Anurak family from right here in Thailand. Not so long ago, Mr. Anurak was a foreman at a construction company and his wife was a nurse. A nice middle class life, yes. But they wanted something more. They wanted something more for their children, as all families do. They started a small chicken farm. In 2006, the American company Cargill, which was invested in Thailand beginning in 1968, discovered them. They worked with the family to improve productivity, to improve efficiency, to help them with management techniques. That partnership with America worked out pretty darn well. Today, that one farm has become five, and they earn an average of $78,000 each and every month. And when they’re ready to grow further, they know they have a solid partner in that great American business. This astounding prosperity is a far cry from the devastation and uncertainty that engulfed Asia after World War II, which really wasn’t that long ago. Back then, the Indo-Pacific was a place of prosperity – wasn’t a place of prosperity, not anything like what we know today. For many decades, nations here struggled to find their path. India won its independence from the British Empire, and then Pakistan and Bangladesh went their separate ways. Singapore and Malaysia parted paths. Taiwan and Mainland China diverged. Communist ideology was on the march on the Korean Peninsula, and in Vietnam and in Indonesia as well. But look how times have changed: Seoul is home to world-class companies like Samsung and LG. Singapore serves as the regional headquarters to Facebook, Microsoft, Pfizer, and a lot of lawyers. Hanoi hums with motorbikes and cars zipping around. Bangalore provides IT solutions to the entire world. Taipei’s skyline – its skyline is dominated by Taipei 101, one of the world’s tallest buildings. And even Beijing and Shanghai have become economic engines. And of course, the right question for the future is to ask: How did this all happen? It wasn’t an economic miracle, and in fact, it wasn’t preordained. This prosperity happened because of two very earthly factors: trade and freedom. Now, I’m an Army guy, and I don’t like to give the Navy credit for much of anything, but the truth is – the truth is the key shipping lanes of the Indo-Pacific were and are today protected by American sailors. And where colonial powers once demanded submission, America offered security. Economically, it’s true. It’s true that governments created some national championship companies, but that’s only part of the story. State-led growth only gets you so far. Because in the end, human flourishing only really blossoms when governments step back. The Indo-Pacific region only really took off when nations adopted the formula that I talked about at the Global Entrepreneurship Summit in Amsterdam this past summer. It’s really very simple: property rights, the rule of law, lower taxes, an overall lighter touch from government regulation. That’s when the Asian tigers roared and cubs stood on their own. That was as true in Mainland China as it was in Singapore, as it was in Taiwan, and now here in Thailand. Homegrown giants like Samsung, Honda, Taiwan Semiconductor, Mahindra & Mahindra, and so many more emerged. And the United States was there. It was there with you all the way and it will be, helping you grow and forging ever-closer ties. We built APEC, we built ASEAN, and the Lower Mekong Initiative, and we did so with you, alongside of you. Importantly too, we invested in your human capital. Our educational programs and universities have nurtured thousands of Asian leaders for decades, from local leaders to heads of state. And some of our most important ambassadors – private businesses – grew alongside you to our mutual benefit. I told you the story about Cargill. Look at how Chevron has spurred prosperity here, or Texas Instruments in the Philippines. Today, more than 4,200 American companies operate within ASEAN, employing, training, investing in millions of people all across the region. U.S. companies have over a trillion dollars invested in the region. There is no other country anywhere that even comes close. They say, at least in America, that money doesn’t grow on trees. Perhaps it does elsewhere. But I will tell you this: Money does take root in this region when governments work hard to set the conditions for it to do so. And leaders from government and businesses will talk about how to grow prosperity further today in the meetings we’ll have and then at the Indo-Pacific Business Forum this November, held right here in Bangkok. We should be proud of this. This is a great story, and it’s one the Thai people have lived firsthand. The poverty rate here has declined from 67 percent back in 1986 to 7.8 percent in 2017. That’s remarkable. Thailand now has the 20th largest economy in the world. Think about that. We want to see this kind of growth across all of Southeast Asia, for countries big and small. And we know – we know because we’ve seen that regional prosperity goes hand-in-hand with innovation, with good governance, and with the rule of law. And so the Trump administration is invested in the sovereignty, in the resilience, and prosperity of every Southeast Asian nation. And not only that, not only that, we want to strengthen and expand our relationship here. And don’t believe anyone who tries to tell you otherwise. Nearly two years ago, President Trump recommitted the United States to economic ties, and the formula for success has been borne out by history. It’s the one that I just described. We know in the end that liberty is the true source of rejuvenation. We want a free and open Indo-Pacific that’s marked by the core tenants of the rule of law, of openness, of transparency, of good governance, of respect for sovereignty of each and every nation, true partnerships. It’s why we supported the BUILD Act in our Congress, which has more than doubled America’s development finance capacity to $60 billion. In the end, we believe in democracy, and we commend the – our Thai friends for returning to the democratic fold. We also believe in human rights and freedom. The current unrest in Hong Kong clearly shows that the will and the voice of the governed will always be heard. And we want free and fair trade, not trade that undermines competition. We want the trillions of dollars in uninvested private capital all around the world to be put to work in this region. We’ve seen this. Private investors have exponentially more money than any one government could ever bestow on any other country to build bridges, or ports, or electricity grids. Our investments don’t serve a government, and our investments here don’t serve a political party, or frankly, a country’s imperial ambitions. No, we are building roads to pave our national sovereignty. We don’t fund bridges to close gaps of loyalty. Our companies are incentivized to do high-quality work that benefits consumers and citizens. Ask yourself this, ask yourself: Who really puts the people’s interests first, a trading power that respects your sovereignty, or one that scoffs at it? Ask yourself this: Who really fosters innovation and reform, private sector companies, or state-owned enterprises? Ask yourself this: Who really encourages self-sufficiency and not dependence, investors who are working to meet your consumers’ needs, or those who entrap you in debt? The United States today has the strongest economy in the world, and our consumers are driving demand for your products. In contrast, China’s economy is entering a new normal – a new normal of ever-slower growth. China’s problems are homegrown, but President Trump’s confrontation of China’s unfair trade practices has helped shine a light on them. We’d like our trade matters resolved as quickly as possible. All we want, all President Trump has ever asked for, is for China to compete on a level playing field with everyone, not just with the United States. This will benefit not only us, but you, and the global trading system as well. The time is right to do more together, using the model that has stood the test of time, using the formula that’s made America a force for good in this region – permanently. One analysis of UN data estimates and predicts that for the first time since the 19th century, Asian economies in 2020 will be larger than the rest of the world combined. Indeed, the Asian middle class has exploded. Asia has truly come of age. Now we must protect those gains. Let’s keep trade free and fair. Let’s insist on transparent, high-standard investment that creates local jobs. Let’s stand up for the sovereign rights of nations and peoples. As I close today, I’m looking forward to taking questions and talking about issues that are on your mind. As I close, I can’t help but think of how fitting it is to put forth these ideas right here in Bangkok, Thailand. Thailand is our oldest treaty partner in Asia. You’ve proudly maintained your independence. You’ve held to the path of sovereignty and national autonomy. And America and Americans have proudly supported your rise for more than two centuries. In 1835, a man named Dan Beach Bradley first came to the Kingdom of Siam as a missionary physician. Dr. Bradley brought with him Western medical practices and served the royal court. He gained the trust and friendship of the future king of Siam, after treating the prince’s serious illness. He also brought the first Thai script printing press to Siam and founded the first newspaper,The Bangkok Recorder. But most importantly, he brought knowledge that gave rise to friendship. Dan’s legacy is bigger than that, because it didn’t stop there. His daughter Sophia opened a small school in her home to offer equal educational opportunities to girls. It grew, and to this day the Dara Academy is a well-respected private school right here in Thailand. The anecdote points to this: For centuries, America’s legacy has been of our partnership – and not just through our government. America builds things for mutual good. And we build them to last. President Trump and our administration will continue that commitment. God bless you, and I look forward to taking some questions. Thank you all for being here with me this morning. (Applause.) MS AMIN: Good morning, Secretary Pompeo. Welcome back, your third trip to Asia. That shows some commitment to the region after what’s been said. You talked about building ties with Southeast Asia, with Asia, deepening ties and deepening trade. And yet, this morning we woke up to President Trump intending to slap 10 percent tariffs on additional $300 billion worth of Chinese goods. That doesn’t bode well for the world, not for Asia, not for Southeast Asia. What happened during those talks? Which people say something was achieved because there are plans for the talks in September. How bad were they? SECRETARY POMPEO: So there are talks that will begin in Washington in September. But back to first principles. For decades, China has taken advantage of trade, taking advantage of trade versus the United States of America, and taking advantage of trade versus countries in Asia and Southeast Asia, and it’s time for that to stop. And President Trump has said we’re going to fix this, and to fix it requires determination, and that’s, I think, what you saw this morning. The President is determined to achieve this outcome. What we’re asking for is really easy. Indeed, the Chinese had agreed to it at one point, and then walked away from the deal. MS AMIN: So what is it? Is it Huawei at the crux of it? Can there be a compromise? SECRETARY POMPEO: No, no. It’s not about – this is far bigger than that. This is about the central premise of how trade will be conducted around the world. Is it okay for a nation that was once developing to continue to take the advantages when they’re no longer in that status? Is it okay for a nation to put on enormous tariffs when the other counter-party to the trading arrangement won’t do that? Is it acceptable to put tariffs and barriers on American companies investing in China when the United States is wide open to those investments? All we have asked for – it’s really simple. It’s what you – it’s the golden rule. It’s what you teach your kids, right? Do unto others. We want fairness, evenness, reciprocity. These are core concepts. They’re what I spoke about. And when that happens, Asia will thrive, Southeast Asia will thrive, the United States global trading system will thrive. But it cannot be the case that a nation uses protectionism to protect its own goods and uses predatory tactics to deny others’ economies the chances to grow. MS AMIN: At what cost? We’re seeing PMIs around the world already easing. We’re seeing countries around the world – well, revising downwards growth projection. I mean yes, the U.S. is in a good position leading global growth, but with Trump, President Trump is saying that he will tax the hell out of China. There are negative implications. SECRETARY POMPEO: There have been negative implications of decades of bad behavior on the part of China. MS AMIN: When you take a look at how the U.S. — SECRETARY POMPEO: Negative implications for every business in this room, and we’ll fix it. MS AMIN: There’s greater scrutiny right now on Chinese companies, especially through the Committee on Foreign Investment in the U.S., of which you play a huge role. When you take a look at the Bloomberg data, it suggests that there are about 173 Chinese companies worth about $750 billion actively listed in the U.S., 750 – just Chinese companies in the U.S. Could you be sending a negative message to these companies who are interested in putting money in your country? SECRETARY POMPEO: No. We welcome capital that comes to America every day, all day. What we want to make sure is the basis on which that capital flows into the United States. We want to make sure that American capital that wants to come to this region, to China, can do so on a fair and even basis, and we want to make sure that capital doesn’t pose a national security threat to the United States of America. Those are – that’s a low bar. Those are simple standards. They’re what every nation must do to protect its own sovereignty. And so no, the message we’re sending them is, “Come. Come to America. Participate. Do so with the rule of law. Do so through transparency. Don’t subsidize those countries. Don’t create champions through – with political objectives. Make them economic objectives. And when you do, many Chinese companies will come to America, compete, and be very, very successful. And we welcome that. MS AMIN: Some (inaudible), however, say that the crux of this U.S.-China trade tensions is actually a fundamental misunderstanding of how the U.S. views China, that China today is different from the China of 20 years ago, and that China today needs time to reform and reform in its own time. Is there a misconception in those views? SECRETARY POMPEO: Well, I’m not sure how to respond to – the other night – I had a chance to be with Dr. Kissinger the other day. He came to the State Department to celebrate our 230th anniversary, and we were talking about this very issue, this idea that China would, if their economy opened up, that they would begin to compete in a fair, transparent way. Well, that hasn’t happened, and so that’s what we’re driving for. It’s really elemental. MS AMIN: In your conversations, if there is one thing China needs to do right now to avert further tariffs, what would that be? SECRETARY POMPEO: Yeah — MS AMIN: If just one first step that needs to be taken. SECRETARY POMPEO: Look, I’m not directly involved in the trade negotiations, but there was an agreement on the table that would have put us in a really, really good place. So as a starting point, they could come back to at least where they were that day. MS AMIN: You touched on Hong Kong earlier, and you talked about how the government needs to listen. There are murmurings out there suggesting that perhaps there is a congregation of troops just on the border waiting to make its way if things turn for the worse. Can you envision that happening? SECRETARY POMPEO: So I think President Trump has been pretty clear. We’ve asked China simply to do the right thing. America has a long tradition of making sure that every citizen has the right to express their conscience, their views. We hope that’s the case all around the world, and that is true in China as well. And so I hope that the way things proceed in Hong Kong will proceed in a way that is not violent. That’s not constructive for any of the parties in the region. And we hope that everywhere citizens want to voice their views – whether those are in support of a particular government or in opposition to a particular government – they’ll be permitted to do so. MS AMIN: But President Trump also made it clear that it is a Chinese issue, it’s a Hong Kong issue. Should the PLA make its way across the border into Hong Kong, into the streets of Hong Kong, would the U.S. exercise any military presence? Would it exercise its own judgment to make its way and defend Hong Kong? SECRETARY POMPEO: One thing this administration has been really good about is not tipping our hand to what we will or won’t do, and I’m going to do that here this morning. MS AMIN: (Laughter.) Okay, I’ll take that. (Laughter.) Now, let’s touch on North Korea. It does seem like President Trump has given a lot of face and a lot of face time to North Korea. There have been two summits. He’s made his way to North Korea. The first U.S. – sitting U.S. president to do that. He’s also made suggestions about inviting Kim to D.C. That seems like a lot to give for very little in return, because we’re back to square one with North Korea greeting your presence in Asia with a series of missile launches. Your take on that? SECRETARY POMPEO: Yeah, I think you fundamentally mischaracterized. Having a meeting with Chairman Kim didn’t give him a darn thing. It was an attempt that is ongoing to engage with them diplomatically to achieve an outcome that for decades has not been achieved. Many paths have been tried, but they’ve all been unsuccessful. And so I was the first – when I was the director of Central Intelligence, the first one to travel to meet with Chairman Kim to begin this opportunity. We’re still engaged in it. We hope that they will put their working group back together and meet with us before too long. But remember, the UN Security Council still has the most stringent sanctions ever imposed on North Korea fully in place, and we are working with countries all across the world, many in this region are doing great work to enforce those, in an effort to make sure that we have the capacity to ultimately deliver what Chairman Kim committed to back in June in Singapore, June a year ago back in Singapore, which is to fully denuclearize his country in exchange for – President Trump describes – a brighter future for the North Korean people. MS AMIN: Those launches are against UN resolutions. I mean, how patient can the U.S. be? At what stage will you decide to tighten those sanctions and do something about it and send a message to North Korea that it is not acceptable? SECRETARY POMPEO: So you should never doubt what we may be communicating to the North Koreans. There are conversations going on, goodness, even as we speak. But the diplomatic path is often fraught with bumps, tos and fros, forward and backward. We are still fully committed to achieving the outcome that we have laid out – the fully verified denuclearization of North Korea – and to do so through the use of diplomacy. MS AMIN: How confident are you you will get there? SECRETARY POMPEO: We keep working at it. MS AMIN: (Laughter.) Is there a timeframe you’re looking at? I mean, conversations can’t go on forever. At what stage will you take action, a tougher stance on North Korea? SECRETARY POMPEO: I think we’ve taken the toughest stance in all of recorded history. MS AMIN: Have you been — SECRETARY POMPEO: So when you say a tougher stance, if you go look at the list of Security Council resolutions and you look not only at the resolutions themselves but the world’s effectiveness at enforcing them, I think it’s difficult to imagine that there would be a set of tougher sanctions put in place. So to give the moment so that we can have this opportunity. It’s the right thing for the world. To continue this diplomatic effort is the right approach. It’s the right approach today, and President Trump and I and our national security team will continue to evaluate that alongside of all of our partners in Japan and South Korea, the Chinese, the Russians. All of those who have a vested interest in seeing North Korea denuclearized will continue to work on this problem set. MS AMIN: Are we looking at a third summit anytime soon? SECRETARY POMPEO: Stay tuned. MS AMIN: (Laughter.) Have you been disappointed that your North Korean counterpart didn’t make it here, missing out on the chance to negotiate? SECRETARY POMPEO: I always look forward to a chance to talk with him. I wish they’d have come here. I think it would have given us an opportunity to have another set of conversations, and I hope it won’t be too long before I have a chance to do that. MS AMIN: But how do you expect to, I guess, get negotiations going when your own counterpart isn’t willing to make himself available to talk? SECRETARY POMPEO: Lots of conversations taking place. MS AMIN: How concerned are you about how Kim Jong-un is carrying out his, I guess, missile program? SECRETARY POMPEO: Yeah, so we’re always – we’re always concerned, right? President Trump has made nuclear nonproliferation a centerpiece of the work that we do, whether that’s the work that we’re doing with Iran, the work that we’re doing in North Korea. President Trump understands – we’re working to engage in a strategic security dialogue with the Russians. All have a central theme, which is this risk from nuclear weapons and their proliferation is real and serious. And so yes, I want very much these discussions to proceed with the North Koreans. We want to really get past the discussions and get to execution on the ground. That’s our charge. That’s the mission the President has laid out for me, and we’re working diligently to get there just as quickly as we can. MS AMIN: What role do you think China can play in this? SECRETARY POMPEO: A big role. And they have. I actually applaud the enforcement efforts that the Chinese have undertaken under the UN Security Council resolution. They have truly been a bulwark. They have been helpful. I met with my counterpart foreign minister yesterday. We talked about this again. They reiterated their goal for there to be a diplomatic resolution to this as well and their continued commitment to enforce the UN Security Council resolutions. MS AMIN: Secretary Pompeo, I was told to wrap up, but just one final question. Since you touched on Iran, I mean, the U.S. has been trying to put a lid on Iranian oil exports, yet there are concerns out there that perhaps your Asian allies are still importing Iranian oil. What are your thoughts on that, and are you intending to take any action? SECRETARY POMPEO: Simple math. Before the sanctions regime was put in place, there were 2.7-ish million barrels of oil a day being shipped by Iran to all around the world. The number for June and July, each of those two months, was less than a half a million barrels, could have been closer to zero than to half a million. The sanctions have been very effective, and we will enforce them everywhere. We’ll enforce them against any company, any country, that continues to violate those sanctions. We’ve already imposed sanctions on one company inside of China. We will continue to do that. It is absolutely imperative that we deny the ayatollah and the Islamic Republic of Iran from having the wealth and resources to build a nuclear program that could threaten anyone in the world. MS AMIN: On that note, Secretary Pompeo, thank you so much for your time today. SECRETARY POMPEO: Thank you very much. MS AMIN: Thank you for your insights. SECRETARY POMPEO: Thank you. MS AMIN: And ladies and gentlemen, thank you for joining us. (Applause.) By U.S. Embassy Bangkok | 2 August, 2019 | Topics: East Asia & Pacific, South & Central Asia, U.S. Secretary of State | Tags: ASEAN, U.S. & ASEAN
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ถ้อยแถลงโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯไมเคิลอาร์. ปอมเปโอ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2562 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย รัฐมนตรีปอมเปโอ: ขอบคุณครับ ขอบคุณครับท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ขอบคุณที่เป็นประธานจัดการประชุมในวันนี้ และผมขอชื่นชมท่านรัฐมนตรีดอนในวาระที่ประเทศไทยทำหน้าที่ประธานอาเซียนอย่างประสบความสำเร็จ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ส่วนสำคัญประการหนึ่งของภารกิจของผมคือการประกาศต่อโลกว่าอเมริกาธำรงหลักการใด ตลอดหลายทศวรรษ ทิศทางการทูตของสหรัฐอเมริกาต่ออาเซียนนั้นกำหนดโดยความปรารถนาความร่วมมือบนพื้นฐานแห่งความเคารพในอำนาจอธิปไตยของทุกประเทศ ตลอดจนพันธกรณีร่วมกันต่อหลักนิติธรรมพื้นฐาน สิทธิมนุษยชน และการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน พันธกรณีเหล่านั้นรวมถึงความมุ่งมั่นต่อความเป็นแกนกลางของอาเซียนยังคงเป็นสิ่งที่รัฐบาลภายใต้การนำของประธานาธิบดีทรัมป์ยึดถือ ผมยินดีมากที่เห็นว่า เมื่อเร็วๆ นี้อาเซียนได้จัดทำเอกสารมุมมองของอาเซียนต่อแนวคิดอินโด-แปซิฟิกที่ส่งเสริมหลักการหลายประการ ซึ่งรวมถึงอธิปไตย ความโปร่งใส ธรรมาภิบาล และระเบียบที่ยึดมั่นในกฎกติกา เช่นกัน ขอให้ท่านได้ทราบว่า สหรัฐฯ ไม่เคยขอให้ชาติใดในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกเลือกฝ่าย การที่สหรัฐฯ เข้ามามีส่วนร่วมในภูมิภาคนี้ไม่เคยอยู่และจะไม่อยู่ในรูปแบบเกมการแข่งขันที่ต้องมีแพ้-ชนะ สหรัฐฯ เพียงต้องการเชื่อมโยงกับประเทศของท่านทั้งหลายเพื่อผลประโยชน์ร่วมกันของเราเท่านั้น ขอบคุณครับ โดย U.S. Embassy Bangkok | 1 สิงหาคม, 2019 | ประเภท: ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก
REMARKS MICHAEL R. POMPEO, SECRETARY OF STATE CENTARA GRAND BANGKOK, THAILAND AUGUST 1, 2019 SECRETARY POMPEO: Thank you. Thank you, Foreign Minister. Thanks for hosting here today, and I want to congratulate also Foreign Minister Don on a successful year at Thailand’s chairmanship. As Secretary of State, a key part of my mission is to tell the world what America stands for. For decades, American diplomacy with ASEAN has been consistently guided by our desire for a partnership of respect towards the sovereignty of each of our nations, and a shared commitment to the fundamental rules of law, human rights, and sustainable economic growth. Those commitments and the commitments at ASEAN’s centrality endure under President Trump’s leadership. I was heartened to see ASEAN recently released its outlook on the Indo-Pacific, which also supports sovereignty, transparency, good governance, a rules-based order, among many other things. Look, we don’t ever ask any Indo-Pacific nation to choose between countries. Our engagement in this region has not been and will not be a zero-sum exercise. Our interests simply naturally converge with yours to our mutual benefit. Thank you. By U.S. Embassy Bangkok | 1 August, 2019 | Topics: East Asia & Pacific, U.S. Secretary of State | Tags: ASEAN, U.S. & ASEAN
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ถ้อยแถลงโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯไมเคิลอาร์. ปอมเปโอ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2562 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย รัฐมนตรีปอมเปโอ: ขอบคุณครับท่านรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศ ผมขอขอบคุณประเทศไทยที่เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งนี้อันมีความพิเศษเนื่องด้วยเป็นวาระครบรอบหนึ่งทศวรรษของข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่าง (Lower Mekong Initiative) สหรัฐอเมริกาภาคภูมิใจในบทบาทประเทศคู่ความร่วมมือตลอด 10 ปีที่ผ่านมา การดำเนินงานของพวกเราช่วยให้ประชาชน 340,000 คนเข้าถึงน้ำดื่มคุณภาพดีขึ้น เจ้าหน้าที่ ครูอาจารย์และนักเรียน 3,800 คนได้เข้ารับการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเชิงเทคนิค ประชาชน 27,000 คนสามารถเข้าถึงการสุขาภิบาลที่ดีขึ้น นอกจากนี้ คณะผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิค 70 คณะยังได้สนับสนุนโครงการ 45 โครงการเพื่อพัฒนาความยั่งยืนของโครงสร้างพื้นฐานอีกด้วย เหล่านี้คือผลสัมฤทธิ์อย่างแท้จริง ทั้งยังเป็นเครื่องพิสูจน์ถึงพันธกรณีของอเมริกาต่อความร่วมมือกับกลุ่มห้าประเทศลุ่มน้ำโขง สหรัฐฯ จะยังคงช่วยปกป้องอธิปไตยและความมั่นคงของท่าน สนับสนุนท่านสู่ความเฟื่องฟูด้านเศรษฐกิจ และพิทักษ์รักษาวัฒนธรรมตลอดจนสิ่งแวดล้อมอันอุดมของท่าน เรายึดถือเป้าหมายเหล่านี้ร่วมกันกับมิตรสหายและหุ้นส่วนมากมายในภูมิภาคนี้ ซึ่งรวมถึงกลุ่มมิตรประเทศลุ่มน้ำโขงตอนล่าง (Friends of the Lower Mekong) ที่วันนี้เพิ่งออกถ้อยแถลงระดับรัฐมนตรีเน้นย้ำแนวทางร่วมกันและแนวทางตามหลักการของเรา ทว่า ช่วงที่ผ่านมานี้ ผมเสียใจที่ต้องรายงานว่า เราพบแนวโน้มที่น่ากังวลบางประการ เราเห็นการก่อสร้างเขื่อนต้นน้ำหลายแห่งที่กระจุกการควบคุมกระแสน้ำที่ไหลมายังปลายน้ำ ระดับน้ำแม่น้ำโขงอยู่ในจุดต่ำสุดในรอบทศวรรษ ซึ่งปัญหานี้เชื่อมโยงกับการที่จีนตัดสินใจปิดกั้นกระแสน้ำในบริเวณต้นน้ำ จีนยังมีแผนระเบิดและขุดลอกร่องน้ำ จีนจัดกองลาดตระเวนลำน้ำนอกอาณาเขต และเราเห็นแรงผลักดันเพื่อร่างกฎระเบียบใหม่เหนือลุ่มน้ำแห่งนี้ภายใต้การกำกับของรัฐบาลจีนซึ่งส่งผลลดทอนอำนาจของคณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง นอกจากนี้ กลุ่มอาชญากรทั้งที่เคลื่อนไหวในบ่อนคาสิโนและเขตเศรษฐกิจพิเศษยังใช้แม่น้ำโขงเป็นเส้นทางหลักสำหรับลักลอบขนยาเสพติด สัตว์ป่า หรือแม้แต่มนุษย์ ในการเผชิญหน้ากับข้อท้าทายเหล่านี้และปัญหาอื่นๆ พวกเราต้องคงความร่วมมือปัจจุบันของเราไว้ สานความร่วมมือใหม่ และจับตามองอนาคต วันนี้ ผมมีความภูมิใจที่จะประกาศโครงการริเริ่มใหม่เพื่อช่วยให้เราดำเนินการเหล่านี้ได้ หนึ่งในข้อริเริ่มใหม่คือ หุ้นส่วนด้านพลังงานแม่น้ำโขงระหว่างญี่ปุ่น-สหรัฐฯ (Japan-U.S. Mekong Power Partnership) หรือ JUMP อันเป็นความร่วมมือระหว่างญี่ปุ่นกับสหรัฐฯ เพื่อพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าระดับภูมิภาค โดยสหรัฐฯ มอบเงินทุนแรกเริ่มจำนวน 29.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ความร่วมมือดังกล่าวจะเป็นการต่อยอดผลงานยิ่งใหญ่ที่รัฐบาลของเราทั้งสองฝ่ายได้ดำเนินการแล้วในภาคส่วนที่สำคัญยิ่งนี้ อีกทั้งเสริมการสนับสนุนของรัฐบาลสหรัฐฯ ต่อบริษัทสัญชาติสหรัฐฯ ที่ดำเนินงานเกี่ยวกับสายส่งไฟฟ้าข้ามพรมแดนด้วย นอกจากนี้ เรายังยินดีที่จะประกาศว่า สหรัฐฯ ซึ่งทำงานร่วมกับสภาคองเกรสมีแผนมอบความช่วยเหลือเบื้องต้นมูลค่า 14 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แก่ประเทศในลุ่มน้ำโขงสำหรับดำเนินการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติและการค้ามนุษย์ โครงการริเริ่มนี้จะให้การสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมาย ช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ระงับเส้นทางการเงินของผู้ค้าสัตว์ป่าผิดกฎหมาย และช่วยต่อต้านการขยายตัวของเส้นทางการกระจายยาบ้าและกิจกรรมผิดกฎหมายอื่นๆ ที่มาจากสามเหลี่ยมทองคำ เรายังหวังด้วยว่า โครงการริเริ่มนี้จะเสริมสร้างความพยายามต่อต้านอาชญากรรมของประเทศหุ้นส่วนสำคัญอื่นๆ รวมถึงออสเตรเลีย สำหรับประเด็นอื่นๆ นั้น ในปลายปีนี้ สหรัฐฯ จะจัดการประชุมอินโด-แปซิฟิกว่าด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดการแม่น้ำระหว่างประเทศ การประชุมครั้งนี้จะส่งเสริมการสนับสนุนแนวทางการจัดการแม่น้ำโขงที่มีความโปร่งใสและระเบียบที่ยึดมั่นในกฎกติกา ในเดือนพฤศจิกายนนี้ ณ การประชุม Indo-Pacific Business Forum ครั้งที่ 2 ที่กรุงเทพมหานคร สหรัฐฯ คาดว่าจะประกาศโครงการริเริ่มใหม่ๆ หลายโครงการเพื่อช่วยเหลือประเทศในลุ่มน้ำโขงในภาคโครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน และดิจิทัล ตอนนี้ สหรัฐฯ กับสาธารณรัฐเกาหลียังสนับสนุนเงินทุนดำเนินโครงการร่วมโครงการใหม่เพื่อการใช้ภาพถ่ายทางดาวเทียมอย่างมีประสิทธิผลยิ่งขึ้นในการประเมินรูปแบบของน้ำท่วมและสภาพแห้งแล้งของแม่น้ำโขง นอกจากนี้ ประเทศสมาชิกข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่างของเรายังจะเปิดตัวแนวนโยบายใหม่ว่าด้วยการแบ่งปันข้อมูลน้ำในแม่น้ำโขง ตลอดจนโครงการใหม่เพื่อส่งเสริมความสำเร็จของข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่างโดยมุ่งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ที่มีต่อสาธารณะ สหรัฐฯ สนับสนุนการฟื้นฟูยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง (ACMECS) และขอแสดงความชื่นชมต่อประเทศไทยที่ฟื้นฟูความพยายามนี้ ท้ายนี้ เมื่อมองกาลข้างหน้าสู่ปี 2563 สหรัฐฯ เห็นว่า วาระที่เวียดนามเป็นประธานอาเซียนนั้นเป็นโอกาสอันยอดเยี่ยมสำหรับความสืบเนื่องในการสานสร้างความก้าวหน้าในความร่วมมือแม่น้ำโขงของเราสืบต่อไป ซึ่งรวมถึงช่วยให้การประชุมระดับรัฐมนตรีประจำปีของเรามุ่งประเด็นสำคัญมากขึ้น มียุทธศาสตร์มากขึ้น และมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น สหรัฐฯ เป็นมิตรของประเทศในลุ่มแม่น้ำโขง และจะคงเป็นเช่นนี้ตลอดไป ขอบคุณครับ ถ้อยแถลงเปิดการประชุมรัฐมนตรีข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่างเผยแพร่ครั้งแรกที่เว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา โดย U.S. Mission Thailand | 1 สิงหาคม, 2019 | ประเภท: ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก
REMARKS MICHAEL R. POMPEO, SECRETARY OF STATE CENTARA GRAND BANGKOK, THAILAND AUGUST 1, 2019 SECRETARY POMPEO: Thank you, Foreign Minister. I want to thank you, Thailand, for hosting this special ministerial marking a decade of the Lower Mekong Initiative. The United States has been a proud partner for those whole 10 years, and thanks to our work: 340,000 people have access to improved drinking water; 3,800 officials, teachers, and students have been trained in technical English; 27,000 people have access to improved sanitation; and 70 technical teams have supported 45 projects to improve infrastructure sustainability. These are real achievements, and they testify to America’s commitments to a partnership with the five Mekong countries. We will continue to help protect your sovereignty and security, help you prosper economically, and safeguard your rich cultures and environment. We share these goals with many of our friends and partners focused on the region, including our fellow Friends of the Lower Mekong, who just today issued a minister-level statement highlighting our shared approach and our principled approach. But recently, I am sorry to report that we’ve seen some troubling trends. We see a spree of upstream dam building which concentrates control over downstream flows. The river has been at its lowest levels in a decade – a problem linked to China’s decision to shut off water upstream. China also has plans to blast and dredge riverbeds. China operates extra-territorial river patrols. And we see a push to craft new Beijing-directed rules to govern the river, thereby weakening the Mekong River Commission. In addition, criminal groups – some active in casinos and special economic zones – are using the Mekong as their major artery to traffic drugs, wildlife, and even human beings. To confront these challenges and others, we must sustain our current partnerships, build new ones, and keep an eye on the future. Today, I am proud to announce new initiatives to help us do just that. One of them is the Japan-U.S. Mekong Power Partnership, or JUMP, which will develop regional electricity grids with an initial United States commitment of $29.5 million. The partnership will build on the great work already being done by both our governments in this critical sector, and it will bolster our support for U.S. firms working on cross-border transmission line as well. We’re also pleased to announce the United States, working with Congress, plans to provide an initial $14 million in assistance to the Mekong countries to counter transnational crime and trafficking. This initiative will provide support for law enforcement, support victims of trafficking in persons, stop financial flows for wildlife traffickers, and help counter the expansion of methamphetamine flows and other illegal activity coming from the Golden Triangle. We also hope that this initiative will bolster the anti-crime efforts of other key partners, including Australia. Turning to other areas, later this year the United States will hold an Indo-Pacific conference on strengthening governance of transboundary rivers. This gathering will bolster support for a transparent, rules-based approach to the Mekong. This November, at the second Indo-Pacific Business Forum right here in Bangkok, the United States expects to roll out new initiatives to help Mekong nations in the infrastructure, energy, and digital sectors. And alongside the Republic of Korea, we’re funding a new joint project to use satellite imagery more effectively to assess Mekong flood and drought patterns. Our LMI nations will also launch a new Mekong water data-sharing platform and a new LMI public impact program as well. And the United States supports the revitalization of ACMEC strategy. Hats off to Thailand for restoring this effort. Finally, looking ahead to 2020, we see Vietnam’s ASEAN chair year as an excellent chance for continuity in making further progress on our Mekong cooperation, including by making our annual ministerial more focused, strategic, and effective. The nations of the Mekong have a friend in the United States, and they always will. Thank you. By U.S. Embassy Bangkok | 1 August, 2019 | Topics: East Asia & Pacific, U.S. Secretary of State | Tags: LMI, Lower Mekong Initiative
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สารถวายพระพรชัยมงคลจากอุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ปีเตอร์ เฮย์มอนด์ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๗ พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ หน่วยงานสหรัฐอเมริกาในประเทศไทย ขอถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอพระองค์ทรงมีพระพลานามัยสมบูรณ์และทรงพระเกษมสำราญยิ่ง เราขอถวายพระพรชัยมงคลด้วยไมตรีจิตที่ประเทศของเราทั้งสองมีต่อกันมายาวนานกว่า ๒๐๐ ปี โดย U.S. Embassy Bangkok | 26 กรกฎาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, อุปทูต, เอกสารข่าว
Message from U.S. Chargé d’Affaires Peter Haymond On The Occasion of His Majesty King Maha Vajiralongkorn Phra Vajiraklaochaoyuhua’s 67th Birthday July 28, 2019 The United States Mission to the Kingdom of Thailand extends our warmest congratulations on the auspicious occasion of His Majesty King Maha Vajiralongkorn Phra Vajiraklaochaoyuhua’s birthday. We extend our good wishes in the spirit of friendship that our two nations have shared for over 200 years. We wish His Majesty good health and happiness. By U.S. Embassy Bangkok | 26 July, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, News, Press Releases, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สำนักงานโฆษก สำหรับเผยแพร่ทันที แถลงการณ์โดยโฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา มอร์แกน ออร์เทกัส สหรัฐอเมริกาเน้นย้ำความสัมพันธ์อันยาวนานกับอาเซียน เนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปีที่สหรัฐฯ เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เราเฉลิมฉลองความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ที่งอกงามระหว่างสหรัฐฯ กับอาเซียน ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และอาเซียนมีความแน่นแฟ้นใกล้ชิด เนื่องจากต่างก็ยึดมั่นในหลักการและคุณค่าที่มีร่วมกันซึ่งสนธิสัญญาฉบับนี้เชิดชู ในโอกาสครบรอบนี้ สหรัฐอเมริการะลึกถึงพันธสัญญาที่เรามีต่อกันในการเสริมสร้างความสงบสุข สัมพันธไมตรี และความร่วมมือทั่วทั้งภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ในขณะที่อาเซียนยังคงบทบาทสำคัญในภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง สหรัฐฯ มุ่งหวังที่จะยกระดับความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ของเรา อันก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เช่นเดียวกับในสหรัฐฯ และนำเราใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น โดย U.S. Embassy Bangkok | 23 กรกฎาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว
Office of the Spokesperson For Immediate Release STATEMENT BY MORGAN ORTAGUS, SPOKESPERSON The United States Reaffirms our Enduring Relationship with ASEAN On the 10th anniversary of the accession of the United States to the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia, the United States celebrates our flourishing strategic partnership with ASEAN. The close relationship between the United States and ASEAN has advanced on the foundation of the deeply-held shared principles and values enshrined in the Treaty. This anniversary reminds us of our mutual commitment to promoting peace, amity, and cooperation throughout the Indo-Pacific. As ASEAN continues to play a central role in the region, we look forward to deepening our strategic partnership, which has benefited the people of Southeast Asia and the United States, and brought us closer together. By U.S. Embassy Bangkok | 23 July, 2019 | Topics: News | Tags: ASEAN, U.S. & ASEAN
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สารจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ปอมเปโอ รัฐบาลชุดใหม่แห่งราชอาณาจักรไทย สหรัฐอเมริกาตั้งตารอที่จะได้ร่วมงานกับรัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นใหม่ของไทย เพื่อกระชับสัมพันธไมตรีและความร่วมมือระหว่างประเทศของเราทั้งสอง อันจะทำให้มิตรภาพกว่าสองร้อยปีระหว่างประชาชนของเราเจริญงอกงามต่อไป เราสนับสนุนความโปร่งใสและธรรมาภิบาลในทุกประเทศทั่วโลก และจะยังคงทำงานร่วมกับประชาชนชาวไทยและรัฐบาลไทยเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว พันธไมตรีระหว่างสหรัฐอเมริกาและประเทศไทยแข็งแกร่งเหมือนเช่นที่เคยเป็นมาไม่เปลี่ยนแปลง และเราจะยังคงสนับสนุนประเทศไทยในฐานะผู้นำของภูมิภาค อันรวมถึงการเป็นประธานอาเซียนในปีนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างเราจะแน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้นเมื่อเราร่วมมือกันขับเคลื่อนเป้าหมายที่ทั้งสองประเทศมีร่วมกัน อันได้แก่ ความมั่นคง สันติภาพ และความเจริญรุ่งเรืองในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก และทั่วโลก โดย U.S. Embassy Bangkok | 17 กรกฎาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข่าว
Statement by Secretary Pompeo The New Government of the Kingdom of Thailand The United States looks forward to working with the newly formed Royal Thai government to deepen the alliance and partnership between our two nations, building upon over two centuries of friendship between our people. We support transparency and good governance around the world and will continue to work with the Thai people and the Royal Thai government to this end. The U.S.-Thailand alliance remains strong, and we continue to support Thailand’s role as a regional leader, including its chairmanship of ASEAN this year. Our alliance will grow even stronger as we work together to advance goals common to both countries, such as security, peace, and prosperity in the Indo-Pacific and throughout the world. By U.S. Embassy Bangkok | 17 July, 2019 | Topics: News, Press Releases, U.S. & Thailand, U.S. Secretary of State | Tags: Michael R. Pompeo
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่5กรกฎาคม อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูตปีเตอร์ เฮย์มอนด์ และคุณดุษฎี เฮย์มอนด์ ภริยา เยี่ยมเยือนโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย จังหวัดเลย โดยคุณปีเตอร์ได้เล่าประสบการณ์การเป็นนักการทูตกว่า30ปีที่ผ่านมากับน้องๆ นักเรียนมัธยมปลาย431คน และในวันที่6กรกฎาคม ได้เข้าร่วมพิธีเปิดงานเทศกาลผีตาโขน เดินขบวนแห่ และชมมหกรรมหน้ากากนานาชาติของจังหวัดเลยอีกด้วย ท่านอุปทูตยินดีที่ได้พบปะกับเจ้าหน้าที่ในท้องถิ่น ทั้งยังได้สัมผัสกับมรดกทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นของไทยด้วยตนเอง https://th.usembassy.gov/wp-content/uploads/sites/90/584163288.899048-1.mp4 โดย U.S. Embassy Bangkok | 9 กรกฎาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, อุปทูต, เหตุการณ์
On July 5th, Chargé d’Affaires Peter Haymond and Mrs. Dusadee Haymond visited the Princess Chulabhorn College in Loei province where the CDA gave a talk to 431 high school students about his experiences as a diplomat over the last thirty years. On July 6th, the CDA also attended the opening ceremony of the Phi Ta Khon Festival in Loei province where he participated in ghost parades and the international mask festival. CDA appreciated the invitation to meet local officials and directly participate in Thailand’s unique cultural heritage. https://th.usembassy.gov/wp-content/uploads/sites/90/584163288.899048.mp4 By U.S. Embassy Bangkok | 9 July, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, Events, News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ปีเตอร์ เอ็ม. เฮย์มอนด์ ร่วมพิธีติดตั้งเครื่องไซโคลตรอน ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2562 ในงานนี้ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์อุปนายิกาผู้อำนวยการสภากาชาดไทย เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธานในพิธี ระบบอนุภาคโปรตอนนี้เป็นวิทยาการความก้าวหน้าในการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง ซึ่งทำให้ผู้ป่วยได้รับรังสีมากขึ้นแต่มีความเสี่ยงต่อเนื้อเยื่อปกติน้อยลง ศูนย์โปรตอนสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จะเป็นศูนย์โปรตอนแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีมูลค่า1,200ล้านบาท (36 ล้านเหรียญสหรัฐ) โดย U.S. Embassy Bangkok | 5 กรกฎาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, อุปทูต
Chargé d’Affaires Peter M. Haymond attended the Cyclotron Rigging Ceremony, held at King Chulalongkorn Memorial Hospital on June 20, 2019. The ceremony was presided over by H.R.H. Princess Maha Chakri Sinrindhorn,Executive Vice-Presidentof the Thai Red Cross Society, operator of the hospital. Varian’s Proton system is a revolutionary and innovative cancer treatment with highest conformity which allows patients to receive greatest dose of radiation with less risk of damage to nearby healthy tissues. This Proton Center at Chulalongkorn Hospital will be the first center in Southeast Asia. The project is valued Thai Baht 1.2 billion or US$ 36 million. By U.S. Embassy Bangkok | 5 July, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, News, Science & Tech, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: คำกล่าวเนื่องในงานฉลองวันชาติสหรัฐอเมริกา ปีเตอร์ เฮย์มอนด์ อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา สวัสดีครับ เพื่อให้เข้ากับงานในปีนี้ แบบ “ลูเอา” (Luau) ของฮาวาย ผมขอกล่าวคำว่า “อโลฮา” กับแขกที่มาร่วมงานทุกท่าน และ “มาฮาโล นุย โลอา” ท่านแขกผู้มีเกียรติ เอกอัครราชทูตจากนานาประเทศ มิตรสหายเพื่อนร่วมงาน สุภาพบุรุษและสุภาพสตรี ผมขอบคุณทุกท่านที่ให้เกียรติ คุณดุษฎีและผม ตลอดจนเจ้าหน้าที่สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยในการมาร่วมงานฉลองครบรอบ 243 ปีแห่งการประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกา ขอขอบคุณแขกพิเศษของเรา อันได้แก่ ตัวแทนเจ้าหน้าที่รัฐบาลไทย ท่านเอกอัครราชทูตจากนานาประเทศทั่วโลก และขอกล่าวถึงเป็นพิเศษคือ ท่านองคมนตรี จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และท่านผู้หญิงอรนุช ภริยา เรารู้สึกดีใจมากที่ทุกท่านสามารถมาร่วมงานกับเราได้ ขอขอบคุณสปอนเซอร์ทุกท่านที่ได้สนับสนุนงานฉลองวันชาติในค่ำคืนนี้ ถ้าปราศจากท่านแล้ว เราก็ไม่อาจจัดงานนี้ขึ้นได้เลย ผมหวังว่าทุกท่านได้เห็นรายชื่อสปอนเซอร์การจัดงานที่ยอดเยี่ยมของเราเมื่อตอนเข้างานแล้วนะครับ และผมขอขอบคุณเพื่อนร่วมงานจากสถานทูตฯ ทุกคนที่ทำงานอย่างเต็มความสามารถตลอดเวลาหลายสัปดาห์ หลายเดือนที่ผ่านมาเพื่อสร้างสรรค์งานวันนี้ เรามีการแสดงดนตรีพิเศษคืนนี้ โดยวงดนตรีจากกองดุริยางค์ทหารอากาศสหรัฐอเมริกาแห่งแปซิฟิก ซึ่งท่านได้รับฟัง จ่าอากาศโท คริสติน่า แบ็กเล่ย์ ขับร้องเพลงชาติสหรัฐฯ ไปแล้วนะครับ และขอขอบคุณ จ่าเอก ธีรวัฒน์ แก้วศิริ จากกองดุริยางค์ทหารเรือไทย สำหรับบทเพลงสรรเสริญพระบารมีอันไพเราะ ในแต่ละปีเราจะเลือกแนวการจัดงานฉลองซึ่งมักแสดงถึงขนบธรรมเนียมประเพณีอันโดดเด่นของรัฐต่างๆ จาก 50 รัฐของสหรัฐฯ แนวการจัดงานปีนี้คือ “ฮาวาย”ซึ่งเป็นรัฐที่อายุน้อยที่สุด และ“มีความเป็นแปซิฟิกที่สุด” ฮาวายเป็นรัฐที่มีวัฒนธรรมที่หลากหลายและภูมิทัศน์ทางธรรมชาติที่งดงามมากซึ่งท่านสามารถชมตัวอย่างจากบริเวณรอบๆ ห้องนี้ได้ รัฐฮาวายประกอบด้วย 8 เกาะซึ่งแต่ละเกาะมีเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง ฮาวายยังเป็นรัฐเดียวจากทั้ง 50 รัฐ ที่มีชาวเอเชียเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุด จึงไม่น่าแปลกใจที่ความสัมพันธ์ระหว่างฮาวายกับเอเชีย รวมทั้งประเทศไทยได้เริ่มต้นขึ้นนานมากแล้วก่อนจะเป็นรัฐลำดับสุดท้ายของสหรัฐฯ เมื่อเพียง 60 ปีก่อน ความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรฮาวายกับราชอาณาจักรสยามเริ่มต้นเมื่อพ.ศ. 2424 ในครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงต้อนรับการมาเยือนของกษัตริย์คาลาคาอัวที่บางกอก ในระหว่างการมาเยือนครั้งประวัติศาสตร์นั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎสยามแก่กษัตริย์คาลาคาอัว และกษัตริย์คาลาคาอัวก็ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 เป็นการตอบแทน ทั้งราชอาณาจักรไทยและรัฐฮาวายมีความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้ ดังเช่นในปี 2510 ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานศาลาไทยที่ได้รับพระราชทานนามว่า “พระที่นั่งปาฏิหารย์ทัศนัย” ให้กับรัฐฮาวาย ในการพระราชทานศาลาไทยครั้งนั้น ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดำรัสว่า “ข้าพเจ้าขอตั้งจิตอธิษฐานให้ศาลาหลังนี้ตั้งมั่นเป็นสัญลักษณ์แห่งภราดรภาพ และความเอื้ออาทรอันเปี่ยมล้น…ขอให้ศาลาหลังนี้จงเป็นที่หยุดพักแห่งความรักและความเข้าใจสำหรับบรรดาผู้เดินทางที่มาจากทางตะวันออกและตะวันตกทั่วหน้ากัน” และในปี 2551 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งในขณะนั้น ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธานในพิธีเปิดศาลาไทยที่ได้รับการบูรณะใหม่ ซึ่งปัจจุบันนี้ตั้งเด่นอยู่ที่ศูนย์อีสต์-เวสต์เซ็นเตอร์ในฮอนโนลูลู สัมพันธไมตรีนี้ดำรงอยู่จนถึงปัจจุบัน เช่นเดียวความมุ่งมั่นที่สหรัฐฯ มีต่อราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นพันธมิตรเก่าแก่ที่สุดของเราในภูมิภาคนี้และมิตรแท้ที่ยาวนาน ความเป็นหุ้นส่วนของเรายังคงเหนียวแน่นเหมือนเดิมในปีนี้ซึ่งเป็นปีที่สำคัญยิ่งสำหรับประเทศไทย เมื่อเดือนที่แล้ว สถานทูตสหรัฐฯ ร่วมกับประชาชนชาวไทยกราบบังคมทูลพระกรุณาแสดงความยินดีแด่พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และเนื่องในโอกาสพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ในฐานะประธานอาเซียนในปีนี้ ประเทศไทยได้แสดงให้เห็นถึงบทบาทผู้นำของภูมิภาคนี้อีกครั้ง นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม เราได้เห็นพลเมืองไทยหลายสิบล้านคนออกมาแสดงความตั้งใจที่จะมีส่วนร่วมในการเลือกตั้งที่รอคอยกันมานานเพื่อให้ประเทศไทยกลับมามีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ผมทราบว่ามีข้อร้องเรียนจำนวนหนึ่งเกี่ยวกับกระบวนการเลือกตั้งซึ่งยังอยู่ระหว่างการสืบสวน และเราหวังว่าจะมีการดำเนินการที่ประชาชนไทยเห็นว่าโปร่งใสและยุติธรรม เพื่อช่วยให้ชาวไทยใกล้ชิดกันมากขึ้น และทำให้ประเทศไทยเข้มแข็งยิ่งขึ้น เพราะสหรัฐฯ ปรารถนาให้ไทยเป็นพันธมิตรที่เข้มแข็ง สหรัฐฯ ตั้งใจที่จะทำงานร่วมกับรัฐสภาและรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งชุดใหม่ของประเทศไทย เพื่อส่งเสริมค่านิยมต่างๆ รวมถึงประชาธิปไตย ความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของพลเมืองทุกคน อันจะนำประเทศของเราทั้งสองให้ใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น เราภูมิใจในประวัติศาสตร์แห่งมิตรภาพระหว่างไทยกับสหรัฐฯ และความร่วมมือในหลายๆ ด้านที่เชื่อมโยงทั้งสองประเทศเข้าด้วยกัน เราหวังว่า ไทยและสหรัฐฯ จะเติบโตไปด้วยกัน และจะยังคงร่วมมือกัน เพื่อประโยชน์ของประชาชนของเราสองประเทศและของภูมิภาคนี้สืบไป ผมขอให้ท่านสนุกกับการเฉลิมฉลองแบบ “ลูเอา” ในวันนี้ และหวังว่าวันหนึ่งท่านจะได้มีโอกาสไปเยี่ยมเยือนฮาวายเพื่อสัมผัสกับวัฒนธรรมอันหลากหลาย ประวัติศาสตร์ และมิตรภาพด้วยตัวท่านเอง ผมขอเชิญทุกท่านร่วมดื่มถวายพระพรแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และดื่มให้กับประชาชนชาวไทยครับ .แด่ในหลวงรัชกาลที่ 10 และประชาชนชาวไทย บัดนี้ ขอเชิญทุกท่านร่วมดื่มอวยพรแด่ท่านประธานาธิบดีและประชาชนชาวอเมริกันครับ แด่ท่านประธานาธิบดีและประชาชนชาวอเมริกัน ผมหวังว่าท่านจะมีความสุขกับงานในค่ำคืนนี้ ขอบคุณทุกท่านครับ โดย U.S. Embassy Bangkok | 1 กรกฎาคม, 2019 | ประเภท: สหรัฐอเมริกาและไทย, สุนทรพจน์, อุปทูต, เหตุการณ์
U.S. Independence Day Celebration Remarks by Chargé d’Affaires Peter Haymond Good evening. In keeping with this year’s Hawaiian luau theme, I’d also like to say to all of our guests, aloha. Distinguished guests, ambassadors, colleagues, ladies and gentlemen – Mahalo nui loa. Thank you all very much for joining Dusadee and I and all of the Mission Thailand family to celebrate the 243rd birthday of the United States of America. Thank you to our special guests for coming: Representatives of the Royal Thai Government, Ambassadors from nations around the world and a special mention to His Excellency Mr. Chirayu Isarangkun Na Ayuthaya of the Privy Council, and of course, his spouse Thanpuying Oranuch. We are so glad all of you could join us tonight. Many thanks also to our sponsors in the private sector who made tonight possible – we could not have done it without you. I hope everyone saw our list of great sponsors as you entered. And to my colleagues at the Embassy, thank you for your weeks and months of work to create this celebration. We have a special musical treat tonight: the U.S. Air Force Pacific Showcase Band. You have already heard Senior Airman Christina Bagley sing the U.S. National Anthem. And thanks also to Petty Officer First Class Teerawat Kaewsiri from the Royal Thai Navy Band for that beautiful rendition of the Thai Royal Anthem. Each year, we select a theme for our Independence Day celebration, often highlighting the traditions of one or more of our 50 states. This year, the theme is Hawai’i, our newest and “pacific-most” state. Hawai’i is known for its diverse culture and stunning natural landscape. You can see some examples around the room tonight. The state of Hawai’i is comprised of eight islands, each with their own unique features. Hawai’i is also the only one of our 50 states in which Asians are the largest ethnic group. So, it is not surprising that Hawai’i’s relations with Asia, including with Thailand, began long before it became the most recent U.S. state, only 60 years ago. The engagement between the Kingdom of Hawaii and the Kingdom of Siam began in 1881 when King Kalakaua was received in Bangkok by King Chulalongkorn. During this historic visit, King Chulalongkorn appointed King Kalakaua a Knight of the Grand Cross of the Crown of Siam and King Kalakaua reciprocated with the Royal Order of Kamehameha I. The relationship continues today with a Thai pavilion, Pratinang Patiharn Tasanai (Throne of the Miracle Vision), which King Rama IX sent to Hawai’i in 1967. During the dedication, King Rama IX said: “It is my wish that this pavilion may serve as (a) symbol of universal hospitality and brotherhood…Let it be a haven of love and understanding for all travelers from East and West. In 2008, Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn rededicated that pavilion. It proudly sits today at the East-West Center in Honolulu. King Rama IX’s sentiment live on. The same is true of the commitment of the United States to the partnership with the Kingdom of Thailand, our oldest ally in the region and our longstanding friend. Our partnership continues strong in this very important year for Thailand. Last month, the U.S. Embassy joined the people of Thailand in extending our warmest congratulations to His Majesty King Maha Vajiralongkorn Phra Vajiraklaochaoyuhua on the auspicious occasions of His Majesty’s coronation and His Majesty’s marriage to Her Majesty Queen Suthida Bajrasudhabimalalakshana. And as Chair of ASEAN this year, Thailand is again demonstrating its leadership role in the region. In addition, on March 24 we watched as tens of millions of Thai citizens participated in the long-awaited election to demonstrate their strong support for return to elected government. I know there remain a number of complaints about the election process that are still being investigated. We hope these complaints will be addressed in a manner seen by the Thai people as transparent and balanced to help bring the people of Thailand closer together and make Thailand stronger. Because we want a strong partner in Thailand. The United States looks forward to working with Thailand’s newly elected Parliament and newly seated government to advance values that bring our countries closer together, including democracy, security, and prosperity for all citizens. We are proud of our historic relationship with Thailand and of so many areas of partnership that bind our two countries together. Our hope is that we will continue to grow together and continue to cooperate for the benefit of both our peoples, and of the region. As you enjoy our celebration luau today, I hope you will consider one day visiting Hawai’i, and experience for yourself its rich culture, history, and hospitality. Please join me now in toasting His Majesty, King Rama X, and the People of Thailand: “To His Majesty and the People of Thailand.” Please now join me in toasting President Donald J. Trump and the American People: “To the President and the American People.” Thank you everyone, I hope you enjoy the evening. By U.S. Embassy Bangkok | 1 July, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, Events, Speeches, U.S. & Thailand | Tags: Independence Day
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: การฝึกความร่วมมือและความพร้อมทางเรือ หรือ “การัต” (Cooperation Afloat Readiness and Training: CARAT) ประจำประเทศไทย ครั้งที่ 25 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม – 8 มิถุนายน ณ ฐานทัพเรือสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยมีเรือและเครื่องบินหลายสิบลำจากทั้งกองทัพเรือไทยและกองทัพเรือสหรัฐฯ เข้าร่วม หนึ่งในนั้นคือเครื่องบินโบอิ้ง พี-8 โพไซดอนของสหรัฐฯ หัวข้อการฝึกอบรมครอบคลุมปฏิบัติการทางทะเลและการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในหลากหลายรูปแบบ อาทิ การสร้างความตระหนักรู้สถานการณ์ทางทะเล ปฏิบัติการณ์เรือดำน้ำ การฝึกทางยุทธวิธีแบบแก้ปัญหาบนโต๊ะ และการฝึกดำน้ำร่วม นอกจากนี้ ยังมีการจัดกิจกรรมทางสังคมต่างๆ ทั้งทางกีฬาและดนตรีร่วมกับโรงเรียนในท้องถิ่น ซึ่งเป็นอีกหนึ่งส่วนสำคัญของการฝึกการัต การฝึกการัตเป็นการฝึกที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องยาวนานที่สุดระหว่างกองทัพเรือสหรัฐฯ กับภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมุ่งเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกองทัพเรือในภูมิภาคและความร่วมมือด้านความมั่นคงทางทะเลทั่วภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก กองทัพเรือไทยได้เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกประจำปีดังกล่าวนับตั้งแต่ครั้งแรกในปี 2538 Credit: Sukasom Hiranphan (ThaiArmedForce.com) U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Joshua Mortensen U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Joshua Mortensen U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Joshua Mortensen U.S. Navy photo by Mass Communications Specialist 2nd Class Corbin Shea U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Kelsey L. Adams U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Kelsey L. Adams U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Joshua Mortensen U.S. Navy photo by Mass Communications Specialist 2nd Class Corbin Shea U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 1st Class Greg Johnson โดย U.S. Embassy Bangkok | 13 มิถุนายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
The 25th annual Cooperation Afloat Readiness and Training (CARAT) Thailand were held at Sattahip Naval Base in Chonburi from May 29 – June 8. It featured more than a dozen ships and aircraft from the U.S. Navy, notably the Boeing P-8 Poseidon, and those from the Royal Thai Navy engaged in the training. The entire spectrum of naval operations and subject matter expert knowledge exchanges was covered this year. Examples were Maritime Domain Awareness (MDA), submarine operations, tactics tabletop exercises and joint practical dives. Community relations was also an integral part of CARAT Thailand 2019, with integrated sporting and music events at local schools. CARAT, the U.S. Navy’s oldest and longest continually running regional exercise in South and Southeast Asia, strengthens partnerships between regional navies and enhances maritime security cooperation throughout the Indo-Pacific. The Royal Thai Navy has been a part of the annual CARAT series since the exercise began in 1995. Credit: Sukasom Hiranphan (ThaiArmedForce.com) U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Joshua Mortensen U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Joshua Mortensen U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Joshua Mortensen U.S. Navy photo by Mass Communications Specialist 2nd Class Corbin Shea U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Kelsey L. Adams U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Kelsey L. Adams U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 2nd Class Joshua Mortensen U.S. Navy photo by Mass Communications Specialist 2nd Class Corbin Shea U.S. Navy photo by Mass Communication Specialist 1st Class Greg Johnson By U.S. Embassy Bangkok | 13 June, 2019 | Topics: Events, News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เจ้าหน้าที่สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยร่วมรำลึกถึงเอกอัครราชทูตจอห์น กุนเธอร์ ดีน ที่ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2562 สิริอายุได้ 93 ปี เอกอัครราชทูตดีนดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยตั้งแต่พ.ศ. 2524-2528 เอกอัครราชทูตดีนได้อุทิศชีวิตและการทำงานของท่านเพื่อสาธารณชน โดยประจำการในกองทัพระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง และในเวลาต่อมาปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานฟื้นฟูบูรณะหลังสงครามทั้งในทวีปยุโรปและเอเชีย ก่อนที่จะเข้ารับราชการในตำแหน่งนักการทูตของสำนักงานบริการต่างประเทศของสหรัฐฯ ในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งในประเทศไทย เอกอัครราชทูตดีนได้สร้างคุณูปการอันใหญ่หลวงต่อสัมพันธภาพระหว่างสหรัฐฯ และไทย ในด้านความมั่นคง การแลกเปลี่ยนด้านการศึกษา และการพัฒนา เอกอัครราชทูตดีนเข้ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ในปี 2499 โดยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตประจำประเทศต่างๆ รวม 5 วาระตลอดชีวิตการทำงานอันยาวนานและโดดเด่นของท่าน เอกอัครราชทูตดีนจากไปโดยทิ้งภรรยา นางมาร์ทีน บุตรสาว นางแคเธอรีน เคอร์ทิส บุตรชายสองคนคือ นายพอลและนายโจเซฟ รวมทั้งหลานอีกเจ็ดคน ไว้เบื้องหลัง โดย U.S. Embassy Bangkok | 13 มิถุนายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, สถานทูต, อดีตเอกอัครราชทูต
Members of the U.S. Embassy Bangkok community honor the memory of Ambassador John Gunther Dean who passed away on June 6, 2019 at the age of 93. Ambassador Dean served as the U.S. Ambassador to the Kingdom of Thailand from 1981 to 1985. Ambassador Dean dedicated his life and career to public service, serving in the military during World War II and later serving in the post-war reconstruction efforts in both Europe and Asia before joining the U.S. Foreign Service as a diplomat. During his tenure in Thailand, Ambassador Dean contributed greatly to the U.S.-Thai relations including in the fields of security, education exchange and development. Ambassador Dean joined the U.S. State Department in 1956. He was a five-time Ambassador over a long and distinguished career. He is survived by his wife Martine, along with their daughter, Catherine Curtis; their sons, Paul and Joseph; and seven grandchildren. By U.S. Embassy Bangkok | 13 June, 2019 | Topics: embassy, Former U.S. Ambassadors, News
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เนื่องในเดือนแห่งความหลากหลายทางเพศ (LGBT Pride Month)เราเฉลิมฉลองและชื่นชมผลงานอันโดดเด่นที่กลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศได้สร้างสรรค์ให้กับชาติของเรา เราขอร่วมแสดงพลังความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันกับผู้มีความหลากหลายทางเพศจำนวนมากในหลายประเทศทั่วโลกที่ลงโทษ จำคุก หรือแม้แต่ประหารชีวิตบุคคลเพียงเพราะรสนิยมทางเพศของพวกเขา คณะรัฐบาลชุดนี้ได้เปิดตัวโครงการรณรงค์ทั่วโลกขึ้นเพื่อแก้ไขกฎหมายต่อต้านกลุ่มคนรักร่วมเพศ และขอเชิญชวนให้ทุกประเทศร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการรณรงค์ครั้งนี้ โดย U.S. Embassy Bangkok | 10 มิถุนายน, 2019 | ประเภท: ข่าว
As we celebrate LGBT Pride Month and recognize the outstanding contributions that LGBT people have made to our great Nation, let us also stand in solidarity with the many LGBT people who live in dozens of countries worldwide that punish, imprison, or even execute individuals on the basis of their sexual orientation. My Administration has launched a global campaign to decriminalize homosexuality and invites all nations to join us in this effort! By U.S. Embassy Bangkok | 10 June, 2019 | Topics: News, President of the United States | Tags: Pride
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เปิดรับสมัครแล้วสำหรับการแข่งขัน ASEAN Youth Social Journalism Contest ประจำปี 2562 โดยธีมของปีนี้ คือ “ความสำคัญของรัฐบาลที่ไม่นิ่งเฉยและโปร่งใสในชีวิตประจำวันของทุกคน โดยส่งเสริมตัวอย่างของความยุติธรรม ความเสมอภาค และความโปร่งใสในระดับชุมชนและภูมิภาคอาเซียน” การแข่งขันนี้ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลสหรัฐฯ ผ่านองค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (USAID) และคณะผู้แทนสหรัฐอเมริกาประจำสำนักเลขาธิการอาเซียน มูลนิธิอาเซียน ที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านเยาวชน และสำนักเลขาธิการอาเซียน ขอเชิญชวนเยาวชนอาเซียนส่งเรียงความที่มีความยาวไม่เกิน 600 คำ อธิบายว่า รัฐบาลที่ไม่นิ่งเฉยและโปร่งใสมีความสำคัญต่อเยาวชนอย่างไร เยาวชน 2 คนจากแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนจะได้รับคัดเลือกให้เดินทางไปยังประเทศบรูไน เพื่อเข้าร่วมเวิร์กชอปริเริ่มและดำเนินกิจกรรมเพื่อสร้างความตระหนักรู้ทางสังคมในประเทศของตน และชิงรางวัลชนะเลิศสามรางวัล! ผู้สมัครจะต้องมีอายุระหว่าง 18-30 ปีบริบูรณ์ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2562 และเป็นพลเมืองของประเทศอาเซียนที่พำนักอยู่ กรอกใบสมัครและส่งเรียงความได้ภายใน 30 มิถุนายนที่ http://bit.ly/AYSJ2019 #AYSJ2019 #ASEANYouth #YouthSocialJournalists #ASEANisLit โดย U.S. Embassy Bangkok | 4 มิถุนายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, เหตุการณ์ | Tags: ASEANisLit, ASEANYouth, AYSJ2019, YouthSocialJournalists
We are pleased to announce the launching of the ASEAN Youth Social Journalism Contest 2019 exploring the theme of “the importance of responsive and transparent government in their day-to-day lives, promoting the ideals of fairness, equity, and transparency in their communities and at the ASEAN regional level”. This contest is supported by the U.S. Government through the United States Agency for International Development (USAID) and the U.S Mission to ASEAN as well as the ASEAN Foundation, the ASEAN Senior Officials Meeting on Youth, and the ASEAN Secretariat. We invite youth citizens of ASEAN to submit a maximum 600-word-essay on what responsive and transparent government means to youth. Two members from each ASEAN country will be selected to travel to Brunei Darussalam, to attend a four-day workshop to develop and implement a social awareness activity in their respective countries. Attractive prizes await for the top three winners! Eligible contestants must be 18-30 years of age by June 30th, 2019 and be ASEAN citizens residing in their home country. Find the Application Form and submit your essays in http://bit.ly/AYSJ2019 before or by June 30th, 2019. #AYSJ2019 #ASEANYouth #YouthSocialJournalists #ASEANisLit By U.S. Embassy Bangkok | 4 June, 2019 | Topics: Events, News | Tags: ASEAN
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ในนามของเจ้าหน้าที่ชาวอเมริกันและชาวไทยของหน่วยงานสหรัฐอเมริกาในประเทศไทย สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาในกรุงเทพฯ ขอถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ขอพระองค์ทรงมีพระพลานามัยสมบูรณ์และทรงพระเกษมสำราญยิ่ง สหรัฐอเมริกาและราชอาณาจักรไทยมีความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรต่อกันตลอดระยะเวลา 200 ปีที่ผ่านมา เราจะยังคงความร่วมมือที่มีระหว่างกันเพื่อประชาชนของทั้งสองประเทศจะอยู่ดีมีสุขและเจริญรุ่งเรืองสืบต่อไป โดย U.S. Embassy Bangkok | 31 พฤษภาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข่าว
On behalf of the American and Thai community of the United States Mission to the Kingdom of Thailand, the U.S. Embassy in Bangkok extends our warmest congratulations on the auspicious occasion of Her Majesty Queen Suthida Bajrasudhabimalalakshana’s birthday. We wish Her Majesty great health and happiness. The United States of America and Kingdom of Thailand have enjoyed friendly relations over the past 200 years. We look forward to continuing to work together toward a long future of shared prosperity and happiness for our peoples. By U.S. Embassy Bangkok | 31 May, 2019 | Topics: News, Press Releases, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ในนามของสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย กระผมขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อข่าวการถึงแก่อสัญกรรมของพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ รัฐบุรุษและประธานองคมนตรี เราระลึกถึงการปฏิบัติหน้าที่ของท่านโดยเสียสละเพื่อประชาชนชาวไทย ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ท่านดำรงตำแหน่งต่างๆ มากมาย รวมทั้งตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย โดยส่วนตัวแล้ว กระผมเองมีความทรงจำที่ดีเมื่อครั้งที่ได้ร่วมวงสนทนากับท่านและเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ เมื่อไม่กี่ปีมานี้ ความมุ่งมั่นแน่วแน่ที่พลเอก เปรม มีต่อความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นระหว่างประเทศของเราทั้งสอง จะทำให้ท่านดำรงอยู่ในความทรงจำของเราตลอดไป เราขอแสดงความไว้อาลัยร่วมกับครอบครัวของท่านและประชาชนชาวไทยต่อการจากไปของท่าน เราจะรำลึกถึงคุณงามความดีที่ท่านได้กระทำต่อประเทศชาติและบ้านเมือง อันจะเป็นสิ่งที่คงอยู่สืบไป ปีเตอร์ เฮย์มอนด์ อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย โดย U.S. Embassy Bangkok | 26 พฤษภาคม, 2019 | ประเภท: สุนทรพจน์, อุปทูต
On behalf of the United States Embassy in Thailand, I offer heartfelt condolences at the news of the passing of General Prem Tinsulanonda, statesman and President of the Privy Council. We recall his years of distinguished service to the people of Thailand in many capacities, including as former Prime Minister of the Kingdom of Thailand. Personally, I have warm memories of our conversations together with my ambassador in recent years. General Prem will always be remembered for his deep commitment to the long-standing partnership between our two nations. We share in mourning his passing with his family and the Thai people, and will remember his lasting contributions to the Kingdom and beyond. Peter Haymond, Charge d’affaires, U.S. Embassy Bangkok By U.S. Embassy Bangkok | 26 May, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, Speeches
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สารจากรัฐมนตรีปอมเปโอเนื่องในวันวิสาขบูชา ในนามของประชาชนชาวอเมริกัน ข้าพเจ้าขออวยพรให้พุทธศาสนิกชนทุกท่านประสบความสุขสงบและเบิกบานใจเนื่องในวันวิสาขบูชา ในวาระที่ชุมชนชาวพุทธทั่วโลกรวมใจน้อมรำลึกถึงพระโคตมพุทธเจ้า ผู้สถาปนาพระพุทธศาสนา เราขอเชิดชูค่านิยมแห่งความเมตตากรุณา จิตกุศล และความสงบสันติ ชุมชนชาวพุทธในสหรัฐอเมริการ่วมเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับประเทศชาติและประชาชนของเรา และคุณากรแห่งพระพุทธศาสนาต่อโลกนี้ตลอดช่วงเวลากว่า 2,000 ปี มีส่วนส่งเสริมวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของเรา ขอให้ท่านทั้งหลายมีความสุขสวัสดิ์ในวันวิสาขบูชานี้ โดย U.S. Embassy Bangkok | 17 พฤษภาคม, 2019 | ประเภท: สุนทรพจน์
Statement by Secretary Pompeo on Vesak Day On behalf of the people of the United States of America, I send wishes of peace and joy to everyone celebrating Vesak Day on May 19. As Buddhist communities unite across the globe to celebrate the founder of Buddhism, Siddhartha Gautama, we honor the values of compassion, charity, and peace. The Buddhist community in the United States contributes to the strength of our country and our people, and Buddhism’s contributions to the world over more than two thousand years have enriched our culture and our history. May you all enjoy a peaceful and joyful Vesak. By U.S. Embassy Bangkok | 17 May, 2019 | Topics: Speeches, U.S. Secretary of State | Tags: Buddhism, Vesak
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สารจากสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยเนื่องในโอกาสพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เจ้าหน้าที่ชาวอเมริกันและชาวไทยของหน่วยงานสหรัฐอเมริกาในประเทศไทย ร่วมกับประชาชนชาวไทยขอพระราชทานพระราชวโรกาสกราบบังคมทูลพระกรุณาแสดงความยินดีแด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เจ้าหน้าที่ชาวอเมริกันและชาวไทยของหน่วยงานสหรัฐอเมริกาในประเทศไทย ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์ทรงมีพระพลานามัยสมบูรณ์ ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจสฤษดิ์ดังพระราชประสงค์ และสถิตเสถียรจำรูญจรัสในสิริราชสมบัติ การที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดงานนิทรรศการ “ของขวัญแห่งมิตรภาพ” เมื่อปีที่ผ่านมา แสดงให้เห็นถึงมิตรภาพอันมั่นคงแข็งแกร่งระหว่างสหรัฐอเมริกาและราชอาณาจักรไทยตลอดระยะเวลา ๒๐๐ ปี สหรัฐอเมริกาจะยังคงมุ่งมั่นที่จะกระชับพันธไมตรีของสองประเทศให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น และส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองของประชาชนของเราสองประเทศสืบไป ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ โดย U.S. Embassy Bangkok | 3 พฤษภาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย
U.S. Embassy Bangkok Statement on the Occasion of His Majesty’s Coronation The American and Thai community of the United States Mission to the Kingdom of Thailand join the people of the Kingdom of Thailand in extending our warmest congratulations to His Majesty Maha Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun on the auspicious occasion of His Majesty’s coronation as King of the Kingdom of Thailand. We wish His Majesty continued health, success, and prosperity. His Majesty’s gracious opening of the “Great and Good Friends” exhibition last year was a true testament to the strength of our 200 year friendship. The United States remains committed to strengthening the alliance between our two nations, and to promoting the mutual prosperity of both our peoples. May 3, 2019 By U.S. Embassy Bangkok | 3 May, 2019 | Topics: News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา สำนักงานโฆษก สำหรับเผยแพร่ทันที 25เมษายน พ.ศ. 2562 ปลัดกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ฝ่ายกิจการด้านการเมือง เดวิด เฮล เดินทางเยือนประเทศอินโดนีเซีย ไทย พม่า และญี่ปุ่น ปลัดกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ฝ่ายกิจการด้านการเมือง จะเดินทางเยือนประเทศอินโดนีเซีย ไทย พม่า และญี่ปุ่น ตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน ถึง 6 พฤษภาคม 2562 วันที่ 29 เมษายน ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เฮล จะพบปะกับเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลอินโดนีเซีย รวมทั้งภาคประชาสังคมและผู้นำเยาวชนที่กรุงจาการ์ตา สหรัฐอเมริกาและอินโดนีเซียเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ต่อกัน และฉลองครบรอบ 70 ปีแห่งความสัมพันธ์ทวิภาคีในปี 2562 นอกจากนี้ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เฮล จะพบกับผู้แทนถาวรประจำอาเซียนเพื่อยืนยันบทบาทที่สำคัญของอาเซียนในการส่งเสริมให้ภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกมีสันติภาพและความมั่งคั่ง โดยทุกประเทศมีส่วนร่วม วันที่ 30 เมษายน ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เฮล จะพบกับเจ้าหน้าที่ของไทยและตัวแทนจากภาคประชาสังคมในกรุงเทพฯ เพื่อพูดคุยเกี่ยวกับประเด็นสำคัญระดับทวิภาคี ภูมิภาค และอาเซียน รวมทั้งบทบาทของประเทศไทยในฐานะผู้นำในภูมิภาค วันที่ 1-3 พฤษภาคม ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เฮล จะเดินทางไปยังประเทศพม่าเพื่อพบกับผู้นำรัฐบาลและภาคประชาสังคมเพื่อเน้นย้ำการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องของสหรัฐอเมริกาในการเปลี่ยนผ่านทางประชาธิปไตยในพม่า ความพยายามในการยุติความขัดแย้งและบรรลุผลในการสร้างสันติภาพและความปรองดองในประเทศ รวมทั้งทางออกของวิกฤตด้านมนุษยธรรมและสิทธิมนุษยชนที่มีความรุนแรงในรัฐยะไข่ วันที่ 6 พฤษภาคม ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ เฮล จะเดินทางไปยังกรุงโตเกียวเพื่อพบกับเจ้าหน้าที่รัฐบาล และหารือเกี่ยวกับพันธไมตรีระหว่างสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น รวมถึงประเด็นความสนใจร่วมกันของทั้งสองฝ่าย โดย U.S. Embassy Bangkok | 26 เมษายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, ไม่มีหมวดหมู่
U.S. DEPARTMENT OF STATE Office of the Spokesperson For Immediate Release April 25, 2019 Under Secretary for Political Affairs David Hale Travels to Indonesia, Thailand, Burma, and Japan Under Secretary for Political Affairs David Hale will travel to Indonesia, Thailand, Burma, and Japan from April 29 to May 6, 2019. On April 29, Under Secretary Hale will be in Jakarta to meet with government of Indonesia counterparts, as well as civil society and youth leaders. The United States and Indonesia maintain a Strategic Partnership and celebrate 70 years of bilateral ties in 2019. He will also meet with ASEAN Permanent Representatives to reaffirm ASEAN’s central role in promoting a peaceful, prosperous, and inclusive Indo-Pacific region. On April 30, he will meet with Thai officials and representatives of civil society in Bangkok to discuss bilateral, regional, and ASEANpriorities and Thailand’s role as a leader in the region. On May 1–3, he will travel to Burma to meet with government and civic leaders to underscore the United States’ continued support for the democratic transition in Burma, efforts to end conflict and achieve national peace and reconciliation, and resolution of the grave humanitarian and human rights crisis in Rakhine State. On May 6, he will travel to Tokyo to meet with officials and discuss the U.S. – Japan Alliance and bilateral issues of mutual interest. By U.S. Embassy Bangkok | 26 April, 2019 | Topics: News, Political Affairs, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: คำแถลงโดยโฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ มอร์แกน ออร์เทกัส กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. 11 เมษายน 2562 เทศกาลสงกรานต์ – ปีใหม่ไทย ในนามของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ดิฉันขอให้ประชาชนชาวไทยมีความรื่นเริงเบิกบานใจในโอกาสเฉลิมฉลองเทศกาลสงกรานต์วันขึ้นปีใหม่นี้ สหรัฐอเมริกาภูมิใจที่ได้เรียกประเทศไทยว่าเป็นเพื่อนและพันธมิตรที่ยาวนานที่สุดของเราในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลังจากที่ครบรอบ 200 ปีแห่งมิตรภาพไปเมื่อปี 2561 ตลอดเวลาหลายปีที่ผ่านมา สหรัฐฯ และไทยเป็นหุ้นส่วนกันอย่างต่อเนื่องในความร่วมมือด้านความมั่นคง การบังคับใช้กฎหมาย ธุรกิจการค้า สาธารณสุข การศึกษา และการทหาร นอกจากนี้ เราทั้งสองประเทศยังช่วยเหลือและสนับสนุนกันและกันในช่วงเวลาวิกฤต ดังที่เห็นได้จากตัวอย่างเมื่อไม่นานมานี้ในเดือนกรกฎาคมปีที่ผ่านมา เราร่วมงานกันในปฏิบัติการช่วยชีวิตสมาชิกทีมฟุตบอลหมูป่าของไทย ในอนาคตต่อจากนี้ไป สหรัฐอเมริกาขอยืนยันความมุ่งมั่นของเราต่อประเทศไทยในการสานสัมพันธ์ระหว่างประเทศและประชาชนของเราให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น และเพิ่มพูนความมั่งคั่งร่วมกันในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก เราขอให้คนไทยทุกคนมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์และประสบความสุขความเจริญในปีใหม่นี้ โดย U.S. Embassy Bangkok | 12 เมษายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข่าว
Press Statement byMorgan Ortagus Department Spokesperson Washington, DC April 11, 2019 Thailand New Year – Songkran On behalf of the Government of the United States of America, I wish the people of the Kingdom of Thailand a joyous celebration of Songkran, the festival of the New Year. The United States of America is proud to call the Kingdom of Thailand our oldest friend and ally in mainland Southeast Asia, having marked 200 years of friendship in 2018. Over the years, we have continually invested in our partnership through security, law enforcement, business, health, education, and military cooperation. We have also supported each other during times of crisis, most recently demonstrated last July during Thailand’s amazing rescue of the Wild Boar football team. As we look forward, the United States reaffirms our commitment to the Kingdom of Thailand to build even greater connections between our nations and people, and advance mutual prosperity in the Indo-Pacific region. We wish all Thai people a healthy and prosperous New Year. By U.S. Embassy Bangkok | 12 April, 2019 | Topics: News, Press Releases, U.S. & Thailand | Tags: Songkran, Thai New Year
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สหรัฐอเมริกาบริจาควัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อช่วยเหลือเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครดับไฟป่าในจังหวัดเชียงใหม่ที่ส่งผลให้คุณภาพอากาศทางภาคเหนือของประเทศไทยอยู่ในระดับอันตราย เมื่อวันที่ 29 มีนาคม สถานกงสุลใหญ่สหรัฐอเมริกาในจังหวัดเชียงใหม่ส่งมอบวัสดุอุปกรณ์ชุดแรกจากคณะที่ปรึกษาทางการทหารสหรัฐฯ ประจำประเทศไทย (จัสแมกไทย) ให้กับเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติและสถานีควบคุมไฟป่า ในช่วงสัปดาห์แรกของเดือนเมษายน ทีมทหารของสหรัฐฯ โดยความช่วยเหลือของเจ้าหน้าที่ประจำจังหวัด ได้เดินทางไปยังพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อประเมินสถานการณ์ และพิจารณาความจำเป็นของวัสดุอุปกรณ์เพิ่มเติมที่เจ้าหน้าที่ต้องใช้ในภารกิจดับไฟที่กำลังปฏิบัติการอยู่ ภายหลังการประชุมกับกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพืชพันธุ์ ทีมทหารสหรัฐฯ ได้เริ่มจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ชุดที่สอง ได้แก่ หน้ากาก N95 อุปกรณ์ทางการแพทย์ และอุปกรณ์อื่นๆ รวมมูลค่าประมาณ 15,000 เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 465,000 บาท) เพื่อให้ความช่วยเหลือในทันที “สถานกงสุลใหญ่สหรัฐฯ ในเชียงใหม่ภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในภารกิจของเพื่อนและเพื่อนร่วมงานชาวไทยของเรา ผู้เสี่ยงชีวิตของตนเพื่อดับไฟป่าทั่วทั้งภาคเหนือของไทย” กงสุลใหญ่เจนนิเฟอร์ ฮาร์ไฮ กล่าว “เราติดต่อกับเจ้าหน้าที่ประสานงานดับไฟป่าในจังหวัดเป็นประจำทุกวัน และรู้สึกขอบคุณการทำงานของพวกเขาที่ช่วยลดผลกระทบจากไฟป่าที่มีต่อคุณภาพอากาศและสุขภาพของประชาชนที่อาศัยอยู่ทางภาคเหนือ” ข้อมูลดัชนีคุณภาพอากาศของเชียงใหม่โดยสำนักงานคุ้มครองสภาพแวดล้อมของสหรัฐอเมริกา คำนวณจากข้อมูลมลพิษทางอากาศที่ได้จากเครื่องวัดที่รัฐบาลไทยเป็นเจ้าของและบำรุงรักษา สามารถดูข้อมูลดังกล่าวได้จากเว็บไซต์ของสถานทูตสหรัฐอเมริกาที่ https://th.usembassy.gov/air-quality-index-aqi/ และดูข้อมูลเกี่ยวกับการใช้หน้ากากอย่างถูกต้องเพื่อป้องกันตัวเองจากฝุ่นควัน และวิธีอื่นๆ ในการลดการสัมผัสกับฝุ่นละออง PM 2.5 ที่เป็นอันตรายได้จากแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ของสถานกงสุลใหญ่สหรัฐฯ ในเชียงใหม่ ดาวน์โหลดรูปถ่ายความละเอียดสูงได้ที่ https://app.box.com/s/2pl58flaeyropbm1ryrckjekb15gmzyv โดย U.S. Mission Thailand | 5 เมษายน, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เชียงใหม่, เอกสารข่าว
The United States is donating supplies to assist firefighters and volunteers in Chiang Mai province battling blazes that have contributed to hazardous air quality in northern Thailand. On March 29, the U.S. Consulate General in Chiang Mai contributed an initial tranche of equipment and materials supplied by the Joint U.S. Military Advisory Group Thailand (JUSMAGTHAI) to national park and fire station personnel. During the week of April 1, a U.S. military assessment team, with the support of provincial officials, traveled to affected areas in Chiang Mai province to look at the situation on the ground and to identify additional relief supply needs for squads currently fighting the fires in the region. After meeting with the Department of National Parks and Wildlife Conservation, the military team is preparing a second contribution of N95 facemasks, medical supplies, and other equipment with a value of approximately $15,000 to meet immediate needs. “The U.S. Consulate General Chiang Mai is proud to contribute to the efforts of our Thai friends and colleagues as they risk their lives to fight the fires throughout northern Thailand,” said Consul General Jennifer Harhigh. “We are in daily contact with provincial officials as they coordinate relief efforts, and we appreciate their work to reduce the impact of the fires on the air quality and the health of those living in the North.” Information regarding the U.S. Environmental Protection Agency’s Air Quality Index for Chiang Mai is calculated based on air pollution data captured by monitors owned and maintained by the Royal Thai government. It is shared through the U.S. Embassy website: https://th.usembassy.gov/air-quality-index-aqi/ The U.S. Consulate General Chiang Mai also posts tips on our social media platforms regarding the proper use of respirators to protect oneself from the smoke and other ways to minimize exposure to hazardous PM 2.5 particles. Download high resolution poster here: https://app.box.com/s/2pl58flaeyropbm1ryrckjekb15gmzyv By U.S. Mission Thailand | 5 April, 2019 | Topics: Chiang Mai, Environment, News, Press Releases, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ปีเตอร์ เฮย์มอนด์ และภรรยา พร้อมด้วยกงสุลใหญ่ เจนนิเฟอร์ ฮาร์ไฮ พบปะกับนักศึกษามหาวิทยาลัย เจ้าหน้าที่ประจำจังหวัด และศิษย์เก่าโครงการแลกเปลี่ยนของสหรัฐฯ ในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงรายเมื่อวันที่ 27-29 มีนาคม ในการบรรยายที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Chiang Mai Universityและมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง MFUคุณปีเตอร์ได้เน้นยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิกที่เสรีและเปิดกว้างที่ทุกประเทศมีอำนาจอธิปไตย มั่นคง และเจริญรุ่งเรือง ในโอกาสนี้ คุณปีเตอร์และคุณเจนนิเฟอร์ ได้กล่าวต้อนรับเยาวชนคนหนุ่มสาวที่มีพลังกลุ่มใหม่ที่เข้าร่วมโครงการ#YSEALI รวมทั้งทักทายกับศิษย์เก่าของโครงการผู้ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับชุมชนของตนเองด้วย โดย U.S. Embassy Bangkok | 27 มีนาคม, 2019 | ประเภท: กงสุลใหญ่, ข่าว, อุปทูต, เชียงใหม่, เหตุการณ์
Charge D’Affaires Peter Haymond and Mrs. Haymond met with University students, local officials, and U.S. exchange program alumni in Chiang Mai and Chiang Rai along with Consul General Jennifer Harhigh March 27-29. At Chiangmai University and Mae Fah Luang University, Charge D’Affaires Haymond highlighted the Free & Open #IndoPacificStrategy in which all nations are sovereign, strong, and prosperous. Charge D’Affaires Haymond and Consul General Harhigh also welcomed the new cohort of enthusiastic #YSEALI professional fellows and greeted #YSEALI alumni who are creating change in their communities. By U.S. Embassy Bangkok | 27 March, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, Chiang Mai, Consul General, Events, News
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สำหรับเผยแพร่ทันที คำแถลงจากรองโฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ โรเบิร์ต พาลาดิโน 26 มีนาคม พ.ศ. 2562 การเลือกตั้งในประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม เรายินดีกับพลเมืองไทยหลายสิบล้านคนที่ออกมาแสดงพลังในการเลือกตั้งที่รอคอยกันมาเป็นเวลานานเมื่อวันที่ 24 มีนาคมที่ผ่านมา เพื่อให้ประเทศไทยกลับมามีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งอีกครั้ง การลงคะแนนเสียงของประชาชน การรายงานข่าวอย่างเข้มข้นของสื่อเกี่ยวกับกระบวนการเลือกตั้ง รวมไปถึงการอภิปรายข้อเท็จจริงอย่างเสรี เป็นสัญญาณบวกแสดงถึงการกลับสู่รัฐบาลตามระบอบประชาธิปไตยที่สะท้อนความต้องการของประชาชน เรายืนเคียงข้างประชาชนชาวไทยในการเรียกร้องให้มีการประกาศผลการเลือกตั้งโดยเร็ว และให้มีการตรวจสอบรายงานความผิดปกติที่เกิดขึ้นในทุกกรณีอย่างยุติธรรมและโปร่งใส สหรัฐอเมริการอคอยที่จะทำงานร่วมกับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งชุดใหม่ของประเทศไทย เพื่อส่งเสริมค่านิยมต่างๆ รวมถึงประชาธิปไตย ความมั่นคง และความเจริญมั่งคั่งของพลเมืองทุกคน อันจะนำประเทศของเราทั้งสองให้ใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น โดย U.S. Embassy Bangkok | 27 มีนาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, เอกสารข่าว
For Immediate Release STATEMENT BY ROBERT PALLADINO, DEPUTY SPOKESPERSON March 26, 2019 Thailand March 24 Elections We congratulate the tens of millions of Thai citizens who participated in the long-awaited March 24 election for demonstrating their strong support for a return to elected government. The vote, robust media coverage of the process and open debate of its merits are positive signs for a return to a democratic government that reflects the will of the people. We stand with the Thai people in calling for the expeditious announcement of voting results and a fair and transparent investigation of any reported irregularities. The United States looks forward to working with Thailand’s newly elected government to advance values that bring our countries closer together, including democracy, security, and prosperity for all citizens. By U.S. Embassy Bangkok | 27 March, 2019 | Topics: News, Press Releases
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สถานทูตสหรัฐฯ ยินดีที่ได้ร่วมกับทางหอสมุดเนียลสัน เฮส์ จัดอบรมเขียนงานวรรณกรรมสร้างสรรค์ ให้กับเพื่อนๆ นักเขียนไทยเมื่อวานนี้ เราขอขอบคุณนักเขียนรางวัลซีไรต์มากประสบการณ์ คุณวีรพร นิติประภา คุณอุทิศ เหมะมูล และ คุณวิภาส ศรีทอง ที่มาร่วมบรรยายและจัดกิจกรรม ในการอบรมครั้งนี้ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้เรื่องขั้นตอนการเขียน และคุณวิภาสได้ร่วมแบ่งปันประสบการณ์ในฐานะศิษย์เก่าของหลักสูตรการเขียนวรรณกรรมสร้างสรรค์นานาชาติของมหาวิทยาลัยไอโอว่า โดย U.S. Mission Thailand | 21 มีนาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สถานทูต, เหตุการณ์
We were thrilled to partner with Nielson Hayes Library to host an Advanced Creative Writing Workshop for budding Thai writers yesterday. Many thanks to our award-winning workshop presenters Khun Veeraporn Nitiprapha, Khun Uthis Haemamool, and Khun Wipas Srithong! Participants learned about the writing process and Khun Wipas shared his International Writing Program residency experience as alumnus of the prestigious International Writing Program! By U.S. Embassy Bangkok | 21 March, 2019 | Topics: embassy, Events, News
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา สำนักงานโฆษก สำหรับเผยแพร่ทันที คำแถลงโดยรองโฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ โรเบิร์ต พาลาดิโน 16 มีนาคม 2562 การถึงแก่อนิจกรรมของนายวีรชัย พลาศรัย เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ในนามของสหรัฐอเมริกา ข้าพเจ้าขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัวและมิตรสหายของเอกอัครราชทูต วีรชัย พลาศรัย รวมทั้งประชาชนชาวไทยในการถึงแก่อนิจกรรมของท่าน หลายคนรู้จักเอกอัครราชทูตวีรชัยในฐานะมิตรที่เข้มแข็งของสหรัฐอเมริกา ผู้ซึ่งทำงานอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและประเทศไทย อีกทั้งยังส่งเสริมความเจริญมั่งคั่งและความมั่นคงของเราสองประเทศ เอกอัครราชทูตวีรชัยเคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและผู้แทนถาวรไทยประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ในเวลานั้นท่านได้ทำงานอย่างทุ่มเทเพื่อให้ประเทศไทยเป็นผู้นำในระดับโลก ท่านเป็นนักดนตรีผู้มีความปรารถนาอันแรงกล้าและได้นำความไพเราะแห่งเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มายังชาวอเมริกันจำนวนมาก เอกอัครราชทูตวีรชัยจะเป็นที่ระลึกถึงอย่างมาก สหรัฐอเมริกาจะรำลึกถึงความเป็นผู้นำของท่านและผลงานที่ท่านได้ทำให้กับประเทศไทยและประชาคมโลกตลอดไป โดย U.S. Embassy Bangkok | 18 มีนาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข่าว
For Immediate Release STATEMENT BY ROBERT PALLADINO, DEPUTY SPOKESPERSON March 16, 2019 The Passing of His Excellency Virachai Plasai Ambassador of the Kingdom of Thailand to the United States of America On behalf of the United States of America, I offer heartfelt condolences on the passing of His Excellency Ambassador Virachai Plasai to his family, friends, and the people of Thailand. Ambassador Virachai is remembered by many as a stalwart friend of the United States, working tirelessly to further the U.S.-Thai relationship and advance the prosperity and security of both our nations. Ambassador Virachai previously served as the Ambassador and Permanent Representative of the Kingdom of Thailand to the United Nations in New York where he did much to exert Thai leadership globally. He was an avid musician, bringing the beauty of His Late Majesty King Bhumibol Adulyadej’s musical compositions to many Americans. Ambassador Virachai will be greatly missed. The United States will long remember his leadership and contributions to his country and the world. By U.S. Embassy Bangkok | 17 March, 2019 | Topics: News, Press Releases
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ข้าพเจ้ารู้สึกเสียใจเป็นอย่างยิ่งที่วันนี้ได้ทราบข่าวการถึงแก่อนิจกรรมของเอกอัครราชทูตวีรชัย พลาศรัย ในนามของประชาชนชาวอเมริกัน ข้าพเจ้าขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัวและมิตรสหายของท่าน และต่อประชาชนชาวไทย เอกอัครราชทูตวีรชัยได้สร้างผลงานมากมายเพื่อความมั่นคงและเฟื่องฟูของความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและประเทศไทย ตลอดระยะเวลาการทำงานอย่างดีเลิศของท่าน เอกอัครราชทูตวีรชัยเข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกาในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 ท่านเป็นมิตรของสหรัฐอเมริกา เป็นผู้ซึ่งปฏิบัติงานอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของเราทั้งสอง ก่อนหน้านั้น ท่านได้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและผู้แทนถาวรไทยประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 ในขณะที่ดำรงตำแหน่งดังกล่าว ท่านได้ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงอันเป็นค่านิยมร่วมของบรรดาประชาชาติ แสดงให้เห็นว่าราชอาณาจักรไทยเป็นผู้นำในกลุ่มประเทศอาเซียน อินโด-แปซิฟิก และทั่วโลก ข้าพเจ้าเองได้มีโอกาสพบกับเอกอัครราชทูตวีรชัยหลายครั้ง และทุกครั้งข้าพเจ้ารู้สึกประทับใจกับการอุทิศตนของท่าน ความสามารถอันโดดเด่นและความจริงใจของท่าน สหรัฐอเมริกาจะรำลึกถึงคุณูปการที่ท่านได้สร้างไว้เพื่อประเทศและโลกของท่านตลอดระยะเวลากว่า 30 ปีที่ท่านเป็นนักการทูตอันเป็นคุณูปการที่จะคงอยู่ตลอดไป โดย U.S. Embassy Bangkok | 16 มีนาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, อุปทูต
It is with great sadness that we learned todayof the passing ofHis Excellency Virachai Plasai.On behalf of the American people, I offer our heartfelt condolences to his family,hisfriends, and the people of Thailand. Ambassador Virachai made many contributions to the stability and prosperity of U.S.-Thai relations throughout his distinguished career. Heassumed the position of Ambassador of the Kingdom of Thailand to the United States in June 2018.Afriend of the United States, he workedtirelesslyto strengthen partnerships between our two countries.Previously, Ambassador Virachai was the Ambassador and Permanent Representative of Thailand to the United Nationsin New York beginning in March 2015. In that role he advanced shared values of peace and stability, representing the Kingdom of Thailand as a leader in ASEAN, the Indo-Pacific, and around the world. I myself was privileged to meet Ambassador Virachai on a number of occasions, and was each time impressed with his dedication, his obvious ability, and his sincerity.The United States will long remember the deep, lasting contributions Ambassador Virachai made to his country and his world throughoutadiplomatic career that spanned more than 30 years. By U.S. Embassy Bangkok | 16 March, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, News
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่ 14 มีนาคมที่ผ่านมา เยาวชน Young Southeast Asian Leaders Initiative (YSEALI) จากไทยที่กำลังจะเดินทางไปเข้าร่วมโครงการ YSEALI Academic Fellowship ที่สหรัฐฯ ปลายเดือนมีนาคม นี้ ได้เข้ารับการปฐมนิเทศที่สถานทูตสหรัฐฯ โดยเยาวชนกลุ่มนี้จะได้ทำกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยในสหรัฐฯ เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ซึ่งมหาวิทยาลัยที่จะรับอุปถัมป์เยาวชนกลุ่มนี้ ได้แก่ Brown University, University of Connecticut, University of Montana, University of Hawaii (East-West Center), University of Nebraska-Omaha, และ Arizona State University สนใจลงทะเบียนเป็นสมาชิก YSEALI เพื่อรับข้อมูลเรื่องทุนแลกเปลี่ยนอื่นๆ ได้ที่http://yseali.state.gov โดย U.S. Embassy Bangkok | 14 มีนาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, ทุนการศึกษาและโครงการแลกเปลี่ยน, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
On March 14, a group of alumni came to U.S. Embassy Bangkok to talk to 15 incoming Spring 2019 YSEALI Academic Fellows. These Fellows will travel to the U.S. starting at the end of March. The Thai YSEALI alumni informed the participants about what to prepare prior to departure and things to expect when they get to their respective host universities. The participants were also briefed by the Embassy staff on engagement with the U.S. Embassy’s activities once they return to Thailand. By U.S. Embassy Bangkok | 14 March, 2019 | Topics: Events, News, Scholarships and Exchanges, U.S. & Thailand | Tags: YSEALI
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่ 2-3 มีนาคมที่ผ่านมา โครงการ Young Southeast Asian Leaders Initiative (YSEALI) ของสถานทูตสหรัฐฯ ร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ร่วมกันจัดกิจกรรม YSEALI Debate Camp ขึ้นสำหรับนิสิตนักศึกษาจำนวน 36 คน ที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อให้ความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับการโต้วาที การพูดในที่สาธารณะ และฝึกฝนทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสังคม และเสนอแนวทางแก้ไข YSEALI Debate Camp เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมที่สถานทูตสหรัฐฯ จัดขึ้นเพื่อร่วมฉลองความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรไทย และสหรัฐอเมริกาครบรอบ 200 ปี โดย U.S. Embassy Bangkok | 2 มีนาคม, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
On March 2-3, 36 Thai undergraduate students met at the Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University to attend the final event in a series of six YSEALI debate camps. This program aims at raising civic awareness among youth and providing a space for young people to discuss social issues, economic matters, education challenges, and environmental problems through a debating platform. Debate camp also builds capacity in public speaking and debate skills. YSEALI Debate Camp is a part of the bicentennial celebration of the Thai-U.S. friendship. By U.S. Embassy Bangkok | 2 March, 2019 | Topics: Events, News, U.S. & Thailand | Tags: Khon Kaen, YSEALI, YSEALIdebate
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: EducationUSA Thailandและ AUA ร่วมกันจัดงาน “American Education Fair 2019” เมื่อวันเสาร์ที่ 2 มีนาคม 2019 ที่โรงแรม อโนมาแกรนด์ กรุงเทพฯ นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ปกครอง มากกว่า 500 คนได้ร่วมพูดคุยกับตัวแทนมหาวิทยาลัย 55 แห่งในงาน นอกจากนี้ยังมีงานสัมมนาที่เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานเรียนรู้เกี่ยวกับการเลือกมหาวิทยาลัยที่เหมาะสม วีซ่านักเรียน ขั้นตอนการสมัคร และทุนการศึกษา ใครที่ไม่อยากพลาดโอกาสดีๆ แบบนี้ ติดตามเฟสบุกEducationUSA Thailandสำหรับข่าวสารกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดย U.S. Embassy Bangkok | 2 มีนาคม, 2019 | ประเภท: การศึกษา, ข่าว, ศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
EducationUSA Thailandand the AUA Language Schools organized the “American Education Fair 2019” on Saturday, March 2, 2019 at the Arnoma Grand Hotel, Bangkok. More than 500 students, high school counselors, and parents attended to speak to representatives from 55 U.S. Universities. At seminar sessions, attendees learned about choosing the right school, the student visa, application process and scholarships. If you don’t want to miss this kind of opportunity, followEducationUSA ThailandFacebook page for updates about future events! By U.S. Embassy Bangkok | 2 March, 2019 | Topics: Education, Events, News, Study in the U.S., U.S. & Thailand | Tags: American Education Fair 2019
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: President Donald J. Trump and Kim Jong Un talk Feb. 27, 2019, at the Sofitel Legend Metropole hotel in Hanoi, for their second summit meeting. (Official White House Photo by Shealah Craighead) สำนักงานเลขานุการฝ่ายสื่อมวลชน สำหรับเผยแพร่ทันที วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 คำกล่าวของประธานาธิบดีทรัมป์ และนายคิม จอง อึน ประธานคณะกรรมการกิจการแห่งรัฐเกาหลี แห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) ในการหารือแบบตัวต่อตัว ณ โรงแรมโซฟิเทล เลเจนด์ เมโทรโพล ฮานอย กรุงฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เวลา 18.33 น. เวลาอินโดจีน ประธานคิม: (ตามที่ล่ามแปล) เป็นเวลา 261 วันพอดีนับตั้งแต่เราได้พบกันครั้งสุดท้ายที่สิงคโปร์เมื่อเดือนมิถุนายนปีที่ผ่านมา ประธานาธิบดีทรัมป์: ใช่ครับ ประธานคิม: (ตามที่ล่ามแปล) และผมเชื่อว่า การประชุมของเราในวันนี้ซึ่งมีความสำคัญและประสบความสำเร็จยิ่งเป็นผลจากการตัดสินใจที่ห้าวหาญ — การตัดสินใจทางการเมืองของคณะทำงานของท่าน ท่านประธานาธิบดี ในช่วงเวลา 261 วันนับตั้งแต่เราพบกันครั้งก่อน มีความเข้าใจผิดบางประการเกิดขึ้น มีสายตาหลายคู่จากทั่วโลกที่เข้าใจสถานการณ์นี้ผิดไป แต่ — อีกทั้ง ยังมีความเป็นปรปักษ์จากภายนอกอันสืบเนื่องจากช่วงเวลาในอดีตอันไกลโพ้นหลงเหลืออยู่บ้าง ประธานาธิบดีทรัมป์: ถูกต้องครับ ประธานคิม: (ตามที่ล่ามแปล) อย่างไรก็ดี เราผ่านพ้นอุปสรรคทั้งหลายเหล่านั้นมาได้ และวันนี้ เราก็ได้มาพบหารือกันที่ฮานอย 261 วันหลังจากการประชุมครั้งนั้น ผมเชื่อว่า 261 วันที่ผ่านมานั้นเป็นวันเวลาที่ — และเป็นช่วงเวลาที่ต้องใช้ความพากเพียรพยายามพร้อมทั้งความอดทนอดกลั้นอย่างยิ่ง ทว่า ในวันนี้ เราก็ได้มานั่งเคียงข้างกันอยู่ที่นี่ และนี่ให้ความหวังแก่เราว่า สุดท้ายแล้ว เราจะสามารถประสบความสำเร็จได้ และผมจะพยายามอย่างยิ่งเพื่อให้เกิดสัมฤทธิ์ผลนั้น ประธานาธิบดีทรัมป์: ขอบคุณมากครับ ท่านกล่าวได้ดีทีเดียว ผมอยากแค่บอกว่า ผมรู้สึกเป็นเกียรติที่ได้มาพบกับท่านประธานคิม รู้สึกเป็นเกียรติมากที่เราทั้งสองได้มาพบกันในเวียดนามซึ่งเป็นประเทศที่ให้การต้อนรับเราอย่างสมเกียรติ และเวียดนามก็ — รู้สึกเป็นเกียรติที่ได้เป็นเจ้าภาพให้การประชุมของเรา ผมดีใจมากที่ได้มาพบท่าน การประชุมสุดยอดครั้งแรกของเราประสบความสำเร็จมาก ผมรู้สึกว่าการประชุมครั้งนั้นประสบความสำเร็จมาก บางคนอยากเห็นผลสำเร็จเร็วกว่านี้ แต่ผมพอใจนะครับ ท่านเองก็พอใจ เราทั้งสองต่างอยากพอใจกับสิ่งที่เรากำลังทำอยู่ อย่างไรก็ดี ผมคิดว่า การประชุมสุดยอดครั้งแรกประสบความสำเร็จมาก และผมหวังว่า การประชุมครั้งนี้จะประสบความสำเร็จเฉกเช่นเดียวกันหรือมากกว่าครั้งแรก ที่ผ่านมาเราดำเนินการคืบหน้าไปมาก และผมคิดว่า ความคืบหน้าที่ยิ่งใหญ่ที่สุดนั้นคือความสัมพันธ์อันดีระหว่างเรา ดังที่ผมได้กล่าวแล้วหลายหน — ผมกล่าวกับสื่อ กล่าวกับทุกคนที่อยากฟังว่า ผมคิดว่า ประเทศของท่านมีศักยภาพทางเศรษฐกิจสูงมาก อย่างเหลือเชื่อเลยทีเดียว และไม่มีข้อจำกัด และผมคิดว่า ท่านมีอนาคตที่สดใสมากกับประเทศของท่าน — ท่านจะเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ ผมตั้งตารอให้อนาคตนี้เกิดขึ้นและจะช่วยส่งเสริมให้เกิดขึ้น และเราทั้งสองจะช่วยกันทำให้เกิดขึ้น ขอขอบคุณทุกคนเป็นอย่างมาก เราขอขอบคุณ และเราจะไปรับประทานอาหารค่ำ จากนั้น เรามีกำหนดการประชุมสำคัญในวันพรุ่งนี้ แล้วพบกันนะครับ ผมคิดว่าเราคงพบกันในช่วงแถลงข่าวช่วงใดช่วงหนึ่งพรุ่งนี้ ขอบคุณมากครับ คำถามจากนักข่าว: ท่านประธานาธิบดี ท่านมีอะไรจะกล่าวเกี่ยวกับนายไมเคิล โคเอน และคำให้การของเขาไหมครับ ประธานาธิบดีทรัมป์: (ส่ายหน้า) จบ 18.37 น. เวลาอินโดจีน ### *การแปลนี้จัดทำขึ้นโดยความอนุเคราะห์และเฉพาะต้นฉบับภาษาอังกฤษเท่านั้นที่ควรถือว่าเชื่อถือได้ โดย U.S. Mission Thailand | 1 มีนาคม, 2019 | ประเภท: ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก, สุนทรพจน์
President Donald J. Trump and Kim Jong Un talk Feb. 27, 2019, at the Sofitel Legend Metropole hotel in Hanoi, for their second summit meeting. (Official White House Photo by Shealah Craighead) Office of the Press Secretary February 27, 2019 Remarks by President Trump and Chairman Kim Jong Un of the State Affairs Commission of the Democratic People’s Republic of Korea in a 1:1 Conversation Sofitel Legend Metropole Hanoi Hanoi, Vietnam 6:33 P.M. ICT CHAIRMAN KIM: (As interpreted.) So it’s exactly 261 days since we met last time in Singapore, in June, last year. PRESIDENT TRUMP: Yes. CHAIRMAN KIM: (As interpreted.) And I truly believe that this successful and great meeting that we are having today is thanks to the courageous decision — political decision that your team, Mr. President, reached. So, during that 261 days since we last met, there have been some misunderstandings. There have been all these eyes from the world who are misunderstanding the situation. But — and there was some hostility that still remains from the very, very past period that — from the outside. PRESIDENT TRUMP: Right. CHAIRMAN KIM: (As interpreted.) But, however, we have been able to overcome all the obstacles, and here we are today after 261 days, in Hanoi. I actually believe that those 261 days were the days which were — and during which a lot of painstaking efforts were necessary and also a lot of patience were needed. But here we are today, sitting next to each other, and that gives us a hope that we will be successful with time. And I will really try to make that happen. PRESIDENT TRUMP: Thank you very much. That’s really nice. Well, I want to just say it’s an honor to be with Chairman Kim. It’s an honor to be together in, really, a country, Vietnam, where they’ve really rolled out the red carpet and they’ve — they’re very honored to have us. And it’s great to be with you. We had a very successful first summit. I felt it was very successful, and some people would like to see it go quicker. I’m satisfied; you’re satisfied. We want to be happy with what we’re doing. But I thought the first summit was a great success. And I think this one, hopefully, will be equal or greater than the first. And we made a lot progress, and I think the biggest progress was our relationship is really a good one. And as I’ve said many times — and I say it to the press, I say it to anybody that wants to listen: I think that your country has tremendous economic potential. Unbelievable. Unlimited. And I think that you will have a tremendous future with your country — a great leader. And I look forward to watching it happen and helping it to happen. And we will help it to happen. Thank you all very much. We appreciate it. And we’re going to go have dinner, and then we have some big meetings scheduled for tomorrow. And we’ll see you, I guess, at a news conference at some point during the day. Thank you very much. Q: Mr. President, do you have any reaction to Michael Cohen and his testimony? PRESIDENT TRUMP: (Shakes head.) END 6:37 P.M. ICT By U.S. Embassy Bangkok | 1 March, 2019 | Topics: East Asia & Pacific, President of the United States, Speeches
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา พนักงานสถานทูตฯ ร่วมฉลองเดือนแห่งประวัติศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกันในบ้านพักท่านเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ซึ่งฉลองกันในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี โดยมีดร.​ โจแอนน์ ฮิปโปลิต ภัณฑารักษ์ประจำพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมแอฟริกันอเมริกันแห่งชาติ สถาบันสมิธโซเนียน เข้าร่วมงานด้วย ดร.​ โจแอนน์ ฮิปโปลิต มาเยือนไทยเพื่อบรรยายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกันและเทคโนโลยีพิพิธภัณฑ์สมัยใหม่ โดย U.S. Embassy Bangkok | 28 กุมภาพันธ์, 2019 | ประเภท: ข่าว, สถานทูต, เหตุการณ์
On February 28, the Embassy hosted a potluck in celebration of theBlack History Monthat Ambassador’s Residence. In attendance was Dr. Joanne Hyppolite of Smithsonian National Museum of African American History and Culture, who is currently in Thailand to conduct programs on African American culture and museum technology. By U.S. Embassy Bangkok | 28 February, 2019 | Topics: Culture, embassy, Events, News
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ในวาระครบรอบ 200 ปี มิตรภาพสหรัฐอเมริกากับไทย เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ปีเตอร์ เฮย์มอนด์ พร้อมภริยา และ ดร. โจแอนน์ ฮิปโปลิต ภัณฑารักษ์ประจำพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมแอฟริกันอเมริกันแห่งชาติ สถาบันสมิธโซเนียน ได้ไปเยี่ยมชมศูนย์ศิลปาชีพสีบัวทองและโครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ณ จังหวัดอ่างทอง โดยมีท่านผู้หญิง ดร. ภรณี มหานนท์ รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ท่านผู้หญิงอรนุช อิศรางกูร ณ อยุธยา คณะกรรมการพิพิธภัณฑ์ผ้า ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และคุณปิยวรา ทีขะระ เนตรน้อย ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ผ้าฯ ให้การต้อนรับ ในโอกาสนี้ ดร. โจแอนน์ ฮิปโปลิต ได้กล่าวบรรยายในหัวข้อ “วัฒนธรรมแอฟริกัน-อเมริกัน” โดยมีคณะนักเรียนโรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคมจำนวน 100 คนร่วมฟังการบรรยาย จากนั้นท่านผู้หญิง ดร. ภรณี และท่านผู้หญิงอรนุชได้นำคณะเยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆ ของโรงฝึกศิลปาชีพ อาทิ การปลูกข้าว การทอผ้าไหม และการปักผ้า กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของการมาเยือนไทยเป็นเวลา 2 สัปดาห์ของ ดร. โจแอนน์ ฮิปโปลิต เพื่อร่วมฉลองเดือนแห่งประวัติศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน โดย U.S. Embassy Bangkok | 27 กุมภาพันธ์, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, อุปทูต, เหตุการณ์
Continuing the celebration of the 200 years of friendship between the U.S. and Thailand, on February 27, Charge d’Affaires Peter Haymond, Mrs. Haymond and Dr. Joanne Hyppolite of the Smithsonian National Museum of African American History and Culture visited Sibuathong SUPPORT Foundation Center and Model Farm Project under the Royal Initiative of Her Majesty Queen Sirikit in Angthong province. They were welcomed by Deputy Private Secretary to Her Majesty Queen Sirikit Thanpuying Dr. Pharani Mahanonda, Queen Sirikit Museum of Textiles’ Board Member Thanpuying Oranush Isarangkun Na Ayuthaya and Director Piyavara Teekara Natenoi. Dr. Joanne Hyppolite gave a special presentation on “African American Culture” to 100 high school students from Angthong Patthamaroj Wittayakom School. Thanpuying Dr. Pharani and Thanpuying Oranush led the group to view the Center’s facilities, including rice planting, silk weaving, and embroidery. The visit was part of Dr. Hyppolite’s 2 week visit to Thailand to celebrate Black History Month. By U.S. Embassy Bangkok | 27 February, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, Culture, Events, News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: มื่อวันที่ 16-17 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา โครงการ Young Southeast Asian Leaders Initiative (YSEALI) ของสถานทูตสหรัฐฯ ได้จัดกิจกรรม YSEALI Debate Camp ขึ้นสำหรับนิสิตนักศึกษาจำนวน 36 คน ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต เพื่อให้ความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับการโต้วาที การพูดในที่สาธารณะ และฝึกฝนทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสังคม และเสนอแนวทางแก้ไข YSEALI Debate Camp เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมที่สถานทูตสหรัฐฯ จัดขึ้นเพื่อร่วมฉลองความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรไทย และสหรัฐอเมริกาครบรอบ 200 ปี โดย U.S. Embassy Bangkok | 16 กุมภาพันธ์, 2019 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
On February 16-17, 36 Thai undergraduate students met at Prince of Songkla University, Phuket Campus to attend the fifth in a series of six YSEALI debate camps. This program aims at raising civic awareness among youth and providing a space for young people to discuss social issues, economic matters, education challenges, and environmental problems through a debating platform. Debate camp also builds capacity in public speaking and debate skills. YSEALI Debate Camp is a part of the bicentennial celebration of the Thai-U.S. friendship. By U.S. Embassy Bangkok | 16 February, 2019 | Topics: Events, News, U.S. & Thailand | Tags: Phuket, YSEALI, YSEALIdebate
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สถานทูตสหรัฐอเมริการ่วมแสดงความยินดี เน้นย้ำความร่วมมือด้านสุขภาพ การแพทย์ และสาธารณสุข เป็นเสาหลักของมิตรภาพสหรัฐฯ-ไทย นักวิจัยและคณะแพทย์จากสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2562 จะเข้าร่วมในงานรับรองเชิดชูเกียรติที่บ้านพักเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ในช่วงเย็นของวันนี้ งานเลี้ยงครั้งนี้เน้นย้ำความร่วมมือด้านสุขภาพ การแพทย์ และสาธารณสุข เป็นเสาหลักของความสัมพันธ์สหรัฐฯ – ไทย ในปีนี้ นักวิจัยชาวอเมริกัน 3 คน ได้เข้ารับพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลในสาขาการแพทย์ ได้แก่ ศาสตราจารย์นายแพทย์ไบรอัน เจ. ดรูเคอร์ (Brian J. Druker) จากผลงานการค้นพบยาต้นแบบในการรักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว และศาสตราจารย์ด็อกเตอร์แมรี่ แคลร์ คิง (Mary-Claire King) จากการค้นพบยีนที่เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งเต้านมที่ถ่ายทอดได้ทางพันธุกรรม และในสาขาการสาธารณสุข ได้แก่ ศาสตราจารย์นายแพทย์จอห์น ดี. คลีเมนส์ (John D. Clemens) ซึ่งทำงานร่วมกับ ศาสตราจารย์นายแพทย์ยอน อาร์. โฮล์มเกรน (Jan Holmgren) ชาวสวีเดนในการศึกษาวิจัยและพัฒนาวัคซีนป้องกันอหิวาตกโรคชนิดกิน การร่วมงานกันเช่นนี้เป็นตัวอย่างของความสำเร็จที่เกิดจากความร่วมมือด้านสาธารณสุขในระดับนานาชาติ และสะท้อนให้เห็นถึงเหตุผลสำคัญที่งานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศเป็นเสาหลักของความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และไทย งานเลี้ยงดังกล่าวจะจัดขึ้นที่บ้านพักเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ โดยมีบุคลากรทางการแพทย์ ตัวแทนองค์กรและหน่วยงานความร่วมมือด้านการแพทย์และสาธารณสุขจากไทยและสหรัฐฯ รวมถึงศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา (U.S. CDC) หน่วยแพทย์ทหารบกสหรัฐฯ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร (USAMC-AFRIMS) และองค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา (USAID) เข้าร่วมงาน อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ประจำประเทศไทย ปีเตอร์ เฮย์มอนด์ กล่าวว่า “รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลเป็นรางวัลเชิดชูเกียรติผู้มีคุณูปการที่โดดเด่นและเป็นแบบอย่างของความก้าวหน้าด้านบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขของโลก สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ผู้ซึ่งเสด็จเข้าศึกษาวิชาการแพทย์และสาธารณสุขที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา ทรงเป็นพระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของประเทศไทย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงมีพระราชดำรัสถึงพระองค์ไว้ว่า ‘ทรงเป็นแบบอย่างความทุ่มเทในชีวิตและการทำงานเพื่อช่วยเหลือมนุษยชาติ และทรงเป็นแรงบันดาลใจให้กับคนทั้งหลายทำสิ่งตอบแทนสังคม’ ” “สหรัฐฯ มีความภาคภูมิใจและรู้สึกเป็นเกียรติที่นักวิจัยและคณะแพทย์ชาวอเมริกันได้รับพระราชทานรางวัลในปีนี้ ความร่วมมือด้านสุขภาพ การแพทย์ และสาธารณสุข นับเป็นเสาหลักของความร่วมมืออันยาวนานระหว่างสหรัฐฯ และไทย พวกเรามุ่งหวังที่จะพัฒนาความร่วมมือกับประเทศไทยในลำดับต่อไปในการร่วมกันดูแล ป้องกันและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชากรโลก” อุปทูตเฮย์มอนด์กล่าว โดย U.S. Embassy Bangkok | 1 กุมภาพันธ์, 2019 | ประเภท: สหรัฐอเมริกาและไทย, อุปทูต, เอกสารข่าว
The U.S. Embassy congratulates the laureates, highlighting health cooperation as a central pillar of the strong U.S.-Thai Friendship The 2018 Prince Mahidol Award Laureates, who received awards from Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn at the Chakri Throne hall on January 31, will be received at the U.S. Ambassador’s Residence this evening for a reception that highlights health cooperation as a central pillar of the U.S. – Thai relationship. This year, the Prince Mahidol Award Foundation conferred awards to three researchers from the United States. The Prince Mahidol Award in the field of medicine was conferred to Professor Brian J. Druker for his development of the prototype drug, Imatinib, using in the treatment of chronic myeloid leukemia; and to Professor Dr. Mary-Claire King for her discovery of a gene causing breast cancer. The Prince Mahidol Award in the field of public health is awarded to Professor John D. Clemens who worked with Swedish laureate Professor Jan R. Holmgren on the oral cholera vaccine development. This joint work, between an American and a Swede, exemplifies what international cooperation in public health can achieve, and exemplifies a key reason why international health cooperation is a central pillar of U.S.-Thai relations. The reception, held at the U.S. Ambassador’s Residence, will be attended by medical personnel, and representatives from Thai and U.S. organizations that collaborate on medicine and public health, including the U.S. Centers for Disease Control and Prevention, the U.S. Army Medical Component of the Armed Forces Research Institute of the Medical Sciences, and the United States Agency for International Development. U.S. Charge d’Affaires Peter Haymond noted, “The Prince Mahidol Awards are recognized as some of the world’s most respected and prestigious awards in the field of medicine. Prince Mahidol, who studied at Harvard Medical School, is the father of modern medicine and public health in Thailand. In the words of Her Royal Highness Princess Sirindhorn, Prince Mahidol’s “life and work exemplify what we do to help mankind and inspire people to give back to society.” He added, “The United States is proud and honored that the Prince Mahidol Award Foundation has recognized the contributions and achievements of three American medical and public health professionals. Health cooperation has grown to be a central pillar of the longstanding U.S.-Thai partnership. We look forward to taking many more steps with Thailand on the shared journey towards a healthier future.” By U.S. Embassy Bangkok | 1 February, 2019 | Topics: Chargé D’Affaires, Press Releases, U.S. & Thailand | Tags: Prince Mahidol Awards
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: การฝึกซ้อมทางทหารคอบร้าโกลด์ครั้งที่ 38 ประจำปี 2562 จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 12-23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ในหลายพื้นที่ทั่วประเทศไทย คอบร้าโกลด์เป็นหนึ่งในการฝึกซ้อมทางทหารเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านความมั่นคงที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก และเป็นส่วนสำคัญของพันธกิจของสหรัฐอเมริกาในการเสริมสร้างความร่วมมือในภูมิภาค การฝึกคอบร้าโกลด์จัดขึ้นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของประเทศที่ร่วมการฝึก ในด้านการวางแผนและดำเนินงานปฏิบัติการร่วม/ผสม สร้างสัมพันธภาพกับประเทศที่ร่วมการฝึกทั่วภูมิภาค และเพิ่มพูนความสามารถในการปฏิบัติการร่วมกันผ่านหลากหลายกิจกรรม ซึ่งรวมถึงการเสริมสร้างความมั่นคงทางทะเล การป้องกันและบรรเทาสถานการณ์โรคอุบัติใหม่ และการตอบสนองต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติครั้งใหญ่ การฝึกในปีนี้จะประกอบด้วยสามกิจกรรมหลัก ได้แก่ การฝึกฝ่ายเสนาธิการ โครงการช่วยเหลือประชาชน และการฝึกภาคสนามที่ประกอบด้วยกิจกรรมฝึกซ้อมหลากหลายรูปแบบ เพื่อยกระดับความสามารถในการทำงานร่วมกันและเสริมสร้างสัมพันธภาพระดับภูมิภาค ในการฝึกคอบร้าโกลด์ประจำปี 2562 จะมีประเทศต่างๆ รวม 29 ประเทศเข้าร่วมฝึกหรือเข้าร่วมสังเกตการณ์ และมีกำลังพลจากสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมฝึกทั้งบนบกและบนผิวน้ำประมาณ 4,500 นาย ขอเชิญสื่อมวลชนเข้าร่วมทำข่าวกิจกรรมต่อไปนี้ การเคลื่อนย้ายกำลัง และยุทโธปกรณ์เข้าพื้นที่การฝึก วันพฤหัสบดีที่ 7 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 08.00 น. ณ ท่าเรือจุกเสม็ด อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี พิธีเปิดการฝึกคอบร้าโกลด์ วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ณ ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก การฝึกปฏิบัติการยุทธสะเทินน้ำสะเทินบก วันเสาร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ณ หาดยาว อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี การฝึกอพยพพลเรือนออกจากพื้นที่ขัดแย้ง วันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 12.00 น. ณ กองบิน 46 อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก การฝึกการบรรเทาสาธารณภัย วันพฤหัสบดีที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 9.40 น. ณ ศูนย์ฝึกบรรเทาสาธารณภัย หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา พิธีส่งมอบอาคารภายใต้โครงการช่วยเหลือประชาชน วันพฤหัสบดี 21 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 15.00 น. ณ โรงเรียนวัดจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก การฝึกดำเนินกลยุทธ์ด้วยกระสุนจริงและพิธีปิด วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ณ สนามฝึกกองทัพภาคที่ 3 อำเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย สื่อมวลชนที่สนใจเข้าร่วมทำข่าวกิจกรรมใดๆ ข้างต้น กรุณาแจ้งความประสงค์อย่างน้อย 3 วันล่วงหน้าทางอีเมลที่ Pattaro@state.gov เชิญอ่านข้อมูลและเรื่องราว ตลอดจนชมภาพการฝึกซ้อมทางทหารคอบร้าโกลด์ รวมถึงกิจกรรมในปีที่ผ่านมาได้ทางเว็บเพจคอบร้าโกลด์ที่ www.dvidshub.net/feature/CobraGold หรือทางเพจเฟซบุ๊กอย่างเป็นทางการของคอบร้าโกลด์ได้ที่ https://www.facebook.com/USARPAC/posts/1873337936051037 โดย U.S. Embassy Bangkok | 28 มกราคม, 2019 | ประเภท: สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข่าว
The 38th iteration of the annual theater security cooperation event Exercise Cobra Gold 2019 is taking place February 12 to February 23, 2019 at various locations throughout the Kingdom of Thailand. Cobra Gold is one of the largest theater security cooperation exercises in the Indo-Pacific and is an integral part of the U.S. commitment to strengthen engagement in the region. Exercise Cobra Gold will improve the capabilities of participating nations to plan and conduct combined and joint operations; build relationships among participating nations across the region; and improve interoperability over a range of activities, including enhancing maritime security, preventing and mitigating emerging disease threats, and responding to large-scale natural disasters. This year’s exercise will consist of three primary events: a staff exercise, humanitarian civic assistance projects, and a field training exercise that includes a variety of training events to enhance interoperability and strengthen regional relationships. There will be up to 29 nations either directly participating in or observing CG19, with approximately 4500 U.S. personnel directly participating both ashore and afloat. Media are invited to attend the following events: Arrival, Unloading and Staging of Exercise Military Equipment: Thursday, February 7, 2019 at 8 a.m. – Chuk Samet Port, Sattahip District, Chonburi Province. Cobra Gold Opening Ceremony: Tuesday, February 12, 2019 at 10 a.m. – Camp Akatotsarot Muang District, Phitsanulok Province. Amphibious Assault Demonstration: Saturday, February 16, 2019 at 10 a.m. – Hat Yao Beach, Sattahip District, Chonburi Province. Non-combatant Evacuation Operation (NEO): Sunday, February 17, 2019 at 12 p.m. – Wing 46 Air Force Base, Muang District, Phitsanulok Province. Disaster Relief Exercise: Thursday, February 20, 2019 at 9:40 a.m. – Disaster Mitigation Center, Armed Forces Development Command, Phanom Sarakham District, Chachoengsao Province. Humanitarian Civic Action Project Dedication Ceremony: Thursday, February 21, 2019 at 3 p.m. – Wat Chom Thong School, Muang District, Phitsanulok Province. Combined Arms Live Fire Exercise (CALFEX) / Closing Ceremony: Friday, February 22, 2019 at 10 a.m. – Third Army Area Training Field, Ban Dan Lan Hoi District, Sukhothai Province. Media interested in attending any of these events must RSVP no later than three days prior by sending an email to Pattaro@state.gov. For more information, photos and stories about Cobra Gold, including past iterations, please visit the Cobra Gold public web page: www.dvidshub.net/feature/CobraGold or the official Facebook page at https://www.facebook.com/USARPAC/posts/1873337936051037 By U.S. Embassy Bangkok | 28 January, 2019 | Topics: Press Releases, U.S. & Thailand | Tags: Cobra Gold
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: คุณชลาทิพ จันทร์ชมภู นักวิชาการประมงจากสำนักงานจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 2 (ชลบุรี) ดร. ณรงค์พันธ์ ฉุนรัมย์ อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ คุณปฎิญญา อารีย์ จาก Trash Hero Thailand และอาจารย์สราวุธ ศิริวงศ์ อาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี เดินทางไปร่วมโครงการ International Visitor Leadership Program ภายใต้หัวข้อ “ประเด็นสิ่งแวดล้อม” ที่ประเทศสหรัฐอเมริการะหว่างวันที่ 5-23 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ทั้ง 4 ท่าน มีโอกาสได้เรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์ในหลายมิติ ทั้งกฎหมาย โครงการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ไปจนถึงบทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชน โดย U.S. Embassy Bangkok | 19 ธันวาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, ทุนการศึกษาและโครงการแลกเปลี่ยน, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
Khun Chalatip Junchompoo, Marine Biologist of the Marine and Coastal Resources Research and Development Center; Dr. Narongpan Chunram, Lecturer of the Faculty of Science and Technology, Chiang Mai Rajabhat University; Khun Padinya Aree, Trash Hero; and Ajarn Sarawut Siriwong, Lecturer in Marine Science, Burapha University, Chantaburi Campus, participated in IVLP “Environmental Issues” from November 5-23, 2018 in Washington, DC; New York, NY; Boston, MA; Corpus Christi, TX; and San Francisco, CA. They had the opportunity to examine state and federal environmental protection laws; to examine fisheries industry, including sustainable fisheries; to explore marine biology, biodiversity, and ecology conservation programs; and to explore the role of NGOs (science, tools and volunteers) in clean oceans and educational efforts. By U.S. Embassy Bangkok | 19 December, 2018 | Topics: Environment, Events, News, Scholarships and Exchanges, U.S. & Thailand | Tags: IVLP, IVLP2018
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เจ้าหน้าที่จากพิพิธภัณฑ์ผ้าในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ร่วมเดินทางไปร่วมโครงการ International Visitor Leadership Program on Demand ระหว่างวันที่ 3-13 พฤศจิกายน 2561 ภายใต้หัวข้อ “การจัดการพิพิธภัณฑ์” ทั้ง 10 คน มีโอกาสเรียนรู้วิธีการปฏิบัติงานจากภัณฑารักษ์ นักอนุรักษ์ สถาปนิก และเจ้าหน้าที่ที่ประจำอยู่พิพิธภัณฑ์หลายแห่งในสหรัฐอเมริกา ทั้งที่กรุงวอชิงตัน ดีซี นิวยอร์ก และซานฟรานซิสโก และยังตระหนักว่า การมีส่วนร่วมจากประชาชนในการจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้พิพิธภัณฑ์ในสหรัฐอเมริกาประสบความสำเร็จ โดย U.S. Embassy Bangkok | 19 ธันวาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, ทุนการศึกษาและโครงการแลกเปลี่ยน, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
Eight members of theQueen Sirikit Museum of Textiles(QSMT), and two fromKing Prajadhipok Museumparticipated in the IVLP on Demand ‘Museum Management’ which took place from November 3-13, 2018. They had the opportunity to visit U.S. art, history, and ethnic museums to meet with arts administrators, exhibit designers, architects, educators, patrons, and students; to study U.S. best practice in museum management, including storage, conservation, and registration; to deepen their institutional connections with U.S. cultural institutions; and to learn how U.S. museums encourage and promote community growth and stability by encouraging civic pride, tourism, as well as an interest in local history and culture. The group has learned that the American museums’ key to success is in their public participation in the management of their local museums. By U.S. Embassy Bangkok | 19 December, 2018 | Topics: Events, News, Scholarships and Exchanges, U.S. & Thailand | Tags: IVLP2018
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยได้จัดงาน “EducationUSA Thailand Alumni Fair 2018” ขึ้นเป็นครั้งที่ 3 เมื่อวันเสาร์ที่ 15 ธันวาคม ที่ผ่านมา ที่โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ ในงานเราได้เชิญศิษย์เก่าคนไทยที่จบจากมหาวิทยาลัยในอเมริกา ที่ปรึกษา Regional Educational Advising Coordinators ฟุลไบรท์ประเทศไทย เจ้าหน้าที่กงสุล มาให้ข้อมูลเรื่องทุนการศึกษา ขั้นตอนการสมัครเรียน การใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย และวีซ่านักเรียน โดย U.S. Embassy Bangkok | 15 ธันวาคม, 2018 | ประเภท: การศึกษา, ข่าว, ศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
The U.S. Embassyhosted the 3rd “EducationUSA Thailand Alumni Fair 2018” on Saturday, December 15, 2018 at InterContinental Bangkok. The fair brought together recently graduated Thai alumni from U.S. institutions, Regional Educational Advising Coordinators, Fulbright Thailand, and Consular Section to provide insightful information about scholarships, application process, student life on campus, and student visa. By U.S. Embassy Bangkok | 15 December, 2018 | Topics: Education, Events, News, Study in the U.S., U.S. & Thailand | Tags: EducationUSA Fairs 2018
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: วันอังคารที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ท่านเอกอัครราชทูตวีรชัย แขกผู้มีเกียรติทุกท่าน กระผมรู้สึกเป็นเกียรติที่ได้มาร่วมงานฉลองวันชาติของราชอาณาจักรไทยกับท่านทั้งหลายในค่ำคืนนี้ ในปี พ.ศ. 2405 ประธานาธิบดีลินคอล์นได้เขียนอักษรสาส์นไปถึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงเป็น “great and good friend” ของท่าน โดยในช่วงต้นปีที่ผ่านมา มีการจัดแสดงอักษรสาส์นฉบับนั้นที่กรุงเทพฯ ร่วมกับของขวัญ อักษรสาส์นของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และพระราชสาส์นในพระมหากษัตริย์ของไทย ที่แลกเปลี่ยนระหว่างกันตลอดช่วงเวลา 200 ปีที่ผ่านมา งานนิทรรศการครั้งนี้ได้จัดแสดงของขวัญมากมายจากช่วงเวลา 7 ทศวรรษแห่งการครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ซึ่งพวกเราทั้งหลายฉลองวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของพระองค์ในค่ำคืนนี้ นอกจากนี้ เรายังสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นอย่างยิ่งที่พระราชโอรสในพระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดงานนิทรรศการในเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ปีนี้เป็นวาระครบรอบ 185 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยและสหรัฐอเมริกา และสนธิสัญญาพันธมิตรระหว่างเราทั้งสองประเทศจะมีอายุครบ 65 ปี ในเดือนกันยายนปีหน้านี้ กองทัพสหรัฐและกองทัพไทยต่อสู้เคียงบ่าเคียงไหล่กันมายาวนาน นับตั้งแต่การรบครั้งที่สองที่แม่น้ำมาร์น (Second Battle of the Marne) ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ความร่วมมืออันแข็งแกร่งระหว่างกองทัพของเราเป็นที่เห็นเด่นชัดในช่วงฤดูร้อนนี้เมื่อทีมค้นหาและกู้ภัยของกองทัพสหรัฐได้มีส่วนช่วยเหลือทีมกู้ภัยนำโดยประเทศไทย ช่วยนักฟุตบอลเยาวชนออกจากถ้ำทางภาคเหนือของประเทศไทย บริษัทเอกชนและพลเมืองชาวอเมริกันมากมาย ยังมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือดังกล่าวด้วย บริษัทเชฟรอนได้นำผู้เชี่ยวชาญและอุปกรณ์ในการขุดเจาะและสูบน้ำแบบพิเศษมาใช้ ความมุ่งมั่นของธุรกิจอเมริกันที่ดำเนินงานในประเทศไทยสะท้อนให้เห็นถึงความแน่นแฟ้นด้านเศรษฐกิจของเรา ส่งผลให้การค้าสองฝ่ายมีมูลค่าสูงถึง 42,000 ล้านเหรียญในปีที่ผ่านมา มิตรภาพระหว่างสหรัฐอเมริกาและไทยในหลายๆ ด้านส่งให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก เจ้าหน้าที่ตำรวจของเราจับมือกันต่อสู้การค้ามนุษย์ สัตว์ป่า และยาเสพติดข้ามชาติ เราร่วมกันเป็นเจ้าภาพสถาบันฝึกอบรมระหว่างประเทศว่าด้วยการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย (International Law Enforcement Academy) กรุงเทพฯ ซึ่งได้อบรมผู้ปฏิบัติงานด้านการบังคับใช้กฎหมายในภูมิภาคเอเชียมาแล้วกว่า 15,000 คน นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 ร้อยละ 20 ของเจ้าหน้าที่ของเราในประเทศไทยทำงานด้านสุขภาพโลก เราร่วมกันทำงานค้นคว้าและพัฒนาวัคซีนและยาเป็นเวลาหลายทศวรรษ เราร่วมกันอบรมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากทั่วภูมิภาคเพื่อค้นหาและตอบสนองต่อภัยคุกคามของโรคต่างๆ ก่อนที่จะเกิดการระบาด ความเป็นผู้นำของประเทศไทยสามารถสนับสนุนภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกที่เสรีและเปิดกว้าง การเลือกตั้งทั่วประเทศที่จะเกิดขึ้นในปีหน้าจะแสดงถึงความมุ่งมั่นต่อประชาธิปไตยและกฎหมายที่เรามีร่วมกัน อีกทั้งยังสนับสนุนการดำเนินการตามเสาหลักในการกำกับดูแลยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิกของเรา เมื่อสัปดาห์ที่แล้วนี้เอง สหรัฐอเมริกาได้ตอบรับคำเชิญของรัฐบาลไทยอย่างเป็นทางการเพื่อเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาของยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี-เจ้าพระเจ้า-แม่โขง (ACMECS) เราหวังว่าจะได้ทำงานร่วมกับประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนามในการสนับสนุนการเติบโตของภูมิภาคผ่านทาง ACMECS และข้อริเริ่มลุ่มน้ำโขงตอนล่าง (Lower Mekong Initiative) เรากำลังทำงานร่วมกับประเทศไทยเพื่อช่วยให้ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการเป็นประธานอาเซียนในปี พ.ศ. 2562 เราจะทำงานร่วมกับไทยซึ่งเป็นประธานอาเซียน ในการเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์สมาร์ทซิตี้สหรัฐ-อาเซียน (U.S.-ASEAN Smart Cities Partnership) เพื่อส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงและความร่วมมือด้านดิจิทัลในเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม กระผมมีความยินดีที่จะประกาศให้ทุกท่านทราบในคืนนี้ว่า เราจะทำงานร่วมกับประเทศไทยและกลุ่มธุรกิจสหรัฐในการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Indo-Pacific Business Forum ครั้งต่อไปที่กรุงเทพฯ ในปี พ.ศ. 2562 โดยการประชุมนี้จะแสดงให้เห็นถึงการที่รัฐบาลสหรัฐและรัฐบาลไทย ร่วมกับภาคเอกชนสร้างภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกที่เสรี เปิดกว้าง และเจริญก้าวหน้าได้อย่างไร เรากำลังเร่งให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชนของสหรัฐอเมริกาซึ่งจะช่วยส่งเสริมความสำเร็จของทุกฝ่าย ท่านสุภาพสตรีและสุภาพบุรุษครับ ตลอดระยะเวลา 200 ปีที่ผ่านมา สหรัฐอเมริกาและประเทศไทยเป็นสหาย คู่ค้า และพันธมิตร ในค่ำคืนนี้ กระผมหวังว่าเราจะยังคงมิตรภาพความเป็น “Great and Good Friend” ในเวลาสองศตรวรรษต่อจากนี้ไปนะครับ ขอบคุณครับ โดย U.S. Embassy Bangkok | 13 ธันวาคม, 2018 | ประเภท: สหรัฐอเมริกาและไทย, สุนทรพจน์
Tuesday, December 5, 2018 Ambassador Virachai, distinguished guests, it is an honor to join you tonight to celebrate the National Day of the Kingdom of Thailand. In 1862, President Lincoln wrote to his “great and good friend,” King Mongkut. His letter was exhibited in Bangkok earlier this year with other gifts and correspondence exchanged between American presidents and Thai kings over the last two centuries. This exhibit included many artefacts from the seven decade reign of His Late Majesty King Bhumibol, the anniversary of whose birth we honor tonight. And we were particularly honored that his son, His Majesty King Ramathe tenth, opened the exhibit in March. This year also marks the 185th anniversary of formal diplomatic ties between Thailand and America. And our treaty alliance will reach sixty-five years next September. American and Thai forces have fought side-by-side even longer, starting in the Second Battle of the Marne during World War One. The strong cooperation between our forces was highlighted this summer when a U.S. military search and rescue team supported the Thai-led cave rescue of young soccer players in northern Thailand. Many private American companies and citizens also contributed to that rescue. Chevron brought unique technical expertise and equipment for drilling and pumping. The commitment of American firms to Thailand reflects our strong economic ties — two-way trade reached $42 billion last year. Many aspects of the friendship between America and Thailand benefit the entire Indo-Pacific region. Our police work hand-in-hand to combat transnational trafficking in persons, wildlife, and narcotics. We co-host the International Law Enforcement Academy in Bangkok, which has trained over 15,000 Asian law enforcement professionals since 1998. One-fifth of our official presence in Thailand works on global health. We have worked together for decades to research and develop vaccines and drugs. Together, we are training public health professionals from around the region to detect and respond to disease threats before they become epidemics. Thailand’s leadership can promote a free and open Indo-Pacific region. Thailand’s national elections next year can demonstrate our shared commitment to democracy and the rule of law and support the implementation of the governance pillar of our Indo-Pacific strategy. Just last week, the United States formally accepted the Royal Thai Government’s invitation to become an ACMECSdevelopment partner. We look forward to working with Thailand, Cambodia, Laos, Myanmar, and Vietnam to support regional growth through ACMECS and our Lower Mekong Initiative. We are working with Thailand to help make its 2019 Chairmanship of ASEAN the most successful yet. We will work with Thailand as chair to implement the new U.S.-ASEAN Smart Cities Partnership to advance digital transformation and collaboration in the innovation economy. And I am pleased to announce tonight that we will be working with Thailand and the U.S. business community to host the next Indo-Pacific Business Forum in Bangkok in 2019. The Forum will showcase how the American and Thai governments and private sectors are building a free, open, and prosperous Indo-Pacific. We are accelerating American private sector investment which advances the prosperity of all. Ladies and gentlemen, over the past 200 years, America and Thailand have become friends, partners, and allies. Tonight, I look forward to the next two centuries of our “Great and Good Friendship.” Thank you. By U.S. Embassy Bangkok | 13 December, 2018 | Topics: Speeches, U.S. & Thailand | Tags: Thailand National Day
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูต สหรัฐอเมริกา นายปีเตอร์ เฮย์มอนด์ เดินทางเยือนจังหวัดภูเก็ตเมื่อเร็วๆ นี้ คุณปีเตอร์ได้เข้าพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต นายประกอบ วงศ์มณีรุ่ง เพื่อหารือเกี่ยวกับโอกาสทางธุรกิจของบริษัทสหรัฐฯ ความคืบหน้าของโครงการสมาร์ทซิตี้ โครงการด้านสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยของการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต นอกจากนี้ อุปทูตปีเตอร์ ยังได้พบกับอาสาสมัครผู้ประสานงานพลเมืองสหรัฐฯ ที่อาศัยอยู่ในภูมิภาค นักธุรกิจอเมริกัน หอการค้าจังหวัดภูเก็ต และศิษย์เก่าจากโครงการแลกเปลี่ยนอเมริกาหลายโครงการ โดย U.S. Embassy Bangkok | 12 ธันวาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, อุปทูต, เหตุการณ์
Charge d’Affaires (CDA) Peter Haymond recently visited Phuket province. During the visit, he met with Phuket Provence Vice Governor Mr. Prakob Wongmaneerung to discuss opportunities for U.S. businesses, Phuket’s progress on the Smart City initiative, environmental programs and tourism safety. CDA Haymond also met volunteer American Citizen Services Consular Liaisons living in the region, U.S. entrepreneurs, the Phuket Chamber of Commerce and alumni from several U.S. exchange programs. By U.S. Embassy Bangkok | 12 December, 2018 | Topics: Chargé D’Affaires, Events, News, U.S. & Thailand | Tags: Phuket
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ในนามของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ข้าพเจ้าขอส่งความปรารถนาดีมายังราชอาณาจักรไทยเนื่องในโอกาสวันชาติไทย ปีนี้เป็นวาระครบรอบ 200 ปีแห่งมิตรภาพที่สำคัญระหว่างสหรัฐฯ และไทย ซึ่งได้รวมประเทศของเราทั้งสองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ในยามสงครามและสันติภาพ ยามลำเค็ญและรุ่งเรือง ประเทศไทยยังคงความเจริญรุ่งเรืองต่อมาภายใต้ร่มพระบารมีของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร นอกจากนี้ ประเทศของเราทั้งสองยังได้รับคุณประโยชน์จากมิตรภาพและความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นของเรา ดังที่เห็นจากภารกิจช่วยเหลือทีมฟุตบอลหมูป่าที่สำเร็จลุล่วงภายใต้การนำของประเทศไทย เราหวังว่า ในปี 2562 ที่ประเทศไทยจะดำเนินการจัดการเลือกตั้งและดำรงบทบาทผู้นำในภูมิภาคในฐานะประธานอาเซียน จะประสบแต่ความสำเร็จ ในโอกาสนี้ ข้าพเจ้าขอฝากความระลึกถึงมายังชาวไทยทุกคน และขออวยพรให้ปีที่กำลังจะมาถึงนี้มีแต่ความสุขความเจริญ โดย U.S. Embassy Bangkok | 4 ธันวาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข่าว
On behalf of the Government of the United States of America, I offer my sincerest and warmest wishes to the Kingdom of Thailand on your National Day. This year marked the 200-year anniversary of the historic U.S.-Thai friendship that has united our two nations through war and peace, hardship and prosperity. Under the leadership of His Majesty King Maha Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun, Thailand continues to prosper, and both our nations benefit from our friendship and alliance as seen in the successful, Thai-led rescue of the Wild Boar soccer team. We look forward to a successful 2019 in which Thailand will hold national elections and play a leading regional role as Chair of ASEAN. I would like to convey our warmest regards to all the Thai people, and best wishes for a peaceful and prosperous year to come. By U.S. Embassy Bangkok | 4 December, 2018 | Topics: News, Press Releases, U.S. & Thailand, U.S. Secretary of State | Tags: Michael R. Pompeo, Thailand National Day
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สารจากไมเคิล อาร์. ปอมเปโอ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา วอชิงตัน ดี.ซี. 1ธันวาคม พ.ศ. 2561 ประธานาธิบดี จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช เป็นสามีผู้จงรักภักดี พ่อที่รักลูก สหายผู้มีศรัทธาแน่วแน่ และผู้รักชาติที่น่ายกย่อง ข้าพเจ้าจะจดจำท่านไว้เช่นนั้นตลอดไป ไม่ว่าจะยามที่ท่านรับใช้ประเทศอยู่บนท้องฟ้าเหนือมหาสมุทรแปซิฟิกในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ปกป้องอเมริกาอยู่ที่สำนักงานใหญ่ของสำนักข่าวกรองกลาง หรือเป็นผู้นำประเทศของเราอยู่ที่ห้องทำงานของประธานาธิบดีในทำเนียบขาว ประธานาธิบดีบุชเป็นข้าราชการคนสำคัญและอุทิศตนมากที่สุดคนหนึ่งของอเมริกา ในด้านชีวิตส่วนตัว ท่านเป็นชายที่รักและเอาใจใส่ครอบครัว มีความเมตตาและให้ความเคารพนับถือต่อทุกคนที่ท่านรู้จัก ข้าพเจ้ารู้สึกเป็นเกียรติที่ได้เป็นสหายของท่าน และความเกี่ยวพันพิเศษที่เรามีร่วมกันในฐานะผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองที่ดีที่สุดของโลกจะตราตรึงอยู่ในความทรงจำของข้าพเจ้าตลอดไป แม้ว่าใจของเราจะโศกเศร้าในวันนี้ แต่เราก็รู้สึกสบายใจที่รู้ว่าท่านไม่ได้อยู่ห่างจากบาร์บารา ภรรยาผู้ซึ่งเป็นที่รักของท่านอีกต่อไป ข้าพเจ้าและเจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อสมาชิกทุกคนในครอบครัวบุช โดย U.S. Embassy Bangkok | 3 ธันวาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว
Press Statement Michael R. Pompeo Secretary of State Washington, DC December 1, 2018 Devoted husband, loving father, steadfast friend, exemplary patriot: this is how I will always remember President George H. W. Bush. Whether he was serving in the skies over the Pacific during World War II, protecting America at CIA headquarters, or leading our nation in the Oval Office, President Bush was one of America’s most consequential and dedicated public servants. In his private life, he was a devoted family man who exuded kindness and respect to everyone he met. I am privileged to have known him as a friend, and I will always treasure the special bond we shared of having led the world’s finest intelligence service. Though our hearts are heavy today, we take comfort in knowing he is no longer apart from his beloved wife Barbara. My thoughts and prayers, as well as those of my State Department colleagues, are with the entire Bush family. By U.S. Embassy Bangkok | 3 December, 2018 | Topics: News, U.S. Secretary of State
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา ฝ่ายกิจการความมั่นคงเอเชียและแปซิฟิกแรนดัล ไชรฟเวอร์ เยือนประเทศไทย ในวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2561เพื่อเป็นประธานร่วมการหารือทวิภาคีด้านยุทธศาสตร์กลาโหมกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายไทย ณ กระทรวงกลาโหม ในระหว่างการเยือนไทยครั้งนี้ ผู้ช่วยรัฐมนตรี ไชรฟเวอร์ ได้พบกับเจ้าหน้าที่ระดับสูงของไทย ได้แก่รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พลเอกประวิตรวงษ์สุวรรณ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด พลเอกพรพิพัฒน์ เบญญศรี และรองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ นายภาสกร ศิริยะพันธุ์ การหารือด้านยุทธศาสตร์กลาโหม ครั้งที่ 5 ระหว่างไทยและสหรัฐอเมริกา ได้เน้นย้ำความสำคัญของความเป็นพันธมิตรระหว่างกันของทั้งสองประเทศ ความสัมพันธ์ด้านการทหารอันใกล้ชิดกับราชอาณาจักรไทยที่มีมาอย่างต่อเนื่องและพันธกรณีของสหรัฐอเมริกาต่อการเสริมสร้างภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกที่เสรีและเปิดกว้าง ผู้ช่วยรัฐมนตรี ไชรฟเวอร์ กล่าวว่า “ประเทศไทยเป็นพันธมิตรสำคัญของสหรัฐฯ ในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก เป็นมิตรกันมายาวนานกว่า 200 ปี และเป็นหุ้นส่วนด้านความมั่นคงร่วม 65 ปีความสัมพันธ์ที่มั่นคงและยืนยาวนี้จะยังคงดำเนินต่อไปในการหารือด้านยุทธศาสตร์กลาโหม ครั้งที่ 5 ร่วมกับปลัดกระทรวงกลาโหมพลเอกณัฐ อินทรเจริญ เราได้แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับความร่วมมือทวิภาคีและระดับภูมิภาคที่สำคัญ เช่นความมั่นคงทางทะเล และการฝึกคอบร้าโกลด์เราได้หารือกันถึงอนาคตของความสัมพันธ์ที่สำคัญนี้ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ ในศตวรรษที่ 21 ที่เราเผชิญร่วมกันต่อไปได้” ดูรูปความละเอียดสูงได้ที่https://flic.kr/s/aHsmwKH7p8 โดย U.S. Embassy Bangkok | 30 พฤศจิกายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข่าว
Randall Schriver, U.S. Assistant Secretary of Defense for Asian and Pacific Security Affairs, visited Thailand November 29-30, 2018 to co-chair the 5thbilateral Defense Strategic Talks with Thai counterparts at the Ministry of Defense. During his visit, Assistant Secretary Schriver met with senior Thai officials, including Deputy Prime Minister and Defense Minister General Prawit Wongsuwan, Chief of Defense Forces General Ponpipaat Benyasri,and Ministry of Foreign Affairs Deputy PermSec Paskorn Siriyaphan. The 5th Defense Strategic Talks between Thailand and the United States underscored the importance of the U.S.-Thai alliance, continued close military-to-military ties with the Kingdom of Thailand, and the U.S. commitment to advancing a free and open Indo-Pacific region. According to Assistant Secretary Schriver, “Thailand is a key U.S. ally in the Indo-Pacific, a friend for two hundred years, and security partner for nearly 65 years. This enduring and long-standing relationship will continue. The 5th Defense Strategic Talks with my counterpart General Natt Intracharoen included exchanges on key bilateral and regional areas of cooperation, such as maritime security and exercise Cobra Gold. We discussed the future of this important alliance so that it remains well-positioned to address the 21st century we face together.” For high resolution photography, seehttps://flic.kr/s/aHsmwKH7p8 By U.S. Embassy Bangkok | 30 November, 2018 | Topics: News, Press Releases, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูต ปีเตอร์ เฮย์มอนด์ และภริยา ยินดีที่ได้เข้าเยี่ยมคารวะนายสิริรัฐ ชุมอุปการ ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในวันที่ 30 พฤศจิกายน นอกจากนี้ คุณปีเตอร์ยังได้พูดคุยกับนักเรียน ครูอาจารย์ นักธุรกิจ และเยี่ยมเยียนพื้นที่พักพิงชั่วคราว เพื่อแสดงการสนับสนุนของสหรัฐฯ ในด้านการศึกษา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และผู้หนีภัยการสู้รบ โดย U.S. Embassy Bangkok | 30 พฤศจิกายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, อุปทูต, เหตุการณ์
Charge D’Affaires Peter Haymond and Mrs. Haymond were delighted to meet Mr. Sirirath Chum-aupakarn, Governor of Mae Hong Son on November 30. Mr. Haymond also spoke with students, academics, businesspeople, and visited a temporary shelter to demonstrate the United States’ support for education, economic growth, and displaced persons. By U.S. Embassy Bangkok | 30 November, 2018 | Topics: Chargé D’Affaires, Events, News, U.S. & Thailand | Tags: Mae Hong Son
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: โดย ไมค์ เพนซ์ วันที่ 9 พฤศจิกายน เวลา 18.19 น. ไมค์ เพนซ์ รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ปีที่แล้ว ณ ประเทศเวียดนาม ประธานาธิบดีทรัมป์วางวิสัยทัศน์ของสหรัฐอเมริกาเพื่อภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกที่เสรีและเปิดกว้าง สัปดาห์นี้ ในนามของท่านประธานาธิบดี ผมจะนำคณะผู้แทนเดินทางไปยังภูมิภาคนี้เพื่อหารือความก้าวหน้าของการดำเนินวิสัยทัศน์ดังกล่าวให้กลายเป็นความจริง สารของเรานั้นเรียบง่าย นั่นคือ พันธกรณีของสหรัฐอเมริกาต่อภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกนั้นมั่นคงแน่วแน่และยืนยาว สหรัฐฯ ปรารถนาให้ภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก นับตั้งแต่สหรัฐอเมริกาถึงอินเดีย จากญี่ปุ่นถึงออสเตรเลีย ตลอดจนทุกประเทศในอาณาบริเวณระหว่างนั้น เป็นภูมิภาคที่เคารพอำนาจอธิปไตย การค้าพาณิชย์ลื่นไหลไร้อุปสรรคขัดขวาง อีกทั้งชาติเอกราชเป็นผู้กำหนดชะตากรรมของตนเอง ภูมิภาคนี้ ซึ่งครอบคลุมกว่ากึ่งหนึ่งของพื้นผิวโลกและจำนวนประชากรโลก ประสบความก้าวหน้าอย่างยิ่งในยามที่หลักการเหล่านี้ได้รับการเคารพรักษา ขณะที่บางประเทศพยายามบ่อนทำลายฐานรากนี้ สหรัฐอเมริกากำลังดำเนินการอย่างเด็ดขาดเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของเราพร้อมกับส่งเสริมความสำเร็จร่วมกันของภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิกของเราตั้งอยู่บนเสาหลักสามประการโดยเริ่มต้นจากความเจริญมั่งคั่ง กว่าสองในสามของปริมาณการค้าโลกเดินทางข้ามผ่านทะเล ท้องฟ้า ถนนหนทางและรางรถไฟของภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก การค้าของสหรัฐฯ ในภูมิภาคนี้มีมูลค่ามากกว่า 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อปี สนับสนุนตำแหน่งงานในสหรัฐฯ มากกว่า 3.3 ล้านตำแหน่ง นอกจากนี้ การลงทุนรวมของสหรัฐฯ ในภูมิภาคนี้ยังมีมูลค่าเกือบ 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งมากกว่าการลงทุนโดยจีน ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้รวมกัน โอกาสการเติบโตนี้ไร้ขีดจำกัด เพียงภายในปี ค.ศ. 2020 ภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกจะเป็นบ้านของร้อยละ 40 ของชนชั้นกลางบนโลก ไขศักยภาพมหาศาลสำหรับแรงงาน เกษตรกร และผู้ประกอบการสหรัฐฯ ในการส่งออกสินค้าไปยังตลาดขนาดใหญ่ที่กำลังเติบโตเหล่านี้ ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลของเราจึงได้จัดทำข้อตกลงการค้าทวิภาคีที่เสรี เป็นธรรมและต่างตอบแทนกัน รัฐบาลของเราบรรลุสัญญาการค้าฉบับใหม่กับเกาหลีใต้และอีกฉบับหนึ่งกับเม็กซิโกและแคนาดาไปแล้ว อีกไม่นาน เราจะเริ่มเจรจาข้อตกลงทางการค้าฉบับสำคัญกับญี่ปุ่นซึ่งเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับสามของโลก ข้อตกลงทางการค้าฉบับใหม่เหล่านี้จะคำนึงถึงตำแหน่งงานและแรงงานอเมริกันเป็นอันดับแรก นอกเหนือจากการค้า สหรัฐอเมริกาจะยังคงอำนวยความสะดวกแก่การเพิ่มพูนการลงทุนในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ความพยายามของเราจะขับเคลื่อนโดยภาคธุรกิจ ไม่ใช่ภาคราชการ เพราะรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจไม่สามารถสร้างความเจริญมั่งคั่งที่ยั่งยืนได้ เพื่อกระตุ้นการลงทุนของภาคเอกชนในโครงสร้างพื้นฐานระดับภูมิภาคอีกครั้ง เมื่อไม่นานมานี้ ประธานาธิบดีทรัมป์ลงนามรับรองกฎหมาย Build Act ซึ่งขยายความสามารถทางการเงินเพื่อการพัฒนาของสหรัฐฯ เป็น 60,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ประเทศของเรามุ่งมั่นช่วยภูมิภาคนี้สร้างท่าเรือและท่าอากาศยาน ถนนหนทางและรางรถไฟ ตลอดจนระบบท่อขนส่งและสายรับส่งสัญญาณข้อมูลมาตรฐานระดับโลก เราจะสนับสนุนเฉพาะโครงการที่ก่อประโยชน์เป็นรูปธรรมชัดเจนทั้งสำหรับประเทศเจ้าบ้านและประเทศของเรา เสาหลักที่สองของเราคือความมั่นคงซึ่งเป็นรากฐานของความมั่งคั่ง ภายใต้ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก สหรัฐอเมริกาจะยังคงร่วมมือประเทศที่มีหลักการคล้ายกันเพื่อเผชิญหน้ากับภัยคุกคามเร่งด่วนที่สุดของภูมิภาคนี้ นับจากการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ไปจนถึงคตินิยมสุดโต่งและการก่อการร้าย เฉพาะในปีนี้ สหรัฐอเมริกามอบเงินกว่า 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพื่อสนับสนุนปฏิบัติการด้านความมั่นคง ซึ่งรวมถึงการสนับสนุนทางทหารเกือบ 400 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ อันเป็นจำนวนมากกว่างบที่ให้ตลอดสามปีที่ผ่านมารวมกัน นอกจากนี้ สหรัฐฯ ยังจะให้ความช่วยเหลือใหม่ ๆ แก่ประเทศต่าง ๆ ในการปกป้องชายแดนทั้งทางบก ทางทะเลและทางโลกดิจิทัล อีกทั้งจะยังคงสานต่อความร่วมมือกับพันธมิตรและหุ้นส่วนเพื่อปกป้องเสรีภาพในการเดินเรือและการบินผ่านการฝึกร่วมทางเรือระหว่างสหรัฐฯ กับญี่ปุ่นและอินเดียเมื่อเร็ว ๆ นี้แสดงถึงพันธสัญญาครั้งใหม่นี้ของเรา ผมขอกล่าวให้ชัดแจ้งว่า สหรัฐฯ จะยังคงแรงกดดันด้านการทูตและเศรษฐกิจต่อเกาหลีเหนืออย่างต่อเนื่อง ความมุ่งมั่นของเราได้นำเกาหลีเหนือเข้าสู่โต๊ะเจรจา และเราขอเรียกร้องให้ทุกประเทศในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกคงโครงการรณรงค์กดดัน ซึ่งรวมถึงมาตรการคว่ำบาตร จนกว่าเราจะบรรลุการปลดอาวุธนิวเคลียร์อย่างสมบูรณ์ในคาบสมุทรเกาหลี สุดท้ายนี้ สหรัฐฯ จะสนับสนุนการปกครองที่โปร่งใสเพื่อผลประโยชน์ของประชาชน หลักนิติธรรมและการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล อันรวมถึงเสรีภาพทางศาสนา ประเทศที่ให้อำนาจแก่ประชาชน ส่งเสริมประชาสังคม ต่อต้านการทุจริต และปกป้องอธิปไตยของตนจะเป็นบ้านที่แข็งแรงสำหรับประชาชน อีกทั้งจะเป็นประเทศหุ้นส่วนที่ดีขึ้นของสหรัฐฯ ในทางตรงกันข้าม ประเทศที่กดขี่ประชาชนก็มักละเมิดสิทธิอธิปไตยของเพื่อนบ้านด้วยเช่นกัน ภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกไม่มีพื้นที่สำหรับลัทธิอำนาจนิยมและการรุกราน ในช่วงสัปดาห์นี้ คณะผู้แทนของเราจะเข้าร่วมการประชุมสุดยอดอาเซียน-สหรัฐฯ การประชุมสุดยอดผู้นำเอเชียตะวันออก และการประชุมผู้นำเขตเศรษฐกิจเอเปค เราจะประกาศข้อตกลงและข้อริเริ่มใหม่ ๆ โดยหลายข้อประกอบด้วยการสนับสนุนทางการเงินที่สำคัญจากประชาชนผู้เสียภาษีและภาคธุรกิจของสหรัฐฯ นอกจากนี้ เราจะย้ำคำมั่นของประธานาธิบดีต่อการรื้อฟื้นความร่วมมือแห่งการเป็นหุ้นส่วน สหรัฐอเมริกาจะทำงานร่วมกับประเทศที่มีแนวคิดคล้ายกัน ตั้งแต่อินเดียจรดหมู่เกาะแปซิฟิก เพื่อเสริมส่งผลประโยชน์ร่วมของพวกเรา เราจะร่วมมือกันยืนหยัดต่อกรกับใครก็ตามที่คุกคามผลประโยชน์และค่านิยมของเรา สหรัฐอเมริกาแสวงหาความร่วมมือ มิใช่การควบคุม เมื่อหนึ่งปีที่แล้ว ท่านประธานาธิบดีได้ประกาศย้ำพันธกรณีของเราต่อภูมิภาคนี้ สัปดาห์นี้ ผมรู้สึกเป็นเกียรติเป็นอย่างยิ่งที่จะแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของเราด้วยการดำเนินการและการลงทุนต่อไป ความมั่นคงและความมั่งคั่งของสหรัฐฯ ขึ้นอยู่กับภูมิภาคที่สำคัญนี้ และสหรัฐฯ จะยังคงขอรับรองว่า ทุกประเทศ ไม่ว่าประเทศเล็กหรือประเทศใหญ่ จะสามารถเจริญรุ่งเรืองในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกที่เปิดกว้างและเสรี โดย U.S. Embassy Bangkok | 13 พฤศจิกายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, รองประธานาธิบดีไมค์ เพนซ์
ByMike Pence November 9 at 6:19 PM Mike Pence is vice president of the United States. Last year in Vietnam, President Trump laid out the United States’ vision for a free and open Indo-Pacific. This week, on the president’s behalf, I will lead a delegation to that region to discuss our progress on making this vision a reality. Our message is simple: The United States’ commitment to the Indo-Pacific is steadfast and enduring. We seek an Indo-Pacific — from the United States to India, from Japan to Australia, and everywhere in between — where sovereignty is respected, where commerce flows unhindered and where independent nations are masters of their own destinies. This region, which includes more than half of Earth’s surface and population, has experienced great progress when these principles have been respected. While some nations now seek to undermine this foundation, the United States is taking decisive action to protect our interests and promote the Indo-Pacific’s shared success. Our Indo-Pacific strategy rests on three broad pillars. It begins with prosperity. A full two-thirds of global trade traverses the seas, skies, roads and railways of the Indo-Pacific. U.S. trade in the region is worth more than $1.8 trillion annually, supporting more than 3.3 million U.S. jobs, and our total regional investment in the Indo-Pacific is nearly $1 trillion — more than China, Japan and South Korea’s investment combined. The opportunity for growth is boundless. By as early as 2020, the Indo-Pacific will be home to40 percentof the world’s middle class, unlocking untold potential for U.S. workers, farmers and job creators to export their goods to these large and growing markets. That’s why our administration has forged new bilateral trade deals that are free, fair and reciprocal. Our administration has already reached anew trade pactwith South Korea andanotherwith Mexico and Canada. We will soon begin negotiations for a historic trade agreement with Japan, the world’sthird-largest economy. These new trade deals will put American jobs and American workers first. Beyond trade, the United States will continue to facilitate greater investment in the Indo-Pacific. Businesses, not bureaucrats, will drive our efforts, because governments and state-owned enterprises are incapable of building lasting prosperity. To spur renewed private investment in regional infrastructure, President Trump recently signed theBuild Actinto law, which expands U.S. development finance capacity to $60 billion. Our nation is committed to helping the region build world-class ports and airports, roads and railways, and pipelines and data lines. We will only support projects that produce tangible benefits for the host country as well as our own. Our second pillar is security, which is the foundation of prosperity. Under our Indo-Pacific strategy, the United States will continue to work with like-minded nations to confront the most urgent threats facing the region, from nuclear proliferation to extremism and terrorism. This year alone, the United States is providing more than half a billion dollars in security assistance. This includes nearly $400 million in military support — more than the past three years combined. We will also provide new assistance to help nations protect their borders — on land, at sea and in the digital arena — and we will continue to work with our allies and partners to protect the freedoms of navigation and overflight. Our recentjoint naval exerciseswith Japan and India signify our renewed commitment. As I will make clear, the United States will continue to exert unprecedented diplomatic and economic pressure on North Korea. Our resolve has brought that country to the negotiating table, and we call on all Indo-Pacific nations to maintain the pressure campaign, including sanctions, until we achieve the complete denuclearization of the Korean Peninsula. Finally, we will support transparent and responsive government, the rule of law and the protection of individual rights, including religious freedom. Nations that empower their citizens, nurture civil society, fight corruption and guard their sovereignty are stronger homes for their people and better partners for the United States. Conversely, nations that oppress their people often violate their neighbors’ sovereignty as well. Authoritarianism and aggression have no place in the Indo-Pacific region. Over the course of this week, our delegation will participate in the U.S.-Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) summit, the East Asia Summit and theAPEC Economic Leaders’ Meeting. We will announce new deals and initiatives, many with significant financial backing from U.S. taxpayers and our business community. And we will reiterate the president’s pledge of renewed partnership. The United States will work with like-minded nations — from India to the Pacific islands — to advance our shared interests. Together, we will stand up to anyone who threatens our interests and our values. The United States seeks collaboration, not control.The presidentannounced our renewed commitment to the region one year ago; this week, it will be my privilege to demonstrate our resolve with further action and investment. Our nation’s security and prosperity depend on this vital region, and the United States will continue to ensure that all nations, large and small, can thrive and prosper in a free and open Indo-Pacific. By U.S. Embassy Bangkok | 13 November, 2018 | Topics: News, Vice President of the United States | Tags: Mike Pence
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เชฟตาม ชุดารี เทพาคำ ท็อปเชฟไทยแลนด์คนแรก สร้างสรรค์เมนู 5 คอร์สโดยใช้วัตถุดิบจากอเมริกาผสมผสานกับวัตถุดิบท้องถิ่นของไทย เพื่อร่วมฉลองการเปิดตัวโครงการ American Inspired Chef โดยกระทรวงเกษตรประเทศสหรัฐอเมริกา (USDA) ประจำประเทศไทย ที่บ้านพักท่านเอกอัครราชทูตสหรัฐโดยมีท่านอุปทูต ปีเตอร์ เฮย์มอนด์ เป็นเจ้าภาพ หน่วยงาน USDA ได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้ความรู้นักเรียนเชฟในทั้งความรู้อาหาร การพัฒนาเมนู การเลือกใช้วัตถุดิบและการปลูกฝังค่านิยมแห่งการช่วยเหลือสังคม นักเรียนเชฟที่เข้าอบรมในแต่ละภูมิภาคจะมีโอกาสในการเข้าร่วมการแข่งขันทำอาหารเพื่อเป็น 8 ทีมสุดท้ายภายใต้โครงการ The American Inspired Chef Competition ที่จะจัดขึ้นที่ World of Food Asia ในปี 2563 โดยที่ผู้ชนะเลิศจะได้เข้าร่วมหลักสูตรระยะสั้นที่สถาบัน Culinary Institute of America ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดย U.S. Embassy Bangkok | 2 พฤศจิกายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
Chef (Tam) Chudaree Debhakam, Thailand’s first “Top Chef” winner, whipped up a 5-course dinner incorporating U.S. and Thai ingredients to celebrate the launch of USDA’s American Inspired Chef Project, at the U.S. Ambassador Residence. Last night’s event was hosted by Chargé d’affaires Peter Haymond. The American Inspired Chef Project will travel around Thailand to train young culinary chefs on American food products and to encourage a socially responsible mindset. The project will conclude with a cooking competition at the 2020 World of Food Asia where eight finalist selected through an online cooking contest will compete for a chance to win sponsorship for a short course at the Culinary Institute of America in California. By U.S. Embassy Bangkok | 2 November, 2018 | Topics: Agriculture, Events, News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ข้อมูลสำหรับผู้สมัคร หมดเขตรับสมัคร: วันศุกร์ ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ขอเชิญนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสมัครในประเทศไทย สมัครเข้าร่วมโครงการผู้นำเยาวชนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Youth Leadership Program) ซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนเมษายน 2562 กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาจะคัดเลือกเยาวชนจำนวน 50-60 คน จากประเทศสมาชิกอาเซียน เข้าร่วมโครงการ สำหรับประเทศไทย จะมีนักเรียน 5 คน ได้รับคัดเลือกให้ร่วมโครงการ โครงการผู้นำเยาวชนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะใช้แนวทางการฝึกอบรมเชิงปฏิสัมพันธ์ ทั้งในรูปแบบของการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดกิจกรรมสาธารณะและกิจกรรมในชุมชน การร่วมกิจกรรมกับโรงเรียนมัธยมปลาย องค์กรชุมชน กลุ่มเยาวชน และผู้นำชุมชนของสหรัฐฯ จะทำให้นักเรียนมีความเข้าใจที่ดีขึ้นเกี่ยวกับความท้าทายที่สหรัฐฯ และอาเซียนกำลังเผชิญในศตวรรษที่ 21 โครงการแลกเปลี่ยนแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ 1) การปฐมนิเทศที่กรุงเทพฯ ก่อนการเดินทางไปสหรัฐฯ 2) โครงการแลกเปลี่ยนนาน 3-4 สัปดาห์ ที่ให้โอกาสนักเรียนได้เรียนรู้หลักการของการเป็นผู้นำและการทำกิจกรรมในชุมชนในสหรัฐฯ และ 3) กิจกรรมหลังเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยน ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการจะร่วมกันทำกิจกรรมหรือโครงการในชุมชนบ้านเกิดของตน โครงการแลกเปลี่ยนนี้จะมีเนื้อหาเข้มข้น เป็นวิชาการ และมีการปฏิสัมพันธ์สูง โดยโครงการต้องการผู้สมัครที่กระตือรือร้นซึ่งพร้อมที่จะพัฒนาความสามารถของตนในการเป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพในโรงเรียนและชุมชนของตน ภายหลังเข้าร่วมโครงการที่สหรัฐฯ และเดินทางกลับถึงประเทศไทยแล้ว ผู้ร่วมโครงการจะต้องร่วมกันดำเนินโครงการที่ต้องสนองตอบความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งของโรงเรียนหรือชุมชนของตนด้วย ********** โครงการผู้นำเยาวชนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมความเป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพ ความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง และกิจกรรมภาคประชาชนในหมู่เยาวชนที่จะเป็นผู้นำของเราในอนาคต และจะเปิดโอกาสแก่ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้หลักการประชาธิปไตยและประชาสังคมในสหรัฐฯ และได้พัฒนาทักษะความเป็นผู้นำในเวลาเดียวกัน ตลอดการเข้าร่วมการแลกเปลี่ยน จะมีการแบ่งผู้ร่วมโครงการเป็นกลุ่มๆ แต่ละกลุ่มจะประกอบไปด้วยเยาวชนจากประเทศต่างๆ เพื่อเพิ่มการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกจากทุกประเทศ สำหรับกิจกรรมในสหรัฐฯ รวมไปถึงการประชุมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมเชิงปฏิสัมพันธ์ ห้องเรียนการทูตเหมือนจริง การเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้นำ การแก้ไขข้อขัดแย้งและการเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้นำ ผู้ร่วมโครงการยังจะได้ทำกิจกรรมนอกห้องเรียน ได้แก่ กิจกรรมจิตอาสาและกิจกรรมภาคปฏิบัติอื่นๆ นอกจากนี้ จะมีกิจกรรมตามโรงเรียน เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการได้พบปะกับเพื่อนๆ นักเรียนชาวอเมริกัน ได้สัมผัสบรรยากาศในโรงเรียนอเมริกัน และร่วมเรียนในห้องเรียนในบางวิชา รวมทั้งจะได้ทำกิจกรรมด้านวัฒนธรรมและสันทนาการ และเดินทางไปทัศนศึกษา ขณะเดียวกัน ผู้เข้าร่วมโครงการจะอาศัยอยู่กับครอบครัวชาวอเมริกันเป็นส่วนใหญ่ด้วย ส่วนสำคัญของโครงการนี้ คือ การที่ผู้ร่วมจะต้องพัฒนาและดำเนินโครงการหลังจากเดินทางกลับประเทศของตน โดยโครงการเหล่านี้จะต้องสนองตอบความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งของโรงเรียนหรือชุมชนของตน เช่น การสนับสนุนการจัดตั้งสภานักเรียนหรือวิธีการอื่นๆ ที่จะทำให้นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจของโรงเรียน การจัดทำทัศนูปกรณ์ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นสังคม การจัดทำโครงการหรือการประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการให้การสนับสนุนหรือการไกล่เกลี่ยภายในกลุ่ม การร่วมมือกับองค์กรเอกชนท้องถิ่นที่พยายามพัฒนาจิตอาสา (volunteerism) หรือการสนับสนุนกิจกรรมที่ช่วยให้สื่อมวลชนเสนอข่าวเกี่ยวกับเยาวชนมากขึ้น ผู้ร่วมโครงการทุกคนต้องทำโครงการเหล่านี้จนเสร็จสิ้น รายละเอียดอื่นๆ ที่ควรทราบ รัฐบาลสหรัฐฯ ร่วมกับภาคเอกชนที่ร่วมอุปถัมภ์โครงการจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินทางภายในสหรัฐฯ การเดินทางไปและกลับจากสหรัฐฯ การปฐมนิเทศ ค่าธรรมเนียมในการจัดและบริหารโครงการ ค่าใช้จ่ายในการเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ และการสัมมนา ที่พักและอาหารส่วนใหญ่ กิจกรรมทางวัฒนธรรม วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา ค่ารักษาพยาบาลในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วย และเงินสำหรับใช้ส่วนตัวจำนวนหนึ่ง ผู้ร่วมโครงการจะพักกับครอบครัวชาวอเมริกันที่สมัครเป็นผู้สนับสนุน ผู้ร่วมโครงการต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการสมัครเข้าร่วมโครงการ (ค่าถ่ายสำเนาเอกสาร ค่าไปรษณียากร ค่ารูปถ่าย ฯลฯ) ค่าธรรมเนียมหนังสือเดินทาง ค่าของที่ระลึก ค่าโทรศัพท์ และค่าซื้อของใช้ส่วนตัวระหว่างที่อยู่ในสหรัฐฯ ผู้ร่วมโครงการจะได้รับอนุมัติวีซ่าประเภทโครงการแลกเปลี่ยน เจ-1 ผู้ที่ได้รับวีซ่าประเภทนี้ต้องเดินทางกลับประเทศภูมิลำเนาและต้องพำนักอยู่ในประเทศเป็นเวลาอย่างน้อย 2 ปี ก่อนที่จะมีสิทธิ์ขอวีซ่าถาวรหรือวีซ่าทำงานชั่วคราวในสหรัฐฯ อย่างไรก็ตาม ผู้ได้รับวีซ่า เจ-1 ยังมีสิทธิ์ขอวีซ่าประเภทอื่นได้ เช่น วีซ่านักเรียนเพื่อเดินทางไปศึกษาต่อในสหรัฐฯ เป็นต้น คุณสมบัติของผู้สมัครร่วมโครงการ เกิดตั้งแต่วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2545 ถึง 5 เมษายน พ.ศ. 2547 มีสัญชาติไทย (ผู้สมัครที่ถือสัญชาติไทยและสหรัฐฯ จะไม่ได้รับการพิจารณา) กำลังศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในประเทศไทย และจะสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2562 หรือปีการศึกษาหลังจากนั้น มีทักษะภาษาอังกฤษดี ได้รับอนุญาตจากทั้งผู้ปกครองและโรงเรียนให้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมดของโครงการ เกณฑ์ในการคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการ แสดงความเป็นผู้นำในโรงเรียนหรือชุมชน มีความสนใจและความมุ่งมั่นอย่างชัดเจนที่จะอาสาและมีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมชน มีทักษะดีในการเข้าสังคมและการสื่อสาร มีคะแนนเรียนดี มีความชำนาญในภาษาอังกฤษ สามารถดำเนินโครงการที่เป็นประโยชน์แก่โรงเรียนและชุมชนของตน สามารถทำงานเป็นกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ และสามารถยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นได้ ขั้นตอนการสมัคร ผู้สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการต้องกรอกใบสมัคร (PDF 934KB) ให้ครบถ้วน พร้อมแนบจดหมายแนะนำ 2 ฉบับ และสำเนาผลการเรียนล่าสุด ส่งมาที่อีเมล์ PAExchangesBKK@gmail.com พร้อมระบุหัวข้ออีเมล์ว่า “SEAYLP_ชื่อ-นามสกุลของผู้สมัคร” ภายในวันศุกร์ ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 สำหรับจดหมายแนะนำ (letter of recommendation) ผู้สมัครต้องแนบจดหมายแนะนำ 2 ฉบับ พร้อมกับใบสมัคร (รูปแบบจดหมายอยู่หน้า 7-10 ของใบสมัคร) เป็นจดหมายจากอาจารย์วิชาภาษาอังกฤษ 1 ฉบับ และจากอาจารย์ประจำชั้น อาจารย์ที่ปรึกษา หรือเจ้าที่หน้าที่ของโรงเรียน อีก 1 ฉบับ ผู้สมัครยังสามารถส่งใบสมัครพร้อมเอกสารต่างๆ มาทางไปรษณีย์ได้ตามที่อยู่ข้างล่างนี้ ฝ่ายสื่อมวลชนและวัฒนธรรม “2019 Southeast Asia Youth Leadership Program” สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา 95 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 **กรุณาส่งใบสมัครด้วยเพียงวิธีใดวิธีหนึ่งเท่านั้น ทางโครงการขอสงวนสิทธิ์รับเฉพาะใบสมัครที่ส่งมาถึงฝ่ายสื่อมวลชนและวัฒนธรรม ภายในวันศุกร์ ที่ 23 พฤศจิกายน 2561 และไม่รับใบสมัครที่นำมายื่นด้วยตนเอง** ฝ่ายสื่อมวลชนและวัฒนธรรมจะติดต่อไปยังผู้สมัครที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อสอบสัมภาษณ์เท่านั้น การสัมภาษณ์จะจัดขึ้นที่แผนกสื่อมวลชนและวัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ในเดือนมกราคม 2562 โครงการจะแจ้งรายละเอียดการสัมภาษณ์ให้กับผู้ที่ได้รับการคัดเลือกทราบล่วงหน้าก่อนการสอบสัมภาษณ์ โดยผู้ที่ได้รับการคัดเลือกจะต้องมาสัมภาษณ์ด้วยตนเองเท่านั้น ส่วนรายชื่อผู้ผ่านการสอบสัมภาษณ์และตัวสำรอง ทางโครงการจะประกาศในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับโครงการกรุณาติดต่อเราได้ที่ PAExchangesBKK@gmail.com พร้อมระบุหัวข้ออีเมล์ว่า “SEAYLP” ขั้นตอนหลังจากนั้น นักเรียนที่ผ่านการสอบสัมภาษณ์จะได้รับเอกสารการปฐมนิเทศหลายสัปดาห์ก่อนเริ่มโครงการเพื่อช่วยในการเตรียมตัวสำหรับโครงการและการเดินทางไปยังสหรัฐฯ หนึ่งเดือนก่อนการเดินทาง จะมีการปฐมนิเทศและการฝึกอบรมสำหรับนักเรียนและอาจารย์ที่จะร่วมเดินทางไปด้วย ในโอกาสนี้ นักเรียนและครอบครัวจะมีโอกาสซักถามฝ่ายสื่อมวลชนและวัฒนธรรมเกี่ยวกับโครงการ หลังจากเดินทางกลับประเทศ นักเรียนมีหน้าที่จัดทำและดำเนินโครงการตามที่ระบุไว้ข้างต้นจนเสร็จสิ้น ขอบคุณทุกท่านที่ให้ความสนใจในโครงการนี้และขอให้โชคดี! โดย U.S. Mission Thailand | 26 ตุลาคม, 2018 | ประเภท: ทุนการศึกษาและโครงการแลกเปลี่ยน
Information for Applicants Application Deadline: Friday, November 23, 2018 Secondary school students from Thailand are invited to apply for participation in the Southeast Asia Youth Leadership Program (SEAYLP) which will take place in April 2019. The program will host 50 to 60 participants from countries in Southeast Asia that are members of the Association of South East Asian Nations (ASEAN). There will be 5 students selected to represent Thailand. The program will employ a highly interactive approach both in workshops and in a range of public and community settings. Through engagement with U.S. high schools, community organizations, youth groups, and community leaders, student and adult mentor participants will evaluate challenges and opportunities facing the U.S. and ASEAN in the 21st century. This is an intensive program with three segments: (1) A pre-departure orientation in Bangkok; (2) a 25-day exchange program that will offer students and their adult mentors the opportunity to explore the principles of leadership and community activism in the United States; and (3) follow-on activities, where participants will conduct projects in their home communities. The program will be intensive, academic, and highly interactive. The program sponsors seek energetic applicants who are ready to develop their skills in order to be effective leaders in their schools and communities. The program convenes high school students from ASEAN member countries for a three-week U.S.-based exchange program focused on leadership and youth development, to explore shared challenges faced by the United States and ASEAN member countries. Participants will develop concrete skills in project development, communication, and leadership while engaging in hands-on activities, workshops, seminars, and site visits. Participants will also develop projects to address the needs of their communities upon their return home. * * * * * * * This program is designed to promote high-quality leadership, civic responsibility, and civic activism among our countries’ future leaders. It will offer a practical examination of the principles of democracy and civil society as practiced in the United States and provide participants with training that allows them to develop their leadership skills. Northern Illinois University (NIU) – the U.S.-based implementing partner – will put the participants into multi-country teams to enhance broad engagement among all countries. U.S exchange activities will include workshops, interactive sessions, diplomacy simulations, leadership training, and team-building exercises. Extracurricular activities including volunteer service opportunities and interactive site visits with relevant organizations in host communities will round out the program.Participants will have homestays with American families and side study tours. An important part of the program is the development of projects to implement on students’ return home. These projects will respond to a need in their schools or communities. Examples include supporting student government or other means of student involvement in the decision making process in schools, producing visual materials that share information on social issues, developing peer-support or peer-mediation programs or workshops, cooperating with local NGOs trying to develop a spirit of volunteerism, or supporting activities that help increase media coverage of youth issues. All participants will be expected to complete these follow-on projects. What else do I need to know? If you are selected for the program, the United States Government, in conjunction with its private partners, will pay for domestic transportation, international transportation to and from the United States, orientations, program fees and administration, site visits and seminars, lodging and most meals, some cultural activities, educational materials, accident and sickness coverage, and a modest amount of pocket money. Participants will stay with volunteer host families. Participants are responsible for expenses related to the application process (copying, mailing, photographs, etc.), passport fees, and spending money for souvenirs, telephone calls, and other personal items in the United States. Participants will travel to the United States on J-1 exchange visitor visas provided through this program. By accepting this visa, participants will be subject to a two-year home residency requirement, meaning they must return to and live in their home country for a total of two years before they would be eligible for an immigrant or temporary worker U.S. visa. This does not restrict other types of visas, however, so this would not prevent you from being able to apply for a student visa to attend university, for example. Who is eligible to apply? Student applicants must….. Be a Thai citizen currently residing in Thailand (applicants with dual U.S. citizenship will not be considered); Be born from April 5, 2002 to April 5, 2004; Be a high school student in Thailand and will have a high school graduation year of 2019 or later; Have proficiency in English; Have permission from both parents/guardian(s) and school to participate in the entire program. What are the criteria for selection? Students will be evaluated on their ability to demonstrate the following characteristics: Good academic performance, leadership potential, an interest in and commitment to civic action and community service; Initiative, good communication, and an energetic, positive attitude; Possess the ability to work cooperatively in a team and tolerate the opinions of others; Have permission from a parent or legal guardian to participate in the program. How do I apply? Complete an application form (PDF 934KB) along with two letters of recommendation (one from an English teacher, and the other from another teacher and/or school official), and your most recent transcript, and submit your complete package to the Media and Cultural Section of the U.S. Embassy Bangkok via email: PAExchangesBKK@gmail.com with the subject line of “SEAYLP_Your Full Name”. Alternatively, you can submit your application via post to the following address: Media and Cultural Section (2019 Southeast Asia Youth Leadership Program) U.S. Embassy Bangkok 95 Wireless Road, Lumpini Pathumwan, Bangkok 10330 Your complete package must be received by Friday, November 23, 2018. Submission via email or post will automatically log the date and time an application submission is made. The U.S. Embassy will use this information to determine whether an application has been submitted on time. Late applications are neither reviewed nor considered. We do not accept applications submitted by hand. Based on the criteria above, as demonstrated in the application, only shortlisted applicants will be contacted by the Media and Cultural Section for interviews. Interviews will take place in January 2019 at the Media and Cultural Section, U.S. Embassy, Bangkok. Shortlisted candidates must be able to travel to the interview site. We will notify the candidates of the details of the interview before the interview date. The list of finalists and alternates will be announced in February 2019. Questions should be addressed to: PAExchangesBKK@gmail.com with the subject line “SEAYLP” And after that…? Selected participants will receive orientation materials in the weeks prior to the start of the program to help prepare them for the program and their trip to the United States. A pre-departure orientation and training sessions with both students and the adult mentor will take place in the month prior to departure. Participants and their families will have an opportunity to speak with the Media and Cultural Section about the project at that time. After their return home and through the following months, participants will be responsible for completing their follow-on projects. Thank you for your interest in the program and good luck with your applications! By U.S. Mission Thailand | 26 October, 2018 | Topics: Scholarships and Exchanges | Tags: SEAYLP, Youth Leadership Program
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เราใช้เครื่องมือออนไลน์กับทุกอย่างในชีวิตประจำวัน ตั้งแต่งาน ธุรกรรมทางการเงิน ไปจนถึงการดูแลสุขภาพ นั่นก็หมายความว่าข้อมูลมากมายเสี่ยงที่จะถูกอาชญากรไซเบอร์ขโมยเอาข้อมูลระบุตัวตนไปโดยใช้ “มัลแวร์เรียกค่าไถ่” เพื่อเอาข้อมูลเป็นตัวประกัน หรือกวาดเอาเงินจากบัญชีธนาคารคุณไปจนเกลี้ยง สหรัฐอเมริกาใช้งบประมาณไปกว่าหนึ่งแสนล้านเหรียญในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาเพื่อป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของรัฐบาลจากอาชญากรที่จ้องจะขโมยข้อมูล ประธานาธิบดีโดนัลด์ เจ. ทรัมป์กล่าวว่า ประเด็นนี้เป็น “ปัญหาใหญ่” ในขณะที่เข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการ American Technology Council เมื่อเร็ว ๆ นี้ โดยคณะกรรมการดังกล่าวถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อทำให้เทคโนโลยีที่ล้าสมัยของรัฐบาลมีความทันสมัยขึ้นและปกป้องเทคโนโลยีนั้นจากการถูกโจมตีทางไซเบอร์ ความปลอดภัยทางไซเบอร์ไม่ใช่เรื่องที่สำคัญต่อภาครัฐเพียงเท่านั้น เทคนิคทั้งห้าข้อต่อไปนี้จะช่วยปกป้องคุณบนโลกออนไลน์ได้ 1.คอยระวังอยู่เสมอเมื่อใช้อีเมล อย่าคลิกลิงก์ในเนื้อความอีเมล เว้นแต่ว่าคุณจะรู้จักผู้ที่ส่งอีเมลนั้นมา บรรดาแฮกเกอร์พยายามหลอกล่อให้คนคลิกลิงก์ปลอมที่ดูสมจริง แต่แท้ที่จริงแล้ว ลิงก์เหล่านั้นจะดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ที่เป็นอันตรายหรือเชื่อมไปยังหน้าเว็บเพจที่จะขโมยข้อมูลส่วนบุคคล ยกตัวอย่างเช่น แฮกเกอร์อาจจะส่งอีเมลมาโดยทำให้ดูเหมือนว่าอีเมลนั้นส่งมาจากร้านค้าโปรดของคุณ เมื่อได้อีเมลลักษณะนี้ คุณไม่ควรคลิกเข้าไปในลิงก์นั้น แต่ให้เข้าไปดูข้อมูลที่หน้าโฮมเพจของร้านค้านั้นโดยตรงโดยเปิดเบราว์เซอร์หรือแท็บหน้าใหม่ขึ้นมา ด้วยเหตุผลเดียวกันนี้ คุณก็ไม่ควรเปิดไฟล์แนบในอีเมลใดที่ส่งมาจากคนที่คุณไม่รู้จักเช่นกัน และก็ไม่ควรตั้งให้มีการดาวน์โหลดไฟล์แนบอัตโนมัติในอีเมลด้วย 2. ตั้งรหัสผ่านที่ซับซ้อนและมีลักษณะเฉพาะ ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่แนะนำให้ใช้โปรแกรมจัดการหัสผ่าน (password manager) อย่างเช่น โปรแกรม LastPass 1Password หรือ Keeper โปรแกรมเหล่านี้จะตั้งรหัสผ่านที่ซับซ้อนสำหรับเว็บไซต์ที่คุณเข้าไปดูและช่วยให้คุณจัดการรหัสผ่านเหล่านี้ได้ง่าย แต่ถ้าคุณไม่ได้ใช้โปรแกรมจัดการรหัสผ่าน คุณควรตั้งรหัสผ่านโดยให้มีทั้งตัวอักษรพิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก ตัวเลข และสัญลักษณ์รวมอยู่ด้วย และไม่ควรใช้รหัสผ่านเดิมสำหรับการเข้าใช้เว็บไซต์มากกว่าหนึ่งเว็บไซต์ 3. ปกป้องข้อมูลส่วนบุคคล โดยปกติแล้ว บริษัทและหน่วยงานภาครัฐจะไม่ถามข้อมูลรหัสผ่านของคุณ เพราะฉะนั้นอย่าให้รหัสผ่านทางอีเมลหรือทางโทรศัพท์เป็นอันขาด ถ้าคุณได้รับอีเมลที่มีลิงก์เพื่อลงชื่อเข้าใช้ อย่าคลิกลิงก์ในอีเมลนั้น แต่ให้เข้าเว็บไซต์เองจากเบราว์เซอร์และลงชื่อเข้าใช้จากหน้าเว็บไซต์นั้น หากอยู่ดี ๆ มีบริษัทติดต่อคุณและขอให้คุณให้ข้อมูลส่วนตัว อย่าหลวมตัวให้ข้อมูลเป็นอันขาด แต่ให้วางสายไปและติดต่อบริษัทนั้นทางโทรศัพท์หรือเว็บไซต์โดยตรงเพื่อยืนยันว่าทางบริษัทมีการขอข้อมูลมาจริงหรือไม่ 4. ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยอยู่เสมอ อัพเดทซอฟท์แวร์ให้เป็นปัจจุบันเสมอทั้งในคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ และแท็บเล็ต และถ้าเป็นไปได้ ให้ใช้การยืนยันตัวตนสองชั้นหรือเรียกว่า two-factor authentication วิธีนี้เป็นการลงชื่อเข้าใช้ที่ต้องการมากกว่าการใส่รหัสผ่านและชื่อผู้เข้าใช้ แต่จะต้องใส่ข้อมูลที่มีคุณคนเดียวเท่านั้นที่รู้ ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่จะพิสูจน์ว่าคนที่พยายามลงชื่อเข้าใช้งานเป็นคุณจริง ๆ ไม่ใช่คนอื่นที่พยายามสวมรอยเป็นคุณนั่นเอง 5. คอยสังเกตความผิดปกติอยู่เสมอ หากบัญชีธนาคารหรือบัตรเครดิตคุณมีบริการส่งข้อความหรืออีเมลแจ้งเตือน ก็ให้คุณเปิดใช้บริการนั้น เพราะถ้าหากบัญชีของคุณถูกคนอื่นสวมรอยใช้ อย่างน้อยคุณก็จะได้รับการแจ้งเตือนทันที แต่หากคุณไม่สามารถใช้บริการข้อความแจ้งเตือน คุณควรตรวจสอบรายการเคลื่อนไหวในบัญชีอยู่เสมอว่ามีค่าใช้จ่ายใดที่ไม่ใช่ของคุณหรือไม่ Graphics by Julia Maruszewski/ Doug Thompson/ State Department โดย U.S. Mission Thailand | 19 ตุลาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว
People use online tools for everything from work to bankingto health care. That means more information than ever before is at risk to cyber criminals who can steal your identity, use “ransomware” to hold your information hostage, or empty your bank accounts. The U.S. has spent more than $100 billion over the last decade protecting government computer networks from people who want to steal information. It’s “a big problem,” President Donald J. Trump said at a recent meeting of the American Technology Council, which was created to modernize and protect the government’s outdated technology from cyberattacks. Cybersecurity isn’t just for governments. Hereare five tips to protect yourself online: 1. Exercise healthy suspicion when using email Don’t click on links in emails unless you know the person sending it. Hackers try to trick people into clicking on fake links that look real, but the links actually download malicious software or go to webpages that will try to steal personal information. For example, hackers may send you an email that looks likeit’s from your favorite store. Don’t follow the links in that email. Instead,visitthe store’s homepagein a new browser window or tab. For the same reason, never open attachments from people you don’t know. You also should turn off any settings in your email that download attachments automatically. 2. Make passwords complex and unique Most experts recommend using a password manager such as LastPass, 1Passwordor Keeper. These programs create complicated passwords for the sites you visit and make it easy to manage them. If you don’t use a password manager, make sure your passwords have both upper- and lower-case letters, numbers and symbols. Don’t use the same password on more than one website. 3. Protect personal information Companies and government agencies will not ask you for your password, so do not email your password or give it out over the phone. If you get an email with a link to a login page, do not click it; instead go to that website in your browser and log in there. If a company unexpectedly contacts you and asks you to provide personal information, don’t! Hang up and contact the company, either by phone or through their website, to confirm the request is really from that company. 4. Use the latest technology Make sure your computers, phones and tablets have up-to-date software. Additionally, when possible, use another layer of security called two-factor authentication. This approach goes beyond providing a password and username; it also requires information that you, and only you, will have. It’s a great way to verify that it’s you trying to log in and not someone pretending to be you. 5. Keep an eye out for unusual activity If your bank account or credit card offers text oremail alerts, turn them on. That way, even if your account is compromised, you will be alerted. If you cannot turn on text alerts, make sure to monitor your bank statements frequently for charges you did not make. Graphics by Julia Maruszewski/ Doug Thompson/ State Department By U.S. Embassy Bangkok | 19 October, 2018 | Topics: News, Science & Tech
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: คำให้สัมภาษณ์ของเอกอัครราชทูต กลิน ที. เดวีส์แก่สื่อมวลชนหลังการเยี่ยมอำลานายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันโอชา 26 กันยายน พ.ศ. 2561 ทำเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย เอกอัครราชทูต เดวีส์ เริ่มให้สัมภาษณ์โดยสรุปเกี่ยวกับประเด็นหารือกับนายกรัฐมนตรี เราได้พูดเกี่ยวกับเหตุการณ์สำคัญหลายเหตุการณ์ที่ผมได้มีโอกาสเข้าร่วมที่นี่ ไม่ว่าจะเป็นปีแห่งการไว้อาลัยต่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ซึ่งผมได้รับเกียรติอย่างสูงที่ได้เป็นตัวแทนของประเทศสหรัฐฯ ได้เห็นคนไทยรวมใจกันในช่วงเวลาอันเศร้าโศกนั้น และต่อมาก็เป็นความโชคดีมากที่ผมในฐานะเอกอัครราชทูตได้เห็นคนไทยทั้งประเทศร่วมส่งความหวังและกำลังใจเพื่อช่วยให้เด็ก ๆ นักฟุตบอลรอดชีวิตออกมาจากถ้ำหลวงได้อย่างปลอดภัย มาใช้ชีวิตที่รออยู่ในวันข้างหน้า สหรัฐฯ ภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในปฏิบัติการครั้งนั้น ซึ่งทั้งหมดนี้ก็คือทุกเรื่องที่ผมจะพูดครับ ผมอยากมาทักทายทุกคนที่นี่ จะได้ไม่เหงากัน อยากมาทักทายและขอบคุณทุกคนสำหรับงานที่ทำมาตลอด สวัสดีครับ และขอบคุณมากครับ มีท่านใดอยากถามอะไรไหมครับ ผมยินดีตอบ ถ้าไม่อย่างนั้นผมก็จะให้ทุกคนทำงานต่อครับ มีคำถามไหมครับ ดิฉันจากช่อง 3 ค่ะ ขอเรียนถามว่า ทางสหรัฐฯ มั่นใจแค่ไหนเรื่องวันเลือกตั้งว่าเป็นวันที่ 24 กุมภาพันธ์แน่ ๆ ผมไม่คิดว่าผมอยู่ในฐานะที่จะตอบคาดเดาอนาคตได้ สิ่งที่ผมทำได้ก็คือกล่าวถึงจุดยืนของสหรัฐฯ ซึ่งทุกท่านก็ทราบว่าคืออะไร ประเทศเราเป็นประเทศประชาธิปไตยเก่าแก่ เราเชื่อในประชาธิปไตย และเราก็เฝ้ามองประเทศไทยในฐานะที่เราเป็นมิตรและเป็นประเทศพันธมิตรกับไทย เราจึงอยากให้ไทยแข็งแกร่ง เจริญรุ่งเรือง และมีอิสระเสรี เราก็เฝ้ามองกระบวนการตรงนี้ที่กำลังคลี่คลาย ผมเองพูดเสมอและจะพูดอีกครั้งว่า เรามีความหวังว่าประเทศไทยจะกลับคืนสู่การมีรัฐบาลพลเรือนที่ได้รับการเลือกตั้งอย่างเป็นประชาธิปไตย และมีเวลาเพียงพอก่อนการเลือกตั้งให้คนที่นี่ได้มีส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมือง ซึ่งก็หมายความว่าสิทธิพลเมืองจะได้รับการเคารพและมีการเปิดพื้นที่ทางการเมือง ซึ่งนี่ก็เป็นจุดยืนเดิมที่ผมมี แต่ผมจะไม่มาพูดหรือบอกว่าทำไมเรื่องนี้จะไม่ราบรื่นหรือจะออกมาไม่ดี เพราะนั่นไม่ใช่หน้าที่ของผม ผมไม่ต้องการแทรกแซงการเมืองภายในของประเทศไทย ประเทศที่สวยงามนี้ ผมจะไม่ทำแบบนั้น ยังไงก็ตามครับ ขอบคุณมากที่ถามคำถาม ขอให้สื่อถามคำถามยาก ๆ ต่อไปครับถึงแม้ว่าอย่างผมเองจะไม่ตอบคำถามตรง ๆ อย่างที่ท่านต้องการก็ตาม ขอให้ทุกท่านทำงานของท่านต่อไปครับ เป็นงานที่สำคัญมาก ขอให้ทุกท่านสุขภาพแข็งแรง เจริญรุ่งเรือง มีความสุขนะครับ ไชโยแก่ประเทศไทยครับ ขอบคุณครับ โดย U.S. Embassy Bangkok | 26 กันยายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกอัครราชทูต
Ambassador Glyn T. Davies’ statement to the press following his farewell call with Prime Minister Prayut Chan-o-cha September 26, 2018 Government House, Bangkok, Thailand Ambassador Davies began his remarks by briefly summarizing his conversation with the Prime Minister: We talked about all the wonderful events that I have witnessed during my time here. The year of mourning for His Majesty the late king and that I had a great honor of representing my country, watching the people of Thailand come together in sadness and sorrow. I also noted the great good fortune I had as Ambassador to watch the Kingdom come together in hope and love in order to ensure that those boys, the beautiful boys, came out of that cave at Tham Luang with their whole lives ahead of them, and how proud the United States was to help with that endeavor. I just wanted to come and speak with you. I know you get lonely down here, and I wanted to come and say “hi” to you and thank you very much for what you do. So, thank you so much. Swasdi krub. Khob khun krub. If you have any questions, I’m happy to answer them. Any questions? Reporter: I’m from Channel 3. I want to ask about how confident the U.S. side is about the election’s exact date of 24 February? Ambassador Davies: I don’t think it’s my role to get into predicting the future. All I can do is state, as I already have, the position of the United States, and you know what it is. We’re an old democracy. We believe in democracy. We are obviously watching as a friend and an ally of the Kingdom of Thailand. We want Thailand to be strong and prosperous and free as a nation. We’re watching the process unfold. I have always said, and I’ll say again, that we’re hopeful that the Kingdom returns soon to a democratically elected civilian government. We also hope there is sufficient time in a run-up to the election for people here to participate in the political process, which means that civil liberty is respected and political space opened up. It’s the same position we have always had, but I’m not going to say I think it won’t go well, or bad. That’s not my job. I don’t want to interfere in the internal politics of this beautiful Kingdom. So, I’m not going to do that. Anyway, thank you very much for that question. Keep asking the tough questions even if people like me don’t always answer the ones you want. Keep doing the job you do. It’s very important. Anyway, thank you so much everybody. Khob khun krub. All the best to you. Thank you very, very much. Long life, prosperity, happiness, and Chaiyo to the Kingdom of Thailand. Thank you. By U.S. Embassy Bangkok | 26 September, 2018 | Topics: Ambassador, News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: มร.รัสไนซ์ลี่ที่ปรึกษาทูตฝ่ายกิจการเกษตรสถานทูตอเมริกาประจำประเทศไทยได้เข้าร่วมงานเปิดตัวองุ่นSun Worldจากรัฐแคลิฟอร์เนียประเทศสหรัฐอเมริกาที่กูร์เมต์มาร์เก็ตเดอะมอลล์บางแคในวันที่21กันยายน2561องุ่นSun Worldนำเข้าโดยบริษัทซิตี้เฟรชฟรุ๊ตจำกัดจะวางจำหน่ายในประเทศไทยที่กูร์เมต์มาร์เก็ตทุกสาขา โดย U.S. Embassy Bangkok | 21 กันยายน, 2018 | ประเภท: Exclude, ข่าว, เหตุการณ์
On September 21, 2018, Mr. Russ Nicely, Agricultural Counselor of U.S. Embassy attended the launch of California Grape – Sun World Grapes, imported by City Fresh co., ltd at Gourmet Market, The Mall Bangkae. Sun World grapes will be available at all Gourmet Market. By U.S. Embassy Bangkok | 21 September, 2018 | Topics: Agriculture, Events, Exclude, News, Trade
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: คณะที่ปรึกษาทางทหารสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย (จัสแม็กไทย) จัดงานเฉลิมฉลองครบรอบ 65 ปีในวันนี้ พร้อมทั้งจัดพิธีเกียรติยศเนื่องในวันเชลยศึกและทหารผู้สูญหายในสงคราม เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย กลิน ที. เดวีส์ และพลเอกพรพิพัฒน์ เบญญศรี เสนาธิการทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ร่วมเปิดพิธีทั้งสองที่สำนักงานจัสแม็กไทยในกรุงเทพมหานคร เอกอัครราชทูตเดวีส์กล่าวว่า “จัสแม็กไทยก่อตั้งขึ้นที่กรุงเทพมหานครเมื่อ 65 ปีที่แล้วหลังสงครามเกาหลีซึ่งทหารไทยและอเมริกันสู้รบเคียงบ่าเคียงไหล่กันภายใต้การบัญชาการขององค์การสหประชาชาติ นอกจากนั้นยังมีกองทัพอีก 19 ชาติร่วมรบกับเราด้วย เราภาคภูมิใจอย่างสูงยิ่งในพันธมิตรที่แข็งแกร่งระหว่างชาติทั้งสองของเรา วันนี้พวกเรามารวมกันที่นี่เพื่อยกย่องผู้เสียสละต่อสู้เพื่อเสรีภาพ แต่พวกเขาหล่านั้นยังไม่ได้กลับบ้าน เหมือนดั่งที่ประธานาธิบดีอับราฮัม ลินคอล์น เคยกล่าวไว้ว่า ชาติใดที่ไม่เชิดชูเกียรติเหล่าวีรบุรุษของพวกเขา ชาตินั้นจะดำรงอยู่ได้ไม่นาน” พิธีการทั้งสองในวันนี้เริ่มด้วยการบรรเลงเพลงชาติของทั้งสองประเทศโดยวงดุริยางค์ทหารบกไทย ตามมาด้วยสุนทรพจน์ของแขกผู้มีเกียรติและการเล่าประวัติโดยย่อของจัสแม็กไทย การนิ่งสงบเพื่อไว้อาลัย รวมถึงประเพณีการจัดโต๊ะอาหารสำหรับทหารผู้สูญหายในสงครามเพื่อเป็นเกียรติแก่เชลยศึกและทหารผู้สูญหายเหล่านั้น ทั้งนี้ นายทหารระดับสูงของกองทัพไทย 60 นายและนายทหารระดับสูงฝ่ายอเมริกันพร้อมทั้งเจ้าหน้าที่สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยได้ร่วมงานพิธีสำคัญในครั้งนี้ จัสแม็กไทยก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2496 ถึงแม้ว่าไทยและสหรัฐอเมริกาได้เป็นพันธมิตรกันมานานแล้ว แต่ได้มีการก่อตั้งจัสแม็กไทยขึ้นเนื่องจากตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องมีภาคีด้านความมั่นคงที่แน่นแฟ้นยิ่งขึ้นในช่วงสงครามเย็น ไทยและสหรัฐอเมริกาได้ดำรงความสัมพันธ์ทางทหารมาอย่างต่อเนื่องและพัฒนาอย่างมั่นคงจนถึงปัจจุบัน การฝึกคอบร้าโกลด์ประจำปีเป็นการฝึกร่วมกันทางทหารในระดับพหุภาคีที่มีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 จนถึงปัจจุบันซึ่งถือว่าใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีผู้เข้าร่วมฝึกมากกว่า 13,000 คนจากเจ็ดประเทศและผู้เข้าร่วมสังเกตการณ์อีก 20 ประเทศ จัสแม็กไทยได้ช่วยประเทศไทยเตรียมกองกำลังสาหรับภารกิจรักษาสันติภาพในกัมพูชา ติมอร์ตะวันออก อาเจะห์ และซูดาน รวมถึงปฏิบัติการระดับพหุภาคีเพื่อต่อต้านโจรสลัดในอ่าวเอเดน ด้วยการสนับสนุนจากจัสแม็กไทย ประเทศไทยได้เป็นศูนย์กลางระดับภูมิภาคในการบรรเทาสาธารณภัยรวมถึงการรับมือกับสึนามิในปี พ.ศ.2547 พายุไซโคลนนากีสในปี พ.ศ. 2551 แผ่นดินไหวที่ประเทศเนปาลปี พ.ศ. 2558 และล่าสุด จัสแม็กไทยติดต่อกองทัพสหรัฐฯ ให้การสนับสนุนรัฐบาลไทยในการช่วยเหลือนักฟุตบอลเยาวชนทีมหมูป่าแอคาเดมีและผู้ช่วยโค้ชของพวกเขาออกจากถ้ำหลวงขุนน้ำนางนอนได้อย่างปลอดภัย หกสิบห้าปีหลังการก่อตั้ง จัสแม็กไทยได้เป็นเสาหลักที่สำคัญของภาคีด้านความมั่นคงระหว่างประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา พันเอกเวย์น เทิร์นบุลล์ นายทหารอาวุโสประจำสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยกล่าวว่า “เมื่อคำนึงถึงความเชื่อมั่น การเคารพซึ่งกันและกันและมิตรภาพระหว่างกองทัพไทยและสหรัฐฯ จัสแม็กไทยพร้อมเสมอที่จะสนับสนุนกองทัพไทยในการพัฒนาความสามารถด้านความมั่นคงเพื่อจัดการกับความท้าทายที่ซับซ้อน การพัฒนาเหล่านี้ก็เพื่อเป็นหลักประกันว่าภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกจะเป็นเสรีและเปิดกว้างในศตวรรษที่ 21และช่วงหลังจากนั้นอีกยาวนาน” ดูรูปความละเอียดสูงได้ที่ https://flic.kr/s/aHskJh4DSN โดย U.S. Embassy Bangkok | 21 กันยายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์, เอกอัครราชทูต
The Joint U.S. Military Advisory Group Thailand (JUSMAGTHAI) held its 65th Anniversary celebration today, along with a commemoration honoring the U.S. National Prisoner of War / Missing in Action (POW/MIA) Day. U.S. Ambassador Glyn T. Davies and General Ponpipaat Benyasri, Chief of Joint Staff, Royal Thai Armed Forces, presided over the ceremonies conducted at the JUSMAGTHAI compound in Bangkok. “JUSMAGTHAI was established in Bangkok 65 years ago, in the aftermath of a bloody Korean Conflict in which Thais and Americans fought side-by-side under UN Command, joined by forces from 19 other countries. We take great pride in the strong Thai-U.S. military partnership, a cornerstone of the enduring relationship between our two nations.” said Ambassador Glyn T. Davies. “Today, we also gather to recognize the sacrifices of those who fought for freedom but have yet to return home. As President Abraham Lincoln said, ‘A nation that does not honor its heroes will not long endure.’ ” The ceremonies included the playing of the national anthems of both countries performed by a Royal Thai Army band, remarks by guest speakers, the reading of a brief history of JUSMAGTHAI, a monument dedication, as well as the traditional “Missing Man Table” ceremony honoring the POWs/MIAs. Sixty senior Thai military officers, along with several senior U.S. military officers and members of the U.S. Embassy community attended the event. JUSMAGTHAI was formally established on September 22, 1953. Although Thailand and the U.S. were already long-term friends, JUSMAGTHAI was created in joint recognition that the Cold War made a closer security partnership imperative. The Thai-U.S. military relationship has continued to flourish and evolve to meet the security challenges of today. The annual Cobra Gold training exercise, inaugurated in 1982 as a bilateral event, has grown into the largest annual multilateral exercise in South East Asia, with up to 13,000 participants from seven nations and observers from another twenty. JUSMAGTHAI has helped the Thai military prepare for peacekeeping missions in Cambodia, East Timor, Aceh, and Sudan, as well as multi-national counter-piracy operations in the Gulf of Aden. With JUSMAGTHAI assistance, Thailand has become a regional hub for disaster relief, including the response to the 2004 Indian Ocean Tsunami, 2008 Cyclone Nargis, and the 2015 Nepal earthquake. Most recently, JUSMAGTHAI coordinated U.S. assistance to the Royal Thai Government’s successful rescue of the Wild Boars soccer team at the Tham Luang Cave. Sixty-five years after its founding, JUSMAGTHAI remains a critical cornerstone in the security partnership between the Kingdom of Thailand and the United States. “Leveraging the mutual trust, respect, and friendship between the U.S. and Thai militaries; JUSMAGTHAI stands ready to support the U.S. – Thai defense alliance’s ability to advance mutual security interests and address complex security challenges to enable a free and open Indo-Pacific for the 21st Century and beyond,” said Colonel Wayne Turnbull, Senior Defense Official, U.S. Embassy Bangkok. For high-resolution photography, see https://flic.kr/s/aHskJh4DSN By U.S. Embassy Bangkok | 21 September, 2018 | Topics: Ambassador, Events, News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ภูเก็ตและกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย: สมาคมโรงแรมภูเก็ตร่วมกับสถานทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยแก้ปัญหาการจัดการขยะในจังหวัดภูเก็ตภายใต้โครงการ Science Fellowship โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดการใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งอย่างมีนัยสำคัญในโรงแรมพื้นที่จังหวัดภูเก็ต จากโครงการความร่วมมือนี้ สมาคมโรงแรมภูเก็ต ซึ่งประกอบไปด้วยสมาชิกโรงแรม 65 แห่ง (มีห้องพักรวมทั้งสิ้นราว 11,000 ห้องบนเกาะภูเก็ต) ได้ร่วมกันลดปริมาณและประเภทของพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งในการดำเนินกิจการไปแล้ว และจะยกเลิกการใช้ขวดน้ำดื่มพลาสติกในห้องพักภายในปี พ.ศ. 2562 นี้ การดำเนินโครงการนี้นับเป็นก้าวสำคัญในการลดและกำจัดมลพิษขยะพลาสติกทางทะเล ที่ส่งผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ทางทะเลในวงกว้างและเป็นภัยคุกคามต่อการท่องเที่ยวในประเทศไทยและในภูมิภาค เมื่อดำเนินการตามแผนที่วางไว้ในปีหน้านี้ จังหวัดภูเก็ตจะเป็นหนึ่งในเมืองท่องเที่ยวแห่งแรก ๆ ของโลกที่แสดงความรับผิดชอบอย่างจริงจังในการจัดการกับมลพิษทางทะเลและหาทางแก้ปัญหาดังกล่าว ในการดำเนินโครงการนี้ ดร. มาริสสา เจบลอนสกี (Dr. Marissa Jablonski) ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการขยะจากสหรัฐอเมริกา ได้สำรวจการใช้พลาสติกและการจัดการขยะของโรงแรมและรีสอร์ทบนเกาะภูเก็ต และได้เสนอวิธีแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนในระหว่างเยือนสถานประกอบการ 45 แห่ง จัดทำวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศเฉพาะสำหรับแต่ละแห่ง จัดอบรมเชิงปฏิบัติหกครั้งให้แก่ผู้บริหารและพนักงานโรงแรม จัดทำรายชื่อผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตลอดจนให้การอบรมวิทยากรในพื้นที่ ในการนี้ ผู้จัดการของโรงแรมหลายแห่งได้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบเรื่องสิ่งแวดล้อมโดยตรงเพื่อดำเนินการสานต่อความพยายามในเรื่องนี้ นอกจากนี้ ดร. เจบลอนสกียังทำงานร่วมกับภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคมในการเพิ่มความตระหนักรู้และร่วมกันหาทางแก้ปัญหาที่เป็นรูปธรรม นายกลิน ที. เดวีส์ (Glyn T. Davies) เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยกล่าวว่า “มหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเลตกอยู่ภายใต้ความกดดันอย่างใหญ่หลวงจากภัยคุกคามหลากหลายรูปแบบซึ่งรวมถึงมลพิษทางทะเล” เอกอัครราชทูตเดวีส์ยังกล่าวเพิ่มเติมว่า “นักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ไว้ว่า ภายในปี พ.ศ. 2593 ปริมาณพลาสติก (โดยน้ำหนัก) อาจมีมากกว่าปลาในทะเลก็เป็นได้หากเราไม่ลงมือหยุดยั้งปัญหาเสียแต่วันนี้ สถานทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยมุ่งมั่นที่จะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว เราภูมิใจที่ได้เชิญผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้ในโครงการความร่วมมือพิเศษระหว่างรัฐและเอกชนนี้ โดยร่วมกับสมาคมโรงแรมภูเก็ตเพื่อช่วยหาทางแก้ปัญหาที่นำไปปฏิบัติใช้ได้จริง” นายแอนโทนี ลาร์ค (Anthony Lark) นายกสมาคมโรงแรมภูเก็ต ให้ความเห็นว่า “มลพิษขยะพลาสติกเป็นหนึ่งในวิกฤติที่ร้ายแรงที่สุดที่โลกกำลังเผชิญอยู่ มหาสมุทรทั่วโลกกำลังได้รับผลกระทบจากวิกฤตินี้ สิ่งมีชีวิตที่ต้องพึ่งพาท้องทะเลในการดำรงชีวิตต้องทุกข์ทรมานจากการกลืนพลาสติกเข้าไป เพราะฉะนั้นเรามีหน้าที่ที่จะแก้ปัญหานี้ร่วมกัน เราจึงมีความยินดีอย่างยิ่งที่จะแจ้งให้ท่านทราบว่า โครงการนี้เป็นการรวมพลังของโรงแรมสมาชิกเพื่อยกเลิกการใช้ขวดน้ำดื่มพลาสติกในห้องพักในปีหน้า ซึ่งก็หมายความว่า ขวดพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งนับล้าน ๆ ขวดจะถูกกำจัดออกไปจากวงจรขยะของจังหวัดภูเก็ต” เมื่อสมาชิกสมาคมโรงแรมภูเก็ตทุกแห่งนำข้อเสนอแนะของดร. เจบลอนสกีไปปฏิบัติใช้ จังหวัดภูเก็ตก็จะกลายเป็นหนึ่งในเมืองท่องเที่ยวแห่งแรก ๆ ของโลกที่มีการยกเลิกการใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งตามโรงแรมและรีสอร์ทมากมายหลายแห่งในพื้นที่ นอกจากนี้ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการรณรงค์ในเรื่องดังกล่าว ดร. เจบลอนสกีจะให้เกียรติมาเป็นวิทยากรในงานสัมมนา Phuket Hotels for Islands Sustaining Tourism Forum (PHIST) ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 24 กันยายนนี้ งานดังกล่าวเป็นเวทีสัมมนาที่จัดขึ้นมาใหม่เพื่อส่งเสริมความยั่งยืนในภูมิภาคของภาคอุตสาหกรรมการบริการ ท่านสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงานสัมมนา PHIST ได้ที่ www.phukethotelsassociation.com ทั้งนี้ โครงการ Science Fellowship ของสถานทูตสหรัฐอเมริกาเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 เพื่อดำเนินการจัดให้นักวิทยาศาสตร์จากสหรัฐอเมริกาได้เดินทางไปประเทศต่าง ๆ เพื่อช่วยแก้ปัญหาในหลากหลายด้าน นับตั้งแต่จัดตั้งโครงการจนถึงปัจจุบัน มีนักวิทยาศาสตร์กว่า 450 รายเข้าร่วมโครงการทั่วโลก ท่านสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.state.gov/e/oes/stc/ ดูรูปความละเอียดสูงได้ที่https://state-low.box.com/v/embassy-science-fellows รายชื่อโรงแรมที่ร่วมโครงการ: https://www.phukethotelsassociation.com/member-hotels โดย U.S. Embassy Bangkok | 19 กันยายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข่าว
PHUKET AND BANGKOK, THAILAND: The Phuket Hotels Association and the U.S. Embassy, through a Science Fellowship Program, partnered to tackle waste management challenges in Phuket. The goal is to significantly reduce single-use plastics at Phuket’s hotels. As a result of this collaboration, the Phuket Hotel Association’s 65 member properties (representing nearly 11,000 rooms on the island) have already reduced the volume and types of single-use plastics in operation and will eliminate the use of plastic water bottles in guest rooms by 2019. This is an important step toward reducing and eliminating marine plastic pollution, which is affecting marine health everywhere and a threat to tourism in Thailand and the region. When implemented next year, Phuket will become one of the first tourism destinations in the world to have made such a large commitment to managing marine pollution and addressing the problem. During the project, Dr. Marissa Jablonski, a U.S. waste management expert, investigated plastic use and waste management at the island’s hotels and resorts. She offered sustainability solutions during 45 site visits, developed a customized best practices list, conducted six workshops for hotels’ leadership and staff, started a green supplier list, and trained local trainers. Several hotel managers appointed environmental stewards to continue these efforts. Dr. Jablonski also worked with businesses, government, and civil society to raise awareness and put forward concrete solutions. “Our ocean and its resources are under tremendous pressure from a variety of threats, including marine pollution,” remarked U.S. Ambassador to Thailand Glyn T. Davies. “By 2050, scientists assess there could be more plastic than fish (by weight) in the ocean if we don’t act. The U.S. Embassy is committing to helping address this problem. We are proud to bring an expert to engage in this unique public-private-partnership with the Phuket Hotels Association to help find practical solutions.” President of Phuket Hotels Association Anthony Lark commented, “Plastic pollution is one of the most critical issues facing the planet today. The world’s oceans and the creatures that depend on them are choking on plastic and it is our duty to tackle this problem. We are thrilled to announce that this project empowered our member hotels to eliminate all plastic water bottles in rooms next year. This represents literally millions of single-use plastic water bottles that will be eliminated from Phuket’s waste stream.” After Dr. Jablonski’s recommendations are implemented at all the Phuket Hotels Association’s member properties, Phuket will become one of the first tourism destinations in the world to eliminate single-use plastics across such a large number of hotels and resorts. To continue this momentum, Dr. Jablonski will speak on September 24 at the Phuket Hotels for Islands Sustaining Tourism Forum (PHIST), a new regional sustainability forum for the hospitality sector. To learn more about the Phuket Hotels Association or PHIST, please visit www.phukethotelsassociation.com. The Embassy Science Fellows Program – started in 2001 – places scientists from the United States overseas to contribute to solving problems. More than 450 Fellows have participated in the program globally since its inception. For more information, see https://www.state.gov/e/oes/stc/. For high-resolution photography, seehttps://drive.google.com/drive/folders/1nimpH2FCsGBXjA8QQ7yGd1L2HGHbwNZK Phuket Hotels Association members are listed at https://www.phukethotelsassociation.com/member-hotels. By U.S. Embassy Bangkok | 19 September, 2018 | Topics: Environment, News, Press Releases, Science & Tech, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: กรุงเทพฯ 19 กันยายน 2561: Google ประเทศไทย ร่วมกับ อเมริกันคอร์เนอร์ (American Corner) โดยสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย จัดอบรมหลักสูตรดิจิทัลให้กับคณะครูและนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยและโรงเรียนที่สนใจในพื้นที่ เริ่มการจัดขึ้นที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ภายใต้ธีม “การเรียนรู้หนังสือดิจิทัลเพื่อความเสมอภาคด้านการศึกษา” ซึ่งหลักสูตรฝึกอบรมนี้จะมีทั้งภาคทฤษฎีและเวิร์คช็อปเพื่อสร้างความเข้าใจอย่างถ่องแท้ โดยกำหนดให้มีการเริ่มฝึกอบรมแล้วตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2561 ไปจนถึงปลายปี พ.ศ. 2562 วัตถุประสงค์ในการจัดหลักสูตรฝึกอบรมดิจิทัลในครั้งนี้ เพื่อต้องการช่วยลดช่วงว่างสำหรับโอกาสในการศึกษาและการเรียนรู้ทักษะเกี่ยวกับดิจิทัล และเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาก่อนเริ่มทำงานจริงด้วยความรู้และประสบการณ์ด้านเทคโนโลยีที่ถูกต้อง ซึ่งจะครอบคลุมไปถึงทักษะการเป็นพลเมืองดิจิทัลที่มุ่งเน้นความสำคัญต่อผู้ใช้เทคโนโลยี รวมทั้งมารยาทและความปลอดภัยในสังคมออนไลน์ นอกจากนี้ ยังสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สำหรับการดำเนินชีวิตประจำวัน และเพื่อต่อยอดทางธุรกิจอีกด้วย โดยหลักสูตรการฝึกอบรมนี้จะแบ่งออกเป็น 4 หัวข้อหลัก ซึ่งแต่ละหัวข้อจะจัดให้มีนักศึกษาเข้าร่วมฝึกอบรมจำนวน 50 คน และครูจำนวน 20 คน รายละเอียดมีดังนี้ 1. G-Suite for Education: การใช้งานบริการของ Google อาทิ Google Docs, Sheets, Slides และ Form 2. Google for Digital Economy ครอบคลุมไปถึง AdWords, Google My Business และอื่นๆ 3. Google Maps และ Earth: รู้จักวิธีใช้ เป็นนักสำรวจ ช่วยเสริมทักษะด้านความคิด 4. YouTube: การทำงานเป็นกลุ่มโดยใช้ YouTube เพื่อสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ ในรูปแบบวิดีโอ มีการโปรโมทช่องของตนเองและสามารถรักษาความนิยมของผู้ติดตามได้อย่างสม่ำเสมอ มร เบน คิง Country Director Google ประเทศไทย กล่าวว่า “การร่วมมือเปิดหลักสูตรอบรมดิจิทัลกับอเมริกันคอร์เนอร์ ในครั้งนี้ เป็นส่วนหนี่งในความมุ่งมั่นที่ Google ประเทศไทย ปรารถนาที่จะเปิดโอกาสให้คนไทยทั่วทั้งประเทศแม้ในแถบชนบทได้รับการเรียนรู้หนังสือดิจิทัลรวมทั้งการเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดี โดยหลักสูตรที่กล่าวเบื้องต้นนั้น เรามุ่งหวังว่านักศึกษาจะมีความตระหนักถึงประโยชน์ในการนำเทคโนโลยีมาใช้ในคลาสเรียนและในชีวิตประจำวัน สร้างความคุ้นเคยกับแวดล้อมกับการศึกษาหนังสือดิจิทัลในโลกการเรียนรู้ในปัจจุบัน ตลอดจนะช่วยให้นักศึกษามีความพร้อมสำหรับการเป็นพนักงานที่มีคุณภาพในแวดล้อมการทำงานจริง” มร กลิน ที. เดวีส์ เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย กล่าวว่า “สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย รู้สึกภาคภูมิใจที่ได้ร่วมมือกับ Google ประเทศไทย ในการร่วมเปิดโลกทัศน์เพื่อเพิ่มทักษะด้านเทคโนโลยีสำหรับการเรียนการสอน และเพื่อเป็นการวางรากฐานสำคัญสำหรับการเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดี สร้างวัยหนุ่มสาวให้มีความเชี่ยวชาญ รวมทั้งเป็น การเป็นผู้นำด้านธุรกิจอย่างมืออาชีพในประเทศไทย และการเป็นเจ้าภาพสำหรับสถานที่ ณ อเมริกันคอร์เนอร์ ทั้ง 4 จังหวัดในประเทศไทยในครั้งนี้ เรามั่นใจได้ว่าการฝึกอบรมนี้จะสามารถขยายและต่อยอดทักษะความรู้ด้านเทคโนโลยีไปได้ทั่วประเทศไทย อเมริกันคอร์เนอร์ (American Corner) เป็นศูนย์ข้อมูลและวัฒนธรรมอเมริกัน วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมและคณิตศาสตร์ รวมทั้ง การเรียนการสอนภาษาอังกฤษและการส่งเสริมการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai โดย U.S. Mission Thailand | 19 กันยายน, 2018 | ประเภท: American Spaces, การศึกษา, ข่าว, ฝ่ายสื่อมวลชนและวัฒนธรรม, สหรัฐอเมริกาและไทย, เชียงใหม่, เอกสารข่าว
Bangkok – September 19, 2018: Google Thailand has partnered with the U.S. Mission in Thailand to offer digital literacy training to university teachers and students as well as schools in the vicinity at the American Corners at Chiang Mai University, Mahasarakham University, Yala Rajabhat University, and Prince of Songkla University (Pattani Campus) under the theme of “Digital Literacy for Education Equality.” Digital literacy courses will offer both theoretical and practical training for a better understanding of technology and its uses. Training sessions will run from June 2018 through 2019. The objectives of the training program are to narrow the digital divide and to promote equal educational opportunities. The training serves to better equip students with technological literacy and skills to prepare them to enter the workforce. The training program will cover digital citizenship skills, digital etiquette, and cybersecurity. The training program covers four main topics; 50 students and 20 teachers will attend sessions on each of four main topics: 1. G–Suite for Education: The use of Google services for education purposes including Google Docs,Sheets, Slides and Form 2. Google for Digital Economy including AdWords, Google My Business, etc. 3. Google Maps and Earth: Learning how to use and explore the Earth to help increase critical thinking skills 4. YouTube: Using YouTube to create video content and draw attention from followers and audiences Ben King, Country Director, Google Thailand, said “Our partnership with the U.S. Embassy’s American Corners are part of our efforts to provide Thais – including those in rural areas – with the opportunity to learn about digital literacy and citizenship skills. We hope that the training course will help students realize the importance of technology in their classrooms and everyday life, become familiar with the digital world, and prepare themselves for their future jobs in the real world.” U.S. Ambassador to Thailand Glyn T. Davies, said “The U.S. Embassy in Bangkok is proud to partner with Google to teach students the technology skills they will need as citizens, young professionals, and business leaders in Thailand. Hosting these sessions on university campuses at our American Corner in four of Thailand’s provinces ensures that this cutting–edge skills training is widespread throughout the Kingdom.” Our American Corners serve as American cultural centers that promote science, technology, engineering and mathematics (STEM) education, English teaching and promote study in the United States. Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai Google Thailand at American Corner Chiang Mai By U.S. Mission Thailand | 19 September, 2018 | Topics: American Spaces, Art & Culture, Chiang Mai, Education, Featured Event, News, Press Releases, Public Affairs
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: คำให้สัมภาษณ์ของเอกอัครราชทูต กลิน ที. เดวีส์ แก่สื่อมวลชนหลังจากการเข้าอำลาพลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในวาระที่จะพ้นตำแหน่ง 13 กันยายน พ.ศ. 2561 กระทรวงกลาโหม กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ผมเพิ่งจะเข้าพบท่านรองนายกรัฐมนตรี ซึ่งดำเนินไปได้ด้วยดี ครั้งนี้เป็นการเข้าพบเพื่ออำลาท่านในโอกาสที่ผมจะพ้นตำแหน่งที่นี่ เราได้หารือทบทวนหลายประเด็นที่สำคัญต่อทั้งประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา ผมได้ขอบคุณท่านรองนายกที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ทางการทหารระหว่างสหรัฐฯกับไทยให้มีความแข็งแกร่งเสมอมา เราพูดถึงเรื่องที่ท่านรองนายกเดินทางเยือนสหรัฐอเมริกา และผมก็ขอบคุณท่านเป็นอย่างยิ่งที่ให้โอกาสสหรัฐอเมริกามีส่วนร่วมในภารกิจช่วยเหลือทีมหมูป่าที่สำเร็จลุล่วงไปไม่นานนี้ เรารู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้มีส่วนช่วยในภารกิจครั้งนี้แม้จะเพียงเล็กน้อย ภายใต้การนำของประเทศไทย และยินดีมากที่ภารกิจสำเร็จลุล่วงในที่สุด ผมยินดีตอบคำถามครับ หากมีท่านใดอยากถามคำถาม ท่านทูตเห็นความคืบหน้าในเรื่องประชาธิปไตยในประเทศไทยหรือไม่ อย่างไร เราได้แลกเปลี่ยนความเห็นกันพอสมควรเรื่องความคืบหน้าอีกขั้นหนึ่งที่เกิดขึ้นเมื่อวาน ซึ่งก็คือ การที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญฉบับท้ายสุดได้รับการลงพระปรมาภิไธยโดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งตอนนี้ก็เป็นการเริ่มกระบวนการที่จะนำไปสู่สิ่งที่เราและมิตรทั้งหลายของไทยที่ต้องการให้ไทยแข็งแกร่งและประสบความสำเร็จได้หวังไว้ ซึ่งก็คือ การเลือกตั้งในต้นปีหน้า ผมคิดว่าตอนนี้ขั้นตอนนี้ก็กำลังเดินหน้าตามที่วางไว้ และเป็นสิ่งที่สำคัญมาก สหรัฐฯ ในฐานะที่เป็นมิตรกับไทยมาตลอด 200 ปี ก็เพียงต้องการสิ่งที่เป็นพื้นฐานเลยสำหรับประเทศไทย ซึ่งก็คือ ให้ไทยมีความแข็งแกร่ง คงไว้ซึ่งเอกราชและอธิปไตย และเป็นชาติอิสระ และให้คนไทยสามารถมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการกำหนดอนาคตทางการเมืองของประเทศ และอภิปรายโต้แย้งประเด็นต่าง ๆ ด้วยความเคารพและโดยสันติ เพื่อที่ว่าปีหน้าเมื่อมีการเลือกตั้งขึ้น ก็จะมีรัฐบาลพลเรือนที่ได้รับเลือกมา ซึ่งเป็นการสะท้อนเจตนารมณ์ของคนไทย ที่ผมพูดมานี้ก็คือสิ่งที่สหรัฐฯ ปรารถนา เราเป็นประเทศประชาธิปไตยเก่าแก่ สำหรับเราแล้วประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองที่ประสบความสำเร็จ และตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาที่ผมได้เดินทางเยือนราว ๆ 45 จังหวัดทั่วประเทศไทย ผมก็ได้เรียนรู้ว่าคนไทยรักประเทศชาติและอยากให้ประเทศเจริญรุ่งเรืองมากแค่ไหน ซึ่งก็เป็นสิ่งที่คนอเมริกันก็ปรารถนาด้วยเช่นกัน ขั้นตอนต่อจากนี้ก็จะนำไปสู่การเลือกตั้งที่เราคาดหวังว่าจะมีความเสรีและยุติธรรม และจะมีการอภิปรายแสดงความเห็นของคนไทยด้วยความเคารพ การอภิปรายเรื่องการเมืองอย่างเปิดกว้าง เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการรวมตัว และเสรีภาพของสื่อ เพื่อที่ขั้นตอนที่ว่านี้จะดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย และสามารถมีการเลือกตั้งในต้นปีหน้า ท่านพอจะบอกได้หรือไม่ว่าใครจะมารับตำแหน่งทูตคนใหม่ ตามระบบที่อเมริกา ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้งเอกอัครราชทูตประจำประเทศต่าง ๆ สิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อจากนี้ก็คือ ผมเชื่อว่าอีกไม่นาน หวังว่าจะเร็ว ๆ นี้ ทางทำเนียบขาวจะประกาศชื่อผู้ที่จะมาดำรงตำแหน่งนี้ต่อจากผม ผมเองจะเดินทางออกจากประเทศไทยในอีกสองสัปดาห์ข้างหน้า ซึ่งผมก็เศร้าใจไม่น้อยแต่ก็พยายามคิดในแง่บวก ผมคิดบวกเพราะว่าช่วงสามปีที่ผ่านมาที่ประจำอยู่ที่ประเทศไทยเป็นช่วงเวลาที่ดีมาก ประเทศไทยเป็นประเทศที่งดงามและมั่งคั่งไปด้วยคุณลักษณะที่ดีมากมาย ซึ่งหนึ่งในนั้นที่สำคัญที่สุดก็คือคนไทย 68 ล้านคน ที่ให้การต้อนรับผมอย่างอบอุ่นทุกที่ที่ผมกับภรรยาได้เดินทางไปทั่วประเทศไทย เพราะฉะนั้นก็รู้สึกใจหายที่จะต้องกล่าวอำลา แต่ผมก็หวังว่าในวันข้างหน้าจะได้มีโอกาสกลับมาอีก ผมมาเมืองไทยครั้งแรกในปี ค.ศ. 1970 ตอนนั้นอายุ 14 ปี ผมหลงรักเมืองไทยตั้งแต่ตอนนั้น การที่ได้มาประจำที่นี่เป็นของขวัญชิ้นพิเศษมากที่ทางรัฐบาลสหรัฐฯ มอบให้ผม ได้มาเป็นตัวแทนประเทศสหรัฐอเมริกาที่กรุงเทพมหานคร ที่เมืองไทย ซึ่งเป็นมิตรที่ดียิ่งของสหรัฐฯ และเป็นชาติพันธมิตรที่ให้ความร่วมมืออย่างดีตลอดช่วงสองศตวรรษที่ผ่านมา ถ้าพลเอกประยุทธ์กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกหลังการเลือกตั้ง ท่านทูตมีความเห็นว่าอย่างไร ผมไม่สามารถคาดการณ์อนาคตหรือให้ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องสมมติในอนาคตได้ ผมกล่าวไปแล้วว่า เราคิดว่าการที่ขั้นตอนดำเนินไปข้างหน้าในตอนนี้เป็นสิ่งที่สำคัญ เป็นความคืบหน้าในทางบวกที่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้ ซึ่งทำให้ขั้นตอนนี้เดินต่อไปข้างหน้าได้ จากนี้เราจะดูว่าอนาคตจะพัฒนาต่อไปอย่างไรและจะเกิดอะไรขึ้น แต่หลังจากที่ผมได้มาประจำที่นี่เป็นเวลาสามปี และได้เห็นและมีส่วนร่วมในเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ หลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็นปีแห่งการไว้อาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ มาจนถึงที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดงานนิทรรศการของขวัญแห่งมิตรภาพ ที่เฉลิมฉลองความสัมพันธ์ 200 ปีระหว่างประเทศเรา มาจนถึงเหตุการณ์ล่าสุดก็คือ ภารกิจช่วยเหลือทีมหมูป่า ผมจะจากประเทศไทยด้วยความมั่นใจอย่างยิ่ง ความรู้สึกบวก และความหวังอย่างเต็มเปี่ยมที่มีต่อประเทศไทย ขอให้ประเทศไทยมีเสรี อธิปไตย มีความแข็งแกร่ง และเจริญรุ่งเรือง ขอให้คนไทยมีความสุขและมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการกำหนดอนาคตทางการเมืองของประเทศ และนี่ก็เป็นสิ่งเดียวที่ผมปรารถนาจากนี้ครับ โดย U.S. Mission Thailand | 13 กันยายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกอัครราชทูต
Ambassador Glyn T. Davies’ statement to the press following his farewell call with Deputy Prime Minister and Minister of Defense Prawit September 13, 2018 Ministry of Defense, Bangkok, Thailand I had a very good meeting with the Deputy Prime Minister. This was my farewell call on him. We reviewed a number of issues that are important to both Thailand and the United States. I thanked him for the strength of the U.S.-Thai military-to-military relationship. We reviewed his visit to the United States. I thanked him very much for allowing the United States of America to participate in the recent successful rescue of the Wild Boars. We were greatly honored to play a very small role under Thai leadership, and are so happy there was a successful outcome there. Now what I would like to do is take questions, and I will try to answer them for you. Q: Did you see any progress on democracy in Thailand? A: We had a good lengthy exchange about the step that was taken yesterday, the King’s endorsement of the final organic laws, which now begins a process that will lead – we all hope, all the friends of Thailand who want Thailand to be strong and successful to elections early next year. I think now that is set in motion, and this is very important. As a friend of the Kingdom for 200 years, America really fundamentally only wants some very basic things for the Kingdom: that it be strong, that it remain independent and sovereign, and free as a nation, that the people of Thailand can participate fully in the political life of their country, debate the issues respectfully and peacefully, so that next year when the elections happen, there can be elected a civilian government that will reflect the will of the Thai people. This is the wish of the United States of America. We are an old democracy. Democracy for us has been a successful form of government, and in my travels around the kingdom, in about 45 provinces, I have learned just how much the people of Thailand love their country, how much they want their country to succeed. This is a wish Americans share very deeply with them. Now this process, moving forward, will allow for elections that we hope will be free and fair, and will include a respectful debate among Thai citizens – open political debate, freedom of speech, assembly, and the media – so that the process can occur in good order and elections happen early next year. Q: Can we know about who will be the new Ambassador? A: In our American system, presidents appoint ambassadors. What will happen next, I am certain at some point – I hope soon – is that there will be an announcement from the White House of my successor. I leave the Kingdom in about two weeks. I am very sad about that, but I am trying to stay positive about it. I stay positive [because] we have [had] such a wonderful three years in the Kingdom of Thailand. What a beautiful rich place, blessed with so many excellent qualities, the most important of which are the 68 million people of the Kingdom, who – all of them – have been so wonderfully welcoming to me, as my wife and I have traveled around the Kingdom. [So it’s] going to be very sad to say goodbye. But I am hoping to be back. I first came in 1970 as a 14 –year-old boy and I first fell in love with Thailand then. What a great gift to me from my government to be allowed to come here to represent my country, the United States of America, here in Bangkok, in Thailand, which has been such a good friend of America, and such a good partner, for the last two centuries. Q: If General Prayut comes back again to be the PM after the new election, what is your comment? It is not for me to predict the future or to comment on hypotheticals in the future. I’ve said how important we think it is that the process now move forward. This is a quite positive step that was taken yesterday, setting in motion this process. We will see what develops, what takes place in the future. But after three years here, having seen and been part of so many historic events —the year of mourning for His late Majesty, the cremation ceremony, the new King gracing us by coming to open our celebration of 200 Years of Friendship, and then finally the Wild Boars – I leave with great confidence, great positive feelings, great hope for this Kingdom. May Thailand always be free, independent, strong, and prosperous. May the people of Thailand be happy and play a full role in the political life of their country. These are the only wishes that I have going forward. By U.S. Embassy Bangkok | 13 September, 2018 | Topics: Ambassador, News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: กระผมรู้สึกเสียใจอย่างยิ่งที่ได้ทราบข่าวการจากไปของศิลปินแห่งชาติ แมนรัตน์ ศรีกรานนท์ หรืออาจารย์แมนรัตน์ของพวกเราผู้ซึ่งเป็นนักดนตรีผู้ยิ่งใหญ่ที่แท้จริงของประเทศไทย อาจารย์แมนรัตน์เป็นมิตรแท้ของสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยมายาวนาน หลายทศวรรษที่ผ่านมา ครอบครัวศรีกรานนท์เป็นกลไกสำคัญในโครงการดนตรีของสถานทูตฯ อาจารย์แมนรัตน์นับเป็นบุคคลสำคัญในการใช้ดนตรีแจ๊สเพื่อนำคนอเมริกันและคนไทยมาใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ซึ่งทั่วโลกน้อมถวายพระนาม “King of Jazz” สถานทูตฯ ร่วมกับมูลนิธิคีตรัตน์ ซึ่งเป็นองค์กรที่อาจารย์แมนรัตน์ร่วมก่อตั้งขึ้น ได้นำวงดนตรี New Orleans Jazz All Stars มาจัดการแสดงที่กรุงเทพมหานครเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ นับเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่วงดนตรีนี้เป็นวงสุดท้ายที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เล่นดนตรีถวาย อาจารย์แมนรัตน์ยังเป็นสมาชิกของวง อ.ส. วันศุกร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งขึ้น นอกจากนั้นศิลปินแห่งชาติผู้นี้ยังเป็นผู้บุกเบิกการสอนการเรียบเรียงดนตรีเป็นคนแรกๆ ของประเทศไทยอีกด้วย ท่านได้รับพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเพื่อศึกษาต่อที่ Berkeley School of Music ณ กรุงบอสตันประเทศสหรัฐอเมริกา และได้เรียนรู้จากคีตศิลปินอเมริกันจำนวนมาก ในนามของประชาชนชาวอเมริกันและพนักงานสถานทูตฯ กระผมขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัวของอาจารย์แมนรัตน์ และขอสดุดีงานคีตศิลป์ที่ท่านได้รังสรรค์ขึ้นให้เป็นมรดกแก่ชนรุ่นหลัง บทเพลงของท่านจะดำรงอยู่ในความทรงจำตลอดชั่วกาลนาน และจะทำหน้าที่สร้างแรงบันดาลใจแก่นักดนตรีไทยรุ่นหลังสืบไป โดย U.S. Embassy Bangkok | 11 กันยายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข่าว, เอกอัครราชทูต
It is with great sadness that we learned of the passing of National Artist Manrat Srikaranonda. Ajarn Manrat was a truly great Thai musician and a long-time friend of the U.S. Embassy in Bangkok. For decades, the Srikaranonda family has been an integral part of the Embassy’s musical outreach programs and Ajarn Manrat had been instrumental in using jazz to bring Americans and Thais closer together. In remembrance of His Majesty the late King Bhumibol Adulyadej, Thailand’s beloved “Jazz King,” the U.S. Embassy, together with Ajarn Manrat’s Kitarat Foundation, brought the New Orleans Jazz All Stars to perform concerts in Bangkok in July of 2017. Ajarn Manrat was also an original member of His Majesty the late King Bhumibol Adulyadej’s music band, Or Sor Wansook. A pioneer teacher of music arrangement in the Kingdom, he received a scholarship from the His Majesty the late King Bhumibol Adulyadej to study music at Berklee School of Music in Boston, learning from many of America’s greatest musicians. On behalf of the American people and the American Mission to Thailand, I extend my deepest condolences to Ajarn Manrat’s family. We honor his unique musical legacy. Ajarn Manrat’s marvelous melodies will inspire Thai and American Jazz lovers for generations to come. By U.S. Embassy Bangkok | 11 September, 2018 | Topics: Ambassador, News, Press Releases, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่ 16 สิงหาคมที่ผ่านมา เยาวชน Young Southeast Asian Leaders Initiative (YSEALI) จากไทยที่กำลังจะเดินทางไปเข้าร่วมโครงการ YSEALI Academic Fellowship ที่สหรัฐฯตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม 2018 นี้ ได้เข้ารับการปฐมนิเทศที่สถานทูตสหรัฐฯ โดยเยาวชนกลุ่มนี้จะได้ทำกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยในสหรัฐฯ เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ซึ่งมหาวิทยาลัยที่จะรับอุปถัมป์เยาวชนกลุ่มนี้ ได้แก่ Kennesaw State University (Georgia), University of Connecticut, University of Montana, Brown University, University of Nebraska-Omaha, และ East-West Center (Hawaii) สนใจลงทะเบียนเป็นสมาชิก YSEALI เพื่อรับข้อมูลเรื่องทุนแลกเปลี่ยนอื่นๆ ได้ที่ http://yseali.state.gov โดย U.S. Mission Thailand | 16 สิงหาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, ศิษย์เก่า, เหตุการณ์
On August 16, a group of alumni came to U.S. Embassy Bangkok to talk to 15 incoming Spring 2018 YSEALI Academic Fellows. These Fellows will travel to the U.S. starting at the end of August. The Thai YSEALI alumni informed the participants about what to prepare prior to departure and things to expect when they get to their respective host universities. The participants were also briefed by the Embassy staff on engagement with the U.S. Embassy’s activities once they return to Thailand. By U.S. Embassy Bangkok | 16 August, 2018 | Topics: Alumni, Events, News | Tags: YSEALI
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ระหว่างวันที่ 11-13 สิงหาคม 2561 สถานทูตสหรัฐฯ ได้จัดกิจกรรม YSEALI Alumni Annual Meeting 2018 ขึ้นที่ The Tide Resort บางแสน จ.ชลบุรี เพื่อเปิดโอกาสให้ศิษย์เก่าทุนแลกเปลี่ยนของรัฐบาลสหรัฐฯ ได้สร้างเครือข่าย และวางแผนการทำกิจกรรมร่วมกัน ขณะเดียวกันยังได้มีการคัดเลือกคณะกรรมการกลุ่ม Thailand YSEALI Network (TYN) เพื่อเป็นแกนกลางในการประสานงานด้านต่างๆ ของกิจกรรมศิษย์เก่าด้วย หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติม และสมัครเป็นสมาชิกYoung Southeast Asian Leaders Initiative(YSEALI) สามารถอ่านได้ที่http://yseali.state.gov โดย U.S. Embassy Bangkok | 14 สิงหาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, ศิษย์เก่า, เหตุการณ์
On August 11-13, U.S. Embassy Bangkok organized YSEALI Alumni Annual Meeting 2018 at the Tide Resort in Bang Saen. This event provided the opportunity for Thai alumni from YSEALI, SEAYLP, Global UGRAD, and SUSI to network, share information about alumni activities, propose future program ideas, and establish Thailand YSEALI Network (TYN). The new alumni network will foster friendship and facilitate active collaboration among U.S. government’s youth exchange programs alumni.#YSEALI For more information about its activities and how to become a member, please visithttp://yseali.state.gov. By U.S. Embassy Bangkok | 14 August, 2018 | Topics: Alumni, Events, News
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ในนามของประชาชนชาวอเมริกัน ข้าพระพุทธเจ้าขอพระราชทานพระราชวโรกาส กราบบังคมทูลทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาครบรอบ 86 พรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 พระราชกรณียกิจของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ที่ทรงมีต่อประชาชนชาวไทยเป็นแรงบันดาลใจแก่ผู้คนจำนวนมากทั้งในสหรัฐอเมริกาและประเทศต่างๆ ทั่วโลก สหรัฐอเมริกาหวังว่าพระราชกรณียกิจของพระองค์ในการช่วยเหลือมนุษยชาติจะสืบสานดำรงอยู่ต่อไปเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนของราชอาณาจักรไทยอีกหลายชั่วอายุคน ข้าพระพุทธเจ้าขอถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในโอกาส “วันแม่แห่งชาติ” และขอยกย่องแม่ทุกคนในประเทศไทยในโอกาสที่สำคัญยิ่งนี้ ข้าพระพุทธเจ้าขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์และพระราชวงศ์ทรงมีพระพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์และทรงพระเกษมสำราญตลอดปีนี้ ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า นายไมเคิล อาร์. ปอมเปโอ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา โดย U.S. Embassy Bangkok | 10 สิงหาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, เอกสารข่าว
Your Majesty, On behalf of the American people, I extend my warmest wishes on the special occasion of your eighty-sixth birthday. Your dedication to the people of Thailand has inspired many in the United States and around the world. May your humanitarian and philanthropic endeavors continue to benefit the people of the Kingdom of Thailand for generations to come. I wish you a very Happy Mother’s Day and honor the mothers of Thailand on this special occasion. I wish your Majesty and the Royal Family another blessed year of prosperity and happiness. Sincerely, Michael R. Pompeo By U.S. Embassy Bangkok | 10 August, 2018 | Topics: News, Press Releases, U.S. Secretary of State | Tags: Michael R. Pompeo
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: พลเรือเอก จอห์น อากีลีโน ผู้บัญชาการกองเรือสหรัฐอเมริกาภาคพื้นแปซิฟิก เดินทางเยือนประเทศไทยเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2561 เพื่อพบปะกับ อุปทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย ปีเตอร์ เฮย์มอนด์ และพลเรือเอก สายันต์ ประสงค์สำเร็จ รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด รวมทั้งเจ้าหน้าที่ระดับสูงของประเทศไทย พลเรือเอก อากีลีโนได้หารือกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยในหลายประเด็น โดยเน้นที่ความสัมพันธ์อันแข็งแกร่งระหว่างไทยและสหรัฐอเมริกาและความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างสองประเทศที่ดำเนินมายาวนาน โดย U.S. Embassy Bangkok | 9 สิงหาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
Admiral John Aquilino, Commander, U.S. Pacific Fleet, visited Thailand August 9 and met with U.S. Embassy Chargé d’affaires Peter Haymond, Admiral Sayan Prasongsamret, Deputy Chief of Defense, Royal Thai Armed Forces and several other senior Thai officials. He discussed a broad range of issues underscoring the strong U.S. – Thai relationship and our longstanding security cooperation. By U.S. Embassy Bangkok | 9 August, 2018 | Topics: Events, News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: การประชุมธุรกิจอินโด-แปซิฟิก: เจ้าหน้าที่รัฐบาลยืนยันความมุ่งมั่นของรัฐบาลที่จะเสริมสร้างความผูกพันทางด้านเศรษฐกิจและการพาณิชย์ในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2561 สมาชิกคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา และเจ้าหน้าที่อาวุโส ได้เข้าร่วมกับกลุ่มผู้นำนักธุรกิจอเมริกันและบุคคลสำคัญต่างชาติในการประชุมทางธุรกิจอินโด-แปซิฟิก ณ กรุงวอชิงตัน ดี ซี บรรดาผู้นำจากกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพลังงาน องค์กราเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (USAID) บรรษัทการลงทุนเอกชนในต่างประเทศ (OPIC) และธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าได้พูดคุยกันในที่ประชุม เจ้าหน้าที่ของรัฐบาลประธานาธิบดีทรัมป์ ระบุว่า การลงทุนของสหรัฐอเมริกา ในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกเป็นสิ่งที่ดีสำหรับประเทศสหรัฐอเมริกา ดีสำหรับธุรกิจ และดีสำหรับโลก เจ้าหน้าที่รัฐบาลประกาศว่าความริเริ่มใหม่นี้มุ่งที่จะผลักดันการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคและการสนับสนุนโอกาสในการส่งออกของสหรัฐอเมริกาให้มากขึ้น เจ้าหน้าที่รัฐบาลยืนยันการสนับสนุนบทบัญญัติ Better Utilization of Investments Leading to Development Act (BUILD) เพื่อปฏิรูป ปรับปรุงให้ทันสมัย และเพิ่มขีดความสามารถทางด้านการเงินเพื่อการพัฒนาให้มากขึ้นกว่าเท่าตัว ยุทธศาตร์การลงทุน: รัฐบาลทรัมป์ ประกาศเงินทุนจำนวน 113.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อริเริ่มโครงการเชิงยุทธศาสตร์ใหม่ ๆ ในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ความริเริ่มเชิงยุทธศาสตร์ใหม่ ๆ เหล่านี้จะมุ่งเน้นไปที่: การส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชนของสหรัฐอเมริกาในภูมิภาค การปรับปรุงการเชื่อมต่อระบบดิจิทัลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ การส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างยั่งยืน การเสริมสร้างความมั่นคงทางพลังงานและการเข้าถึง ความเป็นหุ้นส่วนด้านการเชื่อมต่อระบบดิจิทัลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Digital Connectivity and Cybersecurity Partnership) จะอาศัยความเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ในการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิคเพื่อสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานระบบดิจิตอลในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก เครือข่ายการดำเนินงานและความช่วยเหลือด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Transaction and Assistances Network) จะจัดตั้งหน่วยงานเพื่อประสานความพยายามระหว่างหน่วยงานในการประเมินโครงการต่าง ๆ รวมถึงให้คำชี้แนะด้านการเงินเพื่อการพัฒนา และการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค เอเชีย เอดจ์ – (Asia EDGE – Enhancing Development and Growth through Energy) –จะส่งเสริมความมั่นคงและการเข้าถึงด้านพลังงานด้วยการส่งเสริมการส่งออกของสหรัฐฯ และสนับสนุนนโยบายทางการตลาด กระทรวงการค้าพาณิชย์ของสหรัฐ จะดำเนินการผ่านโครงการแอคเซสเอเซีย (Access Asia) ที่มุ่งเน้น 25 แผนงานและพันธกิจการค้าประจำปี พ.ศ. 2562 เพื่อเชื่อมโยงบริษัทอเมริกันกับตลาดในแถบอินโดแปซิฟิก ความร่วมมือกับประเทศหุ้นส่วน: รัฐบาลประธานาธิบดีทรัมป์ประกาศความร่วมมือทางเศรษฐกิจครั้งใหม่กับประเทศญี่ปุ่น ออสเตรเลีย อินเดีย และมองโกเลีย บรรษัทการลงทุนเอกชนในต่างประเทศ (OPIC) ได้ออกแถลงการณ์ความร่วมมือกับญี่ปุ่นและออสเตรเลีย โดยเมื่อไม่นานมานี้ ญี่ปุ่นเพิ่งจัดตั้งกองทุนมูลค่า 5 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐฯ สำหรับโครงสร้างพื้นฐานในระดับภูมิภาค กระทรวงพาณิชย์สหรัฐอเมริกา ได้มอบสถานะการค้าเชิงยุทธศาสตร์ระดับ 1 ให้แก่อินเดีย ทำให้บริษัทอเมริกันสามารถส่งออกสินค้าด้านเทคโนโลยีชั้นสูงได้คล่องตัวมากขึ้น องค์กรมิลเลนเนียมแชลเลนจ์ (The Millennium Challenge Corporation) ซึ่งเป็นหน่วยงานอิสระของรัฐบาลสหรัฐฯ จะดำเนินการจัดหาเงินจำนวน 350 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามข้อตกลงให้แก่มองโกเลีย เพื่อเพิ่มแหล่งน้ำอย่างยั่งยืนให้แก่เมืองอูลานบาตอร์ องค์กรการค้าและการพัฒนาแห่งสหรัฐอเมริกา (United States Trade and Development Agency) ได้ลงนามข้อตกลงเกี่ยวกับการพัฒนาพลังงานใหม่ในอินเดียและได้เปิดตัวโครงการความร่วมมือด้านก๊าซธรรมชาติเหลวกับประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาประกาศเพิ่มการสนับสนุนสถาบันสำคัญในระดับภูมิภาค รวมถึงอาเซียน เอเปก ข้อริเริ่มลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง และสมาคมแห่งภูมิภาคมหาสมุทรอินเดีย (IORA) โดย U.S. Mission Thailand | 2 สิงหาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์, เอกสารข้อเท็จจริง
INDO-PACIFIC BUSINESS FORUM: Administration officials reaffirmed a whole-of-government commitment to enhancing economic and commercial engagement in the Indo-Pacific region. Today, Trump Administration cabinet members and other senior officials joined American business leaders and foreign dignitaries at the Indo-Pacific Business Forum in Washington, D.C. The heads of the Department of State, Department of Commerce, Department of Energy, United States Agency for International Development, Overseas Private Investment Corporation (OPIC), and Export-Import Bank all spoke at the Forum. Trump Administration officials underscored that United States investment in the Indo-Pacific region is good for America, good for business, and good for the world. Administration officials announced new initiatives aimed at accelerating United States private sector involvement in the region and supporting more United States export opportunities. Officials reaffirmed support for the Better Utilization of Investments Leading to Development (BUILD) Act, to reform, modernize, and more than double development finance capacity. A STRATEGIC INVESTMENT: The Trump Administration announced $113.5 million in immediate funding to seed new strategic initiatives in the Indo-Pacific region. These new strategic initiatives will focus on: Enhancing United States private investment in the region Improving digital connectivity and cybersecurity Promoting sustainable infrastructure development Strengthening energy security and access The Digital Connectivity and Cybersecurity Partnership will use public-private partnerships and technical assistance to support digital infrastructure in the Indo-Pacific. The Infrastructure Transaction and Assistance Network will form an interagency body to coordinate efforts to assess projects, direct development finance, and give technical assistance. Asia EDGE – Enhancing Development and Growth through Energy – will promote energy security and access by boosting United States exports and encouraging market-based policies. Department of Commerce (DOC), through Access Asia program, will dedicate 25 events, and its 2019 flagship trade mission, to connecting American firms with Indo-Pacific markets. COOPERATION WITH PARTNERS: The Trump Administration announced a range of new economic cooperation efforts with Japan, Australia, India, and Mongolia. OPIC released a statement of cooperation with Japan and Australia. Japan recently created a $50 billion fund for regional infrastructure. DOC granted Strategic Trade Authorization Tier 1 status to India, enabling American companies to export more high-technology items under a streamlined license exception. The Millennium Challenge Corporation will implement a $350 million compact with Mongolia to enhance sustainable water supply to the Mongolian capital of Ulaanbaatar. The United States Trade and Development Agency signed an agreement on new energy development in India, and launched a liquefied natural gas cooperation program with Japan. The United States announced strengthened support for important regional institutions, including the Association of Southeast Asian Nations, Asia-Pacific Economic Cooperation, the Lower Mekong Initiative, and the Indian-Ocean Rim Association. By U.S. Embassy Bangkok | 2 August, 2018 | Topics: Fact Sheets, News, President of the United States | Tags: Donald J. Trump
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคมที่ผ่านมา แผนกกงสุล สถานทูตสหรัฐอเมริกากรุงเทพฯ ได้จัดงานวัน “Student Visa Day” เป็นครั้งแรกเพื่อฉลองมิตรภาพ200ปีระหว่างประเทศสหรัฐฯและประเทศไทย นักเรียนที่ได้รับการอนุมัติวีซ่าในวันนี้ยังได้รับโอกาสให้ร่วมสนุกในการติดสติกเกอร์บนแผนที่ประเทศสหรัฐฯและถ่ายรูป นายนีล มูราตะ ผู้ช่วยทูตฝ่ายวัฒนธรรมและการศึกษาของสถานทูตสหรัฐฯเป็นผู้เชิญชวนให้นักเรียนที่เข้าร่วมงานได้มีโอกาสร่วมเล่มเกมตอบคำถามเกี่ยวกับการศึกษาต่อในประเทศสหรัฐฯ นอกจากนี้ในวันงาน กรมศุลกากรและป้องกันชายแดนสหรัฐฯ (CBP) และแผนกการศึกษาต่อสหรัฐฯ EducationUSA Thailand ยังได้ร่วมให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์และแจกของที่ระลึกกับนักเรียนที่เข้าร่วมงาน สำหรับรูปถ่ายทั้งหมดจากวันงาน โปรดคลิกhttps://flic.kr/s/aHsmnxdj5v โดย U.S. Embassy Bangkok | 24 กรกฎาคม, 2018 | ประเภท: การศึกษา, ข่าว, วีซ่า, ศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกา
U.S. Embassy Bangkok’s Consular Section hosted its first-ever “Student Visa Day” on July 24 to support the 200th year anniversary of U.S.-Thai friendship! Approved students tagged their destinations on a map and posed for photos. Cultural Attaché Neal Murata held a fun pop-quiz about studying in America. The U.S. Customs and Border Protection (CBP) and EducationUSA also provided info and giveaways. For access to event photos, please visithttps://flic.kr/s/aHsmnxdj5v. By U.S. Embassy Bangkok | 24 July, 2018 | Topics: Education, News, Study in the U.S., Visas
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่ 19 กค.​ Rangel Fellows ของสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาจัดงาน National Intern Day ซึ่งได้เชิญนักศึกษาฝึกงานจำนวนมากจากองค์การสหประชาชาติและสถานเอกอัครราชทูตของประเทศต่างๆ ในกรุงเทพมหานครมาเสวนาในเรื่องความหลากหลายในความคิดริเริ่มต่างๆ ของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ รวมไปถึงเรื่องเครือข่ายของคนหนุ่มสาวที่สนใจในเรื่องระหว่างประเทศ โดย U.S. Embassy Bangkok | 19 กรกฎาคม, 2018 | ประเภท: เหตุการณ์, เอกอัครราชทูต
On July 19, U.S. Embassy Rangel Fellows hosted National Intern Day, which brought together dozens of interns working at the United Nations and in various embassies across Bangkok. It was a great opportunity to discuss diversity initiatives in the U.S. State Department and network with young people interested in foreign affairs. By U.S. Embassy Bangkok | 19 July, 2018 | Topics: Ambassador, Events
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ในนามของสหรัฐอเมริกา กระผมขอแสดงความยินดีกับทางการไทยและหน่วยงานจากนานาประเทศ ที่ประสบความสำเร็จในการช่วยเหลือเยาวชนผู้กล้าหาญทั้ง12คนและผู้ฝึกสอน ที่ติดอยู่ในถ้ำหลวง จังหวัดเชียงราย ตั้งแต่วันที่23มิถุนายน เนื่องจากระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ชาวไทยทุกแห่งหนต่างเต็มเปี่ยมไปด้วยความหวัง โดยมีผู้คนมากมายจากทั่วโลก ร่วมส่งแรงใจให้ปฏิบัติการครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี รัฐบาลสหรัฐอเมริกาและภาคเอกชนของสหรัฐฯ ภูมิใจที่ได้ให้การสนับสนุนปฏิบัติการครั้งนี้ซึ่งประเทศไทยเป็นผู้นำภารกิจ โดยได้รับความช่วยเหลือจากหลากหลายประเทศ ทหารจากกองกำลังสหรัฐภาคพื้นอินโด–แปซิฟิกเจ้าหน้าที่และพนักงานจากหน่วยงานของสหรัฐอเมริกาในประเทศไทยและผู้แทนจากบริษัทสหรัฐฯ ได้ร่วมมือกับหน่วยงานทั้งในไทยและต่างประเทศ เพื่อทำให้ภารกิจครั้งนี้ประสบความสำเร็จเราจะระลึกถึงความเป็นวีรบุรุษ ความกล้าหาญและความเสียสละของจ.อ.สมาน กุนัน ตลอดไป โดย U.S. Embassy Bangkok | 10 กรกฎาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกอัครราชทูต
On behalf of the United States, IcongratulateThai authorities and their international partnerson the inspirationalrescue of the 12 braveyoung men and their coach trappedsince June 23rdby rapidly rising water deepin Tham Luang cave in Chiang Rai Province.Thais everywhere, their hearts filled with hope and joined by multitudes around the world, willed this singular success. The U.S. Government and U.S. private sectorproudlysupportedtheThai-led multinational operation.Service members from the Indo-Pacific Command, officers and staff of the U.S. Mission to Thailand,andrepresentatives of U.S.companies joined hands with their Thai and international partnerstohelp achieve this terrific outcome. We will always remember the heroism and sacrifice of former Navy Seal Saman Kuman. By U.S. Embassy Bangkok | 10 July, 2018 | Topics: Ambassador, News, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: กระผมรู้สึกเสียใจอย่างยิ่งที่ได้ทราบข่าวการเสียชีวิตของ จ.อ.สมาน กุนัน (นักทำลายใต้น้ำจู่โจมนอกราชการ) อดีตหน่วยซีล ซึ่งอาสาร่วมในภารกิจการช่วยเหลือนักฟุตบอลเยาวชนและผู้ฝึกสอน 13 ชีวิตที่ติดอยู่ในถ้ำหลวง จ.เชียงราย ในนามของประชาชนชาวอเมริกัน ผมขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัวของผู้เสียชีวิต ขอสดุดีและเชิดชูเกียรติในวีรกรรมความกล้าหาญและความเสียสละในการปฎิบัติภารกิจเพื่อชาติ โดย U.S. Embassy Bangkok | 6 กรกฎาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เอกสารข่าว, เอกอัครราชทูต
It is with great sadness that we learned of the passing of Petty Officer 1st Class Saman “Sam” Kunan, a former Royal Thai Navy SEAL who volunteered to help rescue the 13 youth soccer players and their coach trapped in the Tham Luang cave in Chiang Rai province. On behalf of the American people, I extend my deepest condolences to his family and commend his true bravery and selflessness in service to his country. By U.S. Embassy Bangkok | 6 July, 2018 | Topics: Ambassador, News, Press Releases, U.S. & Thailand
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: นาย กลิน ที. เดวีส์ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศไทยกล่าวถึงกรณีถ้ำหลวงว่า “ประชาชนชาวอเมริกันร่วมแสดงความยินดีกับชาวไทยที่เจ้าหน้าที่พบตัวนักฟุตบอลเยาวชนและผู้ฝึกสอนที่ติดอยู่ในถ้ำหลวงแล้ว เราจะยังคงสนับสนุนทางการไทยอย่างต่อเนื่องในการพานักฟุตบอลทั้ง 12 คนและผู้ฝึกสอนออกมาจากถ้ำอย่างปลอดภัย และได้อยู่พร้อมหน้ากับครอบครัวและญาติมิตรอีกครั้ง” โดย U.S. Embassy Bangkok | 3 กรกฎาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, สถานทูต, เอกสารข่าว, เอกอัครราชทูต
“The American people join Thais in celebrating the dramatic discovery of the football team and their coach in Tham Luang cave,” said U.S. Ambassador to Thailand Glyn T. Davies. “We will continue to support Thai authorities in their relentless efforts to bring the 12 players and their coach safely out of the cave and reunite them with their families and friends.‎” By U.S. Embassy Bangkok | 3 July, 2018 | Topics: Ambassador, embassy, News, Press Releases
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาแถลงออกรายงานการค้ามนุษย์ที่รายงานต่อรัฐสภาสหรัฐ ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2561 รายงานการค้ามนุษย์ประจำปี พ.ศ. 2561 ได้ประเมินความพยายามด้านการต่อต้านการค้ามนุษย์ของทางการใน 187 ประเทศ ระหว่างเดือนเมษายน พ.ศ. 2560 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 โดยในรายงานประจำปีนี้ ประเทศไทยได้เลื่อนอันดับจากกลุ่มที่ 2 บัญชีรายชื่อประเทศที่ต้องจับตามอง ขึ้นไปเป็นกลุ่มที่ 2 เนื่องจากมีก้าวย่างที่สำคัญ เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา “รายงานการค้ามนุษย์ประจำปี พ.ศ. 2561 ตระหนักถึงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่องของประเทศไทยในการต่อสู้กับการค้ามนุษย์” นายกลิน ที. เดวีส์ เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยกล่าว เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ กล่าวต่อว่า “สหรัฐฯ กับไทยมีความร่วมมือด้านการบังคับใช้กฎหมาย การคุ้มครองเหยื่อ และการป้องกันการค้ามนุษย์ อย่างเข้มข้นและยาวนาน” รัฐบาลสหรัฐฯ ยังคงมุ่งมั่นที่จะร่วมมือกับรัฐบาลไทยและประชาชนชาวไทยอย่างใกล้ชิดเพื่อแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์อันยิ่งใหญ่นี้ รายงานการค้ามนุษย์ประจำปี พ.ศ. 2561 มีข้อเสนอแนะจำนวนมากที่ช่วยให้ประเทศไทยมีพัฒนาการอย่างยั่งยืนในการต่อต้านการค้ามนุษย์ เชิญอ่านรายงานการค้ามนุษย์ประจำปี พ.ศ. 2561 ได้ที่ http://www.state.gov/j/tip/rls/tiprpt/2018/index.htm โดย U.S. Embassy Bangkok | 29 มิถุนายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, เอกสารข่าว
The U.S. Department of State’s Trafficking in Persons (TIP) Report to the U.S. Congress was released in Washington, D.C. on June 28, 2018. The 2018 TIP Report assesses official anti-trafficking efforts of 187 countries from April 2017 through March 2018. In this year’s report, Thailand was upgraded from Tier 2 Watch List to Tier 2 in recognition of significant strides compared to the previous year. “The 2018 Trafficking in Person’s report recognizes Thailand’s continuing commitment to combating human trafficking,” stated U.S. Ambassador to Thailand Glyn T. Davies. “The United States and Thailand have a robust and enduring cooperation on law enforcement, protection of victims and prevention of trafficking.” The U.S. Government remains committed to working closely with the Royal Thai Government and the people of Thailand to address the great challenge of human trafficking. The 2018 TIP Report includes a number of recommendations for achieving further, sustained progress against trafficking. The 2018 Trafficking in Persons Report is available online here: http://www.state.gov/j/tip/rls/tiprpt/2018/index.htm By U.S. Embassy Bangkok | 29 June, 2018 | Topics: News, Press Releases | Tags: TIP, Trafficking in Persons, Trafficking in Persons Report
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน เอกอัครราชทูตกลิน เดวีส์ และเจ้าหน้าที่สถานทูตสหรัฐฯ ให้การต้อนรับมิตรสหายทั้งชาวไทยและจากนานาประเทศในงานฉลองครบรอบ 242 ปีแห่งการประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกา ธีมการจัดงานปีนี้คือ “ของขวัญแห่งมิตรภาพ” เพื่อเฉลิมฉลอง 200 ปีแห่งมิตรภาพระหว่างสหรัฐอเมริกากับไทย ตลอดค่ำคืนมีวงดุริยางค์กองพลนาวิกโยธินที่ 3 และกองดุริยางค์ทหารอากาศร่วมสร้างความบันเทิง ภายใต้การแสดงคอนเสิร์ตชื่อ Sounds of Friendship โดย U.S. Embassy Bangkok | 28 มิถุนายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์
On June 28, Ambassador Glyn T. Davies and Embassy colleagues welcomed Thai and international friends to celebrate the 242nd anniversary of the Independence of the United States of America. This year’s theme, “Great and Good Friends,” celebrated the bicentennial of the U.S. – Thai friendship. The III Marine Expeditionary Force Band and the กองดุริยางค์ทหารอากาศ Royal Thai Air Force Music Division provided entertainment for the evening in a program titled, “Sounds of Friendship”. By U.S. Embassy Bangkok | 28 June, 2018 | Topics: Events, News, U.S. & Thailand | Tags: Independence Day, U.S. Independence Day
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เอกอัครราชทูตกลิน ที. เดวีส์ พร้อมคุณเบน คิง หัวหน้าฝ่ายธุรกิจของ Google ประเทศไทย ร่วมเปิดตัวนิทรรศการของขวัญแห่งมิตรภาพ Great and Good Friends แบบออนไลน์ ผ่านทางเว็บไซต์และแอพพลิเคชัน Google Arts and Culture ทูตเดวีส์ กล่าวว่า “ผมรู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ Google ได้นำนิทรรศการ “ของขวัญแห่งมิตรภาพ” (Great and Good Friends) ไปจัดแสดงบนแพลตฟอร์มดิจิทัล น่าประทับใจอย่างยิ่งที่ได้เห็นว่าเทคโนโลยีสามารถสร้างประสบการณ์การเรียนรู้แบบใหม่และช่วยนำเสนอเรื่องราวอันยอดเยี่ยมของมิตรภาพระหว่างราชอาณาจักรไทยและสหรัฐอเมริกาออกสู่สายตาคนทั่วโลกได้อย่างไรบ้าง” อ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์ออนไลน์และ Google Expeditions แอพพลิเคชันเพื่อการศึกษาที่บล็อกของ Google ประเทศไทย ได้ที่ https://thailand.googleblog.com/2018/06/200-google-arts-culture.html โดย U.S. Embassy Bangkok | 28 มิถุนายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์, เอกอัครราชทูต
Ambassador Glyn T. Davies joined Ben King, Country Director of Google Thailand, to unveil the virtual Great and Good Friends exhibition on the Google Arts and Culture platform. “I am very pleased that Google has taken Great and Good Friends exhibit to the digital world. It is impressive to see how technology can provide a new kind of learning experience and bring the great story of friendship between the United States and the Kingdom of Thailand to people around world,” said U.S. Ambassador Glyn T. Davies at the press launch on June 28, 2018. Find out more about the virtual museum and Google Expeditions, the project’s educational component, at Google Thailand Blog:https://thailand.googleblog.com/2018/06/200-google-arts-culture.html By U.S. Embassy Bangkok | 28 June, 2018 | Topics: Ambassador, Events, News, U.S. & Thailand | Tags: Google
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: สหรัฐอเมริกามีความกังวลเป็นอย่างยิ่งต่อกรณีที่นักฟุตบอลเยาวชนและผู้ฝึกสอนสูญหายเข้าไปภายในถ้ำหลวง ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ตลอดจนครอบครัวและทีมช่วยเหลือผู้สูญหาย กองกำลังสหรัฐอเมริกาภาคพื้นแปซิฟิก (USPACOM) ได้ส่งทีมค้นหาและกู้ภัย เพื่อช่วยตามหาผู้สูญหาย ตามคำขอของรัฐบาลไทย ขณะนี้ ทีมค้นหาและกู้ภัยของสหรัฐฯ เดินทางถึงจังหวัดเชียงรายแล้วและได้นำเอาประสบการณ์รวมทั้งความสามารถด้านการค้นหาและกู้ภัย มาสนับสนุนความพยายามของทางการไทยในการค้นหาผู้ที่ติดอยู่ในถ้ำ เราหวังว่านักฟุตบอลและผู้ฝึกสอนจะได้กลับบ้านอย่างปลอดภัยในเร็ววัน โดย U.S. Mission Thailand | 28 มิถุนายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สถานทูต, เอกสารข่าว
The United States is deeply worried about the young soccer players and their coach missing in the Tham Luang Cave in northern Thailand, as well as their families and supporters. The United States Pacific Command (PACOM) has sent a search and rescue team at the request of the Royal Thai government to assist in locating the group. The United States team is now in Chiang Rai and delivers search and rescue experience and capacity to the already tremendous efforts underway by Thai authorities. We hope the players and their coach will be brought home quickly and safely. By U.S. Mission Thailand | 28 June, 2018 | Topics: embassy, News, Press Releases
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: คำแถลงการณ์ร่วมของประธานาธิบดีโดนัลด์ เจ. ทรัมป์แห่งสหรัฐอเมริกา และ นาย คิม จอง อึน ประธานคณะกรรมการกิจการแห่งรัฐเกาหลีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ณ การประชุมสุดยอดที่ประเทศสิงคโปร์ ประธานาธิบดีโดนัลด์ เจ. ทรัมป์แห่งสหรัฐอเมริกาและนาย คิม จอง อึน ประธานคณะกรรมการกิจการแห่งรัฐเกาหลีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People’s Republic of Korea หรือ DPRK) ได้จัดการประชุมสุดยอดครั้งประวัติศาสตร์ขึ้นเป็นครั้งแรกที่ประเทศสิงคโปร์เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ. ศ. 2561 ประธานาธิบดีทรัมป์และประธานคิม จอง อึนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างครอบคลุม ละเอียดและตรงไปตรงมาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการสถาปนาความสัมพันธ์ครั้งใหม่ระหว่างสหรัฐฯ กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชนชนเกาหลีและการสร้างสันติภาพอย่างยั่งยืนและแข็งแกร่งในคาบสมุทรเกาหลี ประธานาธิบดีทรัมป์ให้สัญญาว่าจะรับประกันความมั่นคงต่อสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี และประธานคิมจอง อึนได้ยืนยันความมุ่งมั่นที่แน่วแน่และไม่เปลี่ยนแปลงในการที่จะทำให้คาบสมุทรเกาหลีปราศจากอาวุธนิวเคลียร์ ด้วยความเชื่อที่ว่าการสร้างความสัมพันธ์ครั้งใหม่ระหว่างสหรัฐฯ กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชนชนเกาหลีจะก่อให้เกิดสันติภาพและความเจริญรุ่งเรืองในคาบสมุทรเกาหลีและทั่วโลก และการตระหนักถึงการสร้างความเชื่อมั่นที่มีร่วมกันจะสามารถส่งเสริมให้คาบสมุทรเกาหลีปราศจากอาวุธนิวเคลียร์ประธานาธิบดีทรัมป์และประธาน คิม จอง อึนจึงได้แถลงการณ์ดังต่อไปนี้: สหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชนชนเกาหลีมุ่งมั่นที่จะสถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชนชนเกาหลีขึ้นใหม่ตามความปรารถนาของประชาชนของทั้งสองประเทศเพื่อสันติภาพและความเจริญรุ่งเรือง สหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชนชนเกาหลีจะร่วมกันดำเนินการเพื่อสร้างสันติภาพที่ยั่งยืนและมั่นคงบนคาบสมุทรเกาหลี เพื่อเป็นการย้ำจุดยืนตามปฏิญญาปันมุนจอมที่ลงนามไว้เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2561 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนชนเกาหลีมุ่งมั่นที่จะดำเนินการเพื่อทำให้คาบสมุทรเกาหลีปราศจากอาวุธนิวเคลียร์ สหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชนชนเกาหลีมุ่งมั่นที่จะค้นหาศพของเชลยศึกและชาวอเมริกันที่สูญหายในสงคราม รวมทั้งส่งกลับศพของผู้ที่สามารถระบุตัวตนได้ทันที ประธานาธิบดีทรัมป์และประธานคิม จอง อึนตระหนักว่าการประชุมระหว่างสหรัฐฯ กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ถือเป็นเหตุการณ์สำคัญและโดดเด่นในการก้าวข้ามความตึงเครียดและความเป็นปรปักษ์ระหว่างทั้งสองประเทศที่มีมายาวนานหลายทศวรรษ และเพื่อเปิดประตูไปสู่อนาคตใหม่ ประธานาธิบดีทรัมป์และประธานคิม จอง อึนมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติตามข้อกำหนดและเงื่อนไขในคำแถลงการณ์ร่วมนี้อย่างเต็มที่และรวดเร็ว สหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีจะจัดการเจรจาหลังจากนี้ ซึ่งจะดำเนินการโดยนายไมค์ ปอมเปโอ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และเจ้าหน้าที่ระดับสูงที่เกี่ยวข้องของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีโดยเร็วที่สุด เพื่อปฏิบัติตามผลการประชุมระหว่างสหรัฐฯ กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี โดย U.S. Embassy Bangkok | 12 มิถุนายน, 2018 | ประเภท: ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์, ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก
Joint Statement of President Donald J. Trump of the United States of America and Chairman Kim Jong Un of the Democratic People’s Republic of Korea at the Singapore Summit President Donald J. Trump of the United States of America and Chairman Kim Jong Un of the State Affairs Commission of the Democratic People’s Republic of Korea (DPRK) held a first, historic summit in Singapore on June 12, 2018. President Trump and Chairman Kim Jong Un conducted a comprehensive, in-depth, and sincere exchange of opinions on the issues related to the establishment of new U.S.–DPRK relations and the building of a lasting and robust peace regime on the Korean Peninsula. President Trump committed to provide security guarantees to the DPRK, and Chairman Kim Jong Un reaffirmed his firm and unwavering commitment to complete denuclearization of the Korean Peninsula. Convinced that the establishment of new U.S.–DPRK relations will contribute to the peace andprosperity of the Korean Peninsula and of the world, and recognizing that mutual confidence building can promote the denuclearization of the Korean Peninsula, President Trump and Chairman Kim Jong Un state the following: The United States and the DPRK commit to establish new U.S.–DPRK relations in accordance with the desire of the peoples of the two countries for peace and prosperity. The United States and the DPRK will join their efforts to build a lasting and stable peace regime on the Korean Peninsula. Reaffirming the April 27, 2018 Panmunjom Declaration, the DPRK commits to work toward complete denuclearization of the Korean Peninsula. The United States and the DPRK commit to recovering POW/MIA remains, including the immediate repatriation of those already identified. Having acknowledged that the U.S.–DPRK summit—the first in history—was an epochal event of great significance in overcoming decades of tensions and hostilities between the two countries and for the opening up of a new future, President Trump and Chairman Kim Jong Un commit toimplement the stipulations in this joint statement fully and expeditiously. The United States andthe DPRK commit to hold follow-on negotiations, led by the U.S. Secretary of State, MikePompeo, and a relevant high-level DPRK official, at the earliest possible date, to implement the outcomes of the U.S.–DPRK summit. President Donald J. Trump of the United States of America and Chairman Kim Jong Un of the State Affairs Commission of the Democratic People’s Republic of Korea have committed to cooperate for the development of new U.S.–DPRK relations and for the promotion of peace, prosperity, and security of the Korean Peninsula and of the world. DONALD J. TRUMP President of the United States of America KIM JONG UN Chairman of the State Affairs Commission of the Democratic People’s Republic of Korea June 12, 2018 Sentosa Island Singapore By U.S. Embassy Bangkok | 12 June, 2018 | Topics: East Asia & Pacific, President of the United States | Tags: Donald J. Trump
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย กลิน ที. เดวีส์ ได้บริจาควัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจำนวน 50,000 โดสให้แก่กรมปศุสัตว์ ร่วมสนับสนุนประเทศไทยกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไปภายในพ.ศ. 2563 วัคซีนเหล่านี้ บริจาคในนามของรัฐบาลสหรัฐฯ ผ่านศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคของสหรัฐอเมริกา (CDC) และองค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (USAID) เน้นให้เห็นถึงความร่วมมือด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่องระหว่างสหรัฐฯ กับไทย ในช่วงเวลาที่ทั้งสองประเทศเฉลิมฉลองครบรอบ 200 ปีแห่งมิตรภาพ ในปี พ.ศ. 2561 โดย U.S. Embassy Bangkok | 1 มิถุนายน, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์, เอกอัครราชทูต
U.S. Ambassador Glyn T. Davies offered a donation of 50,000 rabies vaccines to Thailand’s Department of Livestock Development to support Thailand to reach its goal of eliminating rabies by 2020. The donation, made on behalf of the U.S. Government through the U.S. Centers for Disease Control and Prevention (CDC) and the U.S. Agency for International Development (USAID), highlights continued collaboration in public health between the United States and Thailand as the two countries celebrate 200 years of friendship in 2018. By U.S. Embassy Bangkok | 1 June, 2018 | Topics: Ambassador, Events, News, U.S. & Thailand | Tags: Rabies
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ในนามของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ข้าพเจ้าขอส่งความปรารถนาดีมายังชาวมุสลิมทั่วโลก ขอให้ประสบความสุขสงบในเทศกาลรอมฎอนนี้ สำหรับชาวมุสลิมที่ปฏิบัติศาสนกิจในเดือนนี้ รอมฎอนคือเดือนอันศักดิ์สิทธิ์แห่งการแสดงความเคารพบูชา การมีจิตเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และการสำรวจจิตวิญญาณ นอกจากนี้ เทศกาลรอมฎอนยังเป็นช่วงเวลาอันล้ำค่าของชุมชน ที่ญาติและมิตรสหายมักจะได้ใช้เวลาร่วมกัน และยังเป็นช่วงเวลาที่ชาวมุสลิมจะมาร่วมกันสร้างกุศลแก่ผู้ตกทุกข์ได้ยากอีกด้วย ชาวมุสลิมทั้งในสหรัฐอเมริกาและทั่วทุกมุมโลกต่างก็ทำคุณประโยชน์ต่อสังคมอยู่เป็นประจำทุกวัน และผู้คนเป็นล้านๆ คนก็จะร่วมกันเฉลิมฉลองเดือนนี้เป็นพิเศษด้วยการช่วยเหลือชุมชนและตอบแทนบ้านใกล้เรือนเคียง เพื่อเป็นการยกย่องการกระทำนี้ สถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของเราหลายแห่งทั่วโลกจึงจัดกิจกรรมรอมฎอนเป็นประจำทุกปี เพื่อให้ชาวมุสลิมและผู้นับถือศาสนาอื่นที่มุ่งมั่นที่จะบรรลุเป้าหมายร่วมกันของเราในการเสริมสร้างสันติภาพ เสถียรภาพ และความเจริญรุ่งเรือง ได้มาพบปะกัน การสทนาและการร่วมมือกันก็เป็นจุดแข็งทางการทูตของเราอย่างหนึ่ง ซึ่งจะเป็นการวางแนวทางเพื่อสร้างชุมชนที่เข้มแข็งยิ่งขึ้น ด้วยการร่วมมือกันและการเคารพความแตกต่าง เนื่องในวาระการเริ่มต้นเดือนรอมฎอนอันศักดิ์สิทธิ์นี้ ข้าพเจ้าขออวยพรแก่ผู้ที่เฉลิมฉลองเทศกาลนี้ทุกท่าน ขอให้ประสบแต่ความสุข ความเจริญ รอมฎอน การีม สุขสันต์เดือนรอมฎอนอันทรงเกียรติยิ่งครับ โดย U.S. Mission Thailand | 16 พฤษภาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, เอกสารข่าว
On behalf of the United States Department of State, I offer best wishes to Muslims around the world for a peaceful and blessed Ramadan. For those observing this month, it is a time of reverence, generosity, and spiritual introspection. Ramadan is also a cherished time of community, often spent reconnecting with family and friends. It calls Muslims to come together to give charitably to the less fortunate. Muslims in the United States and around the world make valuable contributions to their societies every day, and millions will honor this month in a special way with acts of service and giving back to their neighbors. In recognition of this, every year many of our embassies and consulates around the world host Ramadan activities bringing together Muslims and people of other faiths who are committed to our shared goal of fostering peace, stability, and prosperity. These conversations and collaborations are one of the core strengths of our diplomacy, paving the way for stronger communities through partnerships and respect for diversity. As the holy month begins, I wish all those celebrating a very happy and prosperous Ramadan Kareem. By U.S. Embassy Bangkok | 16 May, 2018 | Topics: News, Press Releases, U.S. Secretary of State | Tags: Michael R. Pompeo
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: การสร้างคนรุ่นใหม่ผู้เป็นกระบอกเสียงคือเป้าหมายของโครงการ YSEALI TechCamp Reconnect workshop ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โครงการนี้จะจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 14-15 พฤษภาคม และเป็นการรวมตัวกันของสมาชิก YSEALI Network คนจาก 10 ประเทศอาเซียน โดยสมาชิกส่วนใหญ่เคยเข้าร่วมกิจกรรม Techcamp ที่ผ่านมา ผู้เข้าร่วมกิจกรรมกำลังร่วมงานกับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและผู้ฝึกอบรม เพื่อปรับปรุงโครงการพัฒนาชุมชน และการสร้างเครือข่ายระหว่างกันเพื่อพัฒนาภูมิภาคอาเซียน ถ้าอยากเข้ามามีส่วนร่วม โปรดติดตามเพจเฟซบุ๊ก Young Southeast Asian Leaders Initiative เพื่อไม่ให้พลาดโอกาสในการช่วยเปลี่ยนแปลงโลกของเรา! โดย U.S. Embassy Bangkok | 14 พฤษภาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, อัครราชทูตที่ปรึกษา, เหตุการณ์
A Generation of Advocates. That is the goal of Southeast Asia’s first ever YSEALI TechCamp Reconnect workshop. Taking place in Bangkok May 14-15, YSEALI TechCamp Reconnect brings together 36 YSEALI Network members from all ten ASEAN countries, most of whom have participated in previous TechCamps. Participants are working with technology experts and trainers to improve their community-enhancing projects and networking with one another to advance ASEAN. Want to learn how you can get involved? Follow Young Southeast Asian Leaders Initiative and watch for opportunities to engage and make a difference in your world! By U.S. Embassy Bangkok | 14 May, 2018 | Topics: Deputy Chief of Mission, Events, News | Tags: TechCamp, YSEALI
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: “ที่สหรัฐฯ คุณจะไม่ได้เป็นแค่นักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาของสหรัฐฯ เท่านั้น แต่ยังเป็นทูตที่เผยแพร่วัฒนธรรมและค่านิยมของไทยอีกด้วย เมื่อคุณกลับมาเมืองไทย คุณก็จะเป็นทั้งผู้นำ ศิษย์เก่าของสถานทูตสหรัฐฯ และมิตรสหายของสหรัฐฯ ตลอดไป” นี่เป็นคำกล่าวของเอกอัครราชทูตกลิน ที. เดวีส์เพื่อเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักเรียนไทยในโครงการนักเรียนแลกเปลี่ยนศึกษาภาษาและวัฒนธรรม YES ประจำปีนี้ที่จัดโดย American Field Service (AFS) นักเรียนเหล่านี้จะเดินทางไปเรียนระดับมัธยมในสหรัฐอเมริกาเร็วๆ นี้ เป็นเวลา 1 ปี โดยจะพักอาศัยกับครอบครัวอุปถัมภ์ และเรียนรู้วัฒนธรรม การศึกษาระดับอุดมศึกษา และการใช้ชีวิต อ่านรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการแลกเปลี่ยนนี้และโครงการอื่นๆ ได้ที่ https://th.usembassy.gov/education-culture/ โดย U.S. Embassy Bangkok | 11 พฤษภาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์, เอกอัครราชทูต
“While in the United States, you will not only be students in America’s high schools, but ambassadors of Thai culture and values. When you return home to Thailand, you will be leaders, alumni of the U.S. Embassy, and a great and good friends of the U.S. forevermore.” Ambassador Glyn T. Davies shared these inspiring words with this year’s YES AFS Thailand class, who will soon depart for the United States where they will spend a year attending U.S. high school, living with a host family, and learning about U.S. culture, higher education, and life. Explore this and other exchanges at https://th.usembassy.gov/education-culture/, and keep following Facebook for other exciting opportunities! By U.S. Embassy Bangkok | 11 May, 2018 | Topics: Ambassador, Art & Culture, Events, News, U.S. & Thailand | Tags: AFS, Kennedy-Lugar Youth Exchange and Study (YES) Program
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: ทำเนียบขาว สำนักงานเลขาธิการโฆษกรัฐบาล เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม ภายใต้คำสั่งของประธานาธิบดีโดนัลด์ เจ. ทรัมป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ไมค์ ปอมเปโอและคณะผู้แทนของรัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้เดินทางไปยังกรุงเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ เพื่อเตรียมความพร้อมในการประชุมที่จะมีขึ้นเร็ว ๆ นี้ระหว่างท่านประธานาธิบดีและนายคิม จอง อึน ผู้นำเกาหลีเหนือ ระหว่างการเดินทางเยือนของรัฐมนตรีปอมเปโอ ผู้นำเกาหลีเหนือได้ปล่อยผู้ต้องขังชาวอเมริกันสามคนให้เป็นอิสระ ประธานาธิบดีทรัมป์รู้สึกยินดีต่อการกระทำของผู้นำคิม จอง อึนที่ได้ปล่อยตัวพลเมืองชาวอเมริกัน และเห็นว่าการดำเนินการดังกล่าวเป็นสัญญาณที่บ่งบอกถึงไมตรีจิตอันดี ชาวอเมริกันทั้งสามคนอยู่ในสภาพที่ดีและสามารถเดินได้บนเครื่องบินโดยไม่ต้องรับความช่วยเหลือ ชาวอเมริกันทุกคนต่างตั้งตารอที่จะได้ต้อนรับพวกเขากลับบ้านและได้เห็นพวกเขากลับมาอยู่กับบุคคลอันเป็นที่รักอีกครั้ง โดย U.S. Embassy Bangkok | 10 พฤษภาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์, เอกสารข่าว
The White House Office of the Press Secretary At the direction of President Donald J. Trump, Secretary of State Mike Pompeo and other representatives of the United States government traveled to Pyongyang, North Korea on May 9 to prepare for the President’s upcoming meeting with North Korean leader Kim Jong Un.During Secretary Pompeo’s visit, the North Korean leadership released three American detainees. President Trump appreciates leader Kim Jong Un’s action to release these American citizens, and views this as a positive gesture of goodwill. The three Americans appear to be in good condition and were all able to walk on the plane without assistance. All Americans look forward to welcoming them home and to seeing them reunited with their loved ones. By U.S. Embassy Bangkok | 10 May, 2018 | Topics: News, President of the United States, Press Releases, U.S. Secretary of State | Tags: Donald J. Trump, Michael R. Pompeo
แปลประโยคหรือย่อหน้าต่อไปนี้จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: เพื่อรำลึกถึงวันวัคซีนเอดส์โลกในวันที่ 18 พฤษภาคมของทุกปี ในปีนี้ คณะผู้วิจัยทั้งสหรัฐอเมริกาและไทยจะนำเสนอผลงานที่สืบเนื่องจากผลการศึกษาของโครงการอาร์วี 144 ที่ทำในประเทศไทย ซึ่งเป็นโครงการวิจัยวัคซีนเอชไอวีโครงการเดียวที่แสดงประสิทธิผล นักวิจัยจากหน่วยงาน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหารในกรุงเทพ โครงการวิจัยเอชไอวีกองทัพสหรัฐอเมริกา สถาบันวิจัยวอเตอร์รีด และพันธมิตรทั้งในส่วนภาครัฐและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ มีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาวัคซีนเอชไอวีในระดับสากล โดย U.S. Embassy Bangkok | 9 พฤษภาคม, 2018 | ประเภท: ข่าว, สหรัฐอเมริกาและไทย, เหตุการณ์, เอกอัครราชทูต
To mark HIV Vaccine Awareness Day on May 18, US and Thai HIV vaccine researchers are presenting information around ongoing work that resulted from Thailand’s landmark RV144 vaccine study — the only HIV vaccine clinical trial to show efficacy to date. Researchers at the Armed Forces Research Institute of Medical Science (AFRIMS) in Bangkok, along with The U.S. Military HIV Research Program (MHRP) @Walter Reed Army Institute of Research and Thai government and university partners, play a critical role in advancing HIV vaccine development worldwide.#endAIDS By U.S. Embassy Bangkok | 9 May, 2018 | Topics: Ambassador, Events, News, U.S. & Thailand | Tags: AFRIMS, Vaccine