kobkrit's picture
Init
4f8c7e6
raw
history blame contribute delete
No virus
5.16 kB
year,no,instruction,input,result,isAnswerable,isMultipleChoice,isSingleChoiceSolution,SolutionExplain
plain,1,ในการพิจารณาเปรียบเทียบผลตอบแทนจากการลงทุนในกองทุนรวม ผู้ลงทุนควรใช้ผลตอบแทนประเภทใด,1. ผลตอบแทนรวม 2. ผลตอบแทนรวมสุทธิ 3. ผลตอบแทนหลังหักภาษี 4. ผลตอบแทนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง,2,TRUE,TRUE,TRUE,ผลตอบแทนรวมสุทธิในการพิจารณาเปรียบเทียบผลตอบแทนจากการลงทุน ผู้ลงทุนควรใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาผลตอบแทนของการลงทุนในกองทุนรวม
plain,2,กองทุนที่มีสถานะการลงทุนได้ทั้งตราสารทุน ตราสารหนี้ และทรัพย์สินทางเลือก ถือว่ามีความเสี่ยงอยู่ในระดับใด,1. ความเสี่ยงต่ำ 2. ความเสี่ยงปานกลางค่อนข้างสูง 3. ความเสี่ยงสูงมาก 4. ความเสี่ยงสูงมากอย่างมีนัยสำคัญ,2,TRUE,TRUE,TRUE,กองทุนรวมผสม มีลักษณะการลงทุนได้ทั้งตราสารทุน ตราสารหนี้ และทรัพย์สินทางเลือก โดยมี ความเสี่ยงปานกลางค่อนข้างสูง
plain,3,มาตรวัดผลการดำเนินงานประเภทใดต่อไปนี้ที่ใช้วัดความสามารถของผู้จัดการกองทุนในการหาผลตอบแทนส่วนเพิ่มจาก benchmark โดยพิจารณาถึง tracking error ของกองทุนควบคู่ไปด้วย,1. Sharpe’s ratio 2. Jensen model 3. Treynor’s ratio 4. Information ratio,4,TRUE,TRUE,TRUE,Information ratio ใช้วัดความสามารถของผู้จัดการกองทุนในการหาผลตอบแทนส่วนเพิ่มจาก benchmark โดยพิจารณาถึงความเสี่ยงที่กองทุนจะมีผลตอบแทนแตกต่างจาก benchmark ควบคู่กันไปด้วย (tracking error)
plain,4,กลยุทธ์การลงทุนในกองทุนรวมแบบใดต่อไปนี้ที่ใช้ทั้งวิธี Dollar Cost Averaging และ Market Timing ควบคู่กัน,1. Total Return Method 2. Combined Method 3. Rebalancing Method 4. Core & Satellite Method,2,TRUE,TRUE,TRUE,Combined Method เป็นกลยุทธ์การลงทุนแบบผสมระหว่าง Dollar Cost Averaging และ Market Timing เพื่อซื้อหน่วยลงทุน
plain,5,"หากผู้ลงทุนมีเงินเดือนๆ ละ 500,000 บาท จ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 5% ของเงินเดือน และมีการซื้อประกันแบบบำนาญเอาไว้โดยจ่ายเบี้ยปีละ 100,000 บาท ผู้ลงทุนจะสามารถซื้อหน่วยลงทุนของกองทุนรวม RMF เพื่อลดหย่อนภาษีได้สูงสุดเท่ากับเท่าใด","1. 100,000 บาท 2. 200,000 บาท 3. 400,000 บาท 4. 500,000 บาท",1,TRUE,TRUE,TRUE,"รายได้ทั้งปี = 500,000 x 12 = 6,000,000 บาทต่อปี เงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ = 6,000,000 x 5% = 300,000 บาท สามารถซื้อหน่วยลงทุน = 6,000,000 x 15% = 900,000 บาท ซึ่งเกิน 500,000 บาทตามเงื่อนไขจึงซื้อได้สูงสุดแค่ 500,000 บาท แต่เนื่องจากมีเงินสะสมในสำรองเลี้ยงชีพ และเบี้ยประกันแบบบำนาญ (หากมี) ดังนั้นจึงซื้อได้สูงสุด = 500,000 - 300,000 - [จำนวนเบี้ยประกันแบบบำนาญ] = [จำนวนที่สามารถซื้อได้]"