question_id
int32 1
4k
| article_id
int32 665
954k
| context
stringlengths 75
87.2k
| question
stringlengths 11
135
| answers
sequence |
---|---|---|---|---|
393 | 10,743 | ฌ็อง-ปอล ซาทร์ ฌ็อง-ปอล ซาทร์ (, 21 มิถุนายน พ.ศ. 2448 กรุงปารีส, ประเทศฝรั่งเศส - 15 เมษายน พ.ศ. 2523 ที่กรุงปารีส) เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักบทละคร, นักปรัชญา และผู้มีบทบาทสำคัญในแนวคิดอัตถิภาวนิยมหรือทฤษฎีที่ว่าทุกคนนั้นอิสระและรับผิดชอบในการกระทำของตน (Existentialism) เป็นนักปรัชญาผู้ประกาศเสรีภาพของมนุษย์ในแง่ปัจเจกชน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) แต่ไม่ยอมรับรางวัลดังกล่าวประวัติ ประวัติ. ฌ็อง-ปอล ซาทร์ เข้ารับการศึกษาที่ เอโกล นอร์มาล ซูเปรีเยอร์ ระหว่างปี ค.ศ. 1924 – ค.ศ. 1929 เมื่อเรียนจบ ก็ได้เป็นอาจารย์สาขาปรัชญาที่ เลอ แอร์ฟ เมื่อปี ค.ศ. 1931 ซาทร์สูญเสียบิดาตั้งแต่วัยเยาว์ และเติบโตในบ้านของตา ชื่อ คาร์ล ชไวทเซอร์ (ผู้เป็นลุงของอัลเบิร์ต ชไวทเซอร์) ซึ่งเป็นศาสตราจารย์ภาษาเยอรมันที่มหาวิทยาลัยซอร์บอนน์ ระหว่างปี 1931 - 1945 ซาทร์ได้สอนหนังสือหลายที่ รวมทั้งในอังกฤษ และสุดท้ายก็กลับมาที่ปารีส มีสองครั้งที่อาชีพของเขาถูกขัดขวาง ครั้งหนึ่ง เมื่อต้องศึกษาเป็นเวลา 1 ปี ในกรุงเบอร์ลิน และครั้งที่สองเมื่อต้องเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อปี 1939 ครั้นปีต่อมาถูกจับเป็นเชลย และอีกปีถัดมาก็ได้รับการปลดปล่อย ช่วงเวลาที่สอนหนังสือนั้น ซาทร์ได้ตีพิมพ์หนังสือเรื่อง La Nausee, 1938 เป็นครั้งแรกที่ทำให้เขามีชื่อเสียง นวนิยายเรื่องนี้เขียนในรูปบันทึกประจำวัน เล่าถึงความรู้สึกชิงชัง เมื่อเผชิญหน้ากับโลกของทางวัตถุ ไม่เพียงแต่โลกของคนอื่นเท่านั้น แต่ยังเป็นการรับรู้ถึงตัวของเขาด้วย ซาทร์ได้รับอิทธิพลจากนักปรัชญาเยอรมัน ชื่อเอดมุนด์ ฮุสเซล และนำมาใช้ด้วยทักษะอันเลิศในผลงานพิมพ์ 3 เล่ม คือ L'Imagination (1936; จินตนาการ), Esquisse d'une théorie des émotions (1939; ร่างทฤษฎีแห่งอารมณ์) และ L'Imaginaire : Psychologie phénoménologique de l'imagination (1940; จิตวิทยาแห่งจินตนาการ) แต่ทว่าใน L'Être et le néant (1943; ความมีอยู่ และความไม่มีอะไร)ซาทร์กำหนดฐานะของจิตสำนึกมนุษย์ หรือความไม่มีอะไร (néant) ไว้ตรงข้ามความมีอยู่ หรือความเป็นสิ่งของ (être) ซาทร์เริ่มเขียนนวนิยายชุด 4 เล่ม เมื่อปี 1945 ชื่อ Les Chemins de la liberté อีก 3 เล่ม คือ L'Âge de raison (1945; ยุคแห่งเหตุผล), Le Sursis (1945; ) และ La Mort dans l'âme (1949;เหล็กในวิญญาณ) หลังพิมพ์ครั้งที่ 3 ซาทร์ก็เปลี่ยนใจหันกลับไปสู่บทละครอีก หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซาทร์เขียนโจมตีความยะโสของมนุษย์ และเสรีภาพของปัจเจกชน ซาทร์ได้เปลี่ยนความสดใสไปสู่แนวคิดของความรับผิดชอบของสังคมหลายปีแล้ว ที่เขาแสดงความใสใจคนรวย และคนที่ไม่มีมรดกทุกชนิด ขณะเป็นครูเขาปฏิเสธไม่ยอมผูกเน็คไท ราวกับเขาจะเช็ดชนชั้นทางสังคมให้สลายไปด้วยเน็คไท และเข้าใกล้พวกคนใช้แรงงานมากขึ้น ในงานเรื่อง L'Existentialisme est un humanisme (1946;) ตอนนี้เสรีภาพแสดงนัยของความรับผิดชอบทางสังคม ในนวนิยายและบทละครเรื่องต่างๆ ของเขา ซาทร์ได้พยายามแสดงความคิดเห็นในสื่อของเขาระหว่างช่วงสงคราม และบทละครใหม่ ก็ตามติดมาเรื่อยๆ ได้แก่ Les Mouches (ออกแสดง 1943), Huis- clos (1944) Les Mains Sales (1948) Le Diable et le bon dieu (1951) และ Les Séquestres d'Altona (1959)บทละครทั้งหมด จะเน้นที่พฤติกรรมก้าวร้าวดั้งเดิมของมนุษย์ต่อมนุษย์ ซึ่งดูเหมือนมีแต่การมองโลกในแง่ร้าย แต่ตามคำสารภาพของซาตร์เอง จุดมุ่งหมายนั้นไม่มีเรื่องศีลธรรมของการใช้ทาสเลย กิจกรรมทางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซาทร์มีความสนใจอย่างกระตือรือร้นต่อชนวนการทางการเมืองในฝรั่งเศส และโน้มเอียงไปทางฝ่ายซ้าย ก็ประกาศชัดมากขึ้น เขาเป็นผู้นิยมสหภาพโซเวียตอย่างยิ่ง แม้จะไม่ได้เป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ก็ตาม ในปี 1954 ซาตร์เดินทางไปโซเวียต ประเภทแถบสแกนดิเนเวีย แอฟริกา สหรัฐอเมริกา และคิวบา เมื่อรัสเซียนำรถถังบุกกรุงบูดาเปส ในปี 1956 ความหวังของซาทร์ที่มีต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ก็พังครืนอย่างน่าเศร้า เขาเขียนบทความขนาดยาว ใน Les Temps Modernes เรื่อง Le Fantôme de Staline ซึ่งตำหนิการแทรกแซงของรัสเซีย และการยอมรับพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส ซาทร์ได้ร่วมมือกับซีมอน เดอ โบวัวร์ (Simone de Beauvoir) เขียนเรื่อง Mémoires d'une jeune fille rangée,1958 และเรื่อง La Force de l'âge, 1960-2 โดยได้เล่าถึงชีวิตของซาทร์ จากสมัยนักเรียน จนถึงกลางศตวรรษที่ 50 ใน École Normale Supérieure ในภายหลังเขาได้พบผู้คนมากมาย ที่มีจุดมุ่งหมายจะเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียง ในจำนวนนี้ได้แก่ แรมง อารง (Raymond Aron) มอริส แมร์โล-ปงตี (Maurice Merleau-Ponty), ซีมอน แวย์ (Simone Weil), แอมานุแอล มูนีเย (Emmanuel Mounier), ฌ็อง อีปอลิต (Jean Hippolyte) และโกลด เลวี-สโทรส (Claude Levi-Strauss) ผ่านไปหลายปี ทัศนคติเชิงวิจารณ์นี้เปิดทางสู่รูปแบบของสังคมนิยมแบบซาทร์ ซึ่งจะพบการแสดงออกในผลงานใหญ่ชิ้นใหม่ ชื่อ Critique de la raison dialectique (1960) ซาทร์ได้ดำเนินการตรวจสอบเชิงวิจารณ์ถึงวิภาษวิธีแบบมากซ์ และค้นพบว่า ไม่มีความยั่งยืนในรูปแบบที่โซเวียตใช้งานเขียนที่ได้รับการแปลเป็นภาษาไทยงานเขียนที่ได้รับการแปลเป็นภาษาไทย. 1. คนไม่มีเงา (กรุงเทพฯ: ดวงกมล, 2517). 2. เพียงความใกล้ชิด (Intimacy) แปลโดย น. ชญานุตม์ (กรุงเทพฯ: กอไผ่, 2526). 3. รวมเรื่องสั้น ฌอง-ปอล ซาร์ตร์ บรรณาธิการโดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี (กรุงเทพฯ: ดวงกมลวรรณกรรม, 2536).
| ฌ็อง-ปอล ซาทร์เป็นนักเขียนนวนิยาย นักบทละคร นักปรัชญา มีตาชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"คาร์ล ชไวทเซอร์"
],
"answer_begin_position": [
733
],
"answer_end_position": [
748
]
} |
1,605 | 10,743 | ฌ็อง-ปอล ซาทร์ ฌ็อง-ปอล ซาทร์ (, 21 มิถุนายน พ.ศ. 2448 กรุงปารีส, ประเทศฝรั่งเศส - 15 เมษายน พ.ศ. 2523 ที่กรุงปารีส) เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักบทละคร, นักปรัชญา และผู้มีบทบาทสำคัญในแนวคิดอัตถิภาวนิยมหรือทฤษฎีที่ว่าทุกคนนั้นอิสระและรับผิดชอบในการกระทำของตน (Existentialism) เป็นนักปรัชญาผู้ประกาศเสรีภาพของมนุษย์ในแง่ปัจเจกชน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) แต่ไม่ยอมรับรางวัลดังกล่าวประวัติ ประวัติ. ฌ็อง-ปอล ซาทร์ เข้ารับการศึกษาที่ เอโกล นอร์มาล ซูเปรีเยอร์ ระหว่างปี ค.ศ. 1924 – ค.ศ. 1929 เมื่อเรียนจบ ก็ได้เป็นอาจารย์สาขาปรัชญาที่ เลอ แอร์ฟ เมื่อปี ค.ศ. 1931 ซาทร์สูญเสียบิดาตั้งแต่วัยเยาว์ และเติบโตในบ้านของตา ชื่อ คาร์ล ชไวทเซอร์ (ผู้เป็นลุงของอัลเบิร์ต ชไวทเซอร์) ซึ่งเป็นศาสตราจารย์ภาษาเยอรมันที่มหาวิทยาลัยซอร์บอนน์ ระหว่างปี 1931 - 1945 ซาทร์ได้สอนหนังสือหลายที่ รวมทั้งในอังกฤษ และสุดท้ายก็กลับมาที่ปารีส มีสองครั้งที่อาชีพของเขาถูกขัดขวาง ครั้งหนึ่ง เมื่อต้องศึกษาเป็นเวลา 1 ปี ในกรุงเบอร์ลิน และครั้งที่สองเมื่อต้องเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อปี 1939 ครั้นปีต่อมาถูกจับเป็นเชลย และอีกปีถัดมาก็ได้รับการปลดปล่อย ช่วงเวลาที่สอนหนังสือนั้น ซาทร์ได้ตีพิมพ์หนังสือเรื่อง La Nausee, 1938 เป็นครั้งแรกที่ทำให้เขามีชื่อเสียง นวนิยายเรื่องนี้เขียนในรูปบันทึกประจำวัน เล่าถึงความรู้สึกชิงชัง เมื่อเผชิญหน้ากับโลกของทางวัตถุ ไม่เพียงแต่โลกของคนอื่นเท่านั้น แต่ยังเป็นการรับรู้ถึงตัวของเขาด้วย ซาทร์ได้รับอิทธิพลจากนักปรัชญาเยอรมัน ชื่อเอดมุนด์ ฮุสเซล และนำมาใช้ด้วยทักษะอันเลิศในผลงานพิมพ์ 3 เล่ม คือ L'Imagination (1936; จินตนาการ), Esquisse d'une théorie des émotions (1939; ร่างทฤษฎีแห่งอารมณ์) และ L'Imaginaire : Psychologie phénoménologique de l'imagination (1940; จิตวิทยาแห่งจินตนาการ) แต่ทว่าใน L'Être et le néant (1943; ความมีอยู่ และความไม่มีอะไร)ซาทร์กำหนดฐานะของจิตสำนึกมนุษย์ หรือความไม่มีอะไร (néant) ไว้ตรงข้ามความมีอยู่ หรือความเป็นสิ่งของ (être) ซาทร์เริ่มเขียนนวนิยายชุด 4 เล่ม เมื่อปี 1945 ชื่อ Les Chemins de la liberté อีก 3 เล่ม คือ L'Âge de raison (1945; ยุคแห่งเหตุผล), Le Sursis (1945; ) และ La Mort dans l'âme (1949;เหล็กในวิญญาณ) หลังพิมพ์ครั้งที่ 3 ซาทร์ก็เปลี่ยนใจหันกลับไปสู่บทละครอีก หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซาทร์เขียนโจมตีความยะโสของมนุษย์ และเสรีภาพของปัจเจกชน ซาทร์ได้เปลี่ยนความสดใสไปสู่แนวคิดของความรับผิดชอบของสังคมหลายปีแล้ว ที่เขาแสดงความใสใจคนรวย และคนที่ไม่มีมรดกทุกชนิด ขณะเป็นครูเขาปฏิเสธไม่ยอมผูกเน็คไท ราวกับเขาจะเช็ดชนชั้นทางสังคมให้สลายไปด้วยเน็คไท และเข้าใกล้พวกคนใช้แรงงานมากขึ้น ในงานเรื่อง L'Existentialisme est un humanisme (1946;) ตอนนี้เสรีภาพแสดงนัยของความรับผิดชอบทางสังคม ในนวนิยายและบทละครเรื่องต่างๆ ของเขา ซาทร์ได้พยายามแสดงความคิดเห็นในสื่อของเขาระหว่างช่วงสงคราม และบทละครใหม่ ก็ตามติดมาเรื่อยๆ ได้แก่ Les Mouches (ออกแสดง 1943), Huis- clos (1944) Les Mains Sales (1948) Le Diable et le bon dieu (1951) และ Les Séquestres d'Altona (1959)บทละครทั้งหมด จะเน้นที่พฤติกรรมก้าวร้าวดั้งเดิมของมนุษย์ต่อมนุษย์ ซึ่งดูเหมือนมีแต่การมองโลกในแง่ร้าย แต่ตามคำสารภาพของซาตร์เอง จุดมุ่งหมายนั้นไม่มีเรื่องศีลธรรมของการใช้ทาสเลย กิจกรรมทางการเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซาทร์มีความสนใจอย่างกระตือรือร้นต่อชนวนการทางการเมืองในฝรั่งเศส และโน้มเอียงไปทางฝ่ายซ้าย ก็ประกาศชัดมากขึ้น เขาเป็นผู้นิยมสหภาพโซเวียตอย่างยิ่ง แม้จะไม่ได้เป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ก็ตาม ในปี 1954 ซาตร์เดินทางไปโซเวียต ประเภทแถบสแกนดิเนเวีย แอฟริกา สหรัฐอเมริกา และคิวบา เมื่อรัสเซียนำรถถังบุกกรุงบูดาเปส ในปี 1956 ความหวังของซาทร์ที่มีต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ก็พังครืนอย่างน่าเศร้า เขาเขียนบทความขนาดยาว ใน Les Temps Modernes เรื่อง Le Fantôme de Staline ซึ่งตำหนิการแทรกแซงของรัสเซีย และการยอมรับพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส ซาทร์ได้ร่วมมือกับซีมอน เดอ โบวัวร์ (Simone de Beauvoir) เขียนเรื่อง Mémoires d'une jeune fille rangée,1958 และเรื่อง La Force de l'âge, 1960-2 โดยได้เล่าถึงชีวิตของซาทร์ จากสมัยนักเรียน จนถึงกลางศตวรรษที่ 50 ใน École Normale Supérieure ในภายหลังเขาได้พบผู้คนมากมาย ที่มีจุดมุ่งหมายจะเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียง ในจำนวนนี้ได้แก่ แรมง อารง (Raymond Aron) มอริส แมร์โล-ปงตี (Maurice Merleau-Ponty), ซีมอน แวย์ (Simone Weil), แอมานุแอล มูนีเย (Emmanuel Mounier), ฌ็อง อีปอลิต (Jean Hippolyte) และโกลด เลวี-สโทรส (Claude Levi-Strauss) ผ่านไปหลายปี ทัศนคติเชิงวิจารณ์นี้เปิดทางสู่รูปแบบของสังคมนิยมแบบซาทร์ ซึ่งจะพบการแสดงออกในผลงานใหญ่ชิ้นใหม่ ชื่อ Critique de la raison dialectique (1960) ซาทร์ได้ดำเนินการตรวจสอบเชิงวิจารณ์ถึงวิภาษวิธีแบบมากซ์ และค้นพบว่า ไม่มีความยั่งยืนในรูปแบบที่โซเวียตใช้งานเขียนที่ได้รับการแปลเป็นภาษาไทยงานเขียนที่ได้รับการแปลเป็นภาษาไทย. 1. คนไม่มีเงา (กรุงเทพฯ: ดวงกมล, 2517). 2. เพียงความใกล้ชิด (Intimacy) แปลโดย น. ชญานุตม์ (กรุงเทพฯ: กอไผ่, 2526). 3. รวมเรื่องสั้น ฌอง-ปอล ซาร์ตร์ บรรณาธิการโดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี (กรุงเทพฯ: ดวงกมลวรรณกรรม, 2536).
| ฌ็อง-ปอล ซาทร์เป็นนักเขียนนวนิยาย นักบทละคร นักปรัชญา เคยร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อปี ค.ศ. ใด | {
"answer": [
"1939"
],
"answer_begin_position": [
1079
],
"answer_end_position": [
1083
]
} |
394 | 652,749 | เฝิง คุน เฝิง คุน () เกิดวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 1978 ที่กรุงปักกิ่ง เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีน ผู้ทำหน้าที่ในตำแหน่งมือเซต รวมถึงเคยเป็นกัปตันทีม โดยเธอได้รับรางวัลผู้เล่นทรงคุณค่าและมือเซตยอดเยี่ยมในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ที่ซึ่งทีมชาติจีนได้ชนะการแข่งขันวอลเลย์บอลชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. ช่วงปลายปี ค.ศ. 2014 ได้มีการประกาศถึงมงคลสมรสระหว่างเฝิง คุน กับเกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร ซึ่งเป็นผู้ฝึกสอนวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย โดยทั้งคู่จะเข้ารับพระราชทานน้ำสังข์จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 4 ธันวาคม ของปีดังกล่าว
| เฝิง คุน เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีน เกิดที่ไหน | {
"answer": [
"กรุงปักกิ่ง"
],
"answer_begin_position": [
139
],
"answer_end_position": [
150
]
} |
395 | 652,749 | เฝิง คุน เฝิง คุน () เกิดวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 1978 ที่กรุงปักกิ่ง เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจีน ผู้ทำหน้าที่ในตำแหน่งมือเซต รวมถึงเคยเป็นกัปตันทีม โดยเธอได้รับรางวัลผู้เล่นทรงคุณค่าและมือเซตยอดเยี่ยมในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่กรุงเอเธนส์ ที่ซึ่งทีมชาติจีนได้ชนะการแข่งขันวอลเลย์บอลชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. ช่วงปลายปี ค.ศ. 2014 ได้มีการประกาศถึงมงคลสมรสระหว่างเฝิง คุน กับเกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร ซึ่งเป็นผู้ฝึกสอนวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย โดยทั้งคู่จะเข้ารับพระราชทานน้ำสังข์จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 4 ธันวาคม ของปีดังกล่าว
| เฝิง คุน สมรสกับโค้ชวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย คือใคร | {
"answer": [
"เกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร"
],
"answer_begin_position": [
473
],
"answer_end_position": [
498
]
} |
396 | 270,567 | แดเนียล แด คิม แดเนียล แด คิม (Daniel Dae Kim) เกิดที่เมืองปูซานเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1968 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ย้ายจากเกาหลีใต้มาอยู่ในสหรัฐอเมริกากับครอบครัวตั้งแต่อายุ 2 ปี ถึงแม้เขายังมีผลงานในรายการโทรทัศน์หลายรายการ แต่คิมก็เป็นที่รู้จักดีในบทบาท จิน-ซู ควอน ในซีรีส์เรื่อง อสุรกายดงดิบ
| แดเนียล แด คิมเป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ได้แสดงเป็นใครในซีรีส์เรื่อง อสุรกายดงดิบ | {
"answer": [
"จิน-ซู ควอน"
],
"answer_begin_position": [
349
],
"answer_end_position": [
360
]
} |
1,667 | 270,567 | แดเนียล แด คิม แดเนียล แด คิม (Daniel Dae Kim) เกิดที่เมืองปูซานเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1968 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ย้ายจากเกาหลีใต้มาอยู่ในสหรัฐอเมริกากับครอบครัวตั้งแต่อายุ 2 ปี ถึงแม้เขายังมีผลงานในรายการโทรทัศน์หลายรายการ แต่คิมก็เป็นที่รู้จักดีในบทบาท จิน-ซู ควอน ในซีรีส์เรื่อง อสุรกายดงดิบ
| แดเนียล แด คิม หรือ Daniel Dae Kim เกิดที่เมืองปูซานเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"4"
],
"answer_begin_position": [
165
],
"answer_end_position": [
166
]
} |
397 | 879,019 | สาธร ยูนีค ทาวเวอร์ สาธร ยูนีค ทาวเวอร์ เป็นตึกระฟ้าร้างในกรุงเทพมหานคร ซึ่งแรกเริ่มได้มีการวางแผนจะสร้างให้เป็นคอมเพล็กซ์ คอนโดมิเนียมระดับหรู แต่การก่อสร้างก็ต้องหยุดชะงักลงในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 แม้จะเสร็จสิ้นไปกว่า 80 เปอร์เซ็นต์แล้วก็ตาม ปัจจุบันอาคาร สาธร ยูนีค ทาวเวอร์ ถือเป็นอาคารร้างที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดในกรุงเทพมหานคร และเป็นจุดมุ่งหมายของนักท่องเที่ยวที่ชอบความท้าทายประวัติ ประวัติ. ได้มีการวางแผนให้สาธร ยูนีค เป็นคอนโดมิเนียมระดับหรูสูง 47 ชั้น รวม 600 ยูนิต ได้รับการออกแบบและพัฒนาโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รังสรรค์ ต่อสุวรรณ สถาปนิกชื่อดังและนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ผู้ออกแบบอาคารสเตท ทาวเวอร์ ที่ถือเป็นอาคารน้องของสาธร ยูนีค โครงการก่อสร้างนั้นเริ่มต้นขึ้นในปีพ.ศ. 2533 มีเจ้าของโครงการคือบริษัท สาธร ยูนีค จำกัด และได้รับการสนับสนุนเงินทุนส่วนมากจากบริษัทหลักทรัพย์ไทยแมกซ์ การก่อสร้างได้เริ่มต้นขึ้นปีเดียวกัน โดยมีบริษัทสี่พระยา จำกัด เป็นผู้รับเหมาการก่อสร้าง ในปีพ.ศ. 2536 ผศ.รังสรรค์ ได้ถูกจับกุมในข้อหาร่วมกันวางแผนลอบฆาตกรรมนายประมาณ ชันซื่อ ประธานศาลฎีกาในขณะนั้น แต่ไม่สำเร็จเนื่องจากมือปืนถูกจับกุมได้ก่อน โดยในปีพ.ศ. 2551 ผศ.รังสรรค์ ได้ถูกพิพากษาว่ามีความผิด แต่สุดท้ายศาลอาญากรุงเทพใต้ก็ได้ทำการยกฟ้องในปีพ.ศ. 2553 คดีความดังกล่าวนี้ได้ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการรักษาเงินสนับสนุนโครงการของผศ.รังสรรค์เป็นอย่างมาก และการก่อสร้างอาคารสาธร ยูนีค ก็เผชิญกับปัญหาความล่าช้าหลายครั้งเนื่องจากขาดแคลนเงินทุน จนกระทั่งเมื่อเกิดวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ตลาดอสังหาริมทรัพย์เกิดการล้มละลาย เช่นเดียวกันกับบริษัทไฟแนนซ์ต่างๆที่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่โครงการซึ่งก็ประสบปัญหาหนี้สิน โครงการก่อสร้างอาคารต่างๆในกรุงเทพมหานครต่างพากันหยุดชะงัก โดยมีอาคารหรูกว่า 300 แห่งที่ถูกทิ้งร้าง แต่อาคารส่วนมากได้สร้างเสร็จสมบูรณ์ในภายหลังจากเศรษฐกิจฟื้นตัว (อาคารสเตท ทาวเวอร์ก็ถือเป็นหนึ่งในอาคารดังกล่าว) แต่อย่างไรก็ตาม อาคารสาธร ยูนีคกลับถูกทิ้งร้างไว้ในสภาพเดิมนับแต่นั้นจนเป็นที่รู้จักกันในหมู่ของนักท่องเที่ยวต่างชาติในชื่อของ "Ghost Tower" แม้ว่าจะมีความพยายามในเรื่องการตกลงในเรื่องการซื้อขายและการรีไฟแนนซ์อยู่หลายครั้งโดยนายพรรษิษฐ์ ต่อสุวรรณ บุตรชายของผศ.รังสรรค์ที่เข้ามารับช่วงต่อจากบิดา แต่ก็ยังไม่สามารถสรุปได้ เนื่องจากนายพรรษิษฐ์ต้องการที่จะขายอาคารในราคาที่จะสามารถชดเชยเงินต้นให้ผู้ร่วมลงทุนในโครงการตัวอาคาร ตัวอาคาร. อาคารสาธร ยูนีค ทาวเวอร์ตั้งอยู่ในเขตสาธร ตัวอาคารใกล้กันกับถนนเจริญกรุง ซึ่งอยู่ระหว่างซอย 51 กับ 53 เยื้องกับวัดยานนาวา โดยเป็นบริเวณที่ใกล้กับจุดสิ้นสุดถนนสาธร ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส สะพานตากสิน ตัวอาคารได้รับการออกแบบให้มีทั้งหมด 49 ชั้น (รวมชั้นใต้ดินสองชั้น) มีพื้นที่รวม 2 ไร่ เชื่อมติดกับอาคารที่จอดรถสูงสิบชั้น ในการออกแบบนั้น ผศ.รังสรรค์เป็นที่รู้จักจากรูปแบบการออกแบบอาคารที่มักจะใช้ โดยอาคารแห่งนี้ได้เลือกใช้องค์ประกอบของความเป็นศิลปะกรีก-โรมันสมัยใหม่เหมือนกับตึกสเตท ทาวเวอร์ โดยเฉพาะในส่วนของเสาและระเบียง ก่อนที่การก่อสร้างทั้งหมดจะหยุดชะงักลง การก่อสร้างได้เสร็จสิ้นไปกว่า 80-90 เปอร์เซ็นต์ ตัวโครงสร้างหลักของอาคารที่เสร็จสมบูรณ์เป็นที่เรียบร้อยและได้รับการยืนยันในเรื่องความปลอดภัยแข็งแรงของโครงสร้างแล้ว อย่างไรก็ตาม งานออกแบบภายในและการติดตั้งโครงสร้างพื้นฐานนั้นเพิ่งจะเริ่มต้นไปเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และงานส่วนกำแพงและรายละเอียดต่างๆเองก็ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชั้นบนของอาคาร อาคารแห่งนี้ได้กลายมาเป็นจุดมุ่งหมายของนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบความท้าทาย และยังได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวต่างชาติอีกด้วย แม้จะมีการปิดไม่ให้บุคคลใดเข้าถึงตัวอาคาร แต่ก็มีรายงานว่าผู้ที่สนใจสามารถเข้าไปในตัวอาคารได้ด้วยการให้สินบนกับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยใต้อาคาร และในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 อาคารแห่งนี้กลับมาเป็นที่พูดถึงกันอีกครั้งหลังจากที่มีการพบศพชายชาวสวีเดนในสภาพแขวนคอ เสียชีวิตบนชั้นที่ 43 โดยสาเหตุการเสียชีวิตนั้นได้มีการยืนยันว่าเป็นการฆ่าตัวตาย ซึ่งทางสำนักข่าวหลายแห่งก็ได้มีการตั้งข้อสงสัยถึงความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัยของอาคารแห่งนี้ ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 นายพรรษิษฐ์ ต่อสุวรรณ ซึ่งได้เข้ามาเป็นหนึ่งสมาชิกบอร์ดบริหารของบริษัทสาธร ยูนีค จำกัด ได้เปิดเผยว่าได้ทำการแจ้งความข้อหาบุกรุกอาคารสถานที่แก่บุคคลทั้งหมด 5 คน ที่ได้โพสต์รูปและคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการเข้ามาในอาคารลงบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งในจำนวนนี้ยังรวมไปถึงชาวต่างชาติสองคนที่ได้ทำวิดีโอที่พวกเขาแสดงการวิ่งฟรีรันนิ่งบนตึกแห่งนี้ นายพรรษิษฐ์ได้กล่าว่าเขาต้องการให้การแจ้งความครั้งนี้เป็นตัวอย่างและหยุดยั้งคนที่จะเข้ามาปีนป่ายบนตึกที่มีความอันตราย เขาได้ระบุเพิ่มว่าจำนวนผู้เข้ามาในตัวอาคารอย่างผิดกฎหมายนั้นเพิ่มสูงขึ้นเป็นอย่างมากในช่วงปีที่ผ่านมาเนื่องจากมีการเผยแพร่เรื่องอาคารแห่งนี้ในโลกออนไลน์กันมากขึ้น โดยในบางสัปดาห์นั้นมีผู้เข้าไปยังตัวอาคารมากกว่าหนึ่งร้อยคน ซึ่งตนก็ไม่สามารถห้ามไม่ให้ยามรับสินบนจากผู้เข้าชมตึกได้เนื่องจากไม่สามารถเฝ้าตึกด้วยตัวเองตลอดทั้งวัน อย่างไรก็ตาม ในปีพ.ศ. 2560 นายพรรษิษฐ์ได้อนุญาตให้มิวเซียมสยามจัดการสัมนาที่ตัวอาคาร ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของนิทรรศการระลึก 20 ปีของวิกฤติเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังอนุมัติให้ จีดีเอช559 ใช้สถานที่แห่งนี้เป็นฉากสำคัญในภาพยนตร์สยองขวัญเรื่อง เพื่อน..ที่ระลึก อีกด้วย นักท่องเที่ยวต่างชาติมักจะรู้จักและเรียกชื่ออาคารแห่งนี้กันว่า "Ghost Tower" นอกจากจะเป็นที่รู้จักในหมู่นักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบความท้าทายและต้องการถ่ายภาพมุมสูงแล้ว
| สาธร ยูนีค ทาวเวอร์ เป็นคอนโดหรูสูงกี่ชั้น | {
"answer": [
"สูง 47 ชั้น"
],
"answer_begin_position": [
552
],
"answer_end_position": [
563
]
} |
398 | 879,019 | สาธร ยูนีค ทาวเวอร์ สาธร ยูนีค ทาวเวอร์ เป็นตึกระฟ้าร้างในกรุงเทพมหานคร ซึ่งแรกเริ่มได้มีการวางแผนจะสร้างให้เป็นคอมเพล็กซ์ คอนโดมิเนียมระดับหรู แต่การก่อสร้างก็ต้องหยุดชะงักลงในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 แม้จะเสร็จสิ้นไปกว่า 80 เปอร์เซ็นต์แล้วก็ตาม ปัจจุบันอาคาร สาธร ยูนีค ทาวเวอร์ ถือเป็นอาคารร้างที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดในกรุงเทพมหานคร และเป็นจุดมุ่งหมายของนักท่องเที่ยวที่ชอบความท้าทายประวัติ ประวัติ. ได้มีการวางแผนให้สาธร ยูนีค เป็นคอนโดมิเนียมระดับหรูสูง 47 ชั้น รวม 600 ยูนิต ได้รับการออกแบบและพัฒนาโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รังสรรค์ ต่อสุวรรณ สถาปนิกชื่อดังและนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ผู้ออกแบบอาคารสเตท ทาวเวอร์ ที่ถือเป็นอาคารน้องของสาธร ยูนีค โครงการก่อสร้างนั้นเริ่มต้นขึ้นในปีพ.ศ. 2533 มีเจ้าของโครงการคือบริษัท สาธร ยูนีค จำกัด และได้รับการสนับสนุนเงินทุนส่วนมากจากบริษัทหลักทรัพย์ไทยแมกซ์ การก่อสร้างได้เริ่มต้นขึ้นปีเดียวกัน โดยมีบริษัทสี่พระยา จำกัด เป็นผู้รับเหมาการก่อสร้าง ในปีพ.ศ. 2536 ผศ.รังสรรค์ ได้ถูกจับกุมในข้อหาร่วมกันวางแผนลอบฆาตกรรมนายประมาณ ชันซื่อ ประธานศาลฎีกาในขณะนั้น แต่ไม่สำเร็จเนื่องจากมือปืนถูกจับกุมได้ก่อน โดยในปีพ.ศ. 2551 ผศ.รังสรรค์ ได้ถูกพิพากษาว่ามีความผิด แต่สุดท้ายศาลอาญากรุงเทพใต้ก็ได้ทำการยกฟ้องในปีพ.ศ. 2553 คดีความดังกล่าวนี้ได้ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการรักษาเงินสนับสนุนโครงการของผศ.รังสรรค์เป็นอย่างมาก และการก่อสร้างอาคารสาธร ยูนีค ก็เผชิญกับปัญหาความล่าช้าหลายครั้งเนื่องจากขาดแคลนเงินทุน จนกระทั่งเมื่อเกิดวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ตลาดอสังหาริมทรัพย์เกิดการล้มละลาย เช่นเดียวกันกับบริษัทไฟแนนซ์ต่างๆที่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่โครงการซึ่งก็ประสบปัญหาหนี้สิน โครงการก่อสร้างอาคารต่างๆในกรุงเทพมหานครต่างพากันหยุดชะงัก โดยมีอาคารหรูกว่า 300 แห่งที่ถูกทิ้งร้าง แต่อาคารส่วนมากได้สร้างเสร็จสมบูรณ์ในภายหลังจากเศรษฐกิจฟื้นตัว (อาคารสเตท ทาวเวอร์ก็ถือเป็นหนึ่งในอาคารดังกล่าว) แต่อย่างไรก็ตาม อาคารสาธร ยูนีคกลับถูกทิ้งร้างไว้ในสภาพเดิมนับแต่นั้นจนเป็นที่รู้จักกันในหมู่ของนักท่องเที่ยวต่างชาติในชื่อของ "Ghost Tower" แม้ว่าจะมีความพยายามในเรื่องการตกลงในเรื่องการซื้อขายและการรีไฟแนนซ์อยู่หลายครั้งโดยนายพรรษิษฐ์ ต่อสุวรรณ บุตรชายของผศ.รังสรรค์ที่เข้ามารับช่วงต่อจากบิดา แต่ก็ยังไม่สามารถสรุปได้ เนื่องจากนายพรรษิษฐ์ต้องการที่จะขายอาคารในราคาที่จะสามารถชดเชยเงินต้นให้ผู้ร่วมลงทุนในโครงการตัวอาคาร ตัวอาคาร. อาคารสาธร ยูนีค ทาวเวอร์ตั้งอยู่ในเขตสาธร ตัวอาคารใกล้กันกับถนนเจริญกรุง ซึ่งอยู่ระหว่างซอย 51 กับ 53 เยื้องกับวัดยานนาวา โดยเป็นบริเวณที่ใกล้กับจุดสิ้นสุดถนนสาธร ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส สะพานตากสิน ตัวอาคารได้รับการออกแบบให้มีทั้งหมด 49 ชั้น (รวมชั้นใต้ดินสองชั้น) มีพื้นที่รวม 2 ไร่ เชื่อมติดกับอาคารที่จอดรถสูงสิบชั้น ในการออกแบบนั้น ผศ.รังสรรค์เป็นที่รู้จักจากรูปแบบการออกแบบอาคารที่มักจะใช้ โดยอาคารแห่งนี้ได้เลือกใช้องค์ประกอบของความเป็นศิลปะกรีก-โรมันสมัยใหม่เหมือนกับตึกสเตท ทาวเวอร์ โดยเฉพาะในส่วนของเสาและระเบียง ก่อนที่การก่อสร้างทั้งหมดจะหยุดชะงักลง การก่อสร้างได้เสร็จสิ้นไปกว่า 80-90 เปอร์เซ็นต์ ตัวโครงสร้างหลักของอาคารที่เสร็จสมบูรณ์เป็นที่เรียบร้อยและได้รับการยืนยันในเรื่องความปลอดภัยแข็งแรงของโครงสร้างแล้ว อย่างไรก็ตาม งานออกแบบภายในและการติดตั้งโครงสร้างพื้นฐานนั้นเพิ่งจะเริ่มต้นไปเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และงานส่วนกำแพงและรายละเอียดต่างๆเองก็ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชั้นบนของอาคาร อาคารแห่งนี้ได้กลายมาเป็นจุดมุ่งหมายของนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบความท้าทาย และยังได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวต่างชาติอีกด้วย แม้จะมีการปิดไม่ให้บุคคลใดเข้าถึงตัวอาคาร แต่ก็มีรายงานว่าผู้ที่สนใจสามารถเข้าไปในตัวอาคารได้ด้วยการให้สินบนกับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยใต้อาคาร และในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 อาคารแห่งนี้กลับมาเป็นที่พูดถึงกันอีกครั้งหลังจากที่มีการพบศพชายชาวสวีเดนในสภาพแขวนคอ เสียชีวิตบนชั้นที่ 43 โดยสาเหตุการเสียชีวิตนั้นได้มีการยืนยันว่าเป็นการฆ่าตัวตาย ซึ่งทางสำนักข่าวหลายแห่งก็ได้มีการตั้งข้อสงสัยถึงความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัยของอาคารแห่งนี้ ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 นายพรรษิษฐ์ ต่อสุวรรณ ซึ่งได้เข้ามาเป็นหนึ่งสมาชิกบอร์ดบริหารของบริษัทสาธร ยูนีค จำกัด ได้เปิดเผยว่าได้ทำการแจ้งความข้อหาบุกรุกอาคารสถานที่แก่บุคคลทั้งหมด 5 คน ที่ได้โพสต์รูปและคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการเข้ามาในอาคารลงบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งในจำนวนนี้ยังรวมไปถึงชาวต่างชาติสองคนที่ได้ทำวิดีโอที่พวกเขาแสดงการวิ่งฟรีรันนิ่งบนตึกแห่งนี้ นายพรรษิษฐ์ได้กล่าว่าเขาต้องการให้การแจ้งความครั้งนี้เป็นตัวอย่างและหยุดยั้งคนที่จะเข้ามาปีนป่ายบนตึกที่มีความอันตราย เขาได้ระบุเพิ่มว่าจำนวนผู้เข้ามาในตัวอาคารอย่างผิดกฎหมายนั้นเพิ่มสูงขึ้นเป็นอย่างมากในช่วงปีที่ผ่านมาเนื่องจากมีการเผยแพร่เรื่องอาคารแห่งนี้ในโลกออนไลน์กันมากขึ้น โดยในบางสัปดาห์นั้นมีผู้เข้าไปยังตัวอาคารมากกว่าหนึ่งร้อยคน ซึ่งตนก็ไม่สามารถห้ามไม่ให้ยามรับสินบนจากผู้เข้าชมตึกได้เนื่องจากไม่สามารถเฝ้าตึกด้วยตัวเองตลอดทั้งวัน อย่างไรก็ตาม ในปีพ.ศ. 2560 นายพรรษิษฐ์ได้อนุญาตให้มิวเซียมสยามจัดการสัมนาที่ตัวอาคาร ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของนิทรรศการระลึก 20 ปีของวิกฤติเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังอนุมัติให้ จีดีเอช559 ใช้สถานที่แห่งนี้เป็นฉากสำคัญในภาพยนตร์สยองขวัญเรื่อง เพื่อน..ที่ระลึก อีกด้วย นักท่องเที่ยวต่างชาติมักจะรู้จักและเรียกชื่ออาคารแห่งนี้กันว่า "Ghost Tower" นอกจากจะเป็นที่รู้จักในหมู่นักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบความท้าทายและต้องการถ่ายภาพมุมสูงแล้ว
| สาธร ยูนีค ทาวเวอร์ เป็นฉากสำคัญในภาพยนตร์สยองขวัญเรื่องเพื่อน..ที่ระลึก ของค่ายหนังใด | {
"answer": [
"จีดีเอช559"
],
"answer_begin_position": [
4711
],
"answer_end_position": [
4721
]
} |
399 | 552,217 | โรสแมรี่ คาฮันดิง โรสแมรี่ คาฮันดิง () ชื่อเล่น โรส เกิดเมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2519 เป็นศิลปินชาวไทย เจ้าของเพลงฮิต "ให้ทำอย่างไร"ประวัติ ประวัติ. โรสแมรี่ คาฮันดิง มีชื่อเล่นว่า โรส แต่สือและแฟนเพลงจดจำเธอในชื่อ โรสแมรี่ เธอเป็นลูกครึ่งไทย-ฟิลิปปินส์ (บิดาเป็นคนฟิลิปปินส์ ส่วนมารดาเป็นคนไทย) เธอมีน้องชาย 1 คน เธอเป็นบุตรสาวคนแรก บิดาของโรสเป็นนักดนตรี โรสจึงชอบการร้องเพลงและเล่นดนตรี เครื่องดนตรีชิ้นแรกที่โรสได้เล่นคือ กีตาร์ก้าวสู่วงการ ก้าวสู่วงการ. เธอเข้าสู่วงการด้วยการออดิชั่นทางค่ายเพลงคีตา เรคคอร์ดส เพื่อเป็นหนึ่งในศิลปินวง ที-สเกิ๊ต ในขณะนั้นก็มี ทาทา ยัง ประกวดด้วย แต่เธอไม่ได้เป็นหนึ่งในศิลปินวงนั้น จากนั้นก็มีแมวมองมาติดต่อให้เล่นโฆษณา โอเลย์ และได้แสดงมิวสิควีดีโอเพลง "หลอกเด็ก" ของ ยุ้ย ปัทมวรรณ เค้ามูลคดี ตอนอายุ 13 ปี และเธอยังเคยแสดงละครเรื่อง "แม่เลี้ยงต่างดาว" ทางช่อง 3 เมื่อปี 2537 หลังจากนั้นโรสก็ได้ไปเทสเสียง ในขณะนั้นทำให้เธอได้เป็นศิลปินในสังกัดแลมด้าทรี จัดจำหน่ายโดย ONPA ใช้ชื่อชุดว่า "ROSEMARIE (โรสแมรี่)" เปิดตัวด้วยเพลง "ให้ทำอย่างไร" ในขณะที่เพลงถูกปล่อยในฮอตเวฟ หรือคลื่นวิทยุต่างๆ จึงทำให้เพลงฮิตติดชาร์ตอันดับ 1 และทำให้โรสเป็นที่รู้จักกันในฐานะนักร้องหน้าใหม่ ต่อมาโรสแมรี่ได้มีอัลบั้มพิเศษร่วมกับนักร้องชื่อดัง เช่น พีรสันติ จวบสมัย สบชัย ไกรยูรเสน ฯลฯ กับค่าย XL Music Entertainment ชื่ออัลบั้มว่า "บทเพลงจากหัวใจ Love 1997" โรสแมรี่ได้ขับร้องเพลง "ใจเป็นของเธอ" ซึ่งเพลงนี้ก็ฮิตติดชาร์ตเช่นกัน ต่อมาโรสแมรี่ได้ย้ายสังกัดไป จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีอัลบั้ม 1 ชุด ชื่อชุดว่า "Merry Rose" มีเพลงดังคือ เปล่ามีน้ำตา ในปีพ.ศ. 2558 โรสแมรี่ ได้กลับมาอีกครั้ง เธอได้ขึ้นคอนเสิร์ต "90's Concert First Album กำเนิดอินดี้ รุ่นพี่ออกเทป" เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ร่วมกับ โมเดิร์นด็อก, ป้าง นครินทร์, P.O.P, Friday, Ford & friends, สุกัญญา มิเกล, อัยย์ พรรณี, บานาน่า โบ๊ท, The Must, จุ๊บ วุฒินันต์, อู๋ ธรรพ์ณธร เป็นต้น โดยเธอกลับมาหลังจากที่ห่างหายจากวงการเพลงไปถึง 15 ปี ด้านชีวิตส่วนตัว เธอเป็นซิงเกิ้ลมัม โดยมีบุตรชาย 1 คน คือ "น้องดาวเหนือ" ปัจจุบันโรสแมรี่ผันตัวเองด้วยการลงทุนทำอาชีพเสริมด้วยการขายเครป ใช้ชื่อว่า ร้านเครปดาวเหนือ ,การศึกษา การศึกษา. โรสแมรี่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนสาธรวิทยา ต่อระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนพระแม่มารี และเคยศึกษาระดับปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ แต่ไม่จบการศึกษาผลงานผลงานเพลงซิงเกิ้ลผลงาน. ซิงเกิ้ล. - เพลง "ตราบ" ศิลปิน เยื้อง Gentleman (โรสแมรี่มีส่วนร่วมในการ Featuring) ปี 2558สตูลดิโออัลบั้มอัลบั้มพิเศษอัลบั้มพิเศษ. - อัลบั้ม "บทเพลงจากหัวใจ Love 1997" เพลงที่ขับร้อง ใจเป็นของเธอ (2540)ละครโทรทัศน์ละครโทรทัศน์. - 2537 ละครเรื่อง แม่เลี้ยงต่างดาว ทางช่อง 3 - 2541 ละครเรื่อง หัวใจทระนง ทางช่อง 5มิวสิควีดีโอมิวสิควีดีโอ. - เพลง "คิดถึงเธอ" ของ แร็พเตอร์ - เพลง "หลอกเด็ก" ของ ยุ้ย ปัทมวรรณ เค้ามูลคดีคอนเสิร์ตคอนเสิร์ต. - คอนเสิร์ต "Concert Earthday โลกสวยด้วยมือเรา" ร่วมกับศิลปินสังกักจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ (พ.ศ. 2542) - คอนเสิร์ต " 90's Concert First Album 'กำเนิดอินดี้ รุ่นพี่ออกเทป' " (วันที่แสดง: วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม 2558)ผลงานอื่นๆผลงานอื่นๆ. - ถ่ายโฆษณา โอเลย์ - ถ่ายแบบนิตยสาร
| พ่อของโรสแมรี่ คาฮันดิง เป็นคนชาติใด | {
"answer": [
"ฟิลิปปินส์"
],
"answer_begin_position": [
360
],
"answer_end_position": [
370
]
} |
400 | 552,217 | โรสแมรี่ คาฮันดิง โรสแมรี่ คาฮันดิง () ชื่อเล่น โรส เกิดเมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2519 เป็นศิลปินชาวไทย เจ้าของเพลงฮิต "ให้ทำอย่างไร"ประวัติ ประวัติ. โรสแมรี่ คาฮันดิง มีชื่อเล่นว่า โรส แต่สือและแฟนเพลงจดจำเธอในชื่อ โรสแมรี่ เธอเป็นลูกครึ่งไทย-ฟิลิปปินส์ (บิดาเป็นคนฟิลิปปินส์ ส่วนมารดาเป็นคนไทย) เธอมีน้องชาย 1 คน เธอเป็นบุตรสาวคนแรก บิดาของโรสเป็นนักดนตรี โรสจึงชอบการร้องเพลงและเล่นดนตรี เครื่องดนตรีชิ้นแรกที่โรสได้เล่นคือ กีตาร์ก้าวสู่วงการ ก้าวสู่วงการ. เธอเข้าสู่วงการด้วยการออดิชั่นทางค่ายเพลงคีตา เรคคอร์ดส เพื่อเป็นหนึ่งในศิลปินวง ที-สเกิ๊ต ในขณะนั้นก็มี ทาทา ยัง ประกวดด้วย แต่เธอไม่ได้เป็นหนึ่งในศิลปินวงนั้น จากนั้นก็มีแมวมองมาติดต่อให้เล่นโฆษณา โอเลย์ และได้แสดงมิวสิควีดีโอเพลง "หลอกเด็ก" ของ ยุ้ย ปัทมวรรณ เค้ามูลคดี ตอนอายุ 13 ปี และเธอยังเคยแสดงละครเรื่อง "แม่เลี้ยงต่างดาว" ทางช่อง 3 เมื่อปี 2537 หลังจากนั้นโรสก็ได้ไปเทสเสียง ในขณะนั้นทำให้เธอได้เป็นศิลปินในสังกัดแลมด้าทรี จัดจำหน่ายโดย ONPA ใช้ชื่อชุดว่า "ROSEMARIE (โรสแมรี่)" เปิดตัวด้วยเพลง "ให้ทำอย่างไร" ในขณะที่เพลงถูกปล่อยในฮอตเวฟ หรือคลื่นวิทยุต่างๆ จึงทำให้เพลงฮิตติดชาร์ตอันดับ 1 และทำให้โรสเป็นที่รู้จักกันในฐานะนักร้องหน้าใหม่ ต่อมาโรสแมรี่ได้มีอัลบั้มพิเศษร่วมกับนักร้องชื่อดัง เช่น พีรสันติ จวบสมัย สบชัย ไกรยูรเสน ฯลฯ กับค่าย XL Music Entertainment ชื่ออัลบั้มว่า "บทเพลงจากหัวใจ Love 1997" โรสแมรี่ได้ขับร้องเพลง "ใจเป็นของเธอ" ซึ่งเพลงนี้ก็ฮิตติดชาร์ตเช่นกัน ต่อมาโรสแมรี่ได้ย้ายสังกัดไป จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีอัลบั้ม 1 ชุด ชื่อชุดว่า "Merry Rose" มีเพลงดังคือ เปล่ามีน้ำตา ในปีพ.ศ. 2558 โรสแมรี่ ได้กลับมาอีกครั้ง เธอได้ขึ้นคอนเสิร์ต "90's Concert First Album กำเนิดอินดี้ รุ่นพี่ออกเทป" เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ร่วมกับ โมเดิร์นด็อก, ป้าง นครินทร์, P.O.P, Friday, Ford & friends, สุกัญญา มิเกล, อัยย์ พรรณี, บานาน่า โบ๊ท, The Must, จุ๊บ วุฒินันต์, อู๋ ธรรพ์ณธร เป็นต้น โดยเธอกลับมาหลังจากที่ห่างหายจากวงการเพลงไปถึง 15 ปี ด้านชีวิตส่วนตัว เธอเป็นซิงเกิ้ลมัม โดยมีบุตรชาย 1 คน คือ "น้องดาวเหนือ" ปัจจุบันโรสแมรี่ผันตัวเองด้วยการลงทุนทำอาชีพเสริมด้วยการขายเครป ใช้ชื่อว่า ร้านเครปดาวเหนือ ,การศึกษา การศึกษา. โรสแมรี่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนสาธรวิทยา ต่อระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนพระแม่มารี และเคยศึกษาระดับปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ แต่ไม่จบการศึกษาผลงานผลงานเพลงซิงเกิ้ลผลงาน. ซิงเกิ้ล. - เพลง "ตราบ" ศิลปิน เยื้อง Gentleman (โรสแมรี่มีส่วนร่วมในการ Featuring) ปี 2558สตูลดิโออัลบั้มอัลบั้มพิเศษอัลบั้มพิเศษ. - อัลบั้ม "บทเพลงจากหัวใจ Love 1997" เพลงที่ขับร้อง ใจเป็นของเธอ (2540)ละครโทรทัศน์ละครโทรทัศน์. - 2537 ละครเรื่อง แม่เลี้ยงต่างดาว ทางช่อง 3 - 2541 ละครเรื่อง หัวใจทระนง ทางช่อง 5มิวสิควีดีโอมิวสิควีดีโอ. - เพลง "คิดถึงเธอ" ของ แร็พเตอร์ - เพลง "หลอกเด็ก" ของ ยุ้ย ปัทมวรรณ เค้ามูลคดีคอนเสิร์ตคอนเสิร์ต. - คอนเสิร์ต "Concert Earthday โลกสวยด้วยมือเรา" ร่วมกับศิลปินสังกักจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ (พ.ศ. 2542) - คอนเสิร์ต " 90's Concert First Album 'กำเนิดอินดี้ รุ่นพี่ออกเทป' " (วันที่แสดง: วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม 2558)ผลงานอื่นๆผลงานอื่นๆ. - ถ่ายโฆษณา โอเลย์ - ถ่ายแบบนิตยสาร
| โรสแมรี่ คาฮันดิงเป็นศิลปินชาวไทย มีลูกชายชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"น้องดาวเหนือ"
],
"answer_begin_position": [
1972
],
"answer_end_position": [
1984
]
} |
401 | 284,891 | วัดเขาจีนแล วัดเขาจีนแล เป็นวัดในจังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่ที่ ตำบลนิคมสร้างตนเอง อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่หุบเขาจีนแลในท้องที่ ต.นิคมสร้างตนเอง อ.เมือง จ.ลพบุรี อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดลพบุรีประมาณ 18 กิโลเมตร การคมนาคมสะดวกทั้งปี อยู่ใกล้กับอ่างเก็บน้ำซับเหล็ก แต่เดิมบริเวณวัดนี้เป็นป่าทึบเต็มไปด้วยป่าไผ่ หลวงพ่อลี (พระครูอุบาลี ธรรมาจารย์) ได้เดินธุดงค์มาถึงที่นี่ เห็นภูมิประเทศเหมาะสมดี จึงหยุดยั้งอยู่และตั้งสำนักสงฆ์ขึ้น วัดเขาจียแลนี้เป็น สถานที่สงบร่มรื่นธรรมชาติสวยงามเพราะตั้งอยู่กลางหุบเขา ภูเขาล้อมรอบทั้งสี่ด้าน พระพุทธรูปสำคัญ 2 องค์ คือ พระพุทธรูปใหญ่ ที่หลวงพ่อลีสร้าง และพระพุทธรูปที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสร้างถวายซึ่งประดิษฐานอยู่บนยอดเขา ที่วัด แห่งนี้เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการไปเที่ยวพักผ่อนชมธรรมชาติหรือไปแสวงบุญ มีโบสถ์รูปร่างแปลกสวยงามสำหรับให้บำเพ็ญธรรม มีสำนักชีคอยบริการให้ความสะดวกแก่ผู้ไปเที่ยวและไปทำบุญและยังมีหอสมุดของวัดซึ่งมีหนังสือธรรมะต่าง ๆ มากมายไว้บริการ เวฬุวันหรือวัดเขาจีนแล เมื่อผ่านทุ่งทานตะวันไปแล้ว ก็จะตรงเข้าสู่เขตวัดเขาจีนแล โดยจะผ่านเข้าปากหนุมาน ที่อ้าปากทำเป็นซุ้มประตูรอรับศรัทธาที่จะมายังวัด สมกับที่ได้ชื่อว่าลพบุรีเป็นเมืองหนุมาน ผ่านเข้าปากหนุมานไปแล้ว ถนนก็ยังคงดิ่งสู่เชิงเขาเรื่อยไป วัดจะตั้งอยู่ในพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่เชิงเขาหรือบนเขา สร้างไว้สวย มีบันไดสำหรับทางขึ้นเขาจำนวน 439 ขั้น
| วัดเขาจีนแล ตั้งอยู่ที่ตำบลนิคมสร้างตนเอง อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดอะไร | {
"answer": [
"จังหวัดลพบุรี"
],
"answer_begin_position": [
181
],
"answer_end_position": [
194
]
} |
1,670 | 284,891 | วัดเขาจีนแล วัดเขาจีนแล เป็นวัดในจังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่ที่ ตำบลนิคมสร้างตนเอง อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่หุบเขาจีนแลในท้องที่ ต.นิคมสร้างตนเอง อ.เมือง จ.ลพบุรี อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดลพบุรีประมาณ 18 กิโลเมตร การคมนาคมสะดวกทั้งปี อยู่ใกล้กับอ่างเก็บน้ำซับเหล็ก แต่เดิมบริเวณวัดนี้เป็นป่าทึบเต็มไปด้วยป่าไผ่ หลวงพ่อลี (พระครูอุบาลี ธรรมาจารย์) ได้เดินธุดงค์มาถึงที่นี่ เห็นภูมิประเทศเหมาะสมดี จึงหยุดยั้งอยู่และตั้งสำนักสงฆ์ขึ้น วัดเขาจียแลนี้เป็น สถานที่สงบร่มรื่นธรรมชาติสวยงามเพราะตั้งอยู่กลางหุบเขา ภูเขาล้อมรอบทั้งสี่ด้าน พระพุทธรูปสำคัญ 2 องค์ คือ พระพุทธรูปใหญ่ ที่หลวงพ่อลีสร้าง และพระพุทธรูปที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสร้างถวายซึ่งประดิษฐานอยู่บนยอดเขา ที่วัด แห่งนี้เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการไปเที่ยวพักผ่อนชมธรรมชาติหรือไปแสวงบุญ มีโบสถ์รูปร่างแปลกสวยงามสำหรับให้บำเพ็ญธรรม มีสำนักชีคอยบริการให้ความสะดวกแก่ผู้ไปเที่ยวและไปทำบุญและยังมีหอสมุดของวัดซึ่งมีหนังสือธรรมะต่าง ๆ มากมายไว้บริการ เวฬุวันหรือวัดเขาจีนแล เมื่อผ่านทุ่งทานตะวันไปแล้ว ก็จะตรงเข้าสู่เขตวัดเขาจีนแล โดยจะผ่านเข้าปากหนุมาน ที่อ้าปากทำเป็นซุ้มประตูรอรับศรัทธาที่จะมายังวัด สมกับที่ได้ชื่อว่าลพบุรีเป็นเมืองหนุมาน ผ่านเข้าปากหนุมานไปแล้ว ถนนก็ยังคงดิ่งสู่เชิงเขาเรื่อยไป วัดจะตั้งอยู่ในพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่เชิงเขาหรือบนเขา สร้างไว้สวย มีบันไดสำหรับทางขึ้นเขาจำนวน 439 ขั้น
| บันไดทางขึ้นวัดเขาจีนแล ตั้งอยู่ที่ตำบลนิคมสร้างตนเอง อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี มีทั้งหมดกี่ขั้น | {
"answer": [
"439 ขั้น"
],
"answer_begin_position": [
1356
],
"answer_end_position": [
1364
]
} |
402 | 122,310 | อาเรซีโบ อาเรซีโบ () เป็นจังหวัดหนึ่งใน 78 จังหวัดทางตอนเหนือของเปอร์โตริโก ตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศเหนือค่อนไปทางทิศตะวันตกของเกาะเปอร์โตริโก ห่างจากซานฮวน เมืองหลวงของเปอร์โตริโก ประมาณ 80 กิโลเมตร ชาวสเปนเริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานที่นี่ตั้งแต่ พ.ศ. 2099 และก่อตั้งเป็นเมืองอย่างเป็นทางการในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2159 อาเรซีโบเป็นที่ตั้งของหอดูดาวอาเรซีโบ ซึ่งเป็นกล้องโทรทรรศน์วิทยุเดี่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลก
| หอดูดาวที่มีกล้องโทรทรรศน์วิทยุเดี่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ที่จังหวัดใดในเปอร์โตริโก | {
"answer": [
"อาเรซีโบ"
],
"answer_begin_position": [
445
],
"answer_end_position": [
453
]
} |
1,627 | 122,310 | อาเรซีโบ อาเรซีโบ () เป็นจังหวัดหนึ่งใน 78 จังหวัดทางตอนเหนือของเปอร์โตริโก ตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศเหนือค่อนไปทางทิศตะวันตกของเกาะเปอร์โตริโก ห่างจากซานฮวน เมืองหลวงของเปอร์โตริโก ประมาณ 80 กิโลเมตร ชาวสเปนเริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานที่นี่ตั้งแต่ พ.ศ. 2099 และก่อตั้งเป็นเมืองอย่างเป็นทางการในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2159 อาเรซีโบเป็นที่ตั้งของหอดูดาวอาเรซีโบ ซึ่งเป็นกล้องโทรทรรศน์วิทยุเดี่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลก
| อาเรซีโบ อยู่ห่างจากซานฮวน เมืองหลวงของเปอร์โตริโก ประมาณกี่กิโลเมตร | {
"answer": [
"80 กิโลเมตร"
],
"answer_begin_position": [
288
],
"answer_end_position": [
299
]
} |
403 | 151,168 | บุญส่ง เทพพิมล นายบุญส่ง เทพพิมล เป็นหัวหน้าคณะมวย ณ ศรีวิชัย ซึ่งสืบสายเลือดมาจากเต็ง เทพพิมล และเป็นหลานของนุช เทพพิมล นักมวยชื่อดังของไชยา รวมทั้งเป็นหลานของตาเริก อดีตนายกองมวยบ้านวียง นักชกผู้นี้เคยต่อกรกับไอ้ยางตัน ทองใบ ยนตรกิจมาแล้ว บุญส่งเป็นบุตรแม่เอียด เทพพิมล ที่บ้านเวียง ตำบลตลาด เคยฝึกมวยตั้งแต่อายุประมาณ 16-17 ปี เคยชกมาไม่น้อยกว่า 90 ครั้ง โดยตระเวนชกตั้งแต่ชุมพรตลอดภาคใต้เขาเคยพิชิตไอ้ลิงดำ นบ ชมศรีเมฆ เป็นประวัติการณ์เพียงในยกแรก และหมัดแรก ท่ามกลางความตกตลึงพรึงเพริดของบรรดาผู้ไม่เคยคาดคิด นายนบ หรือลิงดำโซเซลุกขึ้นได้ ขณะที่ผู้ตัดสินนับยังไม่ถึงแปด นบลุกขึ้นมามิใช่เพื่อต่อสู้กับนายบุญส่ง เขาลุกขึ้นมายืนด้วยขาสั่นเทา หมัดห้อยข้างลำตัว ตาลอย แสยะปากเห็นฟันขาว เพื่อรับหมัดเหวี่ยงควายเข้าปุ่มแอก แล้วล้มตึงคว่ำหน้าไม่ไหวติงอีกเลย นายนบ ชมศรีเมฆ อ้ายลิงดำจอมทรหด ซึ่งมวยไทย และมวยเทศสมัยเป็นสวนสนุก ไม่เคยมีใครทำให้เขาหมอบได้เลย ต้องหมอบด้วยฝีมือนายแผลด หรือบุญส่ง เทพพิมล เมื่อกลับเข้ากรุงเทพฯ นายนบ ชมศรีเมฆ ต้องผละจากอาชีพการชกมวย เพราะเสียคนด้วยโรคเมาหมัดและอายุสั้น นอกจากนั้น นายบุญส่ง เทพพิมล ยังเคยชนะแก้ว เลือดเมืองกาญจน์, ปฐม บุญยเกียรติ เคยเสมอกับ อุดม สุขเลิศ และผลัดแพ้ผลัดชนะกับ อารีย์ แม่นดี แห่งเมืองสงขลา ถึง 6 ครั้ง ปัจจุบันอายุ 66 ปี ตั้งบ้านเรือนอยู่บ้านเลขที่ 43 หมู่ที่ 4 ต.ตลาด มีชีวิตอยู่อย่างสงบและสุขสบาย
| แม่ของบุญส่ง เทพพิมล คือใคร | {
"answer": [
"แม่เอียด เทพพิมล"
],
"answer_begin_position": [
344
],
"answer_end_position": [
360
]
} |
1,640 | 151,168 | บุญส่ง เทพพิมล นายบุญส่ง เทพพิมล เป็นหัวหน้าคณะมวย ณ ศรีวิชัย ซึ่งสืบสายเลือดมาจากเต็ง เทพพิมล และเป็นหลานของนุช เทพพิมล นักมวยชื่อดังของไชยา รวมทั้งเป็นหลานของตาเริก อดีตนายกองมวยบ้านวียง นักชกผู้นี้เคยต่อกรกับไอ้ยางตัน ทองใบ ยนตรกิจมาแล้ว บุญส่งเป็นบุตรแม่เอียด เทพพิมล ที่บ้านเวียง ตำบลตลาด เคยฝึกมวยตั้งแต่อายุประมาณ 16-17 ปี เคยชกมาไม่น้อยกว่า 90 ครั้ง โดยตระเวนชกตั้งแต่ชุมพรตลอดภาคใต้เขาเคยพิชิตไอ้ลิงดำ นบ ชมศรีเมฆ เป็นประวัติการณ์เพียงในยกแรก และหมัดแรก ท่ามกลางความตกตลึงพรึงเพริดของบรรดาผู้ไม่เคยคาดคิด นายนบ หรือลิงดำโซเซลุกขึ้นได้ ขณะที่ผู้ตัดสินนับยังไม่ถึงแปด นบลุกขึ้นมามิใช่เพื่อต่อสู้กับนายบุญส่ง เขาลุกขึ้นมายืนด้วยขาสั่นเทา หมัดห้อยข้างลำตัว ตาลอย แสยะปากเห็นฟันขาว เพื่อรับหมัดเหวี่ยงควายเข้าปุ่มแอก แล้วล้มตึงคว่ำหน้าไม่ไหวติงอีกเลย นายนบ ชมศรีเมฆ อ้ายลิงดำจอมทรหด ซึ่งมวยไทย และมวยเทศสมัยเป็นสวนสนุก ไม่เคยมีใครทำให้เขาหมอบได้เลย ต้องหมอบด้วยฝีมือนายแผลด หรือบุญส่ง เทพพิมล เมื่อกลับเข้ากรุงเทพฯ นายนบ ชมศรีเมฆ ต้องผละจากอาชีพการชกมวย เพราะเสียคนด้วยโรคเมาหมัดและอายุสั้น นอกจากนั้น นายบุญส่ง เทพพิมล ยังเคยชนะแก้ว เลือดเมืองกาญจน์, ปฐม บุญยเกียรติ เคยเสมอกับ อุดม สุขเลิศ และผลัดแพ้ผลัดชนะกับ อารีย์ แม่นดี แห่งเมืองสงขลา ถึง 6 ครั้ง ปัจจุบันอายุ 66 ปี ตั้งบ้านเรือนอยู่บ้านเลขที่ 43 หมู่ที่ 4 ต.ตลาด มีชีวิตอยู่อย่างสงบและสุขสบาย
| บุญส่ง เทพพิมล เคยชกมวยมาไม่น้อยกว่ากี่ครั้ง | {
"answer": [
"90 ครั้ง"
],
"answer_begin_position": [
438
],
"answer_end_position": [
446
]
} |
404 | 617,323 | ซูสีไทเฮา เดอะมิวสิคัล ซูสีไทเฮา เดอะมิวสิคัล เป็นละครเวที โดย The Musicals Society of Bangkok ดัดแปลงจากบทประพันธ์ชื่อเดียวกัน ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชนักแสดงนักแสดง. - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงรับบทเป็น นางนิวฮูลู่ พระมารดาของซูสีไทเฮา - กานดา วิทยานุภาพยืนยง รับบท ซูสีไทเฮา - สุรุจ ทิพากรเสนี รับบท ลีเลียนยิง ขันทีคนสนิทของซูสีไทเฮา - สุวีระ บุญรอด รับบท จักรพรรดิเสียนเฟิง - ภูดิท ขุนชนะสงคราม รับบท ยุงลู - สุดาพิมพ์ โพธิภักติ รับบท ซูอันไทเฮา
| ซูสีไทเฮา เดอะมิวสิคัล เป็นละครเวทีที่ดัดแปลงบทประพันธ์ของใคร | {
"answer": [
"หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช"
],
"answer_begin_position": [
228
],
"answer_end_position": [
255
]
} |
405 | 617,323 | ซูสีไทเฮา เดอะมิวสิคัล ซูสีไทเฮา เดอะมิวสิคัล เป็นละครเวที โดย The Musicals Society of Bangkok ดัดแปลงจากบทประพันธ์ชื่อเดียวกัน ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชนักแสดงนักแสดง. - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงรับบทเป็น นางนิวฮูลู่ พระมารดาของซูสีไทเฮา - กานดา วิทยานุภาพยืนยง รับบท ซูสีไทเฮา - สุรุจ ทิพากรเสนี รับบท ลีเลียนยิง ขันทีคนสนิทของซูสีไทเฮา - สุวีระ บุญรอด รับบท จักรพรรดิเสียนเฟิง - ภูดิท ขุนชนะสงคราม รับบท ยุงลู - สุดาพิมพ์ โพธิภักติ รับบท ซูอันไทเฮา
| ผู้ที่รับบทเป็นซูสีไทเฮาในละครเวทีเรื่องซูสีไทเฮา เดอะมิวสิคัล คือใคร | {
"answer": [
"กานดา วิทยานุภาพยืนยง"
],
"answer_begin_position": [
378
],
"answer_end_position": [
399
]
} |
406 | 273,151 | อาเมเรีย จาคอป อาเมเรีย จาคอป (10 ตุลาคม พ.ศ. 2531 — ) เป็นนักแสดงและผู้ชนะการประกวดมิสทีนไทยแลนด์ ปี 2006 มีผลงานภาพยนตร์เรื่อง เดอะกิ๊ก 2 และแสดงนำในละครช่อง 7 สีเรื่อง ธิดาวานร และ ธิดาวานรภาค 2 จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนสตรีภูเก็ต และสำเร็จการศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก เป็นลูกครึ่งไทย-ฮอลแลนด์ชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. เอมี่ ถือได้ว่าเป็นชาวภูเก็ตโดยกำเนิด เพราะเธอเติบโตและศึกษาเล่าเรียนอยู่ที่นั่น และครอบครัวยังทำธุรกิจส่วนตัวด้วยการเปิดโรงแรมอยู่ที่หาดกมลา จังหวัดภูเก็ต ส่วนการก้าวเข้ามาในวงการบันเทิงนั้น เธอแจ้งเกิดมาจากเวทีการประกวดมิสทีนไทยแลนด์ จากคำชักชวนของเพื่อน ๆ บวกกับการอยากเข้ามาทำงานในวงการบันเทิง จึงทำให้เธอตัดสินใจเข้าประกวด และท้ายที่สุดเธอก็สามารถคว้าตำแหน่งมิสทีนไทยแลนด์ ปี 2006 มาครองได้สำเร็จ ปี 2556 กลับหวนคืนจอละครอีกครั้ง สำหรับสาว "'เอมี่ อาเมเรีย จาคอป"' หลังจากหายหน้าหายตาไปเรียน พร้อมทั้งช่วยธุรกิจที่บ้าน ล่าสุดเจ้าตัวก็ออกมาบอกว่าไม่ได้ต่อสัญญากับช่อง 7 แล้ว เพราะทำใจผู้ใหญ่ดันเด็กใหม่มากกว่า กลับมาเล่นละครอีกครั้ง ห่างไปปี 1 ปี 2557 อาเมเรีย จาคอป ได้เซ็นสัญญากับค่ายบรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น เป็นเวลา 5 ปี แต่เธอก็ต้องถูกต้นสังกัดยกเลิกสัญญาในวันที่ 20 กันยายน 2560 เนื่องจากเธอถูกตำรวจจับกุมเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2560 ในคดียาเสพติดข้อหาเสพยาไอซ์ วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2560 เอมี่ถูกตำรวจจับกุมพร้อมกับแฟนหนุ่มของเธอในข้อหาเสพยาไอซ์ และมียาเสพติดไว้ในครอบครองผลงานละครโทรทัศน์ผลงาน. ละครโทรทัศน์. - ละครโทรทัศน์ทั้งหมดด้านล่างนี้ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 - ละครโทรทัศน์ทั้งหมดด้านล่างนี้ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3- ละครโทรทัศน์ทั้งหมดด้านล่างนี้ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5ผลงานละครสั้นผลงานละครสั้น. - พ.ศ. 2555 ฟ้ามีตา ตอน ทำไมต้องเธอ ช่อง 7ภาพยนตร์รางวัลที่ได้รับรางวัลที่ได้รับ. - มิสทีนไทยแลนด์ ปี 2006 - ท็อปอวอร์ด 2008 สาขาดาวรุ่งหญิงยอดเยี่ยม - พ.ศ. 2560 – รางวัลสยามมโนรีและอภิชาตบุตร จากสภาศิลปวัฒนธรรมจิตตานุภาพ
| อาเมเรีย จาคอปได้ตำแหน่งมิสทีนไทยแลนด์ ปี 2006 บ้านเกิดอยู่ในจังหวัดใด | {
"answer": [
"ภูเก็ต"
],
"answer_begin_position": [
451
],
"answer_end_position": [
457
]
} |
407 | 273,151 | อาเมเรีย จาคอป อาเมเรีย จาคอป (10 ตุลาคม พ.ศ. 2531 — ) เป็นนักแสดงและผู้ชนะการประกวดมิสทีนไทยแลนด์ ปี 2006 มีผลงานภาพยนตร์เรื่อง เดอะกิ๊ก 2 และแสดงนำในละครช่อง 7 สีเรื่อง ธิดาวานร และ ธิดาวานรภาค 2 จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนสตรีภูเก็ต และสำเร็จการศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก เป็นลูกครึ่งไทย-ฮอลแลนด์ชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. เอมี่ ถือได้ว่าเป็นชาวภูเก็ตโดยกำเนิด เพราะเธอเติบโตและศึกษาเล่าเรียนอยู่ที่นั่น และครอบครัวยังทำธุรกิจส่วนตัวด้วยการเปิดโรงแรมอยู่ที่หาดกมลา จังหวัดภูเก็ต ส่วนการก้าวเข้ามาในวงการบันเทิงนั้น เธอแจ้งเกิดมาจากเวทีการประกวดมิสทีนไทยแลนด์ จากคำชักชวนของเพื่อน ๆ บวกกับการอยากเข้ามาทำงานในวงการบันเทิง จึงทำให้เธอตัดสินใจเข้าประกวด และท้ายที่สุดเธอก็สามารถคว้าตำแหน่งมิสทีนไทยแลนด์ ปี 2006 มาครองได้สำเร็จ ปี 2556 กลับหวนคืนจอละครอีกครั้ง สำหรับสาว "'เอมี่ อาเมเรีย จาคอป"' หลังจากหายหน้าหายตาไปเรียน พร้อมทั้งช่วยธุรกิจที่บ้าน ล่าสุดเจ้าตัวก็ออกมาบอกว่าไม่ได้ต่อสัญญากับช่อง 7 แล้ว เพราะทำใจผู้ใหญ่ดันเด็กใหม่มากกว่า กลับมาเล่นละครอีกครั้ง ห่างไปปี 1 ปี 2557 อาเมเรีย จาคอป ได้เซ็นสัญญากับค่ายบรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น เป็นเวลา 5 ปี แต่เธอก็ต้องถูกต้นสังกัดยกเลิกสัญญาในวันที่ 20 กันยายน 2560 เนื่องจากเธอถูกตำรวจจับกุมเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2560 ในคดียาเสพติดข้อหาเสพยาไอซ์ วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2560 เอมี่ถูกตำรวจจับกุมพร้อมกับแฟนหนุ่มของเธอในข้อหาเสพยาไอซ์ และมียาเสพติดไว้ในครอบครองผลงานละครโทรทัศน์ผลงาน. ละครโทรทัศน์. - ละครโทรทัศน์ทั้งหมดด้านล่างนี้ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 - ละครโทรทัศน์ทั้งหมดด้านล่างนี้ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3- ละครโทรทัศน์ทั้งหมดด้านล่างนี้ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5ผลงานละครสั้นผลงานละครสั้น. - พ.ศ. 2555 ฟ้ามีตา ตอน ทำไมต้องเธอ ช่อง 7ภาพยนตร์รางวัลที่ได้รับรางวัลที่ได้รับ. - มิสทีนไทยแลนด์ ปี 2006 - ท็อปอวอร์ด 2008 สาขาดาวรุ่งหญิงยอดเยี่ยม - พ.ศ. 2560 – รางวัลสยามมโนรีและอภิชาตบุตร จากสภาศิลปวัฒนธรรมจิตตานุภาพ
| อาเมเรีย จาคอป ผู้ชนะการประกวดมิสทีนไทยแลนด์ ปี 2006 ถูกจับกุมในคดีอะไร | {
"answer": [
"คดียาเสพติด"
],
"answer_begin_position": [
1274
],
"answer_end_position": [
1285
]
} |
408 | 20,503 | วัดพระศรีสรรเพชญ์ วัดพระศรีสรรเพชญ์ หรือ วัดพระศรีสรรเพชญ เป็นอดีตวัดหลวงประจำพระราชวังโบราณ อยุธยา ตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตรในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สร้างชึ้นราวปี พ.ศ. 1991 โดยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ วัดพระศรีสรรเพชญ์ มีจุดที่น่าสนใจที่สำคัญคือเจดีย์ทรงลังกา จำนวนสามองค์ที่วางตัวเรียงยาวตลอดทิศตะวันออกและทิศตะวันตก สร้างขึ้นเป็นองค์แรกทางฝั่งตะวันออก เมื่อปี พ.ศ. 2035 โดยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พระราชบิดา) ต่อมาในปี พ.ศ. 2042 ก็ทรงให้สร้างเจดีย์องค์ต่อมา (องค์กลาง) ของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (พระเชษฐาต่างพระมารดาของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2) และเจดีย์ฝั่งตะวันตกของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 และในรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 ก็ทรงสร้างเจดีย์อีกองค์ในฝั่งทิศตะวันตกให้ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 พระราชบิดา รวมเป็นสามองค์ตามปัจจุบัน วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็นวัดประจำวังที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา แตกต่างจากวัดมหาธาตุ สุโขทัย ที่มีพระสงฆ์จำพรรษา จึงกลายเป็นต้นแบบของ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง ที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา ในเวลาต่อมาประวัติ ประวัติ. วัดพระศรีสรรเพชญ์ เดิมในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ใช้เป็นที่ประทับ ต่อมาสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงสร้างพระราชมณเฑียรขึ้นใหม่ทางตอนเหนือ แล้วจึงโปรดฯให้ยกเป็นเขตพุทธาวาส เพื่อประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ของบ้านเมือง จึงเป็นวัดในเขตพระราชวังที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา แตกต่างกับวัดมหาธาตุสุโขทัย ที่มีพระสงฆ์จำพรรษา ทั้งวัดมหาธาตุ สุโขทัย วัดพระศรีสรรเพชญ์ อยุธยา และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่างก็ถูกสถาปนาขึ้นในมูลเหตุการสร้างวัดเดียวกันนั่นคือสร้างเพื่อเป็นวัดประจำพระราชวัง ต่อมาในปี พ.ศ. 2035 รัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระสถูปเจดีย์องค์ตะวันออก เพื่อบรรจุพระอัฐิของพระราชบิดา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และพระสถูปเจดีย์องค์กลางเพื่อบรรจุพระอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 ผู้เป็นพระเชษฐา หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2042 พระองค์โปรดให้สร้างพระวิหารหลวงขึ้น ในปีต่อมา พ.ศ. 2043 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงสร้างพระวิหาร ทรงหล่อพระพุทธรูป ยืนสูง 8 วา (ประมาณ 16 เมตร) หุ้มด้วยทองคำหนัก 286 ชั่ง (ประมาณ 171 กิโลกรัม) ประดิษฐานไว้ในวิหาร ถวายพระนามว่า พระศรีสรรเพชญดาญาณ ต่อมาในรัชสมัยรัชกาลที่ 1โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายมาประดิษฐานวัดพระเชตุพน และบรรจุชิ้นส่วนซึ่งบูรณะไม่ได้เหล่านั้นไว้ในเจดีย์องค์ใหญ่ที่สร้างขึ้นแล้วพระราชทานชื่อเจดีย์ว่า เจดีย์ศรีสรรเพชญดาญาณ เจดีย์องค์ที่ 3 ถัดมาจากด้านทิศตะวันตกเป็น เจดีย์บรรจุพระอัฐิ ของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ซึ่งสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4(พระหน่อพุทธางกูร) พระราชโอรสได้โปรดให้สร้างขึ้น เจดีย์ทั้งสามองค์นี้เป็นเจดีย์แบบลังกา ในรัชสมัยพระเจ้าทรงธรรมพระองค์โปรดเกล้าฯให้สร้าง พระที่นั่งจอมทอง ตั้งอยู่ใกล้ๆ กำแพงทางด้านติดกับ วิหารพระมงคลบพิตร เพื่อให้เป็นสถานที่ให้พระสงฆ์บอกเล่าหนังสือพระสงฆ์ ราวรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีการบูรณะปฏิสังขรณ์วัดหลวงแห่งนี้เป็นครั้งแรก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระยาโบราณราชธานินทร์ สมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่าได้ดำเนิน การขุดสมบัติจากกรุภายในเจดีย์ พบพระพุทธรูป เครื่องทอง มากมาย และในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้มีการบูรณะวัดนี้จนมีสภาพที่เห็นอยู่ในปัจจุบันระเบียงภาพ
| วัดพระศรีสรรเพชญ์ ตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา เดิมเป็นที่ประทับของกษัตริย์พระองค์ใด | {
"answer": [
"สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1"
],
"answer_begin_position": [
1209
],
"answer_end_position": [
1232
]
} |
1,607 | 20,503 | วัดพระศรีสรรเพชญ์ วัดพระศรีสรรเพชญ์ หรือ วัดพระศรีสรรเพชญ เป็นอดีตวัดหลวงประจำพระราชวังโบราณ อยุธยา ตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตรในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สร้างชึ้นราวปี พ.ศ. 1991 โดยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ วัดพระศรีสรรเพชญ์ มีจุดที่น่าสนใจที่สำคัญคือเจดีย์ทรงลังกา จำนวนสามองค์ที่วางตัวเรียงยาวตลอดทิศตะวันออกและทิศตะวันตก สร้างขึ้นเป็นองค์แรกทางฝั่งตะวันออก เมื่อปี พ.ศ. 2035 โดยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พระราชบิดา) ต่อมาในปี พ.ศ. 2042 ก็ทรงให้สร้างเจดีย์องค์ต่อมา (องค์กลาง) ของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 (พระเชษฐาต่างพระมารดาของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2) และเจดีย์ฝั่งตะวันตกของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 และในรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 ก็ทรงสร้างเจดีย์อีกองค์ในฝั่งทิศตะวันตกให้ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 พระราชบิดา รวมเป็นสามองค์ตามปัจจุบัน วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็นวัดประจำวังที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา แตกต่างจากวัดมหาธาตุ สุโขทัย ที่มีพระสงฆ์จำพรรษา จึงกลายเป็นต้นแบบของ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง ที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา ในเวลาต่อมาประวัติ ประวัติ. วัดพระศรีสรรเพชญ์ เดิมในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ใช้เป็นที่ประทับ ต่อมาสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงสร้างพระราชมณเฑียรขึ้นใหม่ทางตอนเหนือ แล้วจึงโปรดฯให้ยกเป็นเขตพุทธาวาส เพื่อประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ของบ้านเมือง จึงเป็นวัดในเขตพระราชวังที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา แตกต่างกับวัดมหาธาตุสุโขทัย ที่มีพระสงฆ์จำพรรษา ทั้งวัดมหาธาตุ สุโขทัย วัดพระศรีสรรเพชญ์ อยุธยา และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่างก็ถูกสถาปนาขึ้นในมูลเหตุการสร้างวัดเดียวกันนั่นคือสร้างเพื่อเป็นวัดประจำพระราชวัง ต่อมาในปี พ.ศ. 2035 รัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระสถูปเจดีย์องค์ตะวันออก เพื่อบรรจุพระอัฐิของพระราชบิดา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และพระสถูปเจดีย์องค์กลางเพื่อบรรจุพระอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 ผู้เป็นพระเชษฐา หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2042 พระองค์โปรดให้สร้างพระวิหารหลวงขึ้น ในปีต่อมา พ.ศ. 2043 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงสร้างพระวิหาร ทรงหล่อพระพุทธรูป ยืนสูง 8 วา (ประมาณ 16 เมตร) หุ้มด้วยทองคำหนัก 286 ชั่ง (ประมาณ 171 กิโลกรัม) ประดิษฐานไว้ในวิหาร ถวายพระนามว่า พระศรีสรรเพชญดาญาณ ต่อมาในรัชสมัยรัชกาลที่ 1โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายมาประดิษฐานวัดพระเชตุพน และบรรจุชิ้นส่วนซึ่งบูรณะไม่ได้เหล่านั้นไว้ในเจดีย์องค์ใหญ่ที่สร้างขึ้นแล้วพระราชทานชื่อเจดีย์ว่า เจดีย์ศรีสรรเพชญดาญาณ เจดีย์องค์ที่ 3 ถัดมาจากด้านทิศตะวันตกเป็น เจดีย์บรรจุพระอัฐิ ของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ซึ่งสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4(พระหน่อพุทธางกูร) พระราชโอรสได้โปรดให้สร้างขึ้น เจดีย์ทั้งสามองค์นี้เป็นเจดีย์แบบลังกา ในรัชสมัยพระเจ้าทรงธรรมพระองค์โปรดเกล้าฯให้สร้าง พระที่นั่งจอมทอง ตั้งอยู่ใกล้ๆ กำแพงทางด้านติดกับ วิหารพระมงคลบพิตร เพื่อให้เป็นสถานที่ให้พระสงฆ์บอกเล่าหนังสือพระสงฆ์ ราวรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีการบูรณะปฏิสังขรณ์วัดหลวงแห่งนี้เป็นครั้งแรก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระยาโบราณราชธานินทร์ สมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่าได้ดำเนิน การขุดสมบัติจากกรุภายในเจดีย์ พบพระพุทธรูป เครื่องทอง มากมาย และในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้มีการบูรณะวัดนี้จนมีสภาพที่เห็นอยู่ในปัจจุบันระเบียงภาพ
| วัดพระศรีสรรเพชญ์ ตั้งอยู่ในอำเภอใดของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา | {
"answer": [
"พระนครศรีอยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
219
],
"answer_end_position": [
234
]
} |
409 | 412,967 | รูดอล์ฟ เชงเคอร์ รูดอล์ฟ เชงเคอร์ () เกิดวันที่ 31 สิงหาคม 1948 ที่ฮันโนเวอร์ ประเทศเยอรมัน เขาเป็นมือกีต้าร์เยอรมันและสมาชิกผู้ก่อตั้งวงเฮฟวี่เมทัล วงสกอร์เปียนส์ เขาเป็นมือกีตาร์และนักแต่งเพลงหลักของวง เขาตั้งวงเมื่อปี 1965 ในขณะที่เขาอายุ 17 ปี หลังจากเริ่มฝึกโดย Fender Stratocaster เขาเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีในตำแหน่ง กีตาร์ไฟฟ้า และกีตาร์โปร่งของวง ในการให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับอัลบั้ม 'World Wide Live' เขากล่าวว่าเป้าหมายของเขาไม่ได้ที่จะกลายเป็นมือกีต้าร์ที่ดีที่สุดหรือเก่งที่สุด แต่ต้องการที่จะเป็นนักแต่งเพลงที่ดีที่สุด ในที่สุดวงสกอร์เปียนส์ก็ได้มือกีตาร์ฝีมือดีคือ Matthias Jabs มาเล่นโดยมีข้อแม้ว่าทุกเพลงที่เล่นจะต้องให้ตนเป็นผู้โซโลกีตาร์ เช่นเพลง"Wind of Change""Always Somewhere", "Still Loving You", "As Soon as the Good Times Roll", "Through My Eyes" "Coast to Coast" และ "Big City Nights" น้องชายของเขา Michael Schenker ที่เป็นสมาชิกของวงสกอร์เปียนส์ตั้งแต่แรกเริ่ม ก่อนที่จะออกจากวงเพื่อไปเล่นกีตาร์ให้กับวงUFO ในปี 2000เขาได้รับรางวัลเมืองที่เมืองฮันโนเวอร์คือแผ่นเสียงทองคำอีกด้วย
| ประเทศบ้านเกิดของรูดอล์ฟ เชงเคอร์สมาชิกผู้ก่อตั้งวงเฮฟวี่เมทัล คือประเทศอะไร | {
"answer": [
"ประเทศเยอรมัน"
],
"answer_begin_position": [
169
],
"answer_end_position": [
182
]
} |
1,686 | 412,967 | รูดอล์ฟ เชงเคอร์ รูดอล์ฟ เชงเคอร์ () เกิดวันที่ 31 สิงหาคม 1948 ที่ฮันโนเวอร์ ประเทศเยอรมัน เขาเป็นมือกีต้าร์เยอรมันและสมาชิกผู้ก่อตั้งวงเฮฟวี่เมทัล วงสกอร์เปียนส์ เขาเป็นมือกีตาร์และนักแต่งเพลงหลักของวง เขาตั้งวงเมื่อปี 1965 ในขณะที่เขาอายุ 17 ปี หลังจากเริ่มฝึกโดย Fender Stratocaster เขาเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีในตำแหน่ง กีตาร์ไฟฟ้า และกีตาร์โปร่งของวง ในการให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับอัลบั้ม 'World Wide Live' เขากล่าวว่าเป้าหมายของเขาไม่ได้ที่จะกลายเป็นมือกีต้าร์ที่ดีที่สุดหรือเก่งที่สุด แต่ต้องการที่จะเป็นนักแต่งเพลงที่ดีที่สุด ในที่สุดวงสกอร์เปียนส์ก็ได้มือกีตาร์ฝีมือดีคือ Matthias Jabs มาเล่นโดยมีข้อแม้ว่าทุกเพลงที่เล่นจะต้องให้ตนเป็นผู้โซโลกีตาร์ เช่นเพลง"Wind of Change""Always Somewhere", "Still Loving You", "As Soon as the Good Times Roll", "Through My Eyes" "Coast to Coast" และ "Big City Nights" น้องชายของเขา Michael Schenker ที่เป็นสมาชิกของวงสกอร์เปียนส์ตั้งแต่แรกเริ่ม ก่อนที่จะออกจากวงเพื่อไปเล่นกีตาร์ให้กับวงUFO ในปี 2000เขาได้รับรางวัลเมืองที่เมืองฮันโนเวอร์คือแผ่นเสียงทองคำอีกด้วย
| รูดอล์ฟ เชงเคอร์เป็นมือกีต้าร์ชาวเยอรมันและสมาชิกผู้ก่อตั้งวงเฮฟวี่เมทัล เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"31"
],
"answer_begin_position": [
139
],
"answer_end_position": [
141
]
} |
410 | 28,335 | พระราชวังบางปะอิน พระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับแรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนครนั่นเอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้รกร้างมาระยะหนึ่ง แต่กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งโดยสุนทรภู่ซึ่งได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้างพระที่นั่ง พระตำหนัก และตำหนักต่าง ๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่าง ๆ ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง และยังใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้สุภาพประวัติ ประวัติ. มีเรื่องเล่าว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเอกาทศรถ ยังทรงดำรงพระยศพระมหาอุปราช วันหนึ่งพระองค์ได้เสด็จประพาสทางชลมารค เมื่อถึงบริเวณเกาะบางปะอิน เรือพระที่นั่งถูกพายุใหญ่พัด ทำให้เรือพระที่นั่งล่มลง สมเด็จพระเอกาทศรถทรงว่ายน้ำขึ้นไปบนเกาะนี้ ซึ่งเดิมชื่อ "เกาะบ้านเลน" และประทับอยู่กับชาวบ้าน ในระหว่างประทับอยู่ ณ ที่นี้ สมเด็จพระเอกาทศรถได้หญิงชาวเกาะเป็นบาทบริจาริกา มีนามว่า "อิน" จึงเป็นเหตุให้คนทั่วไปเรียกเกาะนี้ต่อมาว่า "เกาะบางปะอิน" ต่อมาเมื่อพระองค์จะเสด็จกลับ พระองค์ก็ทรงพานางอินนี้กลับไปกรุงศรีอยุธยาด้วย นางอินผู้นี้จึงเป็นพระสนมในเวลาต่อมา และมีพระราชโอรสด้วยกัน เล่ากันว่าพระราชโอรสพระองค์นั้น คือ สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เมื่อปี พ.ศ. 2175 หลังจากที่สมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงขึ้นครองราชย์แล้ว พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดขึ้นตรงบริเวณนิวาสสถานเดิมของพระมารดา และได้พระราชทานนามว่า "วัดชุมพลนิกายาราม" และได้สร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งเพื่อฉลองการที่พระราชเทวีประสูติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระนารายณ์ราชกุมาร พระราชทานนามว่า "พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์" พระราชวังบางปะอินจึงเป็นสถานที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในฤดูร้อนสืบเนื่องกันมา จนกระทั่ง กรุงศรีอยุธยาได้เสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 ซึ่งทำให้พระราชวังแห่งนี้ถูกปล่อยให้รกร้างไป พระราชวังบางปะอินกลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้ง เมื่อสุนทรภู่ได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี ซึ่งได้เดินทางผ่านพระราชวังบางปะอิน และได้ประพันธ์ถึงพระราชวังแห่งนี้ในนิราศพระบาท ว่า ครั้นมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังกรุงศรีอยุธยา ประพาสผ่านพระราชวังบางปะอิน ทอดพระเนตรเห็นความร่มรื่นโดยรอบเป็นที่ต้องพระราชหฤทัย อีกทั้งยังเป็นเขตพระราชวังเก่าในสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะพระราชวังบางปะอิน โดยสร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งเป็นที่ประทับ เรือนแถวสำหรับเจ้านายฝ่ายในหนึ่งหลัง พลับพลาริมน้ำ และพลับพลากลางเกาะ พร้อมทั้งปฏิสังขรณ์วัดชุมพลนิกายารามขึ้นใหม่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพิจารณาเห็นว่า บางปะอินเป็นเกาะกลางน้ำ มึความเงียบสงบ มีเส้นทางการเดินเรือได้หลายทาง สมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร และเป็นสถานที่เสด็จประพาสของพระบรมชนกนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งและสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ สำหรับแปรพระราชฐานดังที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้บริเวณพระราชวัง บริเวณพระราชวัง. พื้นที่ของพระราชวังบางปะอินนั้น แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่เขตพระราชฐานชั้นนอก เขตพระราชฐานชั้นนอก. เขตพระราชฐานชั้นนอกนั้น เป็นบริเวณที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้สำหรับการออกมหาสมาคมหรือประกอบพระราชพิธีต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย- หอเหมมณเฑียรเทวราช หรือ ศาลพระเจ้าปราสาททอง สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2415 - 2419 มีลักษณะเป็นปรางค์ศิลา ซึ่งจำลองแบบจากปรางค์ขอม ภายในประดิษฐานเทวรูปพระเจ้าปราสาททอง ตั้งอยู่ ณ ริมสระน้ำใต้ต้นโพธิ์ - พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ เป็นพระที่นั่งทรงปราสาทโดยจำลองมาจากพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาทในพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สร้างพระบรมรูปหล่อสำริดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขนาดเท่าพระองค์จริงในฉลองพระองค์เต็มยศจอมพลทหารบกเพื่อนำมาประดิษฐาน ณ พระที่นั่งองค์นี้จนถึงปัจจุบัน - พระที่นั่งวโรภาษพิมาน รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2415 เพื่อใช้เป็นที่เสด็จออกว่าราชการ และใช้เป็นที่ประทับ เป็นตึก 2 ชั้น ศิลปะแบบคอรินเทียนออร์เดอร์ ปัจจุบัน พระที่นั่งองค์นี้ยังใช้เป็นที่ประทับแรมของพระบรมวงศ์เมื่อเสด็จแปรพระราชฐานมาประทับ ณ พระราชวังบางปะอิน - สภาคารราชประยูร เป็นตึกสองชั้น ตั้งอยู่ริมน้ำ รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2419 สำหรับเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ ในรัชกาลที่ 5 สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ และเจ้านายฝ่ายหน้า ปัจจุบัน ใช้เป็นที่แสดงนิทรรศการที่เกี่ยวข้องกับพระราชวังบางปะอิน - กระโจมแตร เป็นกระโจมขนาดกลางแบบ Gazebo สร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวตั้งอยู่เยื้องกับพระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ - เรือนแพพระที่นั่ง รัชกาลที่5ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นเป็นเรือนแพแบบไทยสร้างด้วยไม้สักทองหลังคามุงด้วยจากภายในจัดแบ่งห้องเป็นสัดเป็นส่วนรัชกาลที่5ใช้เป็นที่ประทับพักแรมในการเสด็จประพาสต้นและทรงสำราญพระอิริยาบถทางน้ำ โดยพระองค์เคยประทับเรือนแพพระที่นั่งไปทรงรับพระราชชายาเจ้าดารารัศมีจากเมืองเชียงใหม่ด้วยเขตพระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานชั้นใน. เขตพระราชฐานชั้นใน เชื่อมต่อกับเขตพระราชฐานชั้นนอก ด้วยสะพานที่มีลักษณะพิเศษ คือมีแนวฉากคล้ายบานเกล็ดกั้นกลาง ตลอดแนวสะพาน เพื่อแบ่งเป็นทางเดินของฝ่ายหน้าด้านหนึ่งและฝ่ายในอีกด้านหนึ่ง ซึ่งฝ่ายในสามารถมองลอดออกมาโดยตัวเอง ไม่ถูกแลเห็น สะพานนี้เชื่อมจากพระที่นั่งวโรภาษพิมานกับประตูเทวราชครรไล ซึ่งเป็นประตูทางเข้าพระราชฐานชั้นในซึ่งเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระอัครมเหสี พระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายใน และข้าบาทบริจาริกา ประกอบด้วย- พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร เป็นพระที่นั่งองค์ประธานของพระราชวังบางปะอิน เดิมเป็นเรือนไม้ 2 ชั้น ทาสีเขียวอ่อนและเขียวแก่สลับกัน แต่เกิดไฟไหม้พระที่นั่งทั้งองค์ระหว่างการบูรณะเมื่อปี พ.ศ. 2481 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถจึงได้ขอพระบรมราชานุญาตให้สร้างพระที่นั่งองค์นี้ขึ้นมาใหม่ เพื่อเป็นที่ประทับในการเสด็จแปรพระราชฐาน และรับรองพระราชอาคันตุกะ - หอวิฑูรทัศนา สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 เพื่อใช้เป็นที่ทอดพระเนตรโขลงช้างป่า และภูมิประเทศโดยรอบพระราชวัง เป็นหอสูง 3 ชั้น ทาสีเหลืองสลับแดง - เก๋งบุปผาประพาส สร้างขึ้นในรัชกาลที่5 ทรงใช้เป็นที่พักผ่อนพระราชอิริยาบถภายในพระราชอุทยาน - พระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ เป็นพระที่นั่งองค์สุดท้ายที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 โดยมีรูปแบบสถาปัตยกรรมจีน เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นโดยชาวสยามเชื้อสายจีนฮากกาเพื่อถวายแด่รัชกาลที่ 5 พระที่นั่งองค์นี้ยังใช้ประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้ายจนถึงปัจจุบัน - พระตำหนักฝ่ายใน เป็นหมู่พระตำหนัก ตำหนัก และเรือนของพระบรมวงศ์ฝ่ายใน เป็นอาคารที่มีสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกชั้นเดียว และสองชั้น เรียงรายกัน แต่ในปัจจุบัน ได้มีการรื้อตำหนักลงบางส่วน - อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ เป็นอนุสาวรีย์ที่รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ซึ่งสวรรคตในระหว่างการเสด็จแปรพระราชฐานมายังพระราชวังบางปะอิน - อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ เป็นอนุสาวรีย์ที่รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึง พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง ซึ่งสิ้นพระชนม์ภายในปีเดียวกันประตูในเขตพระราชวัง ประตูในเขตพระราชวัง. พระราชวังบางปะอินมีประตูต่างๆดังนี้- ประตูราชกิจวิวรณ์ - ประตูสาครประพาส - ประตูเทวราชครรไล - ประตูอนงค์ในจรจรัล - ประตูเทวัญสถิต - ประตูสังฆสิทธิภัตรการ - ประตูนงคราญประเวศ - ประตูอัครเรศวรดิษฐ์เหตุการณ์สำคัญกรณีสวรรคตของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี เหตุการณ์สำคัญ. กรณีสวรรคตของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี. สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี เป็นพระราชธิดา ลำดับที่ 50 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบรมราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2423 รัชกาลที่ 5 มีพระบรมราชโองการให้จัดเรือพระที่นั่งเพื่อเสด็จประพาสพระราชวังบางปะอินพร้อมพระมเหสีทุกพระองค์ แต่เนื่องจากพระองค์ทรงติดพระราชกิจ ไม่อาจเสด็จพระราชดำเนินไปตามกำหนดได้ จึงโปรดฯ ให้เรือพระที่นั่งของพระมเหสีเคลื่อนขบวนไปก่อน ระหว่างทางนั้น เรือพระประเทียบของพระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ (พระยศขณะนั้น) ประสบอุบัติเหตุล่ม ทำให้พระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพชรรัตน์ สิ้นพระชนม์ทั้งสองพระองค์ รวมทั้งสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในพระครรภ์ (เวลานั้นทรงพระครรภ์ได้ 5 เดือน) หลังจากนั้น รัชกาลที่ 5 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างอนุสาวรีย์หินอ่อนขึ้น ณ พระราชวังบางปะอิน เพื่อรำลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพชรรัตน์การต้อนรับพระราชอาคันตุกะ การต้อนรับพระราชอาคันตุกะ. พระราชวังบางปะอิน ใช้เป็นที่ต้อนรับพระราชอาคันตุกะหลายพระองค์ โดยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการต้อนรับแกรนด์ดุ๊กซาร์วิตส์แห่งรัสเซีย (พระยศขณะนั้น) ณ พระราชวังบางปะอิน ในระหว่างวันที่ 20 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2434 ซึ่งงานรับเสด็จในครั้งนั้นเป็นงานที่ใหญ่มาก จนกระทั่ง เกิดคำพูดสำหรับคนที่ทำอะไรใหญ่ ๆ โต ๆ ว่า "ยังกับรับซาร์แห่งรัสเซีย" นอกจากนี้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ยังใช้รับรอง และพระราชทานเลี้ยงแก่พระราชอาคันตุกะ อาทิเช่น สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์แห่งประเทศเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก แห่งประเทศเดนมาร์ก อินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก แห่งประเทศสเปน สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าอะกิชิโนะแห่งประเทศญี่ปุ่น เป็นต้นงานบำเพ็ญพระราชกุศลพระศพของพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์ งานบำเพ็ญพระราชกุศลพระศพของพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์ กรมขุนสุพรรณภาควดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประสูติก่อนที่พระองค์จะเสด็จฯ ขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็นพระราชธิดาคู่ทุกข์คู่ยากของรัชกาลที่ 5 หลังจากการทรงกรมเป็น "กรมขุนสุพรรณภาควดี " ได้เพียง 1 ปี ก็สิ้นพระชนม์ รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานบำเพ็ญพระราชกุศล ณ พระราชวังบางปะอิน โดยใช้พระที่นั่งไอสวรรย์ทิพยอาสน์เป็นที่ประดิษฐานพระศพ และโปรดให้จัดงานพระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดนิเวศธรรมประวัติ ซึ่งถือเป็นงานที่ยิ่งใหญ่มาก จนเป็นที่กล่าวขานในหมู่ชาววังว่า ใครไม่ได้มาร่วมงานในครั้งนี้ถือเป็นคนนอกสังคมชาววัง ในระหว่างการจัดงานพระราชทานเพลิงพระศพนั้น สมเด็จเจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร ซึ่งทรงสนิทกับพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์มาก เกิดทรงพระประชวรและสิ้นพระชนม์ ณ วรนาฎเกษมสานต์ ภายในพระราชวังบางปะอินนั่นเอง ซึ่งในนวนิยายเรื่อง สี่แผ่นดิน ได้กล่าวถึงเหตุการณ์ในครั้งนี้ไว้ว่า “เชิญพระศพพระเจ้าลูกเธอพระองค์หนึ่งขึ้นไป แล้วก็กลับต้องเชิญพระศพอีกพระองค์หนึ่งลงมา ”การพระราชพิธีอภิเษกสมรสของเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ การพระราชพิธีอภิเษกสมรสของเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชกรุณาฯ ให้ประกอบพระราชพิธีอภิเษกสมรสของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา (พระยศขณะนั้น) กับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัตน์ (พระยศขณะนั้น) ในวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2461 ณ พระที่นั่งวโรภาษพิมาน พระราชวังบางปะอิน ซึ่งถือเป็นพระราชพิธีอภิเษกสมรสครั้งแรก หลังจากการตรากฎมณเฑียรบาล ว่าด้วยการเสกสมรสแห่งเจ้านายในพระราชวงศ์ ในการเสกสมรสครั้งนี้ เป็นการแต่งงานแบบตะวันตกอย่างแท้จริง กล่าวคือมีการถามความสมัครใจของคู่บ่าวสาว กล่าวกันว่าของชำร่วยในงานเสกสมรสครั้งคือ แหวนเพชรพระราชพิธีสังเวยพระป้าย พระราชพิธีสังเวยพระป้าย. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระป้ายพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์เป็นภาษาจีนโดยให้ประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งอัมพรสถานพระราชวังดุสิต และพระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน เพื่อบูชาบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ต่อมา ในรัชกาลที่ 7 ได้มีการสร้างพระป้ายพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน พระราชพิธีสังเวยพระป้ายนั้น เริ่มมีตั้งแต่ในสมัยรัชกาลที่ 5 การสังเวยพระป้าย ณ พระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน จะกระทำก่อนวันตรุษจีน 1 วัน ซึ่งตรงกับวันไหว้ของจีน โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ มาประกอบพระราชพิธีเป็นประจำทุกปี แต่ในปัจจุบัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชวงศ์เสด็จแทนพระองค์เพื่อประกอบพระราชพิธีการเข้าชม การเข้าชม. ถึงแม้ว่าพระราชวังบางปะอินยังคงใช้เป็นสถานที่เสด็จแปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงเป็นสถานที่ในการประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้ายและต้อนรับพระราชอาคันตุกะ อย่างไรก็ตาม พระราชวังบางปะอินก็ยังเปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้เข้าชมภายในพระราชวังได้ สำหรับพระที่นั่งวโรภาษพิมานนั้น ผู้ชายไม่ควรใส่กางเกงขาสั้น หรือสวมเสื้อที่ไม่สุภาพ สตรีต้องใส่กระโปรงเข้าชมภายในพระที่นั่ง โดยมีบริการให้ยืมเครื่องแต่งกายได้บริเวณอาคารการ์ดทหาร และพระที่นั่งวโรภาษพิมานและพระที่นั่งเวหาศน์จำรูญนั้น มีวิทยากรบรรยายความรู้เกี่ยวกับพระที่นั่งแต่ไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพภายในพระที่นั่ง ส่วนพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรนั้น ไม่อนุญาตให้เข้าชมภายในพระที่นั่งได้ พระราชวังบางปะอิน เปิดให้เข้าชมทุกวันในเวลาระหว่าง 08.00 - 17.00 น. โดยต้องแต่งกายในชุดสุภาพ และขณะเข้าชมผู้ชมไม่ควรส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นการเดินทาง การเดินทาง. การเดินทางมายังพระราชวังบางปะอินนั้น สามารถทำได้หลายทาง เช่น การเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว ถ้ามาจากกรุงเทพฯ ให้มาตามถนนพหลโยธิน เมื่อถึงประตูน้ำพระอินทร์ ให้ข้ามสะพานวงแหวนรอบนอก หลังจากนั้น ให้เลี้ยวซ้ายบริเวณกิโลเมตรที่ 35 สู่ทางหลวงหมายเลข 308 อีกประมาณ 7 กิโลเมตรก็จะถึงพระราชวังบางปะอิน หรืออีกเส้นทางต้องผ่านเข้ามายังตัวเมืองพระนครศรีอยุธยา เมื่อถึงเจดีย์วัดสามปลื้มให้เลี้ยวซ้ายซึ่งจะผ่านวัดใหญ่ชัยมงคลและวัดพนัญเชิง เมื่อถึงสถานีรถไฟบางปะอินให้เลี้ยวขวา แล้วขับไปตามทางจนถึงพระราชวังบางปะอิน การเดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง ถ้ามาจากกรุงเทพฯ สถานีขนส่งสายเหนือ (หมอชิต 2) นั่งรถสายกรุงเทพฯ-บางปะอิน มาลงที่บขส.บางปะอิน (สุดสาย) จากนั้นนั่งรถสามล้อเครื่องไปลงที่พระราชวังบางปะอิน นอกจากนี้ ยังสามารถเดินทางโดยรถไฟ มาลงที่สถานีรถไฟอำเภอบางปะอิน หรือเดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง มาลงที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วต่อรถโดยสารเข้าไปยังพระราชวังบางปะอิน
| พระที่นั่งใดในพระราชวังบางประอินที่ไม่อนุญาตให้เข้าชมภายในพระที่นั่งได้ | {
"answer": [
"พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร"
],
"answer_begin_position": [
5741
],
"answer_end_position": [
5767
]
} |
1,608 | 28,335 | พระราชวังบางปะอิน พระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับแรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนครนั่นเอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้รกร้างมาระยะหนึ่ง แต่กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งโดยสุนทรภู่ซึ่งได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้างพระที่นั่ง พระตำหนัก และตำหนักต่าง ๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่าง ๆ ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง และยังใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้สุภาพประวัติ ประวัติ. มีเรื่องเล่าว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเอกาทศรถ ยังทรงดำรงพระยศพระมหาอุปราช วันหนึ่งพระองค์ได้เสด็จประพาสทางชลมารค เมื่อถึงบริเวณเกาะบางปะอิน เรือพระที่นั่งถูกพายุใหญ่พัด ทำให้เรือพระที่นั่งล่มลง สมเด็จพระเอกาทศรถทรงว่ายน้ำขึ้นไปบนเกาะนี้ ซึ่งเดิมชื่อ "เกาะบ้านเลน" และประทับอยู่กับชาวบ้าน ในระหว่างประทับอยู่ ณ ที่นี้ สมเด็จพระเอกาทศรถได้หญิงชาวเกาะเป็นบาทบริจาริกา มีนามว่า "อิน" จึงเป็นเหตุให้คนทั่วไปเรียกเกาะนี้ต่อมาว่า "เกาะบางปะอิน" ต่อมาเมื่อพระองค์จะเสด็จกลับ พระองค์ก็ทรงพานางอินนี้กลับไปกรุงศรีอยุธยาด้วย นางอินผู้นี้จึงเป็นพระสนมในเวลาต่อมา และมีพระราชโอรสด้วยกัน เล่ากันว่าพระราชโอรสพระองค์นั้น คือ สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เมื่อปี พ.ศ. 2175 หลังจากที่สมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงขึ้นครองราชย์แล้ว พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดขึ้นตรงบริเวณนิวาสสถานเดิมของพระมารดา และได้พระราชทานนามว่า "วัดชุมพลนิกายาราม" และได้สร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งเพื่อฉลองการที่พระราชเทวีประสูติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระนารายณ์ราชกุมาร พระราชทานนามว่า "พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์" พระราชวังบางปะอินจึงเป็นสถานที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในฤดูร้อนสืบเนื่องกันมา จนกระทั่ง กรุงศรีอยุธยาได้เสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 ซึ่งทำให้พระราชวังแห่งนี้ถูกปล่อยให้รกร้างไป พระราชวังบางปะอินกลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้ง เมื่อสุนทรภู่ได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี ซึ่งได้เดินทางผ่านพระราชวังบางปะอิน และได้ประพันธ์ถึงพระราชวังแห่งนี้ในนิราศพระบาท ว่า ครั้นมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังกรุงศรีอยุธยา ประพาสผ่านพระราชวังบางปะอิน ทอดพระเนตรเห็นความร่มรื่นโดยรอบเป็นที่ต้องพระราชหฤทัย อีกทั้งยังเป็นเขตพระราชวังเก่าในสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะพระราชวังบางปะอิน โดยสร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งเป็นที่ประทับ เรือนแถวสำหรับเจ้านายฝ่ายในหนึ่งหลัง พลับพลาริมน้ำ และพลับพลากลางเกาะ พร้อมทั้งปฏิสังขรณ์วัดชุมพลนิกายารามขึ้นใหม่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพิจารณาเห็นว่า บางปะอินเป็นเกาะกลางน้ำ มึความเงียบสงบ มีเส้นทางการเดินเรือได้หลายทาง สมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร และเป็นสถานที่เสด็จประพาสของพระบรมชนกนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งและสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ สำหรับแปรพระราชฐานดังที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้บริเวณพระราชวัง บริเวณพระราชวัง. พื้นที่ของพระราชวังบางปะอินนั้น แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่เขตพระราชฐานชั้นนอก เขตพระราชฐานชั้นนอก. เขตพระราชฐานชั้นนอกนั้น เป็นบริเวณที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้สำหรับการออกมหาสมาคมหรือประกอบพระราชพิธีต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย- หอเหมมณเฑียรเทวราช หรือ ศาลพระเจ้าปราสาททอง สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2415 - 2419 มีลักษณะเป็นปรางค์ศิลา ซึ่งจำลองแบบจากปรางค์ขอม ภายในประดิษฐานเทวรูปพระเจ้าปราสาททอง ตั้งอยู่ ณ ริมสระน้ำใต้ต้นโพธิ์ - พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ เป็นพระที่นั่งทรงปราสาทโดยจำลองมาจากพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาทในพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สร้างพระบรมรูปหล่อสำริดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขนาดเท่าพระองค์จริงในฉลองพระองค์เต็มยศจอมพลทหารบกเพื่อนำมาประดิษฐาน ณ พระที่นั่งองค์นี้จนถึงปัจจุบัน - พระที่นั่งวโรภาษพิมาน รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2415 เพื่อใช้เป็นที่เสด็จออกว่าราชการ และใช้เป็นที่ประทับ เป็นตึก 2 ชั้น ศิลปะแบบคอรินเทียนออร์เดอร์ ปัจจุบัน พระที่นั่งองค์นี้ยังใช้เป็นที่ประทับแรมของพระบรมวงศ์เมื่อเสด็จแปรพระราชฐานมาประทับ ณ พระราชวังบางปะอิน - สภาคารราชประยูร เป็นตึกสองชั้น ตั้งอยู่ริมน้ำ รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2419 สำหรับเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ ในรัชกาลที่ 5 สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ และเจ้านายฝ่ายหน้า ปัจจุบัน ใช้เป็นที่แสดงนิทรรศการที่เกี่ยวข้องกับพระราชวังบางปะอิน - กระโจมแตร เป็นกระโจมขนาดกลางแบบ Gazebo สร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวตั้งอยู่เยื้องกับพระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ - เรือนแพพระที่นั่ง รัชกาลที่5ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นเป็นเรือนแพแบบไทยสร้างด้วยไม้สักทองหลังคามุงด้วยจากภายในจัดแบ่งห้องเป็นสัดเป็นส่วนรัชกาลที่5ใช้เป็นที่ประทับพักแรมในการเสด็จประพาสต้นและทรงสำราญพระอิริยาบถทางน้ำ โดยพระองค์เคยประทับเรือนแพพระที่นั่งไปทรงรับพระราชชายาเจ้าดารารัศมีจากเมืองเชียงใหม่ด้วยเขตพระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานชั้นใน. เขตพระราชฐานชั้นใน เชื่อมต่อกับเขตพระราชฐานชั้นนอก ด้วยสะพานที่มีลักษณะพิเศษ คือมีแนวฉากคล้ายบานเกล็ดกั้นกลาง ตลอดแนวสะพาน เพื่อแบ่งเป็นทางเดินของฝ่ายหน้าด้านหนึ่งและฝ่ายในอีกด้านหนึ่ง ซึ่งฝ่ายในสามารถมองลอดออกมาโดยตัวเอง ไม่ถูกแลเห็น สะพานนี้เชื่อมจากพระที่นั่งวโรภาษพิมานกับประตูเทวราชครรไล ซึ่งเป็นประตูทางเข้าพระราชฐานชั้นในซึ่งเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระอัครมเหสี พระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายใน และข้าบาทบริจาริกา ประกอบด้วย- พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร เป็นพระที่นั่งองค์ประธานของพระราชวังบางปะอิน เดิมเป็นเรือนไม้ 2 ชั้น ทาสีเขียวอ่อนและเขียวแก่สลับกัน แต่เกิดไฟไหม้พระที่นั่งทั้งองค์ระหว่างการบูรณะเมื่อปี พ.ศ. 2481 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถจึงได้ขอพระบรมราชานุญาตให้สร้างพระที่นั่งองค์นี้ขึ้นมาใหม่ เพื่อเป็นที่ประทับในการเสด็จแปรพระราชฐาน และรับรองพระราชอาคันตุกะ - หอวิฑูรทัศนา สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 เพื่อใช้เป็นที่ทอดพระเนตรโขลงช้างป่า และภูมิประเทศโดยรอบพระราชวัง เป็นหอสูง 3 ชั้น ทาสีเหลืองสลับแดง - เก๋งบุปผาประพาส สร้างขึ้นในรัชกาลที่5 ทรงใช้เป็นที่พักผ่อนพระราชอิริยาบถภายในพระราชอุทยาน - พระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ เป็นพระที่นั่งองค์สุดท้ายที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 โดยมีรูปแบบสถาปัตยกรรมจีน เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นโดยชาวสยามเชื้อสายจีนฮากกาเพื่อถวายแด่รัชกาลที่ 5 พระที่นั่งองค์นี้ยังใช้ประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้ายจนถึงปัจจุบัน - พระตำหนักฝ่ายใน เป็นหมู่พระตำหนัก ตำหนัก และเรือนของพระบรมวงศ์ฝ่ายใน เป็นอาคารที่มีสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกชั้นเดียว และสองชั้น เรียงรายกัน แต่ในปัจจุบัน ได้มีการรื้อตำหนักลงบางส่วน - อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ เป็นอนุสาวรีย์ที่รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ซึ่งสวรรคตในระหว่างการเสด็จแปรพระราชฐานมายังพระราชวังบางปะอิน - อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ เป็นอนุสาวรีย์ที่รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึง พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง ซึ่งสิ้นพระชนม์ภายในปีเดียวกันประตูในเขตพระราชวัง ประตูในเขตพระราชวัง. พระราชวังบางปะอินมีประตูต่างๆดังนี้- ประตูราชกิจวิวรณ์ - ประตูสาครประพาส - ประตูเทวราชครรไล - ประตูอนงค์ในจรจรัล - ประตูเทวัญสถิต - ประตูสังฆสิทธิภัตรการ - ประตูนงคราญประเวศ - ประตูอัครเรศวรดิษฐ์เหตุการณ์สำคัญกรณีสวรรคตของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี เหตุการณ์สำคัญ. กรณีสวรรคตของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี. สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี เป็นพระราชธิดา ลำดับที่ 50 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบรมราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2423 รัชกาลที่ 5 มีพระบรมราชโองการให้จัดเรือพระที่นั่งเพื่อเสด็จประพาสพระราชวังบางปะอินพร้อมพระมเหสีทุกพระองค์ แต่เนื่องจากพระองค์ทรงติดพระราชกิจ ไม่อาจเสด็จพระราชดำเนินไปตามกำหนดได้ จึงโปรดฯ ให้เรือพระที่นั่งของพระมเหสีเคลื่อนขบวนไปก่อน ระหว่างทางนั้น เรือพระประเทียบของพระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ (พระยศขณะนั้น) ประสบอุบัติเหตุล่ม ทำให้พระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพชรรัตน์ สิ้นพระชนม์ทั้งสองพระองค์ รวมทั้งสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในพระครรภ์ (เวลานั้นทรงพระครรภ์ได้ 5 เดือน) หลังจากนั้น รัชกาลที่ 5 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างอนุสาวรีย์หินอ่อนขึ้น ณ พระราชวังบางปะอิน เพื่อรำลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพชรรัตน์การต้อนรับพระราชอาคันตุกะ การต้อนรับพระราชอาคันตุกะ. พระราชวังบางปะอิน ใช้เป็นที่ต้อนรับพระราชอาคันตุกะหลายพระองค์ โดยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการต้อนรับแกรนด์ดุ๊กซาร์วิตส์แห่งรัสเซีย (พระยศขณะนั้น) ณ พระราชวังบางปะอิน ในระหว่างวันที่ 20 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2434 ซึ่งงานรับเสด็จในครั้งนั้นเป็นงานที่ใหญ่มาก จนกระทั่ง เกิดคำพูดสำหรับคนที่ทำอะไรใหญ่ ๆ โต ๆ ว่า "ยังกับรับซาร์แห่งรัสเซีย" นอกจากนี้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ยังใช้รับรอง และพระราชทานเลี้ยงแก่พระราชอาคันตุกะ อาทิเช่น สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์แห่งประเทศเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก แห่งประเทศเดนมาร์ก อินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก แห่งประเทศสเปน สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าอะกิชิโนะแห่งประเทศญี่ปุ่น เป็นต้นงานบำเพ็ญพระราชกุศลพระศพของพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์ งานบำเพ็ญพระราชกุศลพระศพของพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์ กรมขุนสุพรรณภาควดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประสูติก่อนที่พระองค์จะเสด็จฯ ขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็นพระราชธิดาคู่ทุกข์คู่ยากของรัชกาลที่ 5 หลังจากการทรงกรมเป็น "กรมขุนสุพรรณภาควดี " ได้เพียง 1 ปี ก็สิ้นพระชนม์ รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานบำเพ็ญพระราชกุศล ณ พระราชวังบางปะอิน โดยใช้พระที่นั่งไอสวรรย์ทิพยอาสน์เป็นที่ประดิษฐานพระศพ และโปรดให้จัดงานพระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดนิเวศธรรมประวัติ ซึ่งถือเป็นงานที่ยิ่งใหญ่มาก จนเป็นที่กล่าวขานในหมู่ชาววังว่า ใครไม่ได้มาร่วมงานในครั้งนี้ถือเป็นคนนอกสังคมชาววัง ในระหว่างการจัดงานพระราชทานเพลิงพระศพนั้น สมเด็จเจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร ซึ่งทรงสนิทกับพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์มาก เกิดทรงพระประชวรและสิ้นพระชนม์ ณ วรนาฎเกษมสานต์ ภายในพระราชวังบางปะอินนั่นเอง ซึ่งในนวนิยายเรื่อง สี่แผ่นดิน ได้กล่าวถึงเหตุการณ์ในครั้งนี้ไว้ว่า “เชิญพระศพพระเจ้าลูกเธอพระองค์หนึ่งขึ้นไป แล้วก็กลับต้องเชิญพระศพอีกพระองค์หนึ่งลงมา ”การพระราชพิธีอภิเษกสมรสของเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ การพระราชพิธีอภิเษกสมรสของเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชกรุณาฯ ให้ประกอบพระราชพิธีอภิเษกสมรสของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา (พระยศขณะนั้น) กับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัตน์ (พระยศขณะนั้น) ในวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2461 ณ พระที่นั่งวโรภาษพิมาน พระราชวังบางปะอิน ซึ่งถือเป็นพระราชพิธีอภิเษกสมรสครั้งแรก หลังจากการตรากฎมณเฑียรบาล ว่าด้วยการเสกสมรสแห่งเจ้านายในพระราชวงศ์ ในการเสกสมรสครั้งนี้ เป็นการแต่งงานแบบตะวันตกอย่างแท้จริง กล่าวคือมีการถามความสมัครใจของคู่บ่าวสาว กล่าวกันว่าของชำร่วยในงานเสกสมรสครั้งคือ แหวนเพชรพระราชพิธีสังเวยพระป้าย พระราชพิธีสังเวยพระป้าย. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระป้ายพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์เป็นภาษาจีนโดยให้ประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งอัมพรสถานพระราชวังดุสิต และพระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน เพื่อบูชาบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ต่อมา ในรัชกาลที่ 7 ได้มีการสร้างพระป้ายพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน พระราชพิธีสังเวยพระป้ายนั้น เริ่มมีตั้งแต่ในสมัยรัชกาลที่ 5 การสังเวยพระป้าย ณ พระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน จะกระทำก่อนวันตรุษจีน 1 วัน ซึ่งตรงกับวันไหว้ของจีน โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ มาประกอบพระราชพิธีเป็นประจำทุกปี แต่ในปัจจุบัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชวงศ์เสด็จแทนพระองค์เพื่อประกอบพระราชพิธีการเข้าชม การเข้าชม. ถึงแม้ว่าพระราชวังบางปะอินยังคงใช้เป็นสถานที่เสด็จแปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงเป็นสถานที่ในการประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้ายและต้อนรับพระราชอาคันตุกะ อย่างไรก็ตาม พระราชวังบางปะอินก็ยังเปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้เข้าชมภายในพระราชวังได้ สำหรับพระที่นั่งวโรภาษพิมานนั้น ผู้ชายไม่ควรใส่กางเกงขาสั้น หรือสวมเสื้อที่ไม่สุภาพ สตรีต้องใส่กระโปรงเข้าชมภายในพระที่นั่ง โดยมีบริการให้ยืมเครื่องแต่งกายได้บริเวณอาคารการ์ดทหาร และพระที่นั่งวโรภาษพิมานและพระที่นั่งเวหาศน์จำรูญนั้น มีวิทยากรบรรยายความรู้เกี่ยวกับพระที่นั่งแต่ไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพภายในพระที่นั่ง ส่วนพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรนั้น ไม่อนุญาตให้เข้าชมภายในพระที่นั่งได้ พระราชวังบางปะอิน เปิดให้เข้าชมทุกวันในเวลาระหว่าง 08.00 - 17.00 น. โดยต้องแต่งกายในชุดสุภาพ และขณะเข้าชมผู้ชมไม่ควรส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นการเดินทาง การเดินทาง. การเดินทางมายังพระราชวังบางปะอินนั้น สามารถทำได้หลายทาง เช่น การเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว ถ้ามาจากกรุงเทพฯ ให้มาตามถนนพหลโยธิน เมื่อถึงประตูน้ำพระอินทร์ ให้ข้ามสะพานวงแหวนรอบนอก หลังจากนั้น ให้เลี้ยวซ้ายบริเวณกิโลเมตรที่ 35 สู่ทางหลวงหมายเลข 308 อีกประมาณ 7 กิโลเมตรก็จะถึงพระราชวังบางปะอิน หรืออีกเส้นทางต้องผ่านเข้ามายังตัวเมืองพระนครศรีอยุธยา เมื่อถึงเจดีย์วัดสามปลื้มให้เลี้ยวซ้ายซึ่งจะผ่านวัดใหญ่ชัยมงคลและวัดพนัญเชิง เมื่อถึงสถานีรถไฟบางปะอินให้เลี้ยวขวา แล้วขับไปตามทางจนถึงพระราชวังบางปะอิน การเดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง ถ้ามาจากกรุงเทพฯ สถานีขนส่งสายเหนือ (หมอชิต 2) นั่งรถสายกรุงเทพฯ-บางปะอิน มาลงที่บขส.บางปะอิน (สุดสาย) จากนั้นนั่งรถสามล้อเครื่องไปลงที่พระราชวังบางปะอิน นอกจากนี้ ยังสามารถเดินทางโดยรถไฟ มาลงที่สถานีรถไฟอำเภอบางปะอิน หรือเดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง มาลงที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วต่อรถโดยสารเข้าไปยังพระราชวังบางปะอิน
| พระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดอะไร | {
"answer": [
"พระนครศรีอยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
169
],
"answer_end_position": [
184
]
} |
3,872 | 28,335 | พระราชวังบางปะอิน พระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับแรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนครนั่นเอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้รกร้างมาระยะหนึ่ง แต่กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งโดยสุนทรภู่ซึ่งได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้างพระที่นั่ง พระตำหนัก และตำหนักต่าง ๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่าง ๆ ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง และยังใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้สุภาพประวัติ ประวัติ. มีเรื่องเล่าว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเอกาทศรถ ยังทรงดำรงพระยศพระมหาอุปราช วันหนึ่งพระองค์ได้เสด็จประพาสทางชลมารค เมื่อถึงบริเวณเกาะบางปะอิน เรือพระที่นั่งถูกพายุใหญ่พัด ทำให้เรือพระที่นั่งล่มลง สมเด็จพระเอกาทศรถทรงว่ายน้ำขึ้นไปบนเกาะนี้ ซึ่งเดิมชื่อ "เกาะบ้านเลน" และประทับอยู่กับชาวบ้าน ในระหว่างประทับอยู่ ณ ที่นี้ สมเด็จพระเอกาทศรถได้หญิงชาวเกาะเป็นบาทบริจาริกา มีนามว่า "อิน" จึงเป็นเหตุให้คนทั่วไปเรียกเกาะนี้ต่อมาว่า "เกาะบางปะอิน" ต่อมาเมื่อพระองค์จะเสด็จกลับ พระองค์ก็ทรงพานางอินนี้กลับไปกรุงศรีอยุธยาด้วย นางอินผู้นี้จึงเป็นพระสนมในเวลาต่อมา และมีพระราชโอรสด้วยกัน เล่ากันว่าพระราชโอรสพระองค์นั้น คือ สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เมื่อปี พ.ศ. 2175 หลังจากที่สมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงขึ้นครองราชย์แล้ว พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดขึ้นตรงบริเวณนิวาสสถานเดิมของพระมารดา และได้พระราชทานนามว่า "วัดชุมพลนิกายาราม" และได้สร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งเพื่อฉลองการที่พระราชเทวีประสูติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระนารายณ์ราชกุมาร พระราชทานนามว่า "พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์" พระราชวังบางปะอินจึงเป็นสถานที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในฤดูร้อนสืบเนื่องกันมา จนกระทั่ง กรุงศรีอยุธยาได้เสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 ซึ่งทำให้พระราชวังแห่งนี้ถูกปล่อยให้รกร้างไป พระราชวังบางปะอินกลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้ง เมื่อสุนทรภู่ได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี ซึ่งได้เดินทางผ่านพระราชวังบางปะอิน และได้ประพันธ์ถึงพระราชวังแห่งนี้ในนิราศพระบาท ว่า ครั้นมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังกรุงศรีอยุธยา ประพาสผ่านพระราชวังบางปะอิน ทอดพระเนตรเห็นความร่มรื่นโดยรอบเป็นที่ต้องพระราชหฤทัย อีกทั้งยังเป็นเขตพระราชวังเก่าในสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะพระราชวังบางปะอิน โดยสร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งเป็นที่ประทับ เรือนแถวสำหรับเจ้านายฝ่ายในหนึ่งหลัง พลับพลาริมน้ำ และพลับพลากลางเกาะ พร้อมทั้งปฏิสังขรณ์วัดชุมพลนิกายารามขึ้นใหม่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพิจารณาเห็นว่า บางปะอินเป็นเกาะกลางน้ำ มึความเงียบสงบ มีเส้นทางการเดินเรือได้หลายทาง สมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร และเป็นสถานที่เสด็จประพาสของพระบรมชนกนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งและสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ สำหรับแปรพระราชฐานดังที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้บริเวณพระราชวัง บริเวณพระราชวัง. พื้นที่ของพระราชวังบางปะอินนั้น แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่เขตพระราชฐานชั้นนอก เขตพระราชฐานชั้นนอก. เขตพระราชฐานชั้นนอกนั้น เป็นบริเวณที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้สำหรับการออกมหาสมาคมหรือประกอบพระราชพิธีต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย- หอเหมมณเฑียรเทวราช หรือ ศาลพระเจ้าปราสาททอง สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2415 - 2419 มีลักษณะเป็นปรางค์ศิลา ซึ่งจำลองแบบจากปรางค์ขอม ภายในประดิษฐานเทวรูปพระเจ้าปราสาททอง ตั้งอยู่ ณ ริมสระน้ำใต้ต้นโพธิ์ - พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ เป็นพระที่นั่งทรงปราสาทโดยจำลองมาจากพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาทในพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สร้างพระบรมรูปหล่อสำริดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขนาดเท่าพระองค์จริงในฉลองพระองค์เต็มยศจอมพลทหารบกเพื่อนำมาประดิษฐาน ณ พระที่นั่งองค์นี้จนถึงปัจจุบัน - พระที่นั่งวโรภาษพิมาน รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2415 เพื่อใช้เป็นที่เสด็จออกว่าราชการ และใช้เป็นที่ประทับ เป็นตึก 2 ชั้น ศิลปะแบบคอรินเทียนออร์เดอร์ ปัจจุบัน พระที่นั่งองค์นี้ยังใช้เป็นที่ประทับแรมของพระบรมวงศ์เมื่อเสด็จแปรพระราชฐานมาประทับ ณ พระราชวังบางปะอิน - สภาคารราชประยูร เป็นตึกสองชั้น ตั้งอยู่ริมน้ำ รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2419 สำหรับเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ ในรัชกาลที่ 5 สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ และเจ้านายฝ่ายหน้า ปัจจุบัน ใช้เป็นที่แสดงนิทรรศการที่เกี่ยวข้องกับพระราชวังบางปะอิน - กระโจมแตร เป็นกระโจมขนาดกลางแบบ Gazebo สร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวตั้งอยู่เยื้องกับพระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ - เรือนแพพระที่นั่ง รัชกาลที่5ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นเป็นเรือนแพแบบไทยสร้างด้วยไม้สักทองหลังคามุงด้วยจากภายในจัดแบ่งห้องเป็นสัดเป็นส่วนรัชกาลที่5ใช้เป็นที่ประทับพักแรมในการเสด็จประพาสต้นและทรงสำราญพระอิริยาบถทางน้ำ โดยพระองค์เคยประทับเรือนแพพระที่นั่งไปทรงรับพระราชชายาเจ้าดารารัศมีจากเมืองเชียงใหม่ด้วยเขตพระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานชั้นใน. เขตพระราชฐานชั้นใน เชื่อมต่อกับเขตพระราชฐานชั้นนอก ด้วยสะพานที่มีลักษณะพิเศษ คือมีแนวฉากคล้ายบานเกล็ดกั้นกลาง ตลอดแนวสะพาน เพื่อแบ่งเป็นทางเดินของฝ่ายหน้าด้านหนึ่งและฝ่ายในอีกด้านหนึ่ง ซึ่งฝ่ายในสามารถมองลอดออกมาโดยตัวเอง ไม่ถูกแลเห็น สะพานนี้เชื่อมจากพระที่นั่งวโรภาษพิมานกับประตูเทวราชครรไล ซึ่งเป็นประตูทางเข้าพระราชฐานชั้นในซึ่งเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระอัครมเหสี พระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายใน และข้าบาทบริจาริกา ประกอบด้วย- พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร เป็นพระที่นั่งองค์ประธานของพระราชวังบางปะอิน เดิมเป็นเรือนไม้ 2 ชั้น ทาสีเขียวอ่อนและเขียวแก่สลับกัน แต่เกิดไฟไหม้พระที่นั่งทั้งองค์ระหว่างการบูรณะเมื่อปี พ.ศ. 2481 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถจึงได้ขอพระบรมราชานุญาตให้สร้างพระที่นั่งองค์นี้ขึ้นมาใหม่ เพื่อเป็นที่ประทับในการเสด็จแปรพระราชฐาน และรับรองพระราชอาคันตุกะ - หอวิฑูรทัศนา สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 เพื่อใช้เป็นที่ทอดพระเนตรโขลงช้างป่า และภูมิประเทศโดยรอบพระราชวัง เป็นหอสูง 3 ชั้น ทาสีเหลืองสลับแดง - เก๋งบุปผาประพาส สร้างขึ้นในรัชกาลที่5 ทรงใช้เป็นที่พักผ่อนพระราชอิริยาบถภายในพระราชอุทยาน - พระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ เป็นพระที่นั่งองค์สุดท้ายที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 โดยมีรูปแบบสถาปัตยกรรมจีน เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นโดยชาวสยามเชื้อสายจีนฮากกาเพื่อถวายแด่รัชกาลที่ 5 พระที่นั่งองค์นี้ยังใช้ประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้ายจนถึงปัจจุบัน - พระตำหนักฝ่ายใน เป็นหมู่พระตำหนัก ตำหนัก และเรือนของพระบรมวงศ์ฝ่ายใน เป็นอาคารที่มีสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกชั้นเดียว และสองชั้น เรียงรายกัน แต่ในปัจจุบัน ได้มีการรื้อตำหนักลงบางส่วน - อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ เป็นอนุสาวรีย์ที่รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ซึ่งสวรรคตในระหว่างการเสด็จแปรพระราชฐานมายังพระราชวังบางปะอิน - อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ เป็นอนุสาวรีย์ที่รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึง พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง ซึ่งสิ้นพระชนม์ภายในปีเดียวกันประตูในเขตพระราชวัง ประตูในเขตพระราชวัง. พระราชวังบางปะอินมีประตูต่างๆดังนี้- ประตูราชกิจวิวรณ์ - ประตูสาครประพาส - ประตูเทวราชครรไล - ประตูอนงค์ในจรจรัล - ประตูเทวัญสถิต - ประตูสังฆสิทธิภัตรการ - ประตูนงคราญประเวศ - ประตูอัครเรศวรดิษฐ์เหตุการณ์สำคัญกรณีสวรรคตของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี เหตุการณ์สำคัญ. กรณีสวรรคตของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี. สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี เป็นพระราชธิดา ลำดับที่ 50 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบรมราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2423 รัชกาลที่ 5 มีพระบรมราชโองการให้จัดเรือพระที่นั่งเพื่อเสด็จประพาสพระราชวังบางปะอินพร้อมพระมเหสีทุกพระองค์ แต่เนื่องจากพระองค์ทรงติดพระราชกิจ ไม่อาจเสด็จพระราชดำเนินไปตามกำหนดได้ จึงโปรดฯ ให้เรือพระที่นั่งของพระมเหสีเคลื่อนขบวนไปก่อน ระหว่างทางนั้น เรือพระประเทียบของพระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ (พระยศขณะนั้น) ประสบอุบัติเหตุล่ม ทำให้พระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพชรรัตน์ สิ้นพระชนม์ทั้งสองพระองค์ รวมทั้งสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในพระครรภ์ (เวลานั้นทรงพระครรภ์ได้ 5 เดือน) หลังจากนั้น รัชกาลที่ 5 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างอนุสาวรีย์หินอ่อนขึ้น ณ พระราชวังบางปะอิน เพื่อรำลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพชรรัตน์การต้อนรับพระราชอาคันตุกะ การต้อนรับพระราชอาคันตุกะ. พระราชวังบางปะอิน ใช้เป็นที่ต้อนรับพระราชอาคันตุกะหลายพระองค์ โดยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการต้อนรับแกรนด์ดุ๊กซาร์วิตส์แห่งรัสเซีย (พระยศขณะนั้น) ณ พระราชวังบางปะอิน ในระหว่างวันที่ 20 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2434 ซึ่งงานรับเสด็จในครั้งนั้นเป็นงานที่ใหญ่มาก จนกระทั่ง เกิดคำพูดสำหรับคนที่ทำอะไรใหญ่ ๆ โต ๆ ว่า "ยังกับรับซาร์แห่งรัสเซีย" นอกจากนี้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ยังใช้รับรอง และพระราชทานเลี้ยงแก่พระราชอาคันตุกะ อาทิเช่น สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์แห่งประเทศเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก แห่งประเทศเดนมาร์ก อินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก แห่งประเทศสเปน สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าอะกิชิโนะแห่งประเทศญี่ปุ่น เป็นต้นงานบำเพ็ญพระราชกุศลพระศพของพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์ งานบำเพ็ญพระราชกุศลพระศพของพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์ กรมขุนสุพรรณภาควดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประสูติก่อนที่พระองค์จะเสด็จฯ ขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็นพระราชธิดาคู่ทุกข์คู่ยากของรัชกาลที่ 5 หลังจากการทรงกรมเป็น "กรมขุนสุพรรณภาควดี " ได้เพียง 1 ปี ก็สิ้นพระชนม์ รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานบำเพ็ญพระราชกุศล ณ พระราชวังบางปะอิน โดยใช้พระที่นั่งไอสวรรย์ทิพยอาสน์เป็นที่ประดิษฐานพระศพ และโปรดให้จัดงานพระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดนิเวศธรรมประวัติ ซึ่งถือเป็นงานที่ยิ่งใหญ่มาก จนเป็นที่กล่าวขานในหมู่ชาววังว่า ใครไม่ได้มาร่วมงานในครั้งนี้ถือเป็นคนนอกสังคมชาววัง ในระหว่างการจัดงานพระราชทานเพลิงพระศพนั้น สมเด็จเจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร ซึ่งทรงสนิทกับพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์มาก เกิดทรงพระประชวรและสิ้นพระชนม์ ณ วรนาฎเกษมสานต์ ภายในพระราชวังบางปะอินนั่นเอง ซึ่งในนวนิยายเรื่อง สี่แผ่นดิน ได้กล่าวถึงเหตุการณ์ในครั้งนี้ไว้ว่า “เชิญพระศพพระเจ้าลูกเธอพระองค์หนึ่งขึ้นไป แล้วก็กลับต้องเชิญพระศพอีกพระองค์หนึ่งลงมา ”การพระราชพิธีอภิเษกสมรสของเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ การพระราชพิธีอภิเษกสมรสของเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชกรุณาฯ ให้ประกอบพระราชพิธีอภิเษกสมรสของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา (พระยศขณะนั้น) กับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัตน์ (พระยศขณะนั้น) ในวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2461 ณ พระที่นั่งวโรภาษพิมาน พระราชวังบางปะอิน ซึ่งถือเป็นพระราชพิธีอภิเษกสมรสครั้งแรก หลังจากการตรากฎมณเฑียรบาล ว่าด้วยการเสกสมรสแห่งเจ้านายในพระราชวงศ์ ในการเสกสมรสครั้งนี้ เป็นการแต่งงานแบบตะวันตกอย่างแท้จริง กล่าวคือมีการถามความสมัครใจของคู่บ่าวสาว กล่าวกันว่าของชำร่วยในงานเสกสมรสครั้งคือ แหวนเพชรพระราชพิธีสังเวยพระป้าย พระราชพิธีสังเวยพระป้าย. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระป้ายพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์เป็นภาษาจีนโดยให้ประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งอัมพรสถานพระราชวังดุสิต และพระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน เพื่อบูชาบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ต่อมา ในรัชกาลที่ 7 ได้มีการสร้างพระป้ายพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน พระราชพิธีสังเวยพระป้ายนั้น เริ่มมีตั้งแต่ในสมัยรัชกาลที่ 5 การสังเวยพระป้าย ณ พระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน จะกระทำก่อนวันตรุษจีน 1 วัน ซึ่งตรงกับวันไหว้ของจีน โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ มาประกอบพระราชพิธีเป็นประจำทุกปี แต่ในปัจจุบัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชวงศ์เสด็จแทนพระองค์เพื่อประกอบพระราชพิธีการเข้าชม การเข้าชม. ถึงแม้ว่าพระราชวังบางปะอินยังคงใช้เป็นสถานที่เสด็จแปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงเป็นสถานที่ในการประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้ายและต้อนรับพระราชอาคันตุกะ อย่างไรก็ตาม พระราชวังบางปะอินก็ยังเปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้เข้าชมภายในพระราชวังได้ สำหรับพระที่นั่งวโรภาษพิมานนั้น ผู้ชายไม่ควรใส่กางเกงขาสั้น หรือสวมเสื้อที่ไม่สุภาพ สตรีต้องใส่กระโปรงเข้าชมภายในพระที่นั่ง โดยมีบริการให้ยืมเครื่องแต่งกายได้บริเวณอาคารการ์ดทหาร และพระที่นั่งวโรภาษพิมานและพระที่นั่งเวหาศน์จำรูญนั้น มีวิทยากรบรรยายความรู้เกี่ยวกับพระที่นั่งแต่ไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพภายในพระที่นั่ง ส่วนพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรนั้น ไม่อนุญาตให้เข้าชมภายในพระที่นั่งได้ พระราชวังบางปะอิน เปิดให้เข้าชมทุกวันในเวลาระหว่าง 08.00 - 17.00 น. โดยต้องแต่งกายในชุดสุภาพ และขณะเข้าชมผู้ชมไม่ควรส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นการเดินทาง การเดินทาง. การเดินทางมายังพระราชวังบางปะอินนั้น สามารถทำได้หลายทาง เช่น การเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว ถ้ามาจากกรุงเทพฯ ให้มาตามถนนพหลโยธิน เมื่อถึงประตูน้ำพระอินทร์ ให้ข้ามสะพานวงแหวนรอบนอก หลังจากนั้น ให้เลี้ยวซ้ายบริเวณกิโลเมตรที่ 35 สู่ทางหลวงหมายเลข 308 อีกประมาณ 7 กิโลเมตรก็จะถึงพระราชวังบางปะอิน หรืออีกเส้นทางต้องผ่านเข้ามายังตัวเมืองพระนครศรีอยุธยา เมื่อถึงเจดีย์วัดสามปลื้มให้เลี้ยวซ้ายซึ่งจะผ่านวัดใหญ่ชัยมงคลและวัดพนัญเชิง เมื่อถึงสถานีรถไฟบางปะอินให้เลี้ยวขวา แล้วขับไปตามทางจนถึงพระราชวังบางปะอิน การเดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง ถ้ามาจากกรุงเทพฯ สถานีขนส่งสายเหนือ (หมอชิต 2) นั่งรถสายกรุงเทพฯ-บางปะอิน มาลงที่บขส.บางปะอิน (สุดสาย) จากนั้นนั่งรถสามล้อเครื่องไปลงที่พระราชวังบางปะอิน นอกจากนี้ ยังสามารถเดินทางโดยรถไฟ มาลงที่สถานีรถไฟอำเภอบางปะอิน หรือเดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง มาลงที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วต่อรถโดยสารเข้าไปยังพระราชวังบางปะอิน
| พระราชวังบางปะอินตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดอะไร | {
"answer": [
"พระนครศรีอยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
169
],
"answer_end_position": [
184
]
} |
3,873 | 28,335 | พระราชวังบางปะอิน พระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับแรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนครนั่นเอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้รกร้างมาระยะหนึ่ง แต่กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งโดยสุนทรภู่ซึ่งได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้างพระที่นั่ง พระตำหนัก และตำหนักต่าง ๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่าง ๆ ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง และยังใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้สุภาพประวัติ ประวัติ. มีเรื่องเล่าว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเอกาทศรถ ยังทรงดำรงพระยศพระมหาอุปราช วันหนึ่งพระองค์ได้เสด็จประพาสทางชลมารค เมื่อถึงบริเวณเกาะบางปะอิน เรือพระที่นั่งถูกพายุใหญ่พัด ทำให้เรือพระที่นั่งล่มลง สมเด็จพระเอกาทศรถทรงว่ายน้ำขึ้นไปบนเกาะนี้ ซึ่งเดิมชื่อ "เกาะบ้านเลน" และประทับอยู่กับชาวบ้าน ในระหว่างประทับอยู่ ณ ที่นี้ สมเด็จพระเอกาทศรถได้หญิงชาวเกาะเป็นบาทบริจาริกา มีนามว่า "อิน" จึงเป็นเหตุให้คนทั่วไปเรียกเกาะนี้ต่อมาว่า "เกาะบางปะอิน" ต่อมาเมื่อพระองค์จะเสด็จกลับ พระองค์ก็ทรงพานางอินนี้กลับไปกรุงศรีอยุธยาด้วย นางอินผู้นี้จึงเป็นพระสนมในเวลาต่อมา และมีพระราชโอรสด้วยกัน เล่ากันว่าพระราชโอรสพระองค์นั้น คือ สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เมื่อปี พ.ศ. 2175 หลังจากที่สมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงขึ้นครองราชย์แล้ว พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดขึ้นตรงบริเวณนิวาสสถานเดิมของพระมารดา และได้พระราชทานนามว่า "วัดชุมพลนิกายาราม" และได้สร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งเพื่อฉลองการที่พระราชเทวีประสูติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระนารายณ์ราชกุมาร พระราชทานนามว่า "พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์" พระราชวังบางปะอินจึงเป็นสถานที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในฤดูร้อนสืบเนื่องกันมา จนกระทั่ง กรุงศรีอยุธยาได้เสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 ซึ่งทำให้พระราชวังแห่งนี้ถูกปล่อยให้รกร้างไป พระราชวังบางปะอินกลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้ง เมื่อสุนทรภู่ได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี ซึ่งได้เดินทางผ่านพระราชวังบางปะอิน และได้ประพันธ์ถึงพระราชวังแห่งนี้ในนิราศพระบาท ว่า ครั้นมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินไปยังกรุงศรีอยุธยา ประพาสผ่านพระราชวังบางปะอิน ทอดพระเนตรเห็นความร่มรื่นโดยรอบเป็นที่ต้องพระราชหฤทัย อีกทั้งยังเป็นเขตพระราชวังเก่าในสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะพระราชวังบางปะอิน โดยสร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งเป็นที่ประทับ เรือนแถวสำหรับเจ้านายฝ่ายในหนึ่งหลัง พลับพลาริมน้ำ และพลับพลากลางเกาะ พร้อมทั้งปฏิสังขรณ์วัดชุมพลนิกายารามขึ้นใหม่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพิจารณาเห็นว่า บางปะอินเป็นเกาะกลางน้ำ มึความเงียบสงบ มีเส้นทางการเดินเรือได้หลายทาง สมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร และเป็นสถานที่เสด็จประพาสของพระบรมชนกนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งและสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ สำหรับแปรพระราชฐานดังที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้บริเวณพระราชวัง บริเวณพระราชวัง. พื้นที่ของพระราชวังบางปะอินนั้น แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่เขตพระราชฐานชั้นนอก เขตพระราชฐานชั้นนอก. เขตพระราชฐานชั้นนอกนั้น เป็นบริเวณที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้สำหรับการออกมหาสมาคมหรือประกอบพระราชพิธีต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย- หอเหมมณเฑียรเทวราช หรือ ศาลพระเจ้าปราสาททอง สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2415 - 2419 มีลักษณะเป็นปรางค์ศิลา ซึ่งจำลองแบบจากปรางค์ขอม ภายในประดิษฐานเทวรูปพระเจ้าปราสาททอง ตั้งอยู่ ณ ริมสระน้ำใต้ต้นโพธิ์ - พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ เป็นพระที่นั่งทรงปราสาทโดยจำลองมาจากพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาทในพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สร้างพระบรมรูปหล่อสำริดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขนาดเท่าพระองค์จริงในฉลองพระองค์เต็มยศจอมพลทหารบกเพื่อนำมาประดิษฐาน ณ พระที่นั่งองค์นี้จนถึงปัจจุบัน - พระที่นั่งวโรภาษพิมาน รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2415 เพื่อใช้เป็นที่เสด็จออกว่าราชการ และใช้เป็นที่ประทับ เป็นตึก 2 ชั้น ศิลปะแบบคอรินเทียนออร์เดอร์ ปัจจุบัน พระที่นั่งองค์นี้ยังใช้เป็นที่ประทับแรมของพระบรมวงศ์เมื่อเสด็จแปรพระราชฐานมาประทับ ณ พระราชวังบางปะอิน - สภาคารราชประยูร เป็นตึกสองชั้น ตั้งอยู่ริมน้ำ รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2419 สำหรับเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ ในรัชกาลที่ 5 สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ และเจ้านายฝ่ายหน้า ปัจจุบัน ใช้เป็นที่แสดงนิทรรศการที่เกี่ยวข้องกับพระราชวังบางปะอิน - กระโจมแตร เป็นกระโจมขนาดกลางแบบ Gazebo สร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวตั้งอยู่เยื้องกับพระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ - เรือนแพพระที่นั่ง รัชกาลที่5ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นเป็นเรือนแพแบบไทยสร้างด้วยไม้สักทองหลังคามุงด้วยจากภายในจัดแบ่งห้องเป็นสัดเป็นส่วนรัชกาลที่5ใช้เป็นที่ประทับพักแรมในการเสด็จประพาสต้นและทรงสำราญพระอิริยาบถทางน้ำ โดยพระองค์เคยประทับเรือนแพพระที่นั่งไปทรงรับพระราชชายาเจ้าดารารัศมีจากเมืองเชียงใหม่ด้วยเขตพระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานชั้นใน. เขตพระราชฐานชั้นใน เชื่อมต่อกับเขตพระราชฐานชั้นนอก ด้วยสะพานที่มีลักษณะพิเศษ คือมีแนวฉากคล้ายบานเกล็ดกั้นกลาง ตลอดแนวสะพาน เพื่อแบ่งเป็นทางเดินของฝ่ายหน้าด้านหนึ่งและฝ่ายในอีกด้านหนึ่ง ซึ่งฝ่ายในสามารถมองลอดออกมาโดยตัวเอง ไม่ถูกแลเห็น สะพานนี้เชื่อมจากพระที่นั่งวโรภาษพิมานกับประตูเทวราชครรไล ซึ่งเป็นประตูทางเข้าพระราชฐานชั้นในซึ่งเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระอัครมเหสี พระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายใน และข้าบาทบริจาริกา ประกอบด้วย- พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร เป็นพระที่นั่งองค์ประธานของพระราชวังบางปะอิน เดิมเป็นเรือนไม้ 2 ชั้น ทาสีเขียวอ่อนและเขียวแก่สลับกัน แต่เกิดไฟไหม้พระที่นั่งทั้งองค์ระหว่างการบูรณะเมื่อปี พ.ศ. 2481 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถจึงได้ขอพระบรมราชานุญาตให้สร้างพระที่นั่งองค์นี้ขึ้นมาใหม่ เพื่อเป็นที่ประทับในการเสด็จแปรพระราชฐาน และรับรองพระราชอาคันตุกะ - หอวิฑูรทัศนา สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 เพื่อใช้เป็นที่ทอดพระเนตรโขลงช้างป่า และภูมิประเทศโดยรอบพระราชวัง เป็นหอสูง 3 ชั้น ทาสีเหลืองสลับแดง - เก๋งบุปผาประพาส สร้างขึ้นในรัชกาลที่5 ทรงใช้เป็นที่พักผ่อนพระราชอิริยาบถภายในพระราชอุทยาน - พระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ เป็นพระที่นั่งองค์สุดท้ายที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 โดยมีรูปแบบสถาปัตยกรรมจีน เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นโดยชาวสยามเชื้อสายจีนฮากกาเพื่อถวายแด่รัชกาลที่ 5 พระที่นั่งองค์นี้ยังใช้ประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้ายจนถึงปัจจุบัน - พระตำหนักฝ่ายใน เป็นหมู่พระตำหนัก ตำหนัก และเรือนของพระบรมวงศ์ฝ่ายใน เป็นอาคารที่มีสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกชั้นเดียว และสองชั้น เรียงรายกัน แต่ในปัจจุบัน ได้มีการรื้อตำหนักลงบางส่วน - อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ เป็นอนุสาวรีย์ที่รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ซึ่งสวรรคตในระหว่างการเสด็จแปรพระราชฐานมายังพระราชวังบางปะอิน - อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ เป็นอนุสาวรีย์ที่รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึง พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง ซึ่งสิ้นพระชนม์ภายในปีเดียวกันประตูในเขตพระราชวัง ประตูในเขตพระราชวัง. พระราชวังบางปะอินมีประตูต่างๆดังนี้- ประตูราชกิจวิวรณ์ - ประตูสาครประพาส - ประตูเทวราชครรไล - ประตูอนงค์ในจรจรัล - ประตูเทวัญสถิต - ประตูสังฆสิทธิภัตรการ - ประตูนงคราญประเวศ - ประตูอัครเรศวรดิษฐ์เหตุการณ์สำคัญกรณีสวรรคตของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี เหตุการณ์สำคัญ. กรณีสวรรคตของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี. สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี เป็นพระราชธิดา ลำดับที่ 50 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบรมราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2423 รัชกาลที่ 5 มีพระบรมราชโองการให้จัดเรือพระที่นั่งเพื่อเสด็จประพาสพระราชวังบางปะอินพร้อมพระมเหสีทุกพระองค์ แต่เนื่องจากพระองค์ทรงติดพระราชกิจ ไม่อาจเสด็จพระราชดำเนินไปตามกำหนดได้ จึงโปรดฯ ให้เรือพระที่นั่งของพระมเหสีเคลื่อนขบวนไปก่อน ระหว่างทางนั้น เรือพระประเทียบของพระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ (พระยศขณะนั้น) ประสบอุบัติเหตุล่ม ทำให้พระองค์เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพชรรัตน์ สิ้นพระชนม์ทั้งสองพระองค์ รวมทั้งสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในพระครรภ์ (เวลานั้นทรงพระครรภ์ได้ 5 เดือน) หลังจากนั้น รัชกาลที่ 5 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างอนุสาวรีย์หินอ่อนขึ้น ณ พระราชวังบางปะอิน เพื่อรำลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์เพชรรัตน์การต้อนรับพระราชอาคันตุกะ การต้อนรับพระราชอาคันตุกะ. พระราชวังบางปะอิน ใช้เป็นที่ต้อนรับพระราชอาคันตุกะหลายพระองค์ โดยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการต้อนรับแกรนด์ดุ๊กซาร์วิตส์แห่งรัสเซีย (พระยศขณะนั้น) ณ พระราชวังบางปะอิน ในระหว่างวันที่ 20 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2434 ซึ่งงานรับเสด็จในครั้งนั้นเป็นงานที่ใหญ่มาก จนกระทั่ง เกิดคำพูดสำหรับคนที่ทำอะไรใหญ่ ๆ โต ๆ ว่า "ยังกับรับซาร์แห่งรัสเซีย" นอกจากนี้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ยังใช้รับรอง และพระราชทานเลี้ยงแก่พระราชอาคันตุกะ อาทิเช่น สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์แห่งประเทศเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก แห่งประเทศเดนมาร์ก อินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก แห่งประเทศสเปน สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าอะกิชิโนะแห่งประเทศญี่ปุ่น เป็นต้นงานบำเพ็ญพระราชกุศลพระศพของพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์ งานบำเพ็ญพระราชกุศลพระศพของพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์ กรมขุนสุพรรณภาควดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประสูติก่อนที่พระองค์จะเสด็จฯ ขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็นพระราชธิดาคู่ทุกข์คู่ยากของรัชกาลที่ 5 หลังจากการทรงกรมเป็น "กรมขุนสุพรรณภาควดี " ได้เพียง 1 ปี ก็สิ้นพระชนม์ รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานบำเพ็ญพระราชกุศล ณ พระราชวังบางปะอิน โดยใช้พระที่นั่งไอสวรรย์ทิพยอาสน์เป็นที่ประดิษฐานพระศพ และโปรดให้จัดงานพระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดนิเวศธรรมประวัติ ซึ่งถือเป็นงานที่ยิ่งใหญ่มาก จนเป็นที่กล่าวขานในหมู่ชาววังว่า ใครไม่ได้มาร่วมงานในครั้งนี้ถือเป็นคนนอกสังคมชาววัง ในระหว่างการจัดงานพระราชทานเพลิงพระศพนั้น สมเด็จเจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร ซึ่งทรงสนิทกับพระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ์มาก เกิดทรงพระประชวรและสิ้นพระชนม์ ณ วรนาฎเกษมสานต์ ภายในพระราชวังบางปะอินนั่นเอง ซึ่งในนวนิยายเรื่อง สี่แผ่นดิน ได้กล่าวถึงเหตุการณ์ในครั้งนี้ไว้ว่า “เชิญพระศพพระเจ้าลูกเธอพระองค์หนึ่งขึ้นไป แล้วก็กลับต้องเชิญพระศพอีกพระองค์หนึ่งลงมา ”การพระราชพิธีอภิเษกสมรสของเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ การพระราชพิธีอภิเษกสมรสของเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชกรุณาฯ ให้ประกอบพระราชพิธีอภิเษกสมรสของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา (พระยศขณะนั้น) กับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัตน์ (พระยศขณะนั้น) ในวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2461 ณ พระที่นั่งวโรภาษพิมาน พระราชวังบางปะอิน ซึ่งถือเป็นพระราชพิธีอภิเษกสมรสครั้งแรก หลังจากการตรากฎมณเฑียรบาล ว่าด้วยการเสกสมรสแห่งเจ้านายในพระราชวงศ์ ในการเสกสมรสครั้งนี้ เป็นการแต่งงานแบบตะวันตกอย่างแท้จริง กล่าวคือมีการถามความสมัครใจของคู่บ่าวสาว กล่าวกันว่าของชำร่วยในงานเสกสมรสครั้งคือ แหวนเพชรพระราชพิธีสังเวยพระป้าย พระราชพิธีสังเวยพระป้าย. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระป้ายพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์เป็นภาษาจีนโดยให้ประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระที่นั่งอัมพรสถานพระราชวังดุสิต และพระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน เพื่อบูชาบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ต่อมา ในรัชกาลที่ 7 ได้มีการสร้างพระป้ายพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน พระราชพิธีสังเวยพระป้ายนั้น เริ่มมีตั้งแต่ในสมัยรัชกาลที่ 5 การสังเวยพระป้าย ณ พระที่นั่งเวหาศจำรูญ พระราชวังบางปะอิน จะกระทำก่อนวันตรุษจีน 1 วัน ซึ่งตรงกับวันไหว้ของจีน โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ มาประกอบพระราชพิธีเป็นประจำทุกปี แต่ในปัจจุบัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชวงศ์เสด็จแทนพระองค์เพื่อประกอบพระราชพิธีการเข้าชม การเข้าชม. ถึงแม้ว่าพระราชวังบางปะอินยังคงใช้เป็นสถานที่เสด็จแปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงเป็นสถานที่ในการประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้ายและต้อนรับพระราชอาคันตุกะ อย่างไรก็ตาม พระราชวังบางปะอินก็ยังเปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้เข้าชมภายในพระราชวังได้ สำหรับพระที่นั่งวโรภาษพิมานนั้น ผู้ชายไม่ควรใส่กางเกงขาสั้น หรือสวมเสื้อที่ไม่สุภาพ สตรีต้องใส่กระโปรงเข้าชมภายในพระที่นั่ง โดยมีบริการให้ยืมเครื่องแต่งกายได้บริเวณอาคารการ์ดทหาร และพระที่นั่งวโรภาษพิมานและพระที่นั่งเวหาศน์จำรูญนั้น มีวิทยากรบรรยายความรู้เกี่ยวกับพระที่นั่งแต่ไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพภายในพระที่นั่ง ส่วนพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรนั้น ไม่อนุญาตให้เข้าชมภายในพระที่นั่งได้ พระราชวังบางปะอิน เปิดให้เข้าชมทุกวันในเวลาระหว่าง 08.00 - 17.00 น. โดยต้องแต่งกายในชุดสุภาพ และขณะเข้าชมผู้ชมไม่ควรส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่นการเดินทาง การเดินทาง. การเดินทางมายังพระราชวังบางปะอินนั้น สามารถทำได้หลายทาง เช่น การเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว ถ้ามาจากกรุงเทพฯ ให้มาตามถนนพหลโยธิน เมื่อถึงประตูน้ำพระอินทร์ ให้ข้ามสะพานวงแหวนรอบนอก หลังจากนั้น ให้เลี้ยวซ้ายบริเวณกิโลเมตรที่ 35 สู่ทางหลวงหมายเลข 308 อีกประมาณ 7 กิโลเมตรก็จะถึงพระราชวังบางปะอิน หรืออีกเส้นทางต้องผ่านเข้ามายังตัวเมืองพระนครศรีอยุธยา เมื่อถึงเจดีย์วัดสามปลื้มให้เลี้ยวซ้ายซึ่งจะผ่านวัดใหญ่ชัยมงคลและวัดพนัญเชิง เมื่อถึงสถานีรถไฟบางปะอินให้เลี้ยวขวา แล้วขับไปตามทางจนถึงพระราชวังบางปะอิน การเดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง ถ้ามาจากกรุงเทพฯ สถานีขนส่งสายเหนือ (หมอชิต 2) นั่งรถสายกรุงเทพฯ-บางปะอิน มาลงที่บขส.บางปะอิน (สุดสาย) จากนั้นนั่งรถสามล้อเครื่องไปลงที่พระราชวังบางปะอิน นอกจากนี้ ยังสามารถเดินทางโดยรถไฟ มาลงที่สถานีรถไฟอำเภอบางปะอิน หรือเดินทางโดยรถโดยสารประจำทาง มาลงที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วต่อรถโดยสารเข้าไปยังพระราชวังบางปะอิน
| ใครเป็นผู้สร้างพระราชวังบางปะอิน | {
"answer": [
"สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง"
],
"answer_begin_position": [
292
],
"answer_end_position": [
314
]
} |
411 | 917,936 | สโมสรฟุตบอลโกรโตเน สโมสรฟุตบอลโกรโตเน เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพอิตาลี ตั้งอยู่ที่เมืองโกรโตเน แคว้นคาลาเบรีย ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1910 ลงเล่นที่สนามสตาดีโอ เอซีโอ สกิดา ซึ่งมีความจุ 16,547 ที่นั่ง ปัจจุบันลงเล่นในเซเรียอา หลังจากเลื่อนชั้นมาจากเซเรียบี ฤดูกาล 2015–16 สีประจำสโมสรคือสีน้ำเงินเข้มและสีแดงผู้เล่นชุดปัจจุบัน
| สโมสรฟุตบอลโกรโตเน เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพของประเทศอะไร | {
"answer": [
"อิตาลี"
],
"answer_begin_position": [
151
],
"answer_end_position": [
157
]
} |
412 | 917,936 | สโมสรฟุตบอลโกรโตเน สโมสรฟุตบอลโกรโตเน เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพอิตาลี ตั้งอยู่ที่เมืองโกรโตเน แคว้นคาลาเบรีย ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1910 ลงเล่นที่สนามสตาดีโอ เอซีโอ สกิดา ซึ่งมีความจุ 16,547 ที่นั่ง ปัจจุบันลงเล่นในเซเรียอา หลังจากเลื่อนชั้นมาจากเซเรียบี ฤดูกาล 2015–16 สีประจำสโมสรคือสีน้ำเงินเข้มและสีแดงผู้เล่นชุดปัจจุบัน
| สีประจำสโมสรฟุตบอลโกรโตเน คือสีอะไร | {
"answer": [
"สีน้ำเงินเข้มและสีแดง"
],
"answer_begin_position": [
367
],
"answer_end_position": [
388
]
} |
413 | 651,025 | แฟรงค์ เซเดโน แฟรงค์ เซเดโน (Frank Cedeno) เกิดเมื่อ 16 มีนาคม พ.ศ. 2501 ที่เมืองตาลีซาย ซิตี เซบู ประเทศฟิลิปปินส์ สถิติการชก 56 ครั้ง ชนะ 43 (น็อค 23) เสมอ 3 แพ้ 10ประวัติ ประวัติ. เซเดโนขึ้นชกมวยครั้งแรกเมื่อ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 แพ้คะแนน ราย เด ลอส ซานโตส ที่ ฟิลิปปินส์ จากนั้น ขึ้นชกชนะเป็นส่วนใหญ่ จนได้ครองแชมป์ฟิลิปปินส์รุ่นฟลายเวทเมื่อ 29 มีนาคม พ.ศ. 2523 ชนะคะแนน เมลชอร์ เดกซี และสามารถป้องกันแชมป์ไว้ได้ถึง 3 ครั้ง รวมทั้งชกชนะน็อค มนต์สยาม ฮ.มหาชัย ยก 7 เมื่อ พ.ศ. 2523 และชนะคะแนน แดน พิศาลชัย เมื่อ พ.ศ. 2525 ที่ ฟิลิปปินส์ ต่อมาได้ชิงแชมป์ OPBF ที่เกาหลีใต้เมื่อ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2525 แพ้คะแนน ฮอง ซูยาง ไม่ได้แชมป์ เซเดโนกลับมาชกป้องกันแชมป์ฟิลิปปินส์อีกครั้ง แล้วก็มีโอกาสได้ชิงแชมป์โลกรุ่นฟลายเวท WBC ที่ อังกฤษเมื่อ 27 กันยายน พ.ศ. 2526 ซึ่งเซเดโนเป็นฝ่ายชนะน็อคชาร์ลี มากรี ยก 6 ได้แชมป์มาครอง แต่พอขึ้นชกป้องกันแชมป์ครั้งแรกเมื่อ 18 มกราคม พ.ศ. 2527 ก็เป็นฝ่ายแพ้น็อค โคจิ โคบายาชิ ยก 2 ที่ ญี่ปุ่น เสียแชมป์ไป หลังจากเสียแชมป์โลกไปแล้ว เซเดโนยังคงขึ้นชกชนะรวด รวมทั้งมาชกชนะน็อค ยืนยง ศิษย์ประสงค์ ยก 5 ในไทย จากนั้น เซเดโนได้ชิงแชมป์โลกอีกครั้งเมื่อ 20 มีนาคม พ.ศ. 2530 ที่เม็กซิโก โดยขึ้นชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท WBC แพ้คะแนน กิลเบอร์โต โรมันอย่างเป็นเอกฉันท์ หลังจากชิงแชมป์ไม่สำเร็จ เซเดโนขึ้นชกอีกไม่กี่ครั้ง รวมทั้งที่มาชกแพ้คะแนน ถนอมศักดิ์ ศิษย์โบ๊เบ๊ เมื่อ พ.ศ. 2530 เซเดโนขึ้นชกมวยครั้งสุดท้ายเมื่อ 27 มีนาคม พ.ศ. 2531 แพ้น็อค มิน ยุงชุน ยก 4 ที่เกาหลีใต้ แล้วจึงแขวนนวมไปเกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - แชมป์ฟิลิปปินส์รุ่นฟลายเวท - แชมป์โลกรุ่นฟลายเวท WBC- ชิง 27 กันยายน 2526 นะน็อคชาร์ลี มากรี ยก 6 - เสียแชมป์ 18 มกราคม 2527 แพ้น็อค โคจิ โคบายาชิ ยก 2 ที่ ญี่ปุ่น - เคยชิงแชมป์ต่อไปนี้แต่ไม่สำเร็จ- ชิงแชมป์ OPBF รุ่นฟลายเวท เมื่อ 27 มิถุนายน 2525 แพ้คะแนน ฮอง ซูยางที่เกาหลีใต้ - งแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท WBC เมื่อ 20 มีนาคม 2530 แพ้คะแนน กิลเบอร์โต โรมัน ที่เม็กซิโก
| ประเทศบ้านเกิดของแฟรงค์ เซเดโน หรือ Frank Cedeno คือประเทศอะไร | {
"answer": [
"ประเทศฟิลิปปินส์"
],
"answer_begin_position": [
187
],
"answer_end_position": [
203
]
} |
414 | 651,025 | แฟรงค์ เซเดโน แฟรงค์ เซเดโน (Frank Cedeno) เกิดเมื่อ 16 มีนาคม พ.ศ. 2501 ที่เมืองตาลีซาย ซิตี เซบู ประเทศฟิลิปปินส์ สถิติการชก 56 ครั้ง ชนะ 43 (น็อค 23) เสมอ 3 แพ้ 10ประวัติ ประวัติ. เซเดโนขึ้นชกมวยครั้งแรกเมื่อ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 แพ้คะแนน ราย เด ลอส ซานโตส ที่ ฟิลิปปินส์ จากนั้น ขึ้นชกชนะเป็นส่วนใหญ่ จนได้ครองแชมป์ฟิลิปปินส์รุ่นฟลายเวทเมื่อ 29 มีนาคม พ.ศ. 2523 ชนะคะแนน เมลชอร์ เดกซี และสามารถป้องกันแชมป์ไว้ได้ถึง 3 ครั้ง รวมทั้งชกชนะน็อค มนต์สยาม ฮ.มหาชัย ยก 7 เมื่อ พ.ศ. 2523 และชนะคะแนน แดน พิศาลชัย เมื่อ พ.ศ. 2525 ที่ ฟิลิปปินส์ ต่อมาได้ชิงแชมป์ OPBF ที่เกาหลีใต้เมื่อ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2525 แพ้คะแนน ฮอง ซูยาง ไม่ได้แชมป์ เซเดโนกลับมาชกป้องกันแชมป์ฟิลิปปินส์อีกครั้ง แล้วก็มีโอกาสได้ชิงแชมป์โลกรุ่นฟลายเวท WBC ที่ อังกฤษเมื่อ 27 กันยายน พ.ศ. 2526 ซึ่งเซเดโนเป็นฝ่ายชนะน็อคชาร์ลี มากรี ยก 6 ได้แชมป์มาครอง แต่พอขึ้นชกป้องกันแชมป์ครั้งแรกเมื่อ 18 มกราคม พ.ศ. 2527 ก็เป็นฝ่ายแพ้น็อค โคจิ โคบายาชิ ยก 2 ที่ ญี่ปุ่น เสียแชมป์ไป หลังจากเสียแชมป์โลกไปแล้ว เซเดโนยังคงขึ้นชกชนะรวด รวมทั้งมาชกชนะน็อค ยืนยง ศิษย์ประสงค์ ยก 5 ในไทย จากนั้น เซเดโนได้ชิงแชมป์โลกอีกครั้งเมื่อ 20 มีนาคม พ.ศ. 2530 ที่เม็กซิโก โดยขึ้นชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท WBC แพ้คะแนน กิลเบอร์โต โรมันอย่างเป็นเอกฉันท์ หลังจากชิงแชมป์ไม่สำเร็จ เซเดโนขึ้นชกอีกไม่กี่ครั้ง รวมทั้งที่มาชกแพ้คะแนน ถนอมศักดิ์ ศิษย์โบ๊เบ๊ เมื่อ พ.ศ. 2530 เซเดโนขึ้นชกมวยครั้งสุดท้ายเมื่อ 27 มีนาคม พ.ศ. 2531 แพ้น็อค มิน ยุงชุน ยก 4 ที่เกาหลีใต้ แล้วจึงแขวนนวมไปเกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - แชมป์ฟิลิปปินส์รุ่นฟลายเวท - แชมป์โลกรุ่นฟลายเวท WBC- ชิง 27 กันยายน 2526 นะน็อคชาร์ลี มากรี ยก 6 - เสียแชมป์ 18 มกราคม 2527 แพ้น็อค โคจิ โคบายาชิ ยก 2 ที่ ญี่ปุ่น - เคยชิงแชมป์ต่อไปนี้แต่ไม่สำเร็จ- ชิงแชมป์ OPBF รุ่นฟลายเวท เมื่อ 27 มิถุนายน 2525 แพ้คะแนน ฮอง ซูยางที่เกาหลีใต้ - งแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท WBC เมื่อ 20 มีนาคม 2530 แพ้คะแนน กิลเบอร์โต โรมัน ที่เม็กซิโก
| เซเดโนขึ้นชกมวยครั้งสุดท้ายเมื่อ 27 มีนาคม พ.ศ. 2531 แพ้น็อคให้กับนักมวยประเทศอะไร | {
"answer": [
"เกาหลีใต้"
],
"answer_begin_position": [
1475
],
"answer_end_position": [
1484
]
} |
415 | 201,593 | น้ำตกห้วยชมพู น้ำตกห้วยชมพู ตั้งอยู่ที่ หมู่ 11 ตำบลสันโค้ง อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา เป็นน้ำตกธรรมชาติที่สวยงามร่มรื่น มีความตื้นและลาดชันไปตามแนวเทือกเขา มีต้นชมพู่ป่าตลอดแนวสองข้างทางลำห้วย ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ "ห้วยชมพู" บริเวณใกล้เคียง มีสถานที่ท่องเที่ยวคือ ตาน้ำพุด และถ้ำฝนแสนห่า สามารถท่องเที่ยวได้ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเมษายน ของทุกปี โดยเฉพาะช่วงเดือนกันยายน ถึงธันวาคม
| น้ำตกห้วยชมพู อยู่ในเขตพื้นที่หมู่ 11 ตำบลสันโค้ง อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดใด | {
"answer": [
"จังหวัดพะเยา"
],
"answer_begin_position": [
162
],
"answer_end_position": [
174
]
} |
416 | 201,593 | น้ำตกห้วยชมพู น้ำตกห้วยชมพู ตั้งอยู่ที่ หมู่ 11 ตำบลสันโค้ง อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา เป็นน้ำตกธรรมชาติที่สวยงามร่มรื่น มีความตื้นและลาดชันไปตามแนวเทือกเขา มีต้นชมพู่ป่าตลอดแนวสองข้างทางลำห้วย ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ "ห้วยชมพู" บริเวณใกล้เคียง มีสถานที่ท่องเที่ยวคือ ตาน้ำพุด และถ้ำฝนแสนห่า สามารถท่องเที่ยวได้ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเมษายน ของทุกปี โดยเฉพาะช่วงเดือนกันยายน ถึงธันวาคม
| นอกจากน้ำตกห้วยชมพูที่ตั้งอยู่อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยาแล้ว สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียงมีถ้ำเรียกว่าถ้ำอะไร | {
"answer": [
"ถ้ำฝนแสนห่า"
],
"answer_begin_position": [
365
],
"answer_end_position": [
376
]
} |
417 | 643,651 | แอมานุแอล เปอตี แอมานุแอล โลร็อง เปอตี () อดีตนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียง เกิดเมื่อวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1970 ที่เมืองเดียป ประเทศฝรั่งเศส มีชื่อเล่นว่า "มานูว์" () เปอตีเริ่มต้นเล่นฟุตบอลอาชีพกับทีมเออแอ็ส อาร์ก-ลา-บาตาอีย์ ก่อนจะย้ายไปเล่นกับโมนาโก ซึ่งที่นี่เปอตีได้ร่วมงานกับอาร์แซน แวงแกร์ ซึ่งเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอน ซึ่งต่อมาเมื่อเวนเกอร์ย้ายมาคุมทีมอาร์เซนอลในพรีเมียร์ลีก อังกฤษ เปอตีก็ได้ย้ายตามมาด้วย ด้วยค่าตัว 3.5 ล้านปอนด์ เปอตีเป็นนักฟุตบอลที่ติดทีมชาติฝรั่งเศสในการแข่งขันฟุตบอลโลก 1998 ที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้าภาพ และเป็นผู้ยิงประตูปิดท้ายในนัดชิงชนะเลิศที่ฝรั่งเศสเอาชนะบราซิลไปได้ 3-0 ทำให้ได้แชมป์โลกสมัยแรกเกียรติยศสโมสรเกียรติยศ. สโมสร. - โมนาโก - ลีกเอิง (1): 1996–97 - กุปเดอฟร็องส์ (1): 1990-91- อาร์เซนอล - พรีเมียร์ลีก (1): 1997–98 - เอฟเอคัพ (1): 1997–98 - เอฟเอแชริตีชีลด์ (2): 1998, 1999ทีมชาติทีมชาติ. - ฝรั่งเศส - ฟุตบอลโลก (1): 1998 - ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป (1): 2000ส่วนตัวส่วนตัว. - ผู้เล่นยอดเยี่ยมพรีเมียร์ลีกประจำเดือน (1): เมษายน 1998 - ทีมพรีเมียร์ลีกยอดเยี่ยมแห่งปีสมาคมนักฟุตบอลอาชีพ (1): 1998-99อื่น ๆอื่น ๆ. - เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์: 1998
| แอมานุแอล โลร็อง เปอตีอดีตนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศส มีชื่อเล่นว่าอะไร | {
"answer": [
"มานูว์"
],
"answer_begin_position": [
252
],
"answer_end_position": [
258
]
} |
418 | 643,651 | แอมานุแอล เปอตี แอมานุแอล โลร็อง เปอตี () อดีตนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียง เกิดเมื่อวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1970 ที่เมืองเดียป ประเทศฝรั่งเศส มีชื่อเล่นว่า "มานูว์" () เปอตีเริ่มต้นเล่นฟุตบอลอาชีพกับทีมเออแอ็ส อาร์ก-ลา-บาตาอีย์ ก่อนจะย้ายไปเล่นกับโมนาโก ซึ่งที่นี่เปอตีได้ร่วมงานกับอาร์แซน แวงแกร์ ซึ่งเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอน ซึ่งต่อมาเมื่อเวนเกอร์ย้ายมาคุมทีมอาร์เซนอลในพรีเมียร์ลีก อังกฤษ เปอตีก็ได้ย้ายตามมาด้วย ด้วยค่าตัว 3.5 ล้านปอนด์ เปอตีเป็นนักฟุตบอลที่ติดทีมชาติฝรั่งเศสในการแข่งขันฟุตบอลโลก 1998 ที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้าภาพ และเป็นผู้ยิงประตูปิดท้ายในนัดชิงชนะเลิศที่ฝรั่งเศสเอาชนะบราซิลไปได้ 3-0 ทำให้ได้แชมป์โลกสมัยแรกเกียรติยศสโมสรเกียรติยศ. สโมสร. - โมนาโก - ลีกเอิง (1): 1996–97 - กุปเดอฟร็องส์ (1): 1990-91- อาร์เซนอล - พรีเมียร์ลีก (1): 1997–98 - เอฟเอคัพ (1): 1997–98 - เอฟเอแชริตีชีลด์ (2): 1998, 1999ทีมชาติทีมชาติ. - ฝรั่งเศส - ฟุตบอลโลก (1): 1998 - ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป (1): 2000ส่วนตัวส่วนตัว. - ผู้เล่นยอดเยี่ยมพรีเมียร์ลีกประจำเดือน (1): เมษายน 1998 - ทีมพรีเมียร์ลีกยอดเยี่ยมแห่งปีสมาคมนักฟุตบอลอาชีพ (1): 1998-99อื่น ๆอื่น ๆ. - เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์: 1998
| ผู้ยิงประตูปิดท้ายในนัดชิงชนะเลิศที่ฝรั่งเศสเอาชนะบราซิลไปได้ 3-0 ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 1998 คือใคร | {
"answer": [
"เปอตี"
],
"answer_begin_position": [
532
],
"answer_end_position": [
537
]
} |
419 | 705,453 | แอร์โครยอ แอร์โครยอ (, โครยอฮังกง; ชื่อเดิมคือ โชซ็อนมินฮัง (조선민항)) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศเกาหลีเหนือ ดำเนินการโดยรัฐบาล มีศูนย์บัญชาการในเขตซูนัน กรุงเปียงยาง และมีฐานการบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน (IATA: FNJ) โดยให้บริการเที่ยวบินประจำและเที่ยวบินพิเศษไปยังจุดหมายปลายทางในทวีปเอเชียและยุโรป แอร์โครยอ มีสำนักงานสายการบินในกรุงปักกิ่ง กับนครเสิ่นหยาง ประเทศจีน, นครวลาดีวอสตอค ประเทศรัสเซีย, กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี และมีสำนักงานขายในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย, ประเทศสิงคโปร์, กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน, เขตบริหารพิเศษฮ่องกง, ประเทศคูเวต, ประเทศอิตาลี, ประเทศออสเตรีย และประเทศเยอรมนีประวัติการก่อตั้ง ประวัติ. การก่อตั้ง. แอร์โครยอ ก่อตั้งครั้งแรกภายใต้ชื่อ โซเกา (การบินโซเวียต-เกาหลีเหนือ) ในปี ค.ศ. 1950 เพื่อเชื่อมต่อระหว่างกรุงเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ กับกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย แต่การบริการได้หยุดชะงักลงช่วงหนึ่งระหว่างสงครามเกาหลี จนต่อมาในปี ค.ศ. 1953 สายการบินได้กลับมาเปิดใหม่อีกครั้งในชื่อ ยูแคมปส์ (เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น กรมการบินพลเรือนเกาหลี (CAAK) ในคริสต์ทศวรรษ 1970) เริ่มเปิดให้บริการเที่ยวบินวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1955 และถูกแทนที่ภายใต้การควบคุมของกรมการบินพลเรือนเกาหลี (CAAK) ได้ให้บริการเครื่องบิน ลิซูโนฟ ลิ-2, อานโตนอฟ อาน-2 และอิลยูชิน อิล-12 ส่วนเครื่องบินเทอร์โบ อิลยูชิน อิล-14 และอิลยูชิน อิล-18 ก็ได้ถูกนำเข้ามาเพิ่มในคริสต์ทศวรรษ 1960การให้บริการเครื่องบินไอพ่น การให้บริการเครื่องบินไอพ่น. การให้บริการเครื่องบินไอพ่น เริ่มในปี ค.ศ. 1975 เมื่อเครื่องบินตูโปเลฟ ตู-154 ลำแรกได้ให้บริการเที่ยวบินจากกรุงเปียงยาง ไปยังปราก, เบอร์ลินตะวันออก (ในขณะนั้น) และมอสโก อย่างไรก็ตาม เนื่องจากเครื่องบินตู-154 มีจำนวนไม่เพียงพอ เครื่องบินจึงจำเป็นต้องจอดรับผู้โดยสารระหว่างทางที่อีร์คุตสค์และโนโวซีบีสค์เพิ่มด้วย ต่อมาเครื่องบิน ตู-154, ตู-134 และ อาน-24 ก็เริ่มให้บริการเที่ยวบินในประเทศ เครื่องบิน ตู-154 มีจำนวนมากขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 และเครื่องบิน อิลยูชิน อิล-62 ก็ได้ให้บริการครั้งแรกในปี ค.ศ. 1982 (เป็นเครื่องบินของบุคคลสำคัญ) ในฐานะเที่ยวบินระหว่างประเทศ เปียงยาง-มอสโก โดยไม่หยุดรับผู้โดยสารระหว่างทาง ในช่วงนี้ โซเฟียและเบลเกรด ก็ได้เป็นจุดหมายปลายทางเพิ่มด้วย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการควบคุมการบินในยุโรป ได้มีข้อกำหนดเกี่ยวกับมลพิษทางเสียง แอร์โครยอจึงถูกสั่งห้ามไม่ให้ลงจอดที่ท่าอากาศยานใด ๆ ในทวีปยุโรปอีกเลย สกายแทร็กซ์ ได้ประเมินสายการบินแอร์โครยอให้เป็นสายการบินที่แย่ที่สุดในโลก (ในด้านการบริการและความปลอดภัย) และยังเป็นสายการบินเดียวในโลกที่ได้รับการประเมิน 1 ดาว เนื่องจากการบริการที่ไม่มีประสิทธิภาพการจัดซื้อเครื่องบินใหม่และขยายเที่ยวบิน การจัดซื้อเครื่องบินใหม่และขยายเที่ยวบิน. หลังจากสิ้นสุดสงครามเย็น และการล่มสลายของรัฐคอมมิวนิสต์ ซึ่งส่งผลให้มีเที่ยวบินระหว่างประเทศน้อยลง กรมการบินพลเรือนเกาหลี (CAAK) ได้เปลี่ยนชื่อเป็น แอร์โครยอ ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1992 ต่อมาในปี ค.ศ. 1993 แอร์โครยอได้สั่งซื้อเครื่องบิน อิลยูชิน อิล-76 จำนวน 3 ลำ เพื่อใช้ขนส่งสินค้าไปยังประเทศจีนและรัสเซีย และยังซื้อเครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204-300 ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2007 และมีนาคม ค.ศ. 2010 เพื่อนำมาใช้ในเที่ยวบินระหว่างประเทศแทนเครื่องเก่า หลังจากนั้น แอร์โครยอก็เริ่มปรับปรุงเครื่องบินให้ดีขึ้น และมีแผนเที่ยวบินไปยุโรป พร้อมกับเครื่องบินใหม่ ตู-204 ในเดือนกันยายน 2009 แอร์โครยอได้สั่งซื้อตัวอย่างเครื่องบิน ตู-204-300 และตู-204-100 และยังเจรจาในการสั่งซื้อเครื่องบินซุคฮอย ซูเปอร์เจ็ต 100 เพื่อใช้แทนที่เครื่องบิน ตู-134 และอาน-24 ต่อมา แอร์โครยอได้รับเครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204-100B จำนวน 210 ที่นั่ง และใช้เป็นเที่ยวบินไปยังเมืองต้าเหลียน ประเทศจีน และในปี ค.ศ. 2010 ได้ทำพิธีเปิดเที่ยวบินเปียงยาง-เซี่ยงไฮ้ผู่ตง (เครื่องบิน ตู-134) โดยให้บริการ 2 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2015 แอร์โครยอได้ทำการเปิดเที่ยวบินใหม่ไปยังปักกิ่ง, วลาดีวอสตอค และเสิ่นหยางการให้บริการในเส้นทางใหม่ การให้บริการในเส้นทางใหม่. ในปี ค.ศ. 2011 แอร์โครยอได้เปิดเที่ยวบินใหม่ไปยังกัวลาลัมเปอร์และคูเวตซิตี โดยเครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204 เปิดให้บริการช่วงฤดูการท่องเที่ยว คือช่วงเดือนเมษายน ถึงตุลาคม ในปี ค.ศ. 2012 แอร์โครยอได้กลับมาเปิดเที่ยวบินกัวลาลัมเปอร์อีกครั้ง พร้อมกับการขยายเที่ยวบินไปยังเมืองฮาร์บิน ประเทศจีน และในปีเดียวกัน บริษัทชูเช ซึ่งเป็นบริษัทนำเที่ยว ก็ได้เปิดเส้นทางท่องเที่ยวในเกาหลีเหนือโดยเครื่องบินส่วนตัว เครื่องบินที่ให้บริการได้แก่ อิล-76, มิล-17, อาน-24, ตู-134 และตู-154 ส่วนเที่ยวบินระหว่างประเทศ ใช้เครื่องบิน ตู-204 หรือไม่ก็ อิล-62จุดหมายปลายทาง จุดหมายปลายทาง. รายชื่อด้านล่างแสดงจุดหมายปลายทางของสายการบิน แอร์โครยอ ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2014 ตารางด้านล่างนี้ยังรวมถึงจุดหมายปลายทางเฉพาะฤดูกาลอีกด้วยประวัติเที่ยวบินระหว่างเกาหลีเหนือ–เกาหลีใต้ ประวัติเที่ยวบินระหว่างเกาหลีเหนือ–เกาหลีใต้. เที่ยวบินระหว่างประเทศ เกาหลีเหนือ-เกาหลีใต้ ให้บริการครั้งแรกในปี ค.ศ. 2003 โดยเครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-154 ลงจอดที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน แอร์โครยอเคยให้บริการเที่ยวบิน 40 เที่ยวไปยังโซล, ยังยัง และปูซาน ในประเทศเกาหลีใต้ ส่วนเที่ยวบินจากท่าอากาศยานฮัมฮึง ไปยังท่าอากาศยานนานาชาติยังยังนั้น เริ่มในปี ค.ศ. 2002 แต่ต่อมาท่าอากาศยานยังยังได้ปิดตัวลงในปี ค.ศ. 2008 และไม่มีเที่ยวบินพาณิชย์ระหว่างเกาหลีเหนือ-เกาหลีใต้อีกเลยฝูงบิน ฝูงบิน. ณ เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ฝูงบินของแอร์โครยอทั้งหมดประกอบไปด้วยเครื่องบินดังต่อไปนี้การปรับให้ทันสมัย การปรับให้ทันสมัย. ในปัจจุบัน แอร์โครยออยู่ระหว่างการระดมหาเครื่องบินใหม่ โดยเครื่องบินใหม่อาจจะถูกสร้างโดยรัสเซีย เนื่องจากถูกปิดกั้นจากสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป แอร์โครยอได้เลือกเครื่องบิน อิลยูชิน อิล-96 และซุคฮอย ซูเปอร์เจ็ต 100 ส่วนเครื่องบินที่มีอยู่อย่าง ตูโปเลฟ ตู-204 ก็มีประสิทธิภาพในการบินไปยังมอสโกโดยไม่หยุดพัก นอกจากนี้ แอร์โครยอยังได้ติดตั้งจอโทรทัศน์ในเครื่องบินตูโปเลฟ ตู-204 อีกด้วย นิตรสาร แอร์ไลเนอร์เวิลด์ รายงานว่า แอร์โครยอ พยายามที่จะบินไปยังยุโรปอีกครั้ง ซึ่งเป็นปัจจัยที่จะให้เกิดเที่ยวบินเปียงยาง-เบอร์ลินในอนาคต การบินไปยังยุโรปได้รับการยินยอมอีกครั้งในเดือนเมษายน ค.ศ. 2010 หลังจากถูกปิดกั้นมา 7 ปี ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2011 แอร์โครยอ ได้เปิดเที่ยวบินจากกรุงเปียงยางไปยังกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย สัปดาห์ละ 2 เที่ยว โดยเครื่องบิน ตู-204 และเที่ยวบินไปยังคูเวตซิตี ทุกสัปดาห์ ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2012 ได้มีการเปิดจองที่นั่งออนไลน์เป็นครั้งแรก และในช่วงไตรมาสแรกของปี ค.ศ. 2013 แอร์โครยอได้รับเครื่องบินใหม่อีกครั้ง เป็นเครื่องบิน อานโตนอฟ อาน-148ตูโปเลฟ ตู-204 ตูโปเลฟ ตู-204. เครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204 ลำแรก ถูกส่งมอบเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 2007 ซึ่งถูกส่งข้ามฟากจากอุลยานอฟสก์มายังเปียงยาง ประกอบไปด้วยที่นั่งชั้นธุรกิจ 16 ที่ และชั้นประหยัด 150 ที่ เครื่องบินลำนี้เป็นเครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204-300 ลำแรกที่ถูกส่งออกนอกประเทศรัสเซีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008 เครื่องบิน ตู-204 ถูกกำหนดให้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศ ระหว่างเปียงยาง-สิงคโปร์ และเปียงยาง-กรุงเทพมหานคร แอร์โครยอได้ให้บริการเครื่องบินไอพ่น ตู-204-100B ซึ่งเป็นรูปแบบที่ทันสมัยกว่าเครื่องบิน ตู-204-300 และในวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 2010 แอร์โครยอได้รับมอบเครื่องบิน ตู-204-100B ลำที่สอง และเริ่มให้บริการในวันถัด ๆ มา วันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 2010 เครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204 จำนวน 2 ลำ ได้บินไปยังสหภาพยุโรป และมีโอกาสสูงที่เที่ยวบินเปียงยาง-เบอร์ลิน จะกลับมาให้บริการในอนาคตอุบัติเหตุและอุบัติการณ์อุบัติเหตุและอุบัติการณ์. - วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1983 เครื่องบิน อิลยูชิน อิล-62M ของ CAAK (ในขณะนั้น) ซึ่งเดินทางจากกรุงเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ ไปยังกรุงโกนากรี ประเทศกินี ได้ชนกับภูเขาเฟาตาจัลลอนในกินี ผู้โดยสาร 23 คนเสียชีวิตทั้งหมด และเครื่องบินได้ร่วงตกลงการถูกสั่งห้ามไม่ให้เข้าไปในสหภาพยุโรป การถูกสั่งห้ามไม่ให้เข้าไปในสหภาพยุโรป. เนื่องจากปัจจัยด้านความปลอดภัยและมลพิษทางเสียง แอร์โครยอจึงถูกสั่งห้ามไม่ให้เข้าไปในสหภาพยุโรป ตั้งแต่เดือนมีนาคม ค.ศ. 2006 คณะกรรมาธิการแห่งสหภาพยุโรป ได้พบข้อบกพร่องของเครื่องบินในหลุมจอดของท่าอากาศยานในประเทศฝรั่งเศสและเยอรมนี ทำให้แอร์โครยอถูกกล่าวหาด้านการให้บริการเครื่องบินที่บกพร่องมาก และยังล้มเหลวในการเจรจากับกรมการบินพลเรือนฝรั่งเศส ทำให้ฝ่ายฝรั่งเศสมองว่าสายการบินนี้มีประสิทธิภาพตกต่ำมาก นอกจากนี้ องค์กรอีซียังกล่าวว่า เกาหลีเหนือควบคุมสายการบินประจำชาติได้ไม่เพียงพอ และการประชุมที่ชิคาโก ก็ได้สรุปว่า ด้วยเหตุนี้ หากวัดกันด้วยพื้นฐานของเกณฑ์ตัดสินทั่วไปแล้ว คณะกรรมการจึงได้ประเมินผลว่า แอร์โครยอไม่มีมาตรฐานความปลอดภัยที่ดีพอ ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2010 แอร์โครยอ ได้รับอนุญาตให้กลับไปบินเหนือน่านฟ้ายุโรปได้อีกครั้ง โดยเครื่องบิน ตู-204 ซึ่งมีอุปกรณ์ที่เหมาะสม และเข้ากันกับมาตรฐานนานาชาติ อย่างไรก็ตาม เครื่องบินประเภทอื่น ยังคงถูกสั่งห้ามการประเมินสายการบิน การประเมินสายการบิน. แอร์โครยอ เป็นเพียงสายการบินเดียวที่ได้รับการประเมินเพียง 1 ดาว จาก 681 สายการบิน ได้รับการประเมินโดย สกายแทร็กซ์ ซึ่งแอร์โครยอได้รับการประเมิน 1 ดาวมาแล้ว 4 ปีติดต่อกันสมุดภาพ
| แอร์โครยอ ก่อตั้งครั้งแรกภายใต้ชื่ออะไร ในปี ค.ศ. 1950 | {
"answer": [
"โซเกา (การบินโซเวียต-เกาหลีเหนือ)"
],
"answer_begin_position": [
831
],
"answer_end_position": [
864
]
} |
420 | 705,453 | แอร์โครยอ แอร์โครยอ (, โครยอฮังกง; ชื่อเดิมคือ โชซ็อนมินฮัง (조선민항)) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศเกาหลีเหนือ ดำเนินการโดยรัฐบาล มีศูนย์บัญชาการในเขตซูนัน กรุงเปียงยาง และมีฐานการบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน (IATA: FNJ) โดยให้บริการเที่ยวบินประจำและเที่ยวบินพิเศษไปยังจุดหมายปลายทางในทวีปเอเชียและยุโรป แอร์โครยอ มีสำนักงานสายการบินในกรุงปักกิ่ง กับนครเสิ่นหยาง ประเทศจีน, นครวลาดีวอสตอค ประเทศรัสเซีย, กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี และมีสำนักงานขายในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย, ประเทศสิงคโปร์, กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน, เขตบริหารพิเศษฮ่องกง, ประเทศคูเวต, ประเทศอิตาลี, ประเทศออสเตรีย และประเทศเยอรมนีประวัติการก่อตั้ง ประวัติ. การก่อตั้ง. แอร์โครยอ ก่อตั้งครั้งแรกภายใต้ชื่อ โซเกา (การบินโซเวียต-เกาหลีเหนือ) ในปี ค.ศ. 1950 เพื่อเชื่อมต่อระหว่างกรุงเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ กับกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย แต่การบริการได้หยุดชะงักลงช่วงหนึ่งระหว่างสงครามเกาหลี จนต่อมาในปี ค.ศ. 1953 สายการบินได้กลับมาเปิดใหม่อีกครั้งในชื่อ ยูแคมปส์ (เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น กรมการบินพลเรือนเกาหลี (CAAK) ในคริสต์ทศวรรษ 1970) เริ่มเปิดให้บริการเที่ยวบินวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1955 และถูกแทนที่ภายใต้การควบคุมของกรมการบินพลเรือนเกาหลี (CAAK) ได้ให้บริการเครื่องบิน ลิซูโนฟ ลิ-2, อานโตนอฟ อาน-2 และอิลยูชิน อิล-12 ส่วนเครื่องบินเทอร์โบ อิลยูชิน อิล-14 และอิลยูชิน อิล-18 ก็ได้ถูกนำเข้ามาเพิ่มในคริสต์ทศวรรษ 1960การให้บริการเครื่องบินไอพ่น การให้บริการเครื่องบินไอพ่น. การให้บริการเครื่องบินไอพ่น เริ่มในปี ค.ศ. 1975 เมื่อเครื่องบินตูโปเลฟ ตู-154 ลำแรกได้ให้บริการเที่ยวบินจากกรุงเปียงยาง ไปยังปราก, เบอร์ลินตะวันออก (ในขณะนั้น) และมอสโก อย่างไรก็ตาม เนื่องจากเครื่องบินตู-154 มีจำนวนไม่เพียงพอ เครื่องบินจึงจำเป็นต้องจอดรับผู้โดยสารระหว่างทางที่อีร์คุตสค์และโนโวซีบีสค์เพิ่มด้วย ต่อมาเครื่องบิน ตู-154, ตู-134 และ อาน-24 ก็เริ่มให้บริการเที่ยวบินในประเทศ เครื่องบิน ตู-154 มีจำนวนมากขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 และเครื่องบิน อิลยูชิน อิล-62 ก็ได้ให้บริการครั้งแรกในปี ค.ศ. 1982 (เป็นเครื่องบินของบุคคลสำคัญ) ในฐานะเที่ยวบินระหว่างประเทศ เปียงยาง-มอสโก โดยไม่หยุดรับผู้โดยสารระหว่างทาง ในช่วงนี้ โซเฟียและเบลเกรด ก็ได้เป็นจุดหมายปลายทางเพิ่มด้วย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการควบคุมการบินในยุโรป ได้มีข้อกำหนดเกี่ยวกับมลพิษทางเสียง แอร์โครยอจึงถูกสั่งห้ามไม่ให้ลงจอดที่ท่าอากาศยานใด ๆ ในทวีปยุโรปอีกเลย สกายแทร็กซ์ ได้ประเมินสายการบินแอร์โครยอให้เป็นสายการบินที่แย่ที่สุดในโลก (ในด้านการบริการและความปลอดภัย) และยังเป็นสายการบินเดียวในโลกที่ได้รับการประเมิน 1 ดาว เนื่องจากการบริการที่ไม่มีประสิทธิภาพการจัดซื้อเครื่องบินใหม่และขยายเที่ยวบิน การจัดซื้อเครื่องบินใหม่และขยายเที่ยวบิน. หลังจากสิ้นสุดสงครามเย็น และการล่มสลายของรัฐคอมมิวนิสต์ ซึ่งส่งผลให้มีเที่ยวบินระหว่างประเทศน้อยลง กรมการบินพลเรือนเกาหลี (CAAK) ได้เปลี่ยนชื่อเป็น แอร์โครยอ ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1992 ต่อมาในปี ค.ศ. 1993 แอร์โครยอได้สั่งซื้อเครื่องบิน อิลยูชิน อิล-76 จำนวน 3 ลำ เพื่อใช้ขนส่งสินค้าไปยังประเทศจีนและรัสเซีย และยังซื้อเครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204-300 ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2007 และมีนาคม ค.ศ. 2010 เพื่อนำมาใช้ในเที่ยวบินระหว่างประเทศแทนเครื่องเก่า หลังจากนั้น แอร์โครยอก็เริ่มปรับปรุงเครื่องบินให้ดีขึ้น และมีแผนเที่ยวบินไปยุโรป พร้อมกับเครื่องบินใหม่ ตู-204 ในเดือนกันยายน 2009 แอร์โครยอได้สั่งซื้อตัวอย่างเครื่องบิน ตู-204-300 และตู-204-100 และยังเจรจาในการสั่งซื้อเครื่องบินซุคฮอย ซูเปอร์เจ็ต 100 เพื่อใช้แทนที่เครื่องบิน ตู-134 และอาน-24 ต่อมา แอร์โครยอได้รับเครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204-100B จำนวน 210 ที่นั่ง และใช้เป็นเที่ยวบินไปยังเมืองต้าเหลียน ประเทศจีน และในปี ค.ศ. 2010 ได้ทำพิธีเปิดเที่ยวบินเปียงยาง-เซี่ยงไฮ้ผู่ตง (เครื่องบิน ตู-134) โดยให้บริการ 2 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2015 แอร์โครยอได้ทำการเปิดเที่ยวบินใหม่ไปยังปักกิ่ง, วลาดีวอสตอค และเสิ่นหยางการให้บริการในเส้นทางใหม่ การให้บริการในเส้นทางใหม่. ในปี ค.ศ. 2011 แอร์โครยอได้เปิดเที่ยวบินใหม่ไปยังกัวลาลัมเปอร์และคูเวตซิตี โดยเครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204 เปิดให้บริการช่วงฤดูการท่องเที่ยว คือช่วงเดือนเมษายน ถึงตุลาคม ในปี ค.ศ. 2012 แอร์โครยอได้กลับมาเปิดเที่ยวบินกัวลาลัมเปอร์อีกครั้ง พร้อมกับการขยายเที่ยวบินไปยังเมืองฮาร์บิน ประเทศจีน และในปีเดียวกัน บริษัทชูเช ซึ่งเป็นบริษัทนำเที่ยว ก็ได้เปิดเส้นทางท่องเที่ยวในเกาหลีเหนือโดยเครื่องบินส่วนตัว เครื่องบินที่ให้บริการได้แก่ อิล-76, มิล-17, อาน-24, ตู-134 และตู-154 ส่วนเที่ยวบินระหว่างประเทศ ใช้เครื่องบิน ตู-204 หรือไม่ก็ อิล-62จุดหมายปลายทาง จุดหมายปลายทาง. รายชื่อด้านล่างแสดงจุดหมายปลายทางของสายการบิน แอร์โครยอ ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2014 ตารางด้านล่างนี้ยังรวมถึงจุดหมายปลายทางเฉพาะฤดูกาลอีกด้วยประวัติเที่ยวบินระหว่างเกาหลีเหนือ–เกาหลีใต้ ประวัติเที่ยวบินระหว่างเกาหลีเหนือ–เกาหลีใต้. เที่ยวบินระหว่างประเทศ เกาหลีเหนือ-เกาหลีใต้ ให้บริการครั้งแรกในปี ค.ศ. 2003 โดยเครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-154 ลงจอดที่ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน แอร์โครยอเคยให้บริการเที่ยวบิน 40 เที่ยวไปยังโซล, ยังยัง และปูซาน ในประเทศเกาหลีใต้ ส่วนเที่ยวบินจากท่าอากาศยานฮัมฮึง ไปยังท่าอากาศยานนานาชาติยังยังนั้น เริ่มในปี ค.ศ. 2002 แต่ต่อมาท่าอากาศยานยังยังได้ปิดตัวลงในปี ค.ศ. 2008 และไม่มีเที่ยวบินพาณิชย์ระหว่างเกาหลีเหนือ-เกาหลีใต้อีกเลยฝูงบิน ฝูงบิน. ณ เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ฝูงบินของแอร์โครยอทั้งหมดประกอบไปด้วยเครื่องบินดังต่อไปนี้การปรับให้ทันสมัย การปรับให้ทันสมัย. ในปัจจุบัน แอร์โครยออยู่ระหว่างการระดมหาเครื่องบินใหม่ โดยเครื่องบินใหม่อาจจะถูกสร้างโดยรัสเซีย เนื่องจากถูกปิดกั้นจากสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป แอร์โครยอได้เลือกเครื่องบิน อิลยูชิน อิล-96 และซุคฮอย ซูเปอร์เจ็ต 100 ส่วนเครื่องบินที่มีอยู่อย่าง ตูโปเลฟ ตู-204 ก็มีประสิทธิภาพในการบินไปยังมอสโกโดยไม่หยุดพัก นอกจากนี้ แอร์โครยอยังได้ติดตั้งจอโทรทัศน์ในเครื่องบินตูโปเลฟ ตู-204 อีกด้วย นิตรสาร แอร์ไลเนอร์เวิลด์ รายงานว่า แอร์โครยอ พยายามที่จะบินไปยังยุโรปอีกครั้ง ซึ่งเป็นปัจจัยที่จะให้เกิดเที่ยวบินเปียงยาง-เบอร์ลินในอนาคต การบินไปยังยุโรปได้รับการยินยอมอีกครั้งในเดือนเมษายน ค.ศ. 2010 หลังจากถูกปิดกั้นมา 7 ปี ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2011 แอร์โครยอ ได้เปิดเที่ยวบินจากกรุงเปียงยางไปยังกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย สัปดาห์ละ 2 เที่ยว โดยเครื่องบิน ตู-204 และเที่ยวบินไปยังคูเวตซิตี ทุกสัปดาห์ ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2012 ได้มีการเปิดจองที่นั่งออนไลน์เป็นครั้งแรก และในช่วงไตรมาสแรกของปี ค.ศ. 2013 แอร์โครยอได้รับเครื่องบินใหม่อีกครั้ง เป็นเครื่องบิน อานโตนอฟ อาน-148ตูโปเลฟ ตู-204 ตูโปเลฟ ตู-204. เครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204 ลำแรก ถูกส่งมอบเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 2007 ซึ่งถูกส่งข้ามฟากจากอุลยานอฟสก์มายังเปียงยาง ประกอบไปด้วยที่นั่งชั้นธุรกิจ 16 ที่ และชั้นประหยัด 150 ที่ เครื่องบินลำนี้เป็นเครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204-300 ลำแรกที่ถูกส่งออกนอกประเทศรัสเซีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008 เครื่องบิน ตู-204 ถูกกำหนดให้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศ ระหว่างเปียงยาง-สิงคโปร์ และเปียงยาง-กรุงเทพมหานคร แอร์โครยอได้ให้บริการเครื่องบินไอพ่น ตู-204-100B ซึ่งเป็นรูปแบบที่ทันสมัยกว่าเครื่องบิน ตู-204-300 และในวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 2010 แอร์โครยอได้รับมอบเครื่องบิน ตู-204-100B ลำที่สอง และเริ่มให้บริการในวันถัด ๆ มา วันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 2010 เครื่องบิน ตูโปเลฟ ตู-204 จำนวน 2 ลำ ได้บินไปยังสหภาพยุโรป และมีโอกาสสูงที่เที่ยวบินเปียงยาง-เบอร์ลิน จะกลับมาให้บริการในอนาคตอุบัติเหตุและอุบัติการณ์อุบัติเหตุและอุบัติการณ์. - วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1983 เครื่องบิน อิลยูชิน อิล-62M ของ CAAK (ในขณะนั้น) ซึ่งเดินทางจากกรุงเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ ไปยังกรุงโกนากรี ประเทศกินี ได้ชนกับภูเขาเฟาตาจัลลอนในกินี ผู้โดยสาร 23 คนเสียชีวิตทั้งหมด และเครื่องบินได้ร่วงตกลงการถูกสั่งห้ามไม่ให้เข้าไปในสหภาพยุโรป การถูกสั่งห้ามไม่ให้เข้าไปในสหภาพยุโรป. เนื่องจากปัจจัยด้านความปลอดภัยและมลพิษทางเสียง แอร์โครยอจึงถูกสั่งห้ามไม่ให้เข้าไปในสหภาพยุโรป ตั้งแต่เดือนมีนาคม ค.ศ. 2006 คณะกรรมาธิการแห่งสหภาพยุโรป ได้พบข้อบกพร่องของเครื่องบินในหลุมจอดของท่าอากาศยานในประเทศฝรั่งเศสและเยอรมนี ทำให้แอร์โครยอถูกกล่าวหาด้านการให้บริการเครื่องบินที่บกพร่องมาก และยังล้มเหลวในการเจรจากับกรมการบินพลเรือนฝรั่งเศส ทำให้ฝ่ายฝรั่งเศสมองว่าสายการบินนี้มีประสิทธิภาพตกต่ำมาก นอกจากนี้ องค์กรอีซียังกล่าวว่า เกาหลีเหนือควบคุมสายการบินประจำชาติได้ไม่เพียงพอ และการประชุมที่ชิคาโก ก็ได้สรุปว่า ด้วยเหตุนี้ หากวัดกันด้วยพื้นฐานของเกณฑ์ตัดสินทั่วไปแล้ว คณะกรรมการจึงได้ประเมินผลว่า แอร์โครยอไม่มีมาตรฐานความปลอดภัยที่ดีพอ ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2010 แอร์โครยอ ได้รับอนุญาตให้กลับไปบินเหนือน่านฟ้ายุโรปได้อีกครั้ง โดยเครื่องบิน ตู-204 ซึ่งมีอุปกรณ์ที่เหมาะสม และเข้ากันกับมาตรฐานนานาชาติ อย่างไรก็ตาม เครื่องบินประเภทอื่น ยังคงถูกสั่งห้ามการประเมินสายการบิน การประเมินสายการบิน. แอร์โครยอ เป็นเพียงสายการบินเดียวที่ได้รับการประเมินเพียง 1 ดาว จาก 681 สายการบิน ได้รับการประเมินโดย สกายแทร็กซ์ ซึ่งแอร์โครยอได้รับการประเมิน 1 ดาวมาแล้ว 4 ปีติดต่อกันสมุดภาพ
| สายการบินเดียวที่ได้รับการประเมินเพียง 1 ดาว ประเมินโดยสกายแทร็กซ์ คือสายการบินอะไร | {
"answer": [
"สายการบินแอร์โครยอ"
],
"answer_begin_position": [
2352
],
"answer_end_position": [
2370
]
} |
421 | 556,803 | คู ฮา-รา คู ฮารา (; เกิด 13 มกราคม 1991) หรือชื่อการแสดงว่า ฮาราเป็นนักร้องและนักแสดงชาวเกาหลีใต้ เป็นที่รู้จักในสถานะสมาชิกวงคาราประวัติ ประวัติ. ฮาราเกิด ณ วันที่ 13 มกราคม 1991 ที่เมืองควังจู ประเทศเกาหลีใต้ ก่อนเข้าเป็นสมาชิกวงคารา ฮาราเข้าประกวดในรายการหนึ่งของบริษัทเอสเอ็มเอนเตอร์เทนเมนต์เมื่อปี 2005 ครั้นปี 2007 เธอได้เข้าทดสอบการแสดงกับบริษัทเจวายพีเอนเตอร์เทนเมนต์ แต่ไม่ผ่าน ฮารายังเคยเป็นนางแบบสินค้าออนไลน์ โดยมีผู้มาเชิญชวนหลังต้องตาต้องใจภาพถ่ายของเธอบนเว็บไซต์แห่งหนึ่ง เพราะการเป็นนางแบบนี้ ฮาราจึงได้เป็นสมาชิกวงคาราซึ่งเปิดตัวเมื่อปี 2007 นั้นเอง ปัจจุบัน ฮาราเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยสตรีซ็องชิน วันที่ 5 มกราคม 2010 ฮารารับว่า ไปทำศัลยกรรมใบหน้าและฟันมา โดยไปฉีดสารเสริมดั้ง และปรับรูปฟันใหม่ เธอยังว่า เธอไปทำศัลยกรรมบริเวณดวงตาเพื่อให้ตาสองชั้นของเดิมนั้นเห็นชัดขึ้นชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. วันที่ 28 มิถุนายน 2554 มีประกาศว่า ฮารากับยง จุน-ฮย็อง สมาชิกวงบีสต์ คบหากันเป็นคู่รัก ครั้นวันที่ 27 มีนาคม 2556 มีประกาศว่า ทั้งสองคนแยกทางกันแล้ว แต่สัญญาณจะเป็นเพื่อนที่ดีต่อกันผลงานละครวาไรตีโชว์พิธีกรซิงเกิลเพลงประกอบละครผลงาน. ซิงเกิลเพลงประกอบละคร. - 2013: Magic Of Love (Galileo 2 OST, Korean version) - 2012: Secret Love (Kara Collection) - 2011: I Love U, I Want U, I Need U ( City Hunter OST, Acoustic version)รางวัล
| คู ฮาราเป็นนักร้องและนักแสดงชาวเกาหลีใต้ เกิดที่เมืองใดของประเทศเกาหลีใต้ | {
"answer": [
"เมืองควังจู"
],
"answer_begin_position": [
266
],
"answer_end_position": [
277
]
} |
1,698 | 556,803 | คู ฮา-รา คู ฮารา (; เกิด 13 มกราคม 1991) หรือชื่อการแสดงว่า ฮาราเป็นนักร้องและนักแสดงชาวเกาหลีใต้ เป็นที่รู้จักในสถานะสมาชิกวงคาราประวัติ ประวัติ. ฮาราเกิด ณ วันที่ 13 มกราคม 1991 ที่เมืองควังจู ประเทศเกาหลีใต้ ก่อนเข้าเป็นสมาชิกวงคารา ฮาราเข้าประกวดในรายการหนึ่งของบริษัทเอสเอ็มเอนเตอร์เทนเมนต์เมื่อปี 2005 ครั้นปี 2007 เธอได้เข้าทดสอบการแสดงกับบริษัทเจวายพีเอนเตอร์เทนเมนต์ แต่ไม่ผ่าน ฮารายังเคยเป็นนางแบบสินค้าออนไลน์ โดยมีผู้มาเชิญชวนหลังต้องตาต้องใจภาพถ่ายของเธอบนเว็บไซต์แห่งหนึ่ง เพราะการเป็นนางแบบนี้ ฮาราจึงได้เป็นสมาชิกวงคาราซึ่งเปิดตัวเมื่อปี 2007 นั้นเอง ปัจจุบัน ฮาราเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยสตรีซ็องชิน วันที่ 5 มกราคม 2010 ฮารารับว่า ไปทำศัลยกรรมใบหน้าและฟันมา โดยไปฉีดสารเสริมดั้ง และปรับรูปฟันใหม่ เธอยังว่า เธอไปทำศัลยกรรมบริเวณดวงตาเพื่อให้ตาสองชั้นของเดิมนั้นเห็นชัดขึ้นชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. วันที่ 28 มิถุนายน 2554 มีประกาศว่า ฮารากับยง จุน-ฮย็อง สมาชิกวงบีสต์ คบหากันเป็นคู่รัก ครั้นวันที่ 27 มีนาคม 2556 มีประกาศว่า ทั้งสองคนแยกทางกันแล้ว แต่สัญญาณจะเป็นเพื่อนที่ดีต่อกันผลงานละครวาไรตีโชว์พิธีกรซิงเกิลเพลงประกอบละครผลงาน. ซิงเกิลเพลงประกอบละคร. - 2013: Magic Of Love (Galileo 2 OST, Korean version) - 2012: Secret Love (Kara Collection) - 2011: I Love U, I Want U, I Need U ( City Hunter OST, Acoustic version)รางวัล
| คู ฮาราเป็นนักร้องและนักแสดงชาวเกาหลีใต้ เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"13"
],
"answer_begin_position": [
248
],
"answer_end_position": [
250
]
} |
422 | 37,324 | โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2521 เดิมให้ชื่อไว้ว่า “โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร)” และมอบหมายให้ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รักษาราชการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน จนถึงปลายปีถัดมา จึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และในปีเดียวกัน นางอัมพา แสนทวีสุข ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก และเลื่อนฐานะขึ้นเป็นผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียนฯ ในเวลาต่อมา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด อาคารเรียน “สธ ๑, สธ ๒ และ สธ ๓” เมื่อกลางปี พ.ศ. 2525 และปลายปี พ.ศ. 2529 ตามลำดับ รวมทั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อกลางปี พ.ศ. 2555 ตลอดจนโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามอาคารเรียน “สธ ๔” และอาคารหอประชุม “สิรินธราลัย” ด้วย นอกจากนี้ โรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทาน ประจำปีการศึกษา 2532 และ 2544 และในปี พ.ศ. 2541 นักเรียนของโรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลเหรียญทองแดง จากการเข้าร่วมการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิก ที่ประเทศอิตาลี ในฐานะผู้แทนประเทศไทย ขณะที่นักกีฬาของโรงเรียนฯ ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในฐานะผู้แทนทีมชาติไทย จากการเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลชายหาด ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 อีกด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ถือกำเนิดขึ้น โดยเจตจำนงของผาสุก และเง็ก มณีจักร คหบดีชาวปากเกร็ดสองสามีภรรยา ซึ่งมีบุตรชายและหลานชายเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย บริจาคที่ดินบริเวณใกล้กับถนนติวานนท์เป็นจำนวน 25 ไร่ 1 งาน 18 ตารางวา เพื่อสร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อต้นปีการศึกษา 2520 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้งคือ สุวรรณ จันทร์สม อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้อำนวยการกองการมัธยมศึกษาในขณะนั้น, สมพงษ์ พูลสวัสดิ์ และกว้าง รอบคอบ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ขณะนั้นเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนปากเกร็ด เป็นผู้ประสานงานจัดตั้ง ในระยะเริ่มแรก โรงเรียนยังไม่มีอาคารเรียนถาวร มีเพียงที่ดินซึ่งกำลังถมและปรับสภาพ จึงต้องไปอาศัยใช้โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ เป็นสถานที่ในการรับสมัครเข้าเรียน และเมื่อกระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งโรงเรียนฯ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2521 โดยใช้ชื่อว่า โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร) มีคณาจารย์ชุดแรก 22 คน นักเรียนชั้น ม.ศ.1 และ ม.1 รุ่นแรก จำนวน 12 ห้อง รวม 527 คน ครู-อาจารย์ 22 ท่าน ได้ฝากนักเรียนชายให้เรียนที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และฝากนักเรียนหญิงให้เรียนที่โรงเรียนสตรีนนทบุรี โดยอยู่ในความดูแลของคณาจารย์ชายหญิง รวม 9 ท่าน ต่อมาในปีการศึกษา 2522 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราว จำนวน 25 ห้องเรียน และอาคารเรียนถาวร จึงได้ย้ายนักเรียนกลับคืนมาทั้งหมด แต่เนื่องจากบริเวณที่ตั้งของโรงเรียนไม่ติดถนน ประพัฒน์ แก่นรัตนะ เจ้าของที่ดินด้านหน้าโรงเรียนที่ติดถนนติวานนท์ จึงได้อนุญาตให้ที่ดินเพื่อสร้าง “ถนนแก่นรัตนะ” (ถนนส่วนบุคคล) เป็นทางเข้าออกโรงเรียน ขนาดของถนน กว้าง 12 เมตร ยาว 343 เมตร และได้ทำหนังสือมอบไว้ต่อกรมสามัญศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 ได้บริจาคที่ดินในส่วนที่เป็นถนนให้กับทางโรงเรียน โดยเทศบาลนครปากเกร็ดจัดงบประมาณจัดสร้างถนนคอนกรีตให้กับทางโรงเรียน ทำให้พื้นที่ของโรงเรียนเพิ่มขึ้นเป็น 25 ไร่ 3 งาน 18 ตารางวา จนถึงปัจจุบัน ต่อมา ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศเปลี่ยนชื่อโรงเรียน จาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร) เป็น โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2525 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระนามาภิไธยย่อ สธ ให้เป็นนามของอาคารเรียนสองหลังแรกของโรงเรียนฯ คือ สธ ๑ และ สธ ๒ พร้อมทั้งได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารเรียนทั้งสองหลังด้วยพระองค์เอง โดยอักษรพระนามาภิไธยย่อ สธ ที่ประดับอยู่บนอาคารในวันนั้น ทำขึ้นจากโฟมพ่นสีทอง ซึ่งเป็นผลงานของนายอมร นิพันธ์ประศาสน์ อาจารย์หัวหน้าหมวดวิชาศิลปศึกษาในขณะนั้น ปีการศึกษา 2526 โรงเรียนฯ ได้รับงบประมาณให้สร้างถนนลาดยาง จากริมถนนติวานนท์ ถึงทางเข้าประตูโรงเรียน ต่อมาในปีการศึกษา 2527 โรงเรียนฯ ได้รับงบประมาณจากกระทรวงศึกษาธิการ และเงินสมทบจากสมาคมผู้ปกครองและครูของโรงเรียนฯ เพื่อสร้างอาคารหอประชุม และในปีการศึกษา 2528 โรงเรียนฯ ได้รับงบประมาณจากกรมสามัญศึกษา และเงินสมทบ จากสมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัยฯ, สมาคมผู้ปกครองและครูฯ และเงินบำรุงการศึกษา เพื่อจัดสร้างถนนคอนกรีต ภายในบริเวณโรงเรียนฯ ในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานนามอาคารหอประชุมโรงเรียนฯ ว่า หอประชุม สิรินธราลัย และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ ศาสตราจารย์ ดร.ธานินทร์ กรัยวิเชียร องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ เป็นประธานในพิธีเปิดหอประชุมฯ วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2535 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามอาคารเรียนหลังใหม่ว่า สธ ๓ พร้อมทั้งได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารเรียนดังกล่าว พร้อมทั้งสวนเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษามหาราชินี, ห้องสมุดสวนเสริมปัญญา และศาลากลางน้ำ ด้วยพระองค์เอง นอกจากนี้ ยังทรงเยี่ยมชมห้องสมุดติณสูลานนท์ รวมถึงนิทรรศการและกิจกรรมทางวิชาการของคณาจารย์และนักเรียนด้วย รวมเวลาที่ประทับอยู่ที่โรงเรียนราว 4 ชั่วโมงเศษ จากนั้น ในปีการศึกษา 2537 โรงเรียนฯ ได้จัดตั้ง ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ และ ศูนย์อินเทอร์เน็ตกุหลาบนนท์ เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงเรียน ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ ในปีการศึกษา 2538 โรงเรียนฯ ยังได้ทดลองระบบการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ไปยัง โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จังหวัดตาก อีกด้วย ปัจจุบัน เป็นโรงเรียนคู่พัฒนา ร่วมกับโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ บริเวณลานอเนกประสงค์ของโรงเรียนฯ อย่างเป็นทางการ พร้อมทั้งทอดพระเนตรความก้าวหน้าของโรงเรียนฯ ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ของนักเรียนด้วย นับเป็นการเสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมโรงเรียนฯ เป็นครั้งที่สามนับแต่ก่อตั้งเป็นต้นมาสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนหลวงพ่อสวนกุหลาบ สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน. หลวงพ่อสวนกุหลาบ. เนื่องในโอกาส ครบรอบ 100 ปี โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้ร่วมกับ สมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ดำเนินการจัดสร้างพระพุทธรูปหลวงพ่อสวนกุหลาบจำลองขึ้น และทางโรงเรียนได้รับหลวงพ่อสวนกุหลาบจำลององค์ดังกล่าว จากการอุปการะของ คุณบุญมา และคุณไพเราะห์ พึ่งทอง โดยจัดพิธีอัญเชิญมาประดิษฐานยังโรงเรียน เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 ต่อมา เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 นายโอฬาร อัศวฤทธิกุล ร่วมกับ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้ทำพิธีพุทธาภิเษกเททองหล่อหลวงพ่อสวนกุหลาบ เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ โดยมีขนาดหน้าตักกว้าง 19 นิ้ว เพื่อมอบให้กับโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย สำหรับเป็นพระพุทธรูปประจำโรงเรียน ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 นายสุโข วุฑฒิโชติ ผู้อำนวยการโรงเรียนในขณะนั้น พร้อมด้วยคณาจารย์ และนักเรียน ได้จัดกระบวนอัญเชิญหลวงพ่อสวนกุหลาบมาประดิษฐานชั่วคราว ณ ห้องผู้อำนวยการ เมื่อหอพระจัดสร้างเสร็จสมบูรณ์ จึงได้อัญเชิญหลวงพ่อสวนกุหลาบมาประดิษฐาน ณ หอพระหน้าโรงเรียน เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543พระพุทธรูป ปาง 25 พุทธศตวรรษ พระพุทธรูป ปาง 25 พุทธศตวรรษ. นางดุษฎี พงศ์ศาสตร์ อดีตผู้อำนวยการโรงเรียน มีดำริให้จัดสร้างพระพุทธรูปปางลีลา ในพุทธลักษณะใกล้เคียงกับพระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์ขึ้น เพื่อประดิษฐานบริเวณหน้าโรงเรียน เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของบุคลากรภายในโรงเรียน เมื่อองค์พระจัดสร้างเสร็จสมบูรณ์แล้ว จึงได้ขนานนามว่า พระพุทธรูปปาง 25 พุทธศตวรรษ มีความหมายว่า พระพุทธรูปอันสร้างเป็นที่ระลึก ในโอกาสที่พระพุทธศาสนาบรรจบสองพันห้าร้อยปี โดยเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 ได้อัญเชิญมาประดิษฐานเคียงเบื้องขวาของหลวงพ่อสวนกุหลาบ ณ หอพระหน้าโรงเรียน จนถึงปัจจุบันพระกริ่งปัญจพร พระกริ่งปัญจพร. พระกริ่งปัญจพรนี้ มีชนวนเก่ามาแต่สมัย สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว) เจ้าคุณสนธิ์ เจ้าคุณศรีประหยัด ชนวนพระชินราชอินโดจีน และโลหะอาถรรพณ์ รวมทั้งแผ่นพระยันต์ จากเกจิอาจารย์อีกหลายรูป โดยประกอบพิธีปลุกเสก ที่พระอุโบสถ วัดพระยาทำวรวิหาร กรุงเทพมหานคร พระกริ่งปัญจพรองค์นี้ ประสิทธิ์และทวีรัตน์ สุขโชติ อดีตอาจารย์ของโรงเรียน เป็นผู้อุปการะมอบให้แก่ทางโรงเรียน เพื่ออัญเชิญมาประดิษฐาน ภายในหอพระบริเวณหน้าโรงเรียน เป็นสิริมงคลแก่บุคลากรของโรงเรียนสืบไปตราประจำโรงเรียน ตราประจำโรงเรียน. เป็นรูปหนังสือเล่มหนา หน้าปกหนังสือมี พระเกี้ยวยอด และอักษรพระปรมาภิไธยย่อ “จปร” มีไม้บรรทัด ดินสอ ปากกา คั่นอยู่ ด้านขวามีช่อดอกกุหลาบ มุมซ้ายล่างมีริบบิ้นผูกช่อดอกกุหลาบ ซึ่งมีตัวอักษรกำกับว่า “โรงเรียน หลวง สวนกุหลาบ”คติพจน์ คติพจน์. เป็นพุทธศาสนสุภาษิตความว่า “สุวิชาโน ภวํ โหติ” แปลว่า “ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ”พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5 พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5. เป็นพระบรมรูปประทับยืนเต็มพระองค์ ขนาดหนึ่งเท่าครึ่งของพระองค์จริง ฉลองพระองค์ชุดสากล พระหัตถ์ซ้ายถือธารพระกร พระหัตถ์ขวาถือพระมาลา ความสูง 267 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 800-1,000 กิโลกรัม รมสีเนื้อมันปู หรือสีเม็ดมะขามสุก บนแผ่นจารึกที่ฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ อัญเชิญตราพระปรมาภิไธยย่อ จปร ไว้เหนือข้อความดังต่อไปนี้ :- ปัจจุบัน อัญเชิญขึ้นประดิษฐานบนเวทีหน้าลานอเนกประสงค์ของโรงเรียนฯ ซึ่งเดิมทีเดียว โรงเรียนฯ มีเพียงพระบรมรูป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประดิษฐานบนเวทีหน้าลานเอนกประสงค์เท่านั้นจริยธรรมประจำโรงเรียน จริยธรรมประจำโรงเรียน. จริยธรรมประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี แต่งขึ้นโดย นางอัมพา แสนทวีสุข อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนฯ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติสำหรับนักเรียนของโรงเรียนฯ มีทั้งหมด 3 ประการคือ1. ลูก สวนฯ นนท์ ต้องรู้จักกล่าวคำว่า “สวัสดี” “ขอบคุณ” “ขอโทษ” “เสียใจ” ได้เองจนเป็นนิสัย 2. ลูก สวนฯ นนท์ ต้องรู้จักจัดอันดับตัวเอง ตามก่อน-หลังได้ 3. ลูก สวนฯ นนท์ ต้องรู้จักรักสะอาด ไม่ทิ้งขยะในที่ต่างๆสีประจำโรงเรียนสีประจำโรงเรียน. - สีชมพู คือ สีประจำวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว องค์ผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ทั้งยังเป็น สีแห่งความรัก ความสามัคคี - สีฟ้า คือ สีประจำวันพระบรมราชสมภพ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทั้งยังเป็น สีแห่งความดีงาม มีความนึกคิดที่สูงส่ง - สีชมพู-ฟ้า จึงมีความหมายถึง องค์ผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และพระบรมราชินีนาถ ทั้งยังหมายถึง เป็นแหล่งที่มีความรัก ความสามัคคี ของผู้ที่มีความดีงาม มีความนึกคิดที่สูงส่งต้นไม้ประจำโรงเรียนต้นไม้ประจำโรงเรียน. - ต้นกัลปพฤกษ์ ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงปลูก เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2525 ในโอกาสเสด็จฯ ทรงเปิดอาคารเรียน สธ 1 และ สธ 2เพลงประจำโรงเรียน เพลงประจำโรงเรียน. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ใช้เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นเพลงประจำโรงเรียน ร่วมกับโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ทั้ง 10 แห่ง โดยหม่อมราชวงศ์เลื่อน สิงหรา เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง จากทำนองแขกต่อยหม้อ จังหวะสองชั้นและในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2543 ซึ่งตรงกับวันสถาปนาโรงเรียน ครบรอบ 22 ปี นายสุโข วุฑฒิโชติ ผู้อำนวยการโรงเรียน ได้มีดำริในการจัดทำอัลบั้มเพลงของโรงเรียนขึ้น หนึ่งในจำนวนดังกล่าวนั้น คือเพลงมาร์ชสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี ซึ่งแต่งขึ้นเพื่อเป็นเพลงมาร์ชประจำโรงเรียนด้วยรายนามอาจารย์ใหญ่และผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีรายนามอาจารย์ใหญ่และผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. 1. กมล ธิโสภา (พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2522) 2. ประยูร ธีระพงษ์ (พ.ศ. 2522) ทั้งสองท่านเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยในขณะนั้น ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งให้รักษาการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนอีกตำแหน่งหนึ่ง 3. อัมพา แสนทวีสุข (พ.ศ. 2522-พ.ศ. 2531) นางอัมพาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ และเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนท่านแรก ดำรงตำแหน่งอยู่ถึง 9 ปี ซึ่งยาวนานที่สุดนับแต่ก่อตั้งโรงเรียน และเฝ้าฯ รับเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสทรงเปิดอาคาร สธ ๑ และ สธ ๒ เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2525 ท่านถึงแก่กรรมขณะดำรงตำแหน่ง ต่อมา โรงเรียนจึงได้ตั้งชื่ออาคารกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีเพื่อเป็นอนุสรณ์ว่า “อาคารทศวรรษ อัมพา แสนทวีสุข” 4. สมหมาย วัฒนะคีรี (พ.ศ. 2532-พ.ศ. 2535) นางสมหมายดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ในปีที่ได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทานสมัยแรก เมื่อปีการศึกษา 2532 และเฝ้าฯ รับเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสทรงเปิดอาคาร สธ ๓ เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2535 นางสมหมาย พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 5. ผ่องศรี บัวประชุม (พ.ศ. 2535-พ.ศ. 2537) นางสาวผ่องศรีดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นระยะเวลาสั้นๆ เพียงสองปีเท่านั้น 6. ดุษฎี พงศ์ศาสตร์ (พ.ศ. 2537-พ.ศ. 2540) นางดุษฎีดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ในปีที่ห้องสมุดของโรงเรียนได้รับเลือกให้เป็น “ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก” เมื่อปีการศึกษา 2539 และเป็นผู้ริเริ่มการจัดสร้างพระพุทธรูปปาง 25 พุทธศตวรรษ ท่านเป็นภริยาของนายบรรจง พงศ์ศาสตร์ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา นางดุษฎีพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากเกษียณอายุราชการ 7. กรองทอง ด้วงสงค์ (พ.ศ. 2540-พ.ศ. 2542) นางกรองทองดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นระยะเวลาสั้นๆ เพียงสองปีเท่านั้นก็พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนสายน้ำผึ้ง 8. สุโข วุฑฒิโชติ (พ.ศ. 2542-พ.ศ. 2545) นายสุโขถือเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนที่เป็นสุภาพบุรุษท่านแรก ท่านจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา และเคยเป็นอาจารย์ที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ก่อนจะได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการเป็นท่านแรก จากนั้นจึงมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ท่านเป็นผู้พัฒนา และนำพาโรงเรียนเข้าสู่ความเป็นยุคใหม่อย่างแท้จริง ด้วยโครงการต่างๆ มากมาย ทั้งทางวัตถุ และทางจิตใจ เช่น พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5, ซุ้มทางเข้าหน้าโรงเรียน, สถานเชิญธง, หอพระหน้าโรงเรียน, ห้องจาริกานุสรณ์, อาคารฝ่ายปกครองและประชาสัมพันธ์หลังใหม่, ห้องวิทยาศาสตร์โอลิมปิก, สนามวอลเลย์บอลชายหาด “สนามถึงฝั่ง”, ศาลากลางน้ำในสวนเสริมปัญญา, ปรับปรุงภูมิทัศน์ในส่วนต่างๆ ของโรงเรียน เป็นต้น จนกระทั่งโรงเรียนได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทานเป็นสมัยที่สอง ในปีการศึกษา 2544 นายสุโขพ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากเกษียณอายุราชการ นอกจากนี้ ยังเคยดำรงตำแหน่ง สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดสมุทรปราการ ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2557 9. อุทัย รัตนพงศ์ (พ.ศ. 2545-พ.ศ. 2547) นายอุทัย ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนในระยะเวลาสั้นๆ เพียงสองปีเท่านั้น แต่ก็ได้สานต่อนโยบายต่างๆ เมื่อครั้งที่ นายสุโข ยังดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการจนสำเร็จลุล่วงทั้งหมด ก่อนจะพ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากเกษียณอายุราชการ 10. สุทธิศักดิ์ เฟื่องเกษม (พ.ศ. 2547-พ.ศ. 2552) นายสุทธิศักดิ์ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน และเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษา หลังการเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารสถานศึกษา ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นเวลาประมาณ 6 ปี ก่อนจะย้ายไปเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษา ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ กรุงเทพมหานคร 11. ปรเมษฐ์ โมลี (พ.ศ. 2553-พ.ศ. 2555) นายปรเมษฐ์ เข้ารับตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษาฯ ตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2553 12. สุนีย์ สอนตระกูล (พ.ศ. 2556-พ.ศ. 2557) 13. วิทยา ศรีชมภู (พ.ศ. 2557-2559) 14. โพยม จันทร์น้อย (พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน)สถานที่ตั้ง อาคาร และ สถานที่ต่างๆ ภายในโรงเรียนสถานที่ตั้ง สถานที่ตั้ง อาคาร และ สถานที่ต่างๆ ภายในโรงเรียน. สถานที่ตั้ง. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 51/4 หมู่ที่ 5 ตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ใกล้กับห้าแยกปากเกร็ด โดยมาตามถนนติวานนท์ ทางที่มุ่งหน้าไปยังจังหวัดปทุมธานี ประมาณ 1 กิโลเมตร หรือหากมาจากสี่แยกสวนสมเด็จฯ ให้มาตามถนนติวานนท์ ทางที่มุ่งหน้าไปอำเภอปากเกร็ด ประมาณ 5 กิโลเมตร สามารถเดินทางโดยรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ ของ ขสมก สาย 33 และ 90อาคารต่างๆ ภายในโรงเรียนอาคารต่างๆ ภายในโรงเรียน. 1. อาคารเรียน “สธ ๑” สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2522 เป็นอาคารเรียนหลังแรกของโรงเรียน เป็นอาคาร 4 ชั้น มีจำนวน 32 ห้อง หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ โรงอาหารนักเรียน และห้องอาหารอาจารย์ “สุโขสโมสร”, ห้องพักอาจารย์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ สังคมศึกษา และห้องปฏิบัติการหุ่นยนต์ 2. อาคารเรียน “สธ ๒” สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2524 เป็นอาคารเรียนหลังที่สองของโรงเรียน เป็นอาคารเรียน 4 ชั้น มีจำนวน 40 ห้อง หันหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ลักษณะเหมือนกับ อาคาร สธ 1 ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้าม อาคาร สธ 1 โดยมี ลานอเนกประสงค์ คั่นกลาง โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ ห้องพักอาจารย์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาต่างประเทศ ห้องพิพิธภัณฑ์โรงเรียนฯ และห้องพระพุทธศาสนา 3. อาคารเรียน “สธ ๓” สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2533 เป็นอาคารเรียนหลังที่สามของโรงเรียน เป็นอาคาร 4 ชั้น มีจำนวน 24 ห้อง หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ ห้องจาริกานุสรณ์ฯ ห้องผู้อำนวยการ ห้องวิชาการ และห้องพักอาจารย์ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ 4. อาคารเรียน “สธ ๔” สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2539 เพื่อทดแทนอาคารชั่วคราว บริเวณติดกับอาคาร สธ ๑ และ สธ ๓ หันหน้าไปทางทิศตะวันตก เป็นอาคารเรียนหลังที่ห้าของโรงเรียน โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ ห้องฝ่ายบริการ ห้องแผนงานและสารสนเทศ ห้องประชุม ห้องพยาบาล ห้องโสตทัศนศึกษา ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการทางภาษา (Sound Lab) และห้องพักอาจารย์ งานแนะแนว หมวดพาณิชยกรรม 5. อาคารหอประชุม “สิรินธราลัย” สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2527 บริเวณติดกับถนนรอบลานอเนกประสงค์ ฝั่งตรงข้ามกับพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5 หันหน้าไปทางทิศตะวันตก เพื่อเป็นอาคารหอประชุมของโรงเรียน โดยหอประชุมอยู่บนชั้น 2 นอกจากนี้ยังมี ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก (เดิมชื่อ ห้องสมุดติณสูลานนท์ เพื่อเป็นเกียรติแด่ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ ศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย) และห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ ที่ชั้นล่างของอาคารอีกด้วย 6. อาคารอเนกประสงค์ (ตึก 6) สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2535 บริเวณติดกับอาคาร สธ ๑ เป็นอาคารเรียนหลังที่สี่ของโรงเรียน หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้เป็นห้องเรียน และห้องกิจกรรม โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ ร้านสหกรณ์ ห้องปฏิบัติการนาฏศิลป์ ห้องปฏิบัติการเบเกอรี่ ศูนย์ปฏิบัติการวิชาศิลปศึกษา ก ห้องกิจกรรมเทควันโด โรงยิมเนเซียม และห้องพักอาจารย์ หมวดคหกรรม หมวดศิลปศึกษา 7. อาคารโรงฝึกงาน สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2525 บริเวณใกล้ทางออกด้านหลังโรงเรียน หันหน้าไปทางทิศตะวันตก ทางซ้ายมือของอาคารอเนกประสงค์ เพื่อเป็นอาคารปฏิบัติการ ห้องเรียน ห้องพักอาจารย์ ของ หมวดช่างอุตสาหกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 8. อาคารศูนย์เกษตรกรรม สร้างขึ้นใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2545 ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังห้องสมุดสวนเสริมปัญญา เพื่อเป็นอาคารและพื้นที่ปฏิบัติการ ห้องเรียน และห้องพักอาจารย์ หมวดวิชาเกษตรกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 9. อาคาร 6 ชั้น อาคารเรียนอบจ.นนทบุรี สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2550 แทนที่อาคารทศวรรษ อัมพา แสนทวีสุข และเรือนเกษตรกรรม ที่ได้รื้อถอนไป เป็นอาคารเรียน 5 ชั้น หันหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ มีลักษณะแตกต่างไปจากอาคารเรียนหลังอื่นๆ อยู่ติดกับ อาคาร สธ 2 และมีสนามฟุตบอลอยู่หน้าอาคาร ปัจจุบันเปิดใช้ทำการเรียนการสอนแล้ว โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ ห้องพักอาจารย์ ม.2 และห้องเรียน ม.1 (บางห้อง) ม.2 (ทั้งระดับ) ห้องผู้อำนวยการ ห้องทะเบียนและวัดผล ห้องวิชาการ นโยบายและแผนงาน และห้องธุรการ 10. อาคาร7ชั้น อาคารเรียนอบจ.นนทบุรี 40 ปี สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ระยะเวลาการสร้าง 2560-2561 เป็นโครงการจัดสร้างซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ โดยจัดซื้อที่ดินเพิ่มเติมในปีการศึกษา 2554-2555 เพื่อรองรับและบริการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นอาคารเรียนในอดีตอาคารเรียนในอดีต. 1. อาคารทศวรรษ อัมพา แสนทวีสุข สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2530 บริเวณใกล้กับข้างอาคาร สธ ๒ เพื่อเป็นอาคารกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี หันหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยชื่ออาคารนั้นตั้งขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ นางอัมพา แสนทวีสุข อดีตผู้อำนวยการผู้ล่วงลับ ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นอาคารกิจกรรมวงโยธวาธิตของโรงเรียน ที่มีสภาพทรุดโทรมมาก โรงเรียนจึงได้รื้อถอน เพื่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2549 2. เรือนเกษตรกรรม ตั้งอยู่ใกล้บริเวณหน้าโรงเรียน ติดถนนรอบสนามฟุตบอล ติดกับอาคารทศวรรษ อัมพา แสนทวีสุข หันหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เคยเป็นเรือนปฏิบัติการ ห้องเรียน ห้องพักอาจารย์ ของ หมวดวิชาเกษตรกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ที่มีสภาพทรุดโทรมมาก โรงเรียนจึงได้รื้อถอน เพื่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2549 3. อาคารชั่วคราว สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2522 เดิมมีจำนวน 3 หลัง รวม 25 ห้องเรียน แต่ยังเหลือเป็นอาคารสุดท้าย ตั้งอยู่บริเวณระหว่างอาคาร สธ ๑ และ สธ ๓ เป็นอาคารโครงเหล็ก หลังคามุงกระเบื้องลอนคู่ ยึดลูกกรงเหล็กกั้นเป็นกำแพงด้านหน้าและหลัง กั้นห้องด้วยไม้อัด ซึ่งเรียกกันในหมู่ศิษย์เก่าว่า ห้องเรียนเล้าไก่ ที่มีสภาพทรุดโทรมมาก โรงเรียนจึงได้รื้อถอน เพื่อสร้างอาคาร สธ ๔ เมื่อปี พ.ศ. 2538สถานที่สำคัญภายในโรงเรียนสถานที่สำคัญภายในโรงเรียน. 1. ลานอเนกประสงค์ อยู่บริเวณหน้าหอประชุมสิรินธราลัย คั่นกลางระหว่างอาคาร สธ ๑ และ สธ ๒ ประกอบด้วยลานคอนกรีตขนาดกว้างใหญ่ ยกสูงจากพื้นถนน และอัฒจันทร์รูปครึ่งวงกลม ขนาบโอบสองข้างเสมือนปีก จากฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (แต่เดิมเป็นเวทีขนาดเล็ก ตั้งอยู่หน้าแท่นประดิษฐานพระบรมรูป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เท่านั้น) สถานที่แห่งนี้ใช้สำหรับทำกิจกรรม และพิธีการต่างๆ ของโรงเรียน ที่สำคัญคือ พิธีหน้าเสาธง โดยในปีการศึกษา 2550 ผู้อำนวยการสถานศึกษา อนุมัติให้สร้างหลังคาปกคลุมสูง 4 ชั้นตึก และในปีการศึกษาถัดมา (พ.ศ. 2551) ยังดำเนินการต่อเติมออกไปยังบริเวณสวนเสริมปัญญาด้วย 2. ห้องสมุด “สวนเสริมปัญญา” สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2534 ด้านข้างหอประชุมสิรินธราลัย เพื่อเป็นห้องสมุดธรรมชาติ มีศาลาพักผ่อนจำนวน 7 หลัง ทาสีตามวันในสัปดาห์ โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปิดในโอกาสเสด็จฯ ทรงเปิดอาคาร สธ 3 ทรงชื่นชมการจัดห้องสมุดธรรมชาติเช่นนี้อย่างมาก 3. สวนเฉลิมพระเกียรติ “60 พรรษา มหาราชินี” ตั้งอยู่บริเวณหน้าโรงเรียน ข้างอาคาร สธ ๓ เนื่องในวโรกาสที่ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงประกอบพิธีเปิดสวนฯ ในโอกาสเสด็จฯ ทรงเปิดอาคาร สธ ๓ เมื่อปี พ.ศ. 2535 ปัจจุบันเป็นเพียงสวนหย่อมรอบหอพระเท่านั้น 4. ห้องจาริกานุสรณ์ (ลพชัย แก่นรัตนะ) ตั้งอยู่ใต้อาคาร สธ ๓ ติดกับบันไดทางขึ้นอาคารเรียนทางขวา ในอดีตเป็นห้องฝ่ายปกครอง ก่อนจะปรับปรุงขึ้นใหม่ เพื่อเป็นห้องเกียรติยศของโรงเรียน ประกอบด้วยศูนย์รวมเกียรติประวัติของโรงเรียน ภายในมีภาพถ่ายของผาสุก และเง็ก มณีจักร ผู้มอบที่ดินสำหรับจัดสร้างโรงเรียน รูปปั้นของอัมพา แสนทวีสุข ผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียน ซึ่งพัฒนาโรงเรียนไว้อย่างมากในระยะเริ่มก่อตั้ง ทำเนียบลำดับอาจารย์ใหญ่และผู้อำนวยการ รวมทั้งแผ่นศิลาฤกษ์และแบบจำลอง อาคารทั้งหมดภายในโรงเรียน ตลอดจนกระทั่ง ถ้วยรางวัล โล่รางวัล และเกียรติยศต่างๆ ซึ่งได้รับจากการแข่งขัน ทั้งเชิงวิชาการและกีฬา อันเป็นความภาคภูมิใจของโรงเรียน 5. สถานเชิญธง “ลี้กุลเจริญ” สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2545 บริเวณริมถนนตรงข้ามลานอเนกประสงค์ ฝั่งเบื้องหลังพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นเสาเชิญธงชาติไทย และ ธงประจำโรงเรียน สีชมพู-ฟ้า อนุเคราะห์การจัดสร้างโดย นายอภิสิทธิ์ ลี้กุลเจริญ จึงใช้นามสกุลของนายอภิสิทธิ์เป็นชื่อสถานเชิญธงแห่งนี้ 6. หอพระพุทธรูปประจำโรงเรียน สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545 บริเวณกลางสวนเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษามหาราชินี เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญประจำโรงเรียน 3 องค์ ได้แก่ หลวงพ่อสวนกุหลาบจำลอง พระพุทธรูปปาง 25 พุทธศตวรรษ 7. อาคารบริหารกิจการนักเรียนและประชาสัมพันธ์ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2544 บริเวณข้างสวนหย่อมหอพระ ฝั่งติดริมกำแพงหน้าโรงเรียนฯ จำนวน 2 ชั้น เพื่อเป็นที่ตั้งสำนักงานของกลุ่มงานบริหารกิจการนักเรียน และงานประชาสัมพันธ์โรงเรียนฯ 8. สนามถึงฝั่ง สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545 บริเวณข้างประตูหน้าด้านนอกกำแพงโรงเรียนฯ ฝั่งซ้ายของถนนทางเข้า เป็นสนามสำหรับแข่งขันและฝึกซ้อมวอลเลย์บอลชายหาด อนุเคราะห์การจัดสร้างโดย นายดิเรก ถึงฝั่ง สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนนทบุรี อดีตรองผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี จึงได้ใช้นามสกุลของนายดิเรกเป็นชื่อสนาม 9. อัฒจันทร์ ตั้งอยู่ข้างสนามฟุตบอล ฝั่งตรงข้ามกับสถานเชิญธงลี้กุลเจริญ เป็นอัฒจันทร์ก่ออิฐถือปูนอย่างถาวร สร้างขึ้นเพื่อทดแทนอัฒจันทร์ชั่วคราว ที่ใช้เหล็กฉากเชื่อมต่อกัน เปิดใช้เป็นครั้งแรก ในงานวันแม่แห่งชาติ เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2550 10. ศาลาแก่นรัตนะ เดิมเรียกว่า ศาลากลางน้ำ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 บนเกาะกลางสระน้ำ หลังห้องสมุดสวนเสริมปัญญา เพื่อเป็นอนุสรณ์ ในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ โรงเรียน โดยได้ทรงพระนิพนธ์บทสักวาสด เพื่อทรงขับร้องร่วมกับคณะนักเรียน ภายในศาลา เมื่อวันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2535 โดยต้นฉบับลายพระหัตถ์สักวาบทนี้ ได้จัดใส่กรอบเก็บรักษาไว้ ที่ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก มีเนื้อความดังต่อไปนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2545 ได้รับการบูรณะขึ้นใหม่ เป็นเรือนไทยสวยงาม สำหรับให้นักเรียนได้ศึกษาสถาปัตยกรรมไทย โดยให้ชื่อตามนามสกุลของผู้มีพระคุณจัดสร้าง นอกจากนี้ ยังมีบริการเรือถีบในสระน้ำด้วยลักษณะชุมชนโดยรอบโรงเรียน ลักษณะชุมชนโดยรอบโรงเรียน. ชุมชนที่อยู่ล้อมรอบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เป็นการผสมผสานระหว่างชุมชนพื้นบ้านดั้งเดิม ที่ประกอบอาชีพทำสวนเป็นหลัก และชุมชนใหม่ ในรูปแบบหมู่บ้านจัดสรร (เมืองทองธานี, บ้านสวนกุหลาบ) แวดล้อมไปด้วยอาคารบ้านเรือน (ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ, กระทรวงยุติธรรม, กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงการต่างประเทศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ฯลฯ) โรงพยาบาล (โรงพยาบาลชลประทาน, โรงพยาบาลปากเกร็ด, โรงพยาบาลมงกุฎวัฒนะ ฯลฯ) ธนาคาร โรงงานอุตสาหกรรม สถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งของรัฐบาล และเอกชน (โรงเรียนปากเกร็ด, โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี, โรงเรียนชลประทานวิทยา, โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์, ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษาเพื่อคนตาบอด ฯลฯ) ห้างสรรพสินค้า (เซ็นทรัล พลาซา แจ้งวัฒนะ, โรงภาพยนตร์เมเจอร์ฮอลลีวูด แจ้งวัฒนะ) วัด (วัดชลประทานรังสฤษฎ์, วัดกู้) (สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ นนทบุรี, เกาะเกร็ด ฯลฯ) สิ่งก่อสร้างสำคัญ (สะพานพระราม 4, อุโมงค์ปากเกร็ด) เป็นต้นเกียรติยศของโรงเรียน เกียรติยศของโรงเรียน. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้พัฒนาการจัดการศึกษา และการอำนวยประโยชน์ทางการศึกษา ให้แก่นักเรียนอย่างต่อเนื่อง จนทัดเทียมและนำหน้าสถานศึกษาอื่นๆ โดยได้รับรางวัลต่างๆ เป็นจำนวนมาก เช่น รางวัลสถานศึกษาพระราชทาน ประจำปีการศึกษา 2532 และ ปีการศึกษา 2544, รางวัลโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2532 นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลการจัดบรรยากาศห้องสมุดดีเด่น และรางวัลการใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอนดีเด่น จากกรมสามัญศึกษา ประจำปีการศึกษา 2533, รางวัลโรงเรียนพัฒนาห้องสมุดดีเด่น จากกรมสามัญศึกษา ประจำปีการศึกษา 2534, รางวัลห้องสมุดโรงเรียนที่มีผลงานดีเด่น จากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2535, ห้องสมุดโรงเรียนได้รับการคัดเลือกให้เป็น ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก ของกลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษาส่วนกลาง กลุ่มที่ 9 จากกรมสามัญศึกษา, เป็นห้องสมุดโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จากจำนวน 11 แห่ง ที่ได้รับการคัดเลือกจาก สถาบันองค์การสหพันธ์ห้องสมุดนานาชาติ ให้เป็นสถานที่ศึกษาดูงานของคณะบรรณารักษ์จากทั่วโลก ที่เข้าร่วมการประชุมบรรณารักษ์นานาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2542, โล่ประกาศเกียรติคุณ โรงเรียนมัธยมศึกษาส่วนกลางขนาดใหญ่พิเศษ ที่จัดกิจกรรมการอ่านเฉลิมพระเกียรติได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อปีการศึกษา 2542 เป็นต้นเกียรติยศทางการศึกษา เกียรติยศทางการศึกษา. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้จัดส่งนักเรียนที่มีความสามารถในด้านต่างๆ เข้าประกวดและแข่งขันในกิจกรรมที่หน่วยงานภายนอกจัดขึ้นมาโดยตลอด และประสบความสำเร็จมากมาย ทั้งในระดับอำเภอ ระดับจังหวัด ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ มาเป็นลำดับ โดยเริ่มสร้างชื่อเสียงมาตั้งแต่ได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหาจากสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2524 ต่อมาในปี พ.ศ. 2526 ก็ได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหา ในรายการ 180 ไอคิว ทาง ททบ.5 และได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหา ในรายการ ธรรมะกับเยาวชน ทาง ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. อีกด้วย ในปี พ.ศ. 2529 ได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ในรายการ เสาร์สโมสร ทาง ททบ.5 ต่อมา ในปี พ.ศ. 2530 ได้รับประทานเกียรติบัตร ในการตอบปัญหาธรรมะกับเยาวชน จาก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ณ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ในปีเดียวกันนั้น ยังได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหาภาษาอังกฤษ ในรายการ เชลล์ ควิซ ทางช่อง 9 และเป็นแชมป์ 9 สมัย จากการตอบปัญหาในรายการ เยาวชนคนเก่ง ทางช่อง 9 เช่นกัน ในปี พ.ศ. 2531 ได้รับรางวัลชนะเลิศ เป็นการทัศนศึกษาที่ประเทศอังกฤษ จากรายการ เก่งจริงๆ ทาง ททบ.5 ในปีต่อมา (พ.ศ. 2532) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ การแข่งขันทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ และในปี พ.ศ. 2534 ได้รับรางวัลชนะเลิศในการประกวด โครงการเยาวชนช้างเผือก ของเครือซิเมนต์ไทย ต่อมา ในปี พ.ศ. 2541 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ในการแข่งขันตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ในปีถัดมา ได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหาทางวิชาการ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในงานวันเกษตรแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2542 ในระดับชาติ พ.ศ. 2543 นักเรียนของโรงเรียน สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้เป็นลำดับที่ 1 ของคณะสหเวชศาสตร์ สาขากายภาพบำบัด และคณะรัฐศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ยังได้รับทุนการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอก ที่ประเทศเยอรมนี และญี่ปุ่น และศึกษาในระดับปริญญาตรีถึงปริญญาโท ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน อีกด้วย ในระดับนานาชาติ นักเรียนของโรงเรียน ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทย เข้าร่วมการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิก ประจำปี พ.ศ. 2541 ที่ประเทศอิตาลี ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง และการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิก ประจำปี พ.ศ. 2542 ซึ่งสามารถผ่านเข้าถึงรอบ 12 คนสุดท้ายเกียรติยศทางการกีฬา เกียรติยศทางการกีฬา. นักกีฬาของโรงเรียน ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในนามทีมชาติไทย ในหลายชนิดกีฬา เช่น วอลเลย์บอล, วอลเลย์บอลชายหาด (เอเชียนเกมส์ 1998 ประเทศไทย), เทควันโด (ซีเกมส์ 2003 ประเทศเวียดนาม), ฟันดาบ (ซีเกมส์ 2001 ประเทศมาเลเซีย) เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัล จากการส่งทีมโรงเรียนเข้าแข่งขัน ในระดับอำเภอ จนถึงระดับประเทศ เช่น ฟุตบอล (รองชนะเลิศอันดับ 1 ฟุตบอลนักเรียนกรุงเทพมหานคร รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี), วอลเลย์บอล (ประเภทหญิง ชนะเลิศ กีฬานักเรียนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2540 รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี), วอลเลย์บอลชายหาด (ประเภทหญิง ชนะเลิศ สิงห์ไทยแลนด์โอเพ่น ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2544 จังหวัดขอนแก่น), กรีฑา (6 เหรียญทอง การแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22 และ โล่รางวัลนักกรีฑาดีเด่น กีฬานักเรียนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2542), ว่ายน้ำ (2 เหรียญทอง กีฬานักเรียนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543), แบดมินตัน (ชนะเลิศ กีฬานักเรียนจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2543) เป็นต้นเกียรติยศทางกิจกรรม เกียรติยศทางกิจกรรม. กิจกรรมเชียร์และแปรอักษร มีการตั้งชมรมขึ้นภายในโรงเรียน เพื่อเป็นผู้แทนโรงเรียนไปจัดกิจกรรมภายนอก มีผลงานสำคัญคือ ในพิธีเปิดงานวันเด็กแห่งชาติ พ.ศ. 2543 และ พิธีเปิดการแข่งขันกีฬานักเรียนจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2542 นอกจากนี้ กิจกรรมวงโยธวาทิต ยังได้รับรางวัลเหรียญเงิน จากการแข่งขันวงโยธวาทิตแห่งประเทศไทย และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 (ประเภท ก) จากการประกวดวงโยธวาทิตนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2544กิจกรรมของโรงเรียน กิจกรรมของโรงเรียน. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้จัดให้มีกิจกรรมภายในโรงเรียน ส่งผู้แทนนักเรียนออกไปร่วมกิจกรรมภายนอกโรงเรียน ทั้งกับโรงเรียนใกล้เคียง และโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ทั้งนี้ เพื่อเป็นการฝึกฝนให้นักเรียนกล้าคิด กล้าแสดงออก มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ดี ตลอดจนการใช้ชีวิตร่วมกับบุคคลที่มีความแตกต่างกันในสังคมกิจกรรมภายในโรงเรียน กิจกรรมภายในโรงเรียน. กิจกรรมชุมนุมเชียร์และแปรอักษรที่ ม.1 และ ม.2 ทุกคนต้องผ่านการเข้าร่วม และเป็นอีกหนึ่งวัฒนธรรมของนักเรียนสวนกุหลาบทุกแห่งต้องรู้จักและปฏิบัติการแข่งขันกีฬาภายใน การแข่งขันกีฬาภายใน. การแข่งขันกีฬาภายในของโรงเรียนฯ จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 คณะสีคือ คณะสีเขียว คณะสีแดง คณะสีเหลือง คณะสีม่วง และ คณะสีน้ำเงิน ต่อมา (ตั้งแต่ พ.ศ. 2545) มีการแต่งชื่อคณะสี ให้ไพเราะและคล้องจองกันด้วยคือ พฤกษาขจี, รพีจรัส, ปภัสอำพัน, อัญชันรุจี และ นทีพิสุทธิ์ ตามลำดับ เพื่อเข้าร่วมการแข่งขันในหลายชนิดกีฬา เช่น ฟุตบอล, บาสเกตบอล, วอลเลย์บอล, วอลเลย์บอลชายหาด, กรีฑา, แบดมินตัน, เทควันโด เป็นต้น รวมถึงจัดกิจกรรมเชียร์และแปรอักษร วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในโรงเรียนฯ ส่งเสริมการออกกำลังกาย ตลอดจนก่อให้เกิดความสนุกสนานระหว่างเพื่อนนักเรียนนิทรรศการทางวิชาการ นิทรรศการทางวิชาการ. การจัดงานสัปดาห์นิทรรศการทางวิชาการของโรงเรียนฯ มีชื่องานว่า สวนฯนนท์ปริทรรศน์ จัดขึ้นเป็นประจำในช่วงกลางเดือนมกราคมของทุกปี โดยเป็นการแสดงผลงานต่างๆ ของอาจารย์และนักเรียน เพื่อให้บุคคลภายในและภายนอกโรงเรียนฯ ได้เล็งเห็นถึงความสามารถของบุคลากรของโรงเรียนฯ ตลอดจนเป็นเวทีกลาง ในการแลกเปลี่ยนทรรศนะ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน และแนวคิดทางวิชาการต่างๆกิจกรรมชุมนุม กิจกรรมชุมนุม. กิจกรรมชุมนุม เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมตามจินตนาการของตน ภายใต้เหตุผล และความควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษาชุมนุม เพื่อสร้างผลงานออกสู่สาธารณะต่อไป โดยภายในโรงเรียนฯ ได้มีการก่อตั้งชุมนุมขึ้นเป็นจำนวนมาก ตามความสนใจของนักเรียนที่มีหลากหลาย ทั้งด้านภาษา กีฬา สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม สังคม พาณิชยกรรม คอมพิวเตอร์ ศิลปศึกษา เป็นต้นวารสารสวนกุหลาบนนท์ วารสารสวนกุหลาบนนท์. วารสารสวนกุหลาบนนท์ เดิมออกเป็นรายภาคเรียน ปีละสองครั้ง มีสมาคมผู้ปกครองและครูของโรงเรียนฯ เป็นเจ้าของ ปัจจุบันเป็นวารสารรายปี ซึ่งโรงเรียนฯ รับเป็นเจ้าของ โดยมีชุมนุมประชาสัมพันธ์ เป็นกองบรรณาธิการ มีเนื้อหาข่าวสาร รวมไปถึงกิจกรรม และภาพบรรยากาศต่างๆ ตลอดทั้งปีการศึกษาวงโยธวาทิตของโรงเรียน วงโยธวาทิตของโรงเรียน. วงโยธวาทิต โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2523 โดยได้รับการสนับสนุนจาก นางอัมพา แสนทวีสุข ผู้อำนวยการในขณะนั้น และในปัจจุบัน ได้รับการสนับสนุนจาก สมาคมผู้ปกครองและครูของโรงเรียนฯ คณะผู้บริหารและคุณครูของโรงเรียนฯ กิจกรรมการแสดงของวงโยธวาทิตโรงเรียนฯ มีทั้งรูปแบบ Marching และ Concert โดยออกงานทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ซึ่งเป็นการแสดงเพื่อกิจกรรมของโรงเรียน และการบริการชุมชน ทั้งภาครัฐและเอกชน โดยสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียนตลอดมา อาทิเช่น ในการประกวดวงโยธวาทิต ชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ณ สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ ระหว่างปี พ.ศ. 2544-2547 วงโยธวาทิตของโรงเรียนฯ ได้รับรางวัลทุกปี ประกอบด้วย- 21 ธันวาคม พ.ศ. 2544 - รางวัลเหรียญเงิน ระดับประเทศ (จัดโดย บริษัท สยามดนตรียามาฮ่า จำกัด ร่วมกับ กระทรวงศึกษาธิการ) - 12 มกราคม พ.ศ. 2545 - รางวัลเหรียญทอง และ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับประเทศ (จัดโดย กรมพลศึกษา ร่วมกับ บมจ.ธนาคารทหารไทย) - 10 มกราคม พ.ศ. 2546 - รางวัลเหรียญทอง ประเภทบรรเลงเพลงไทยดีเด่น และ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับประเทศ (จัดโดย สำนักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ ร่วมกับ บมจ.ธนาคารทหารไทย) - 30 มกราคม พ.ศ. 2547 - รางวัลเหรียญทอง ระดับประเทศ (จัดโดย บริษัท สยามดนตรียามาฮ่า จำกัด ร่วมกับ กระทรวงศึกษาธิการ)กิจกรรมเชียร์และแปรอักษร กิจกรรมเชียร์และแปรอักษร. ชุมนุมเชียร์และแปรอักษร สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เป็นกิจกรรมที่เริ่มจัดตั้ง เป็นกลุ่มงานเล็กๆ โดยยังไม่เป็นชุมนุม ในปีการศึกษา 2539 (ส.ก.น.รุ่น 16) เพื่อรองรับ งานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ ในขณะนั้นมีเพียงการใช้เพลงเชียร์ การแปรอักษรด้วยรีบรุก และเพลต 1:1 ต่อมา มีการก่อตั้งเป็นชุมนุมขึ้น ในปีการศึกษา 2541 (ส.ก.น. รุ่นที่ 18) และในปีถัดมา (พ.ศ. 2542) ในสมัยผู้อำนวยการสุโข วุฑฒิโชติ ได้มีการนำเพลต 1:16 มาประกอบการแปรอักษร ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2552 ชุมนุมฯ ได้รับเกียรติให้เป็นผู้ฝึกซ้อม และควบคุมการแปรอักษร ให้แก่นักเรียน โรงเรียนบ้านบางกะปิ ในการแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2553 หรือ "กรุงเทพเกมส์" นอกจากการแปรอักษร ในงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีแล้ว ทางชุมนุมเชียร์และแปรอักษร สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ยังได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานระดับชาติอีกมากมาย อาทิ- ปีการศึกษา 2543 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานวันเด็กแห่งชาติ ณ สนามศุภชลาศัย - ปีการศึกษา 2545 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานชุมนุมลูกเสือโลก ร่วมกับโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ ในอัฒจันทร์เดียวกัน - ปีการศึกษา 2547 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานวันเด็กแห่งชาติ ณ สนามศุภชลาศัย ร่วมกับโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย - ปีการศึกษา 2548 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ร่วมกับโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี - ปีการศึกษา 2552 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ร่วมกับโรงเรียนเทพศิรินทร์ - ปีการศึกษา 2553 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานชุมนุมเยาวชนคนรักชาติรักประชาธิปไตย ณ สนามศุภชลาศัย ร่วมกับโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต - ปีการศึกษา 2553 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย ณ สนามศุภชลาศัย ในปัจจุบันชุมนุมเชียร์และแปรอักษรฯ ถือเป็น 1 ใน 5 ชุมนุมวัฒนธรรมของโรงเรียน และเป็นชุมนุมที่มีสมาชิกชุมนุมมากที่สุดในโรงเรียน เนื่องจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทุกคน ต้องเป็นสมาชิกชุมนุม โดยมีจุดประสงค์เพื่อรักษา ส่งเสริม ประเพณีวัฒนธรรมของโรงเรียน และแสดงศักยภาพความเป็นสวนกุหลาบ ให้เป็นที่ประจักษ์ มีอาจารย์สุจินตรา ผริตะโกมล รองผู้อำนวยการ กลุ่มการบริหารวิชาการและแผนงาน, อาจารย์ชาญ บัณฑิตสิงห์ อดีตหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นที่ปรึกษาของชุมนุมกิจกรรมร่วมกับกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กิจกรรมร่วมกับกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย. ดูบทความหลักที่ กิจกรรมร่วมของกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้ร่วมกันจัดกิจกรรม เพื่อเชื่อมความสามัคคีระหว่างสถาบันคือ งานชุมนุมลูกเสือ-เนตรนารี สวนกุหลาบสัมพันธ์ ที่เป็นกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือเนตรนารีร่วมกัน และ การแข่งขันกรีฑา สวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งเป็นกิจกรรมแข่งขันกีฬาประเภทลู่และลานร่วมกันบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนอาจารย์บุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน. อาจารย์. - อนุสรณ์ เกิดจนา - อาจารย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม แชมป์ 10 สมัย จาก รายการเกมเศรษฐี เดอะ แชมเปียน ทาง ไอทีวี - ครรชิต อมรภักดี - อาจารย์กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา ผู้ฝึกสอนเทควันโดแก่เยาวภา บุรพลชัย เมื่อครั้งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา - เสมอ ทองดอนอ่อน - อาจารย์กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา อดีตหัวหน้าระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 หัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมวอลเลย์บอลหญิง และวอลเลย์บอลชายหาดหญิงของโรงเรียนฯศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน. - กิตติกร เลียวศิริกุล (เรียว) OSKN1 - ผู้กำกับภาพยนตร์ - ธัญญะ วงศ์นาค (แมน) OSKN2 - ผู้จัดการทีม สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสน, ผู้ประกาศข่าวกีฬา และพิธีกรรายการ ทันโลกกีฬา ทางไทยทีวีสีช่อง 3 - ปรเมศวร์ มินศิริ OSKN3 - ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ สนุก.คอม กระปุก.คอม และ พริตตี้แก๊ง.คอม - สุวิน ไกรภูเบศ OSKN3 - ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Beauty Buffet - วาสนา นาน่วม (เล็ก) OSKN4 - ผู้สื่อข่าวสายทหาร หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์, ผู้เขียนหนังสือชุด ลับ ลวง พราง - สบชัย ไกรยูรเสน (ฟอร์ด) OSKN5 - นักร้อง เพลงไทยสากล, นักดนตรี - เศกพล อุ่นสำราญ (โก้ มิสเตอร์แซ็กซ์แมน) OSKN9 - นักร้องเพลงไทยสากล, นักดนตรี - สุรุจ (จุลพงษ์) ปรีดารัตน์ (จุ้ย) OSKN10 - นักร้องเพลงสากล - แอนณา ไพจินดา (แอนนา) OSKN11 - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - ศรัญญา ศรีสาคร (จุ๋ม) OSKN11 - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - ลัดดาวัลย์ ศรีสาคร (จ๋อม) OSKN11 - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - พัชรี แสงเมือง (ต๋อย) OSKN** - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - ว่าที่ร้อยเอก ดร. ศรัณย์ อมาตยกุล OSKN11 นักวิชาการและนักธุรกิจ - มนัสนันท์ แพงขะ (หมู) OSKN13 - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - รัตนาภรณ์ อาลัยสุข (อ้อย) OSKN** - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - สายใจ แสนเสนีย์ (สายใจ วลี) - OSKN14 นักร้องเพลงลูกทุ่ง - ชื่นชอบ คงอุดม OSKN1* สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร พรรคประชาธิปัตย์ - มินดา (ศรินทรา) นิตยวรรธนะ (ปู) OSKN15 - ผู้ดำเนินรายการ ตู้ ปณ.ข่าว 3 คู่กับกฤต เจนพานิชการ ทางช่อง 3 ,อดีตผู้ดำเนินรายการข่าว เจาะเกาะติด ทางช่อง 7 สี, อดีตผู้ประกาศข่าว โมเดิร์นไนน์ทีวี, พิธีกรรายการโทรทัศน์ - ภารดี อยู่ผาสุข (เปิ้ล) OSKN18 - นักแสดง - รณกรณ์ บุญมี OSKN19 - อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ภูวเนตรนรินทร์ (เจษฎา) จันทรนาคี (เจษ) OSKN19 - ผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมทีเอ็นเอ็น - เยาวภา บุรพลชัย (วิว) OSKN20 - นักกีฬาเทควันโด ทีมชาติไทย - อัมภิกา ชวนปรีชา (กุ่กกุ๊ก) OSKN20 - รองอันดับสอง มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส ประจำปี พ.ศ. 2549, นางงามทูตการท่องเที่ยวนานาชาติ ประจำปี พ.ศ. 2549, ผู้ประกาศข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 - อิทธิพัทธ์ กุลพงษ์วณิชย์ (ต๊อบ) OSKN21 - ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เถ้าแก่น้อย ฟู๊ดแอนด์มาร์เก็ตติ้ง จำกัด - ประสิทธิ์ พูนสิริไพบูลย์ (บุ๊ง) OSKN24 - ผู้ประกาศข่าว สถานีวิทยุกรมการรักษาดินแดน สปอร์ตเรดิโอ เอฟเอ็ม 96.0 เมกะเฮิร์ตซ ในเครือสยามสปอร์ต - ณฉัตร จันทพันธ์ (นิกกี) OSKN26 - ผู้ชนะเลิศการประกวด แอลจี สตาร์ส ทาเลนต์ ประจำปี พ.ศ. 2551, พิธีกรและนักแสดง - ณัฐชา จันทพันธ์ (เมาส์) OSKN27 - นักร้อง สมาชิกวงบี-โอ-วาย และพิธีกร - คียาภัทร โพธิ์วงศ์ไพรเลิศ (คี) OSKN** - มือเบสวงเคลียร์ สังกัดค่ายเพลงจีนี่เรคอร์ดส - กรรวี แก้วกอ (อุ๋มอิ๋ม)-นักแสดงจากเรื่องแม่ยายคงกระพัน - มนชนก แสงฉายเพียงเพ็ญ (โม) OSKN28 - นักแสดง - อภิษฐา คล้ายอุดม (มีน) OSKN28 - นักแสดงองค์กรที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนฯสมาคมผู้ปกครองและครู สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี องค์กรที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนฯ. สมาคมผู้ปกครองและครู สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. สมาคมผู้ปกครองและครู สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี () ก่อตั้งในนามชมรม เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2523 ตามมติของที่ประชุมร่วมกันระหว่าง นางอัมพา แสนทวีสุข ผู้อำนวยการโรงเรียนฯ, ศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และผู้มีอุปการคุณต่อโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เพื่อเป็นหน่วยงานสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนในด้านต่างๆ ให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว เนื่องจากศักยภาพของภาครัฐมีจำกัด โดยมี นาวาอากาศเอก ยุทธพงศ์ กิตติขจร (ยศในขณะนั้น) เป็นประธานชมรม (และนายกสมาคมฯ คนแรก) ต่อมา คณะกรรมการชมรมฯ จึงยื่นคำขออนุญาตจดทะเบียนในรูปสมาคม เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ปัจจุบันมีนายวิชัย บรรดาศักดิ์ นายกเทศมนตรีเทศบาลนครปากเกร็ด เป็นนายกสมาคมฯมูลนิธิ สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี มูลนิธิ สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. มูลนิธิ สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (ชื่อย่อ: ม.สกน.; ) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2533 เพื่อส่งเสริมการศึกษาแก่นักเรียนของโรงเรียนฯ ด้วยการมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่เรียนดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ รวมถึงให้ความสนับสนุนช่วยเหลือโรงเรียนฯ ในกิจการส่งเสริมการศึกษา ทางการเงินและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนดำเนินงานสาธารณประโยชน์ โดยมูลนิธิฯ มีทรัพย์สินประกอบด้วย เงินสดจำนวน 314,432 บาท 66 สตางค์ เป็นทุนประเดิม พร้อมด้วยโฉนดที่ดิน 1 ฉบับ ซึ่งเป็นที่ตั้งของมูลนิธิฯ เลขที่ 77/20 หมู่ที่ 5 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีคณะกรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน ประธานมูลนิธิฯ คนแรกคือ พลโท จันทรคุปต์ สิริสุทธิ์ ดำรงตำแหน่งระหว่างวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2533-3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 ปัจจุบัน (ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541) มีนายไพโรจน์ นพทีปกังวาล เป็นประธานชมรมครูเก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ชมรมครูเก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. ชมรมครูเก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 เพื่อเป็นหน่วยประสานงานกลาง ระหว่างอดีตครู-อาจารย์ของโรงเรียนฯ รวมทั้งจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิกชมรมฯ ตลอดจนให้การสนับสนุน ส่งเสริมโดยประการต่างๆ แก่สมาชิก โรงเรียนฯ และชุมชน โดยมีการประสานงานจัดประชุมครูเก่าเป็นครั้งแรก เพื่อลงมติจัดตั้งชมรมฯ อย่างเป็นทางการ ทั้งนี้ กลุ่มอดีตคณาจารย์ จำนวน 18 ท่าน ลงความเห็นให้ นางกอบเกื้อ โคกสีอำนวย อดีตผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ทำหน้าที่รักษาการประธานชมรมฯ เป็นการชั่วคราวสมาคมศิษย์เก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี สมาคมศิษย์เก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. สมาคมศิษย์เก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ก่อตั้งเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2544 ตามหนังสืออนุญาตจัดตั้งสมาคม โดยคณะศิษย์เก่าของโรงเรียนฯ จำนวน 18 คน มีมติร่วมกันก่อตั้งเป็นสมาคม โดยผู้อำนวยการโรงเรียนฯ อนุญาตให้ใช้สถานที่ของโรงเรียนฯ เป็นที่ทำการของสมาคมฯ รวมถึงขออนุญาตใช้ชื่อโรงเรียนเป็นชื่อสมาคมฯ จากสำนักงานสามัญศึกษาจังหวัดนนทบุรีด้วย นายกสมาคมฯ คนที่ 1 คือ นายประถม ศิริวงศ์วานงาม ศิษย์เก่ารุ่น 4 (2544 - 2548) นายกสมาคมฯ คนที่ 2 คือ นายณัฐวงศ์ เจียมบุรเศรษฐ์ ศิษย์เก่ารุ่น 4 (2548 - 2552) นายกสมาคมฯ คนที่ 3 คือ นายการุณ แก่นรัตนะ ศิษย์เก่ารุ่น 6 (ถาวร)เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ก่อตั้งเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2550 เพื่อเป็นองค์กรประสานงานกลาง และจัดกิจกรรมต่างๆ ระหว่างผู้ปกครองนักเรียน ให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียนฯ ตลอดจนประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโรงเรียนและเครือข่ายฯ ปัจจุบัน (ตั้งแต่ พ.ศ. 2557) มีนายวรวุฒิ สุขแสวง เป็นประธานเครือข่ายฯ
| ต้นไม้ประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี คือต้นอะไร | {
"answer": [
"ต้นกัลปพฤกษ์"
],
"answer_begin_position": [
10177
],
"answer_end_position": [
10189
]
} |
1,611 | 37,324 | โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (; อักษรย่อ: ส.ก.น., S.K.N.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทสหศึกษา ในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ลำดับที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมสามัญศึกษา (ปัจจุบัน : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ได้รับบริจาคที่ดิน จากนายผาสุก และนางเง็ก มณีจักร สองสามีภรรยา คหบดีชาวอำเภอปากเกร็ด ที่มีความประสงค์ให้สร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย บนพื้นที่ดังกล่าว จึงเกิดการประสานงานจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2521 เดิมให้ชื่อไว้ว่า “โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร)” และมอบหมายให้ผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รักษาราชการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียน จนถึงปลายปีถัดมา จึงเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เป็นชื่อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และในปีเดียวกัน นางอัมพา แสนทวีสุข ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก และเลื่อนฐานะขึ้นเป็นผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียนฯ ในเวลาต่อมา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด อาคารเรียน “สธ ๑, สธ ๒ และ สธ ๓” เมื่อกลางปี พ.ศ. 2525 และปลายปี พ.ศ. 2529 ตามลำดับ รวมทั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อกลางปี พ.ศ. 2555 ตลอดจนโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามอาคารเรียน “สธ ๔” และอาคารหอประชุม “สิรินธราลัย” ด้วย นอกจากนี้ โรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทาน ประจำปีการศึกษา 2532 และ 2544 และในปี พ.ศ. 2541 นักเรียนของโรงเรียนฯ ยังได้รับรางวัลเหรียญทองแดง จากการเข้าร่วมการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิก ที่ประเทศอิตาลี ในฐานะผู้แทนประเทศไทย ขณะที่นักกีฬาของโรงเรียนฯ ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในฐานะผู้แทนทีมชาติไทย จากการเข้าร่วมการแข่งขันวอลเลย์บอลชายหาด ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 อีกด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ถือกำเนิดขึ้น โดยเจตจำนงของผาสุก และเง็ก มณีจักร คหบดีชาวปากเกร็ดสองสามีภรรยา ซึ่งมีบุตรชายและหลานชายเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย บริจาคที่ดินบริเวณใกล้กับถนนติวานนท์เป็นจำนวน 25 ไร่ 1 งาน 18 ตารางวา เพื่อสร้างโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อต้นปีการศึกษา 2520 โดยมีผู้ร่วมก่อตั้งคือ สุวรรณ จันทร์สม อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้อำนวยการกองการมัธยมศึกษาในขณะนั้น, สมพงษ์ พูลสวัสดิ์ และกว้าง รอบคอบ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ขณะนั้นเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนปากเกร็ด เป็นผู้ประสานงานจัดตั้ง ในระยะเริ่มแรก โรงเรียนยังไม่มีอาคารเรียนถาวร มีเพียงที่ดินซึ่งกำลังถมและปรับสภาพ จึงต้องไปอาศัยใช้โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์ เป็นสถานที่ในการรับสมัครเข้าเรียน และเมื่อกระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งโรงเรียนฯ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2521 โดยใช้ชื่อว่า โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร) มีคณาจารย์ชุดแรก 22 คน นักเรียนชั้น ม.ศ.1 และ ม.1 รุ่นแรก จำนวน 12 ห้อง รวม 527 คน ครู-อาจารย์ 22 ท่าน ได้ฝากนักเรียนชายให้เรียนที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และฝากนักเรียนหญิงให้เรียนที่โรงเรียนสตรีนนทบุรี โดยอยู่ในความดูแลของคณาจารย์ชายหญิง รวม 9 ท่าน ต่อมาในปีการศึกษา 2522 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราว จำนวน 25 ห้องเรียน และอาคารเรียนถาวร จึงได้ย้ายนักเรียนกลับคืนมาทั้งหมด แต่เนื่องจากบริเวณที่ตั้งของโรงเรียนไม่ติดถนน ประพัฒน์ แก่นรัตนะ เจ้าของที่ดินด้านหน้าโรงเรียนที่ติดถนนติวานนท์ จึงได้อนุญาตให้ที่ดินเพื่อสร้าง “ถนนแก่นรัตนะ” (ถนนส่วนบุคคล) เป็นทางเข้าออกโรงเรียน ขนาดของถนน กว้าง 12 เมตร ยาว 343 เมตร และได้ทำหนังสือมอบไว้ต่อกรมสามัญศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 ได้บริจาคที่ดินในส่วนที่เป็นถนนให้กับทางโรงเรียน โดยเทศบาลนครปากเกร็ดจัดงบประมาณจัดสร้างถนนคอนกรีตให้กับทางโรงเรียน ทำให้พื้นที่ของโรงเรียนเพิ่มขึ้นเป็น 25 ไร่ 3 งาน 18 ตารางวา จนถึงปัจจุบัน ต่อมา ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศเปลี่ยนชื่อโรงเรียน จาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ๒ (ผาสุก มณีจักร) เป็น โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2525 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระนามาภิไธยย่อ สธ ให้เป็นนามของอาคารเรียนสองหลังแรกของโรงเรียนฯ คือ สธ ๑ และ สธ ๒ พร้อมทั้งได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารเรียนทั้งสองหลังด้วยพระองค์เอง โดยอักษรพระนามาภิไธยย่อ สธ ที่ประดับอยู่บนอาคารในวันนั้น ทำขึ้นจากโฟมพ่นสีทอง ซึ่งเป็นผลงานของนายอมร นิพันธ์ประศาสน์ อาจารย์หัวหน้าหมวดวิชาศิลปศึกษาในขณะนั้น ปีการศึกษา 2526 โรงเรียนฯ ได้รับงบประมาณให้สร้างถนนลาดยาง จากริมถนนติวานนท์ ถึงทางเข้าประตูโรงเรียน ต่อมาในปีการศึกษา 2527 โรงเรียนฯ ได้รับงบประมาณจากกระทรวงศึกษาธิการ และเงินสมทบจากสมาคมผู้ปกครองและครูของโรงเรียนฯ เพื่อสร้างอาคารหอประชุม และในปีการศึกษา 2528 โรงเรียนฯ ได้รับงบประมาณจากกรมสามัญศึกษา และเงินสมทบ จากสมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัยฯ, สมาคมผู้ปกครองและครูฯ และเงินบำรุงการศึกษา เพื่อจัดสร้างถนนคอนกรีต ภายในบริเวณโรงเรียนฯ ในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานนามอาคารหอประชุมโรงเรียนฯ ว่า หอประชุม สิรินธราลัย และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ ศาสตราจารย์ ดร.ธานินทร์ กรัยวิเชียร องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ เป็นประธานในพิธีเปิดหอประชุมฯ วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2535 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามอาคารเรียนหลังใหม่ว่า สธ ๓ พร้อมทั้งได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารเรียนดังกล่าว พร้อมทั้งสวนเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษามหาราชินี, ห้องสมุดสวนเสริมปัญญา และศาลากลางน้ำ ด้วยพระองค์เอง นอกจากนี้ ยังทรงเยี่ยมชมห้องสมุดติณสูลานนท์ รวมถึงนิทรรศการและกิจกรรมทางวิชาการของคณาจารย์และนักเรียนด้วย รวมเวลาที่ประทับอยู่ที่โรงเรียนราว 4 ชั่วโมงเศษ จากนั้น ในปีการศึกษา 2537 โรงเรียนฯ ได้จัดตั้ง ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ และ ศูนย์อินเทอร์เน็ตกุหลาบนนท์ เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงเรียน ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ ในปีการศึกษา 2538 โรงเรียนฯ ยังได้ทดลองระบบการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม ไปยัง โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จังหวัดตาก อีกด้วย ปัจจุบัน เป็นโรงเรียนคู่พัฒนา ร่วมกับโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ บริเวณลานอเนกประสงค์ของโรงเรียนฯ อย่างเป็นทางการ พร้อมทั้งทอดพระเนตรความก้าวหน้าของโรงเรียนฯ ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ของนักเรียนด้วย นับเป็นการเสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมโรงเรียนฯ เป็นครั้งที่สามนับแต่ก่อตั้งเป็นต้นมาสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนหลวงพ่อสวนกุหลาบ สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน. หลวงพ่อสวนกุหลาบ. เนื่องในโอกาส ครบรอบ 100 ปี โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้ร่วมกับ สมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ดำเนินการจัดสร้างพระพุทธรูปหลวงพ่อสวนกุหลาบจำลองขึ้น และทางโรงเรียนได้รับหลวงพ่อสวนกุหลาบจำลององค์ดังกล่าว จากการอุปการะของ คุณบุญมา และคุณไพเราะห์ พึ่งทอง โดยจัดพิธีอัญเชิญมาประดิษฐานยังโรงเรียน เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 ต่อมา เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 นายโอฬาร อัศวฤทธิกุล ร่วมกับ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้ทำพิธีพุทธาภิเษกเททองหล่อหลวงพ่อสวนกุหลาบ เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ โดยมีขนาดหน้าตักกว้าง 19 นิ้ว เพื่อมอบให้กับโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย สำหรับเป็นพระพุทธรูปประจำโรงเรียน ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 นายสุโข วุฑฒิโชติ ผู้อำนวยการโรงเรียนในขณะนั้น พร้อมด้วยคณาจารย์ และนักเรียน ได้จัดกระบวนอัญเชิญหลวงพ่อสวนกุหลาบมาประดิษฐานชั่วคราว ณ ห้องผู้อำนวยการ เมื่อหอพระจัดสร้างเสร็จสมบูรณ์ จึงได้อัญเชิญหลวงพ่อสวนกุหลาบมาประดิษฐาน ณ หอพระหน้าโรงเรียน เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543พระพุทธรูป ปาง 25 พุทธศตวรรษ พระพุทธรูป ปาง 25 พุทธศตวรรษ. นางดุษฎี พงศ์ศาสตร์ อดีตผู้อำนวยการโรงเรียน มีดำริให้จัดสร้างพระพุทธรูปปางลีลา ในพุทธลักษณะใกล้เคียงกับพระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์ขึ้น เพื่อประดิษฐานบริเวณหน้าโรงเรียน เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของบุคลากรภายในโรงเรียน เมื่อองค์พระจัดสร้างเสร็จสมบูรณ์แล้ว จึงได้ขนานนามว่า พระพุทธรูปปาง 25 พุทธศตวรรษ มีความหมายว่า พระพุทธรูปอันสร้างเป็นที่ระลึก ในโอกาสที่พระพุทธศาสนาบรรจบสองพันห้าร้อยปี โดยเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 ได้อัญเชิญมาประดิษฐานเคียงเบื้องขวาของหลวงพ่อสวนกุหลาบ ณ หอพระหน้าโรงเรียน จนถึงปัจจุบันพระกริ่งปัญจพร พระกริ่งปัญจพร. พระกริ่งปัญจพรนี้ มีชนวนเก่ามาแต่สมัย สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว) เจ้าคุณสนธิ์ เจ้าคุณศรีประหยัด ชนวนพระชินราชอินโดจีน และโลหะอาถรรพณ์ รวมทั้งแผ่นพระยันต์ จากเกจิอาจารย์อีกหลายรูป โดยประกอบพิธีปลุกเสก ที่พระอุโบสถ วัดพระยาทำวรวิหาร กรุงเทพมหานคร พระกริ่งปัญจพรองค์นี้ ประสิทธิ์และทวีรัตน์ สุขโชติ อดีตอาจารย์ของโรงเรียน เป็นผู้อุปการะมอบให้แก่ทางโรงเรียน เพื่ออัญเชิญมาประดิษฐาน ภายในหอพระบริเวณหน้าโรงเรียน เป็นสิริมงคลแก่บุคลากรของโรงเรียนสืบไปตราประจำโรงเรียน ตราประจำโรงเรียน. เป็นรูปหนังสือเล่มหนา หน้าปกหนังสือมี พระเกี้ยวยอด และอักษรพระปรมาภิไธยย่อ “จปร” มีไม้บรรทัด ดินสอ ปากกา คั่นอยู่ ด้านขวามีช่อดอกกุหลาบ มุมซ้ายล่างมีริบบิ้นผูกช่อดอกกุหลาบ ซึ่งมีตัวอักษรกำกับว่า “โรงเรียน หลวง สวนกุหลาบ”คติพจน์ คติพจน์. เป็นพุทธศาสนสุภาษิตความว่า “สุวิชาโน ภวํ โหติ” แปลว่า “ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ”พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5 พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5. เป็นพระบรมรูปประทับยืนเต็มพระองค์ ขนาดหนึ่งเท่าครึ่งของพระองค์จริง ฉลองพระองค์ชุดสากล พระหัตถ์ซ้ายถือธารพระกร พระหัตถ์ขวาถือพระมาลา ความสูง 267 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 800-1,000 กิโลกรัม รมสีเนื้อมันปู หรือสีเม็ดมะขามสุก บนแผ่นจารึกที่ฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ อัญเชิญตราพระปรมาภิไธยย่อ จปร ไว้เหนือข้อความดังต่อไปนี้ :- ปัจจุบัน อัญเชิญขึ้นประดิษฐานบนเวทีหน้าลานอเนกประสงค์ของโรงเรียนฯ ซึ่งเดิมทีเดียว โรงเรียนฯ มีเพียงพระบรมรูป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประดิษฐานบนเวทีหน้าลานเอนกประสงค์เท่านั้นจริยธรรมประจำโรงเรียน จริยธรรมประจำโรงเรียน. จริยธรรมประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี แต่งขึ้นโดย นางอัมพา แสนทวีสุข อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนฯ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติสำหรับนักเรียนของโรงเรียนฯ มีทั้งหมด 3 ประการคือ1. ลูก สวนฯ นนท์ ต้องรู้จักกล่าวคำว่า “สวัสดี” “ขอบคุณ” “ขอโทษ” “เสียใจ” ได้เองจนเป็นนิสัย 2. ลูก สวนฯ นนท์ ต้องรู้จักจัดอันดับตัวเอง ตามก่อน-หลังได้ 3. ลูก สวนฯ นนท์ ต้องรู้จักรักสะอาด ไม่ทิ้งขยะในที่ต่างๆสีประจำโรงเรียนสีประจำโรงเรียน. - สีชมพู คือ สีประจำวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว องค์ผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ทั้งยังเป็น สีแห่งความรัก ความสามัคคี - สีฟ้า คือ สีประจำวันพระบรมราชสมภพ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทั้งยังเป็น สีแห่งความดีงาม มีความนึกคิดที่สูงส่ง - สีชมพู-ฟ้า จึงมีความหมายถึง องค์ผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และพระบรมราชินีนาถ ทั้งยังหมายถึง เป็นแหล่งที่มีความรัก ความสามัคคี ของผู้ที่มีความดีงาม มีความนึกคิดที่สูงส่งต้นไม้ประจำโรงเรียนต้นไม้ประจำโรงเรียน. - ต้นกัลปพฤกษ์ ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงปลูก เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2525 ในโอกาสเสด็จฯ ทรงเปิดอาคารเรียน สธ 1 และ สธ 2เพลงประจำโรงเรียน เพลงประจำโรงเรียน. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ใช้เพลงประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นเพลงประจำโรงเรียน ร่วมกับโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ทั้ง 10 แห่ง โดยหม่อมราชวงศ์เลื่อน สิงหรา เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง จากทำนองแขกต่อยหม้อ จังหวะสองชั้นและในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2543 ซึ่งตรงกับวันสถาปนาโรงเรียน ครบรอบ 22 ปี นายสุโข วุฑฒิโชติ ผู้อำนวยการโรงเรียน ได้มีดำริในการจัดทำอัลบั้มเพลงของโรงเรียนขึ้น หนึ่งในจำนวนดังกล่าวนั้น คือเพลงมาร์ชสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี ซึ่งแต่งขึ้นเพื่อเป็นเพลงมาร์ชประจำโรงเรียนด้วยรายนามอาจารย์ใหญ่และผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีรายนามอาจารย์ใหญ่และผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. 1. กมล ธิโสภา (พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2522) 2. ประยูร ธีระพงษ์ (พ.ศ. 2522) ทั้งสองท่านเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยในขณะนั้น ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งให้รักษาการในตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนอีกตำแหน่งหนึ่ง 3. อัมพา แสนทวีสุข (พ.ศ. 2522-พ.ศ. 2531) นางอัมพาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ และเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนท่านแรก ดำรงตำแหน่งอยู่ถึง 9 ปี ซึ่งยาวนานที่สุดนับแต่ก่อตั้งโรงเรียน และเฝ้าฯ รับเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสทรงเปิดอาคาร สธ ๑ และ สธ ๒ เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2525 ท่านถึงแก่กรรมขณะดำรงตำแหน่ง ต่อมา โรงเรียนจึงได้ตั้งชื่ออาคารกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีเพื่อเป็นอนุสรณ์ว่า “อาคารทศวรรษ อัมพา แสนทวีสุข” 4. สมหมาย วัฒนะคีรี (พ.ศ. 2532-พ.ศ. 2535) นางสมหมายดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ในปีที่ได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทานสมัยแรก เมื่อปีการศึกษา 2532 และเฝ้าฯ รับเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสทรงเปิดอาคาร สธ ๓ เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2535 นางสมหมาย พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 5. ผ่องศรี บัวประชุม (พ.ศ. 2535-พ.ศ. 2537) นางสาวผ่องศรีดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นระยะเวลาสั้นๆ เพียงสองปีเท่านั้น 6. ดุษฎี พงศ์ศาสตร์ (พ.ศ. 2537-พ.ศ. 2540) นางดุษฎีดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ในปีที่ห้องสมุดของโรงเรียนได้รับเลือกให้เป็น “ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก” เมื่อปีการศึกษา 2539 และเป็นผู้ริเริ่มการจัดสร้างพระพุทธรูปปาง 25 พุทธศตวรรษ ท่านเป็นภริยาของนายบรรจง พงศ์ศาสตร์ อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา นางดุษฎีพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากเกษียณอายุราชการ 7. กรองทอง ด้วงสงค์ (พ.ศ. 2540-พ.ศ. 2542) นางกรองทองดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นระยะเวลาสั้นๆ เพียงสองปีเท่านั้นก็พ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนสายน้ำผึ้ง 8. สุโข วุฑฒิโชติ (พ.ศ. 2542-พ.ศ. 2545) นายสุโขถือเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนที่เป็นสุภาพบุรุษท่านแรก ท่านจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา และเคยเป็นอาจารย์ที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ก่อนจะได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการเป็นท่านแรก จากนั้นจึงมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ท่านเป็นผู้พัฒนา และนำพาโรงเรียนเข้าสู่ความเป็นยุคใหม่อย่างแท้จริง ด้วยโครงการต่างๆ มากมาย ทั้งทางวัตถุ และทางจิตใจ เช่น พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5, ซุ้มทางเข้าหน้าโรงเรียน, สถานเชิญธง, หอพระหน้าโรงเรียน, ห้องจาริกานุสรณ์, อาคารฝ่ายปกครองและประชาสัมพันธ์หลังใหม่, ห้องวิทยาศาสตร์โอลิมปิก, สนามวอลเลย์บอลชายหาด “สนามถึงฝั่ง”, ศาลากลางน้ำในสวนเสริมปัญญา, ปรับปรุงภูมิทัศน์ในส่วนต่างๆ ของโรงเรียน เป็นต้น จนกระทั่งโรงเรียนได้รับรางวัลสถานศึกษาพระราชทานเป็นสมัยที่สอง ในปีการศึกษา 2544 นายสุโขพ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากเกษียณอายุราชการ นอกจากนี้ ยังเคยดำรงตำแหน่ง สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดสมุทรปราการ ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2557 9. อุทัย รัตนพงศ์ (พ.ศ. 2545-พ.ศ. 2547) นายอุทัย ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนในระยะเวลาสั้นๆ เพียงสองปีเท่านั้น แต่ก็ได้สานต่อนโยบายต่างๆ เมื่อครั้งที่ นายสุโข ยังดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการจนสำเร็จลุล่วงทั้งหมด ก่อนจะพ้นจากตำแหน่ง เนื่องจากเกษียณอายุราชการ 10. สุทธิศักดิ์ เฟื่องเกษม (พ.ศ. 2547-พ.ศ. 2552) นายสุทธิศักดิ์ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน และเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษา หลังการเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารสถานศึกษา ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นเวลาประมาณ 6 ปี ก่อนจะย้ายไปเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษา ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ กรุงเทพมหานคร 11. ปรเมษฐ์ โมลี (พ.ศ. 2553-พ.ศ. 2555) นายปรเมษฐ์ เข้ารับตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษาฯ ตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2553 12. สุนีย์ สอนตระกูล (พ.ศ. 2556-พ.ศ. 2557) 13. วิทยา ศรีชมภู (พ.ศ. 2557-2559) 14. โพยม จันทร์น้อย (พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน)สถานที่ตั้ง อาคาร และ สถานที่ต่างๆ ภายในโรงเรียนสถานที่ตั้ง สถานที่ตั้ง อาคาร และ สถานที่ต่างๆ ภายในโรงเรียน. สถานที่ตั้ง. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 51/4 หมู่ที่ 5 ตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ใกล้กับห้าแยกปากเกร็ด โดยมาตามถนนติวานนท์ ทางที่มุ่งหน้าไปยังจังหวัดปทุมธานี ประมาณ 1 กิโลเมตร หรือหากมาจากสี่แยกสวนสมเด็จฯ ให้มาตามถนนติวานนท์ ทางที่มุ่งหน้าไปอำเภอปากเกร็ด ประมาณ 5 กิโลเมตร สามารถเดินทางโดยรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ ของ ขสมก สาย 33 และ 90อาคารต่างๆ ภายในโรงเรียนอาคารต่างๆ ภายในโรงเรียน. 1. อาคารเรียน “สธ ๑” สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2522 เป็นอาคารเรียนหลังแรกของโรงเรียน เป็นอาคาร 4 ชั้น มีจำนวน 32 ห้อง หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ โรงอาหารนักเรียน และห้องอาหารอาจารย์ “สุโขสโมสร”, ห้องพักอาจารย์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ สังคมศึกษา และห้องปฏิบัติการหุ่นยนต์ 2. อาคารเรียน “สธ ๒” สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2524 เป็นอาคารเรียนหลังที่สองของโรงเรียน เป็นอาคารเรียน 4 ชั้น มีจำนวน 40 ห้อง หันหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ลักษณะเหมือนกับ อาคาร สธ 1 ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้าม อาคาร สธ 1 โดยมี ลานอเนกประสงค์ คั่นกลาง โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ ห้องพักอาจารย์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาต่างประเทศ ห้องพิพิธภัณฑ์โรงเรียนฯ และห้องพระพุทธศาสนา 3. อาคารเรียน “สธ ๓” สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2533 เป็นอาคารเรียนหลังที่สามของโรงเรียน เป็นอาคาร 4 ชั้น มีจำนวน 24 ห้อง หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ ห้องจาริกานุสรณ์ฯ ห้องผู้อำนวยการ ห้องวิชาการ และห้องพักอาจารย์ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ 4. อาคารเรียน “สธ ๔” สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2539 เพื่อทดแทนอาคารชั่วคราว บริเวณติดกับอาคาร สธ ๑ และ สธ ๓ หันหน้าไปทางทิศตะวันตก เป็นอาคารเรียนหลังที่ห้าของโรงเรียน โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ ห้องฝ่ายบริการ ห้องแผนงานและสารสนเทศ ห้องประชุม ห้องพยาบาล ห้องโสตทัศนศึกษา ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการทางภาษา (Sound Lab) และห้องพักอาจารย์ งานแนะแนว หมวดพาณิชยกรรม 5. อาคารหอประชุม “สิรินธราลัย” สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2527 บริเวณติดกับถนนรอบลานอเนกประสงค์ ฝั่งตรงข้ามกับพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5 หันหน้าไปทางทิศตะวันตก เพื่อเป็นอาคารหอประชุมของโรงเรียน โดยหอประชุมอยู่บนชั้น 2 นอกจากนี้ยังมี ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก (เดิมชื่อ ห้องสมุดติณสูลานนท์ เพื่อเป็นเกียรติแด่ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ ศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย) และห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ ที่ชั้นล่างของอาคารอีกด้วย 6. อาคารอเนกประสงค์ (ตึก 6) สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2535 บริเวณติดกับอาคาร สธ ๑ เป็นอาคารเรียนหลังที่สี่ของโรงเรียน หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้เป็นห้องเรียน และห้องกิจกรรม โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ ร้านสหกรณ์ ห้องปฏิบัติการนาฏศิลป์ ห้องปฏิบัติการเบเกอรี่ ศูนย์ปฏิบัติการวิชาศิลปศึกษา ก ห้องกิจกรรมเทควันโด โรงยิมเนเซียม และห้องพักอาจารย์ หมวดคหกรรม หมวดศิลปศึกษา 7. อาคารโรงฝึกงาน สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2525 บริเวณใกล้ทางออกด้านหลังโรงเรียน หันหน้าไปทางทิศตะวันตก ทางซ้ายมือของอาคารอเนกประสงค์ เพื่อเป็นอาคารปฏิบัติการ ห้องเรียน ห้องพักอาจารย์ ของ หมวดช่างอุตสาหกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 8. อาคารศูนย์เกษตรกรรม สร้างขึ้นใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2545 ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังห้องสมุดสวนเสริมปัญญา เพื่อเป็นอาคารและพื้นที่ปฏิบัติการ ห้องเรียน และห้องพักอาจารย์ หมวดวิชาเกษตรกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 9. อาคาร 6 ชั้น อาคารเรียนอบจ.นนทบุรี สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2550 แทนที่อาคารทศวรรษ อัมพา แสนทวีสุข และเรือนเกษตรกรรม ที่ได้รื้อถอนไป เป็นอาคารเรียน 5 ชั้น หันหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ มีลักษณะแตกต่างไปจากอาคารเรียนหลังอื่นๆ อยู่ติดกับ อาคาร สธ 2 และมีสนามฟุตบอลอยู่หน้าอาคาร ปัจจุบันเปิดใช้ทำการเรียนการสอนแล้ว โดยในอาคารนี้มีห้องสำคัญคือ ห้องพักอาจารย์ ม.2 และห้องเรียน ม.1 (บางห้อง) ม.2 (ทั้งระดับ) ห้องผู้อำนวยการ ห้องทะเบียนและวัดผล ห้องวิชาการ นโยบายและแผนงาน และห้องธุรการ 10. อาคาร7ชั้น อาคารเรียนอบจ.นนทบุรี 40 ปี สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ระยะเวลาการสร้าง 2560-2561 เป็นโครงการจัดสร้างซึ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ โดยจัดซื้อที่ดินเพิ่มเติมในปีการศึกษา 2554-2555 เพื่อรองรับและบริการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นอาคารเรียนในอดีตอาคารเรียนในอดีต. 1. อาคารทศวรรษ อัมพา แสนทวีสุข สร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2530 บริเวณใกล้กับข้างอาคาร สธ ๒ เพื่อเป็นอาคารกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี หันหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยชื่ออาคารนั้นตั้งขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ นางอัมพา แสนทวีสุข อดีตผู้อำนวยการผู้ล่วงลับ ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นอาคารกิจกรรมวงโยธวาธิตของโรงเรียน ที่มีสภาพทรุดโทรมมาก โรงเรียนจึงได้รื้อถอน เพื่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2549 2. เรือนเกษตรกรรม ตั้งอยู่ใกล้บริเวณหน้าโรงเรียน ติดถนนรอบสนามฟุตบอล ติดกับอาคารทศวรรษ อัมพา แสนทวีสุข หันหน้าไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ เคยเป็นเรือนปฏิบัติการ ห้องเรียน ห้องพักอาจารย์ ของ หมวดวิชาเกษตรกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ที่มีสภาพทรุดโทรมมาก โรงเรียนจึงได้รื้อถอน เพื่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2549 3. อาคารชั่วคราว สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2522 เดิมมีจำนวน 3 หลัง รวม 25 ห้องเรียน แต่ยังเหลือเป็นอาคารสุดท้าย ตั้งอยู่บริเวณระหว่างอาคาร สธ ๑ และ สธ ๓ เป็นอาคารโครงเหล็ก หลังคามุงกระเบื้องลอนคู่ ยึดลูกกรงเหล็กกั้นเป็นกำแพงด้านหน้าและหลัง กั้นห้องด้วยไม้อัด ซึ่งเรียกกันในหมู่ศิษย์เก่าว่า ห้องเรียนเล้าไก่ ที่มีสภาพทรุดโทรมมาก โรงเรียนจึงได้รื้อถอน เพื่อสร้างอาคาร สธ ๔ เมื่อปี พ.ศ. 2538สถานที่สำคัญภายในโรงเรียนสถานที่สำคัญภายในโรงเรียน. 1. ลานอเนกประสงค์ อยู่บริเวณหน้าหอประชุมสิรินธราลัย คั่นกลางระหว่างอาคาร สธ ๑ และ สธ ๒ ประกอบด้วยลานคอนกรีตขนาดกว้างใหญ่ ยกสูงจากพื้นถนน และอัฒจันทร์รูปครึ่งวงกลม ขนาบโอบสองข้างเสมือนปีก จากฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (แต่เดิมเป็นเวทีขนาดเล็ก ตั้งอยู่หน้าแท่นประดิษฐานพระบรมรูป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เท่านั้น) สถานที่แห่งนี้ใช้สำหรับทำกิจกรรม และพิธีการต่างๆ ของโรงเรียน ที่สำคัญคือ พิธีหน้าเสาธง โดยในปีการศึกษา 2550 ผู้อำนวยการสถานศึกษา อนุมัติให้สร้างหลังคาปกคลุมสูง 4 ชั้นตึก และในปีการศึกษาถัดมา (พ.ศ. 2551) ยังดำเนินการต่อเติมออกไปยังบริเวณสวนเสริมปัญญาด้วย 2. ห้องสมุด “สวนเสริมปัญญา” สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2534 ด้านข้างหอประชุมสิรินธราลัย เพื่อเป็นห้องสมุดธรรมชาติ มีศาลาพักผ่อนจำนวน 7 หลัง ทาสีตามวันในสัปดาห์ โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปิดในโอกาสเสด็จฯ ทรงเปิดอาคาร สธ 3 ทรงชื่นชมการจัดห้องสมุดธรรมชาติเช่นนี้อย่างมาก 3. สวนเฉลิมพระเกียรติ “60 พรรษา มหาราชินี” ตั้งอยู่บริเวณหน้าโรงเรียน ข้างอาคาร สธ ๓ เนื่องในวโรกาสที่ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงประกอบพิธีเปิดสวนฯ ในโอกาสเสด็จฯ ทรงเปิดอาคาร สธ ๓ เมื่อปี พ.ศ. 2535 ปัจจุบันเป็นเพียงสวนหย่อมรอบหอพระเท่านั้น 4. ห้องจาริกานุสรณ์ (ลพชัย แก่นรัตนะ) ตั้งอยู่ใต้อาคาร สธ ๓ ติดกับบันไดทางขึ้นอาคารเรียนทางขวา ในอดีตเป็นห้องฝ่ายปกครอง ก่อนจะปรับปรุงขึ้นใหม่ เพื่อเป็นห้องเกียรติยศของโรงเรียน ประกอบด้วยศูนย์รวมเกียรติประวัติของโรงเรียน ภายในมีภาพถ่ายของผาสุก และเง็ก มณีจักร ผู้มอบที่ดินสำหรับจัดสร้างโรงเรียน รูปปั้นของอัมพา แสนทวีสุข ผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียน ซึ่งพัฒนาโรงเรียนไว้อย่างมากในระยะเริ่มก่อตั้ง ทำเนียบลำดับอาจารย์ใหญ่และผู้อำนวยการ รวมทั้งแผ่นศิลาฤกษ์และแบบจำลอง อาคารทั้งหมดภายในโรงเรียน ตลอดจนกระทั่ง ถ้วยรางวัล โล่รางวัล และเกียรติยศต่างๆ ซึ่งได้รับจากการแข่งขัน ทั้งเชิงวิชาการและกีฬา อันเป็นความภาคภูมิใจของโรงเรียน 5. สถานเชิญธง “ลี้กุลเจริญ” สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2545 บริเวณริมถนนตรงข้ามลานอเนกประสงค์ ฝั่งเบื้องหลังพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นเสาเชิญธงชาติไทย และ ธงประจำโรงเรียน สีชมพู-ฟ้า อนุเคราะห์การจัดสร้างโดย นายอภิสิทธิ์ ลี้กุลเจริญ จึงใช้นามสกุลของนายอภิสิทธิ์เป็นชื่อสถานเชิญธงแห่งนี้ 6. หอพระพุทธรูปประจำโรงเรียน สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545 บริเวณกลางสวนเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษามหาราชินี เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญประจำโรงเรียน 3 องค์ ได้แก่ หลวงพ่อสวนกุหลาบจำลอง พระพุทธรูปปาง 25 พุทธศตวรรษ 7. อาคารบริหารกิจการนักเรียนและประชาสัมพันธ์ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2544 บริเวณข้างสวนหย่อมหอพระ ฝั่งติดริมกำแพงหน้าโรงเรียนฯ จำนวน 2 ชั้น เพื่อเป็นที่ตั้งสำนักงานของกลุ่มงานบริหารกิจการนักเรียน และงานประชาสัมพันธ์โรงเรียนฯ 8. สนามถึงฝั่ง สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545 บริเวณข้างประตูหน้าด้านนอกกำแพงโรงเรียนฯ ฝั่งซ้ายของถนนทางเข้า เป็นสนามสำหรับแข่งขันและฝึกซ้อมวอลเลย์บอลชายหาด อนุเคราะห์การจัดสร้างโดย นายดิเรก ถึงฝั่ง สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนนทบุรี อดีตรองผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี จึงได้ใช้นามสกุลของนายดิเรกเป็นชื่อสนาม 9. อัฒจันทร์ ตั้งอยู่ข้างสนามฟุตบอล ฝั่งตรงข้ามกับสถานเชิญธงลี้กุลเจริญ เป็นอัฒจันทร์ก่ออิฐถือปูนอย่างถาวร สร้างขึ้นเพื่อทดแทนอัฒจันทร์ชั่วคราว ที่ใช้เหล็กฉากเชื่อมต่อกัน เปิดใช้เป็นครั้งแรก ในงานวันแม่แห่งชาติ เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2550 10. ศาลาแก่นรัตนะ เดิมเรียกว่า ศาลากลางน้ำ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 บนเกาะกลางสระน้ำ หลังห้องสมุดสวนเสริมปัญญา เพื่อเป็นอนุสรณ์ ในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ โรงเรียน โดยได้ทรงพระนิพนธ์บทสักวาสด เพื่อทรงขับร้องร่วมกับคณะนักเรียน ภายในศาลา เมื่อวันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2535 โดยต้นฉบับลายพระหัตถ์สักวาบทนี้ ได้จัดใส่กรอบเก็บรักษาไว้ ที่ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก มีเนื้อความดังต่อไปนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2545 ได้รับการบูรณะขึ้นใหม่ เป็นเรือนไทยสวยงาม สำหรับให้นักเรียนได้ศึกษาสถาปัตยกรรมไทย โดยให้ชื่อตามนามสกุลของผู้มีพระคุณจัดสร้าง นอกจากนี้ ยังมีบริการเรือถีบในสระน้ำด้วยลักษณะชุมชนโดยรอบโรงเรียน ลักษณะชุมชนโดยรอบโรงเรียน. ชุมชนที่อยู่ล้อมรอบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เป็นการผสมผสานระหว่างชุมชนพื้นบ้านดั้งเดิม ที่ประกอบอาชีพทำสวนเป็นหลัก และชุมชนใหม่ ในรูปแบบหมู่บ้านจัดสรร (เมืองทองธานี, บ้านสวนกุหลาบ) แวดล้อมไปด้วยอาคารบ้านเรือน (ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ, กระทรวงยุติธรรม, กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงการต่างประเทศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ฯลฯ) โรงพยาบาล (โรงพยาบาลชลประทาน, โรงพยาบาลปากเกร็ด, โรงพยาบาลมงกุฎวัฒนะ ฯลฯ) ธนาคาร โรงงานอุตสาหกรรม สถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งของรัฐบาล และเอกชน (โรงเรียนปากเกร็ด, โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี, โรงเรียนชลประทานวิทยา, โรงเรียนชลประทานสงเคราะห์, ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษาเพื่อคนตาบอด ฯลฯ) ห้างสรรพสินค้า (เซ็นทรัล พลาซา แจ้งวัฒนะ, โรงภาพยนตร์เมเจอร์ฮอลลีวูด แจ้งวัฒนะ) วัด (วัดชลประทานรังสฤษฎ์, วัดกู้) (สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ นนทบุรี, เกาะเกร็ด ฯลฯ) สิ่งก่อสร้างสำคัญ (สะพานพระราม 4, อุโมงค์ปากเกร็ด) เป็นต้นเกียรติยศของโรงเรียน เกียรติยศของโรงเรียน. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้พัฒนาการจัดการศึกษา และการอำนวยประโยชน์ทางการศึกษา ให้แก่นักเรียนอย่างต่อเนื่อง จนทัดเทียมและนำหน้าสถานศึกษาอื่นๆ โดยได้รับรางวัลต่างๆ เป็นจำนวนมาก เช่น รางวัลสถานศึกษาพระราชทาน ประจำปีการศึกษา 2532 และ ปีการศึกษา 2544, รางวัลโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2532 นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลการจัดบรรยากาศห้องสมุดดีเด่น และรางวัลการใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอนดีเด่น จากกรมสามัญศึกษา ประจำปีการศึกษา 2533, รางวัลโรงเรียนพัฒนาห้องสมุดดีเด่น จากกรมสามัญศึกษา ประจำปีการศึกษา 2534, รางวัลห้องสมุดโรงเรียนที่มีผลงานดีเด่น จากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2535, ห้องสมุดโรงเรียนได้รับการคัดเลือกให้เป็น ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก ของกลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษาส่วนกลาง กลุ่มที่ 9 จากกรมสามัญศึกษา, เป็นห้องสมุดโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จากจำนวน 11 แห่ง ที่ได้รับการคัดเลือกจาก สถาบันองค์การสหพันธ์ห้องสมุดนานาชาติ ให้เป็นสถานที่ศึกษาดูงานของคณะบรรณารักษ์จากทั่วโลก ที่เข้าร่วมการประชุมบรรณารักษ์นานาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2542, โล่ประกาศเกียรติคุณ โรงเรียนมัธยมศึกษาส่วนกลางขนาดใหญ่พิเศษ ที่จัดกิจกรรมการอ่านเฉลิมพระเกียรติได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อปีการศึกษา 2542 เป็นต้นเกียรติยศทางการศึกษา เกียรติยศทางการศึกษา. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้จัดส่งนักเรียนที่มีความสามารถในด้านต่างๆ เข้าประกวดและแข่งขันในกิจกรรมที่หน่วยงานภายนอกจัดขึ้นมาโดยตลอด และประสบความสำเร็จมากมาย ทั้งในระดับอำเภอ ระดับจังหวัด ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ มาเป็นลำดับ โดยเริ่มสร้างชื่อเสียงมาตั้งแต่ได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหาจากสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2524 ต่อมาในปี พ.ศ. 2526 ก็ได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหา ในรายการ 180 ไอคิว ทาง ททบ.5 และได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหา ในรายการ ธรรมะกับเยาวชน ทาง ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. อีกด้วย ในปี พ.ศ. 2529 ได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ในรายการ เสาร์สโมสร ทาง ททบ.5 ต่อมา ในปี พ.ศ. 2530 ได้รับประทานเกียรติบัตร ในการตอบปัญหาธรรมะกับเยาวชน จาก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ณ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ในปีเดียวกันนั้น ยังได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหาภาษาอังกฤษ ในรายการ เชลล์ ควิซ ทางช่อง 9 และเป็นแชมป์ 9 สมัย จากการตอบปัญหาในรายการ เยาวชนคนเก่ง ทางช่อง 9 เช่นกัน ในปี พ.ศ. 2531 ได้รับรางวัลชนะเลิศ เป็นการทัศนศึกษาที่ประเทศอังกฤษ จากรายการ เก่งจริงๆ ทาง ททบ.5 ในปีต่อมา (พ.ศ. 2532) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ การแข่งขันทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ และในปี พ.ศ. 2534 ได้รับรางวัลชนะเลิศในการประกวด โครงการเยาวชนช้างเผือก ของเครือซิเมนต์ไทย ต่อมา ในปี พ.ศ. 2541 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ในการแข่งขันตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ในปีถัดมา ได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตอบปัญหาทางวิชาการ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในงานวันเกษตรแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2542 ในระดับชาติ พ.ศ. 2543 นักเรียนของโรงเรียน สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้เป็นลำดับที่ 1 ของคณะสหเวชศาสตร์ สาขากายภาพบำบัด และคณะรัฐศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ยังได้รับทุนการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอก ที่ประเทศเยอรมนี และญี่ปุ่น และศึกษาในระดับปริญญาตรีถึงปริญญาโท ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน อีกด้วย ในระดับนานาชาติ นักเรียนของโรงเรียน ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทย เข้าร่วมการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิก ประจำปี พ.ศ. 2541 ที่ประเทศอิตาลี ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง และการแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิก ประจำปี พ.ศ. 2542 ซึ่งสามารถผ่านเข้าถึงรอบ 12 คนสุดท้ายเกียรติยศทางการกีฬา เกียรติยศทางการกีฬา. นักกีฬาของโรงเรียน ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในนามทีมชาติไทย ในหลายชนิดกีฬา เช่น วอลเลย์บอล, วอลเลย์บอลชายหาด (เอเชียนเกมส์ 1998 ประเทศไทย), เทควันโด (ซีเกมส์ 2003 ประเทศเวียดนาม), ฟันดาบ (ซีเกมส์ 2001 ประเทศมาเลเซีย) เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัล จากการส่งทีมโรงเรียนเข้าแข่งขัน ในระดับอำเภอ จนถึงระดับประเทศ เช่น ฟุตบอล (รองชนะเลิศอันดับ 1 ฟุตบอลนักเรียนกรุงเทพมหานคร รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี), วอลเลย์บอล (ประเภทหญิง ชนะเลิศ กีฬานักเรียนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2540 รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี), วอลเลย์บอลชายหาด (ประเภทหญิง ชนะเลิศ สิงห์ไทยแลนด์โอเพ่น ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2544 จังหวัดขอนแก่น), กรีฑา (6 เหรียญทอง การแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22 และ โล่รางวัลนักกรีฑาดีเด่น กีฬานักเรียนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2542), ว่ายน้ำ (2 เหรียญทอง กีฬานักเรียนกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543), แบดมินตัน (ชนะเลิศ กีฬานักเรียนจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2543) เป็นต้นเกียรติยศทางกิจกรรม เกียรติยศทางกิจกรรม. กิจกรรมเชียร์และแปรอักษร มีการตั้งชมรมขึ้นภายในโรงเรียน เพื่อเป็นผู้แทนโรงเรียนไปจัดกิจกรรมภายนอก มีผลงานสำคัญคือ ในพิธีเปิดงานวันเด็กแห่งชาติ พ.ศ. 2543 และ พิธีเปิดการแข่งขันกีฬานักเรียนจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2542 นอกจากนี้ กิจกรรมวงโยธวาทิต ยังได้รับรางวัลเหรียญเงิน จากการแข่งขันวงโยธวาทิตแห่งประเทศไทย และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 (ประเภท ก) จากการประกวดวงโยธวาทิตนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2544กิจกรรมของโรงเรียน กิจกรรมของโรงเรียน. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ได้จัดให้มีกิจกรรมภายในโรงเรียน ส่งผู้แทนนักเรียนออกไปร่วมกิจกรรมภายนอกโรงเรียน ทั้งกับโรงเรียนใกล้เคียง และโรงเรียนในเครือสวนกุหลาบวิทยาลัย ทั้งนี้ เพื่อเป็นการฝึกฝนให้นักเรียนกล้าคิด กล้าแสดงออก มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ดี ตลอดจนการใช้ชีวิตร่วมกับบุคคลที่มีความแตกต่างกันในสังคมกิจกรรมภายในโรงเรียน กิจกรรมภายในโรงเรียน. กิจกรรมชุมนุมเชียร์และแปรอักษรที่ ม.1 และ ม.2 ทุกคนต้องผ่านการเข้าร่วม และเป็นอีกหนึ่งวัฒนธรรมของนักเรียนสวนกุหลาบทุกแห่งต้องรู้จักและปฏิบัติการแข่งขันกีฬาภายใน การแข่งขันกีฬาภายใน. การแข่งขันกีฬาภายในของโรงเรียนฯ จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 5 คณะสีคือ คณะสีเขียว คณะสีแดง คณะสีเหลือง คณะสีม่วง และ คณะสีน้ำเงิน ต่อมา (ตั้งแต่ พ.ศ. 2545) มีการแต่งชื่อคณะสี ให้ไพเราะและคล้องจองกันด้วยคือ พฤกษาขจี, รพีจรัส, ปภัสอำพัน, อัญชันรุจี และ นทีพิสุทธิ์ ตามลำดับ เพื่อเข้าร่วมการแข่งขันในหลายชนิดกีฬา เช่น ฟุตบอล, บาสเกตบอล, วอลเลย์บอล, วอลเลย์บอลชายหาด, กรีฑา, แบดมินตัน, เทควันโด เป็นต้น รวมถึงจัดกิจกรรมเชียร์และแปรอักษร วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในโรงเรียนฯ ส่งเสริมการออกกำลังกาย ตลอดจนก่อให้เกิดความสนุกสนานระหว่างเพื่อนนักเรียนนิทรรศการทางวิชาการ นิทรรศการทางวิชาการ. การจัดงานสัปดาห์นิทรรศการทางวิชาการของโรงเรียนฯ มีชื่องานว่า สวนฯนนท์ปริทรรศน์ จัดขึ้นเป็นประจำในช่วงกลางเดือนมกราคมของทุกปี โดยเป็นการแสดงผลงานต่างๆ ของอาจารย์และนักเรียน เพื่อให้บุคคลภายในและภายนอกโรงเรียนฯ ได้เล็งเห็นถึงความสามารถของบุคลากรของโรงเรียนฯ ตลอดจนเป็นเวทีกลาง ในการแลกเปลี่ยนทรรศนะ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน และแนวคิดทางวิชาการต่างๆกิจกรรมชุมนุม กิจกรรมชุมนุม. กิจกรรมชุมนุม เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมตามจินตนาการของตน ภายใต้เหตุผล และความควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษาชุมนุม เพื่อสร้างผลงานออกสู่สาธารณะต่อไป โดยภายในโรงเรียนฯ ได้มีการก่อตั้งชุมนุมขึ้นเป็นจำนวนมาก ตามความสนใจของนักเรียนที่มีหลากหลาย ทั้งด้านภาษา กีฬา สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม สังคม พาณิชยกรรม คอมพิวเตอร์ ศิลปศึกษา เป็นต้นวารสารสวนกุหลาบนนท์ วารสารสวนกุหลาบนนท์. วารสารสวนกุหลาบนนท์ เดิมออกเป็นรายภาคเรียน ปีละสองครั้ง มีสมาคมผู้ปกครองและครูของโรงเรียนฯ เป็นเจ้าของ ปัจจุบันเป็นวารสารรายปี ซึ่งโรงเรียนฯ รับเป็นเจ้าของ โดยมีชุมนุมประชาสัมพันธ์ เป็นกองบรรณาธิการ มีเนื้อหาข่าวสาร รวมไปถึงกิจกรรม และภาพบรรยากาศต่างๆ ตลอดทั้งปีการศึกษาวงโยธวาทิตของโรงเรียน วงโยธวาทิตของโรงเรียน. วงโยธวาทิต โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2523 โดยได้รับการสนับสนุนจาก นางอัมพา แสนทวีสุข ผู้อำนวยการในขณะนั้น และในปัจจุบัน ได้รับการสนับสนุนจาก สมาคมผู้ปกครองและครูของโรงเรียนฯ คณะผู้บริหารและคุณครูของโรงเรียนฯ กิจกรรมการแสดงของวงโยธวาทิตโรงเรียนฯ มีทั้งรูปแบบ Marching และ Concert โดยออกงานทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ซึ่งเป็นการแสดงเพื่อกิจกรรมของโรงเรียน และการบริการชุมชน ทั้งภาครัฐและเอกชน โดยสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียนตลอดมา อาทิเช่น ในการประกวดวงโยธวาทิต ชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ณ สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ ระหว่างปี พ.ศ. 2544-2547 วงโยธวาทิตของโรงเรียนฯ ได้รับรางวัลทุกปี ประกอบด้วย- 21 ธันวาคม พ.ศ. 2544 - รางวัลเหรียญเงิน ระดับประเทศ (จัดโดย บริษัท สยามดนตรียามาฮ่า จำกัด ร่วมกับ กระทรวงศึกษาธิการ) - 12 มกราคม พ.ศ. 2545 - รางวัลเหรียญทอง และ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับประเทศ (จัดโดย กรมพลศึกษา ร่วมกับ บมจ.ธนาคารทหารไทย) - 10 มกราคม พ.ศ. 2546 - รางวัลเหรียญทอง ประเภทบรรเลงเพลงไทยดีเด่น และ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับประเทศ (จัดโดย สำนักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ ร่วมกับ บมจ.ธนาคารทหารไทย) - 30 มกราคม พ.ศ. 2547 - รางวัลเหรียญทอง ระดับประเทศ (จัดโดย บริษัท สยามดนตรียามาฮ่า จำกัด ร่วมกับ กระทรวงศึกษาธิการ)กิจกรรมเชียร์และแปรอักษร กิจกรรมเชียร์และแปรอักษร. ชุมนุมเชียร์และแปรอักษร สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เป็นกิจกรรมที่เริ่มจัดตั้ง เป็นกลุ่มงานเล็กๆ โดยยังไม่เป็นชุมนุม ในปีการศึกษา 2539 (ส.ก.น.รุ่น 16) เพื่อรองรับ งานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ ในขณะนั้นมีเพียงการใช้เพลงเชียร์ การแปรอักษรด้วยรีบรุก และเพลต 1:1 ต่อมา มีการก่อตั้งเป็นชุมนุมขึ้น ในปีการศึกษา 2541 (ส.ก.น. รุ่นที่ 18) และในปีถัดมา (พ.ศ. 2542) ในสมัยผู้อำนวยการสุโข วุฑฒิโชติ ได้มีการนำเพลต 1:16 มาประกอบการแปรอักษร ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2552 ชุมนุมฯ ได้รับเกียรติให้เป็นผู้ฝึกซ้อม และควบคุมการแปรอักษร ให้แก่นักเรียน โรงเรียนบ้านบางกะปิ ในการแข่งขันกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2553 หรือ "กรุงเทพเกมส์" นอกจากการแปรอักษร ในงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีแล้ว ทางชุมนุมเชียร์และแปรอักษร สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ยังได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานระดับชาติอีกมากมาย อาทิ- ปีการศึกษา 2543 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานวันเด็กแห่งชาติ ณ สนามศุภชลาศัย - ปีการศึกษา 2545 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานชุมนุมลูกเสือโลก ร่วมกับโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ ในอัฒจันทร์เดียวกัน - ปีการศึกษา 2547 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานวันเด็กแห่งชาติ ณ สนามศุภชลาศัย ร่วมกับโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย - ปีการศึกษา 2548 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ร่วมกับโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี - ปีการศึกษา 2552 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ร่วมกับโรงเรียนเทพศิรินทร์ - ปีการศึกษา 2553 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานชุมนุมเยาวชนคนรักชาติรักประชาธิปไตย ณ สนามศุภชลาศัย ร่วมกับโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต - ปีการศึกษา 2553 - ได้รับเกียรติให้แปรอักษร ในงานวันคล้ายวันสถาปนายุวกาชาดไทย ณ สนามศุภชลาศัย ในปัจจุบันชุมนุมเชียร์และแปรอักษรฯ ถือเป็น 1 ใน 5 ชุมนุมวัฒนธรรมของโรงเรียน และเป็นชุมนุมที่มีสมาชิกชุมนุมมากที่สุดในโรงเรียน เนื่องจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทุกคน ต้องเป็นสมาชิกชุมนุม โดยมีจุดประสงค์เพื่อรักษา ส่งเสริม ประเพณีวัฒนธรรมของโรงเรียน และแสดงศักยภาพความเป็นสวนกุหลาบ ให้เป็นที่ประจักษ์ มีอาจารย์สุจินตรา ผริตะโกมล รองผู้อำนวยการ กลุ่มการบริหารวิชาการและแผนงาน, อาจารย์ชาญ บัณฑิตสิงห์ อดีตหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นที่ปรึกษาของชุมนุมกิจกรรมร่วมกับกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กิจกรรมร่วมกับกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย. ดูบทความหลักที่ กิจกรรมร่วมของกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้ร่วมกันจัดกิจกรรม เพื่อเชื่อมความสามัคคีระหว่างสถาบันคือ งานชุมนุมลูกเสือ-เนตรนารี สวนกุหลาบสัมพันธ์ ที่เป็นกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือเนตรนารีร่วมกัน และ การแข่งขันกรีฑา สวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งเป็นกิจกรรมแข่งขันกีฬาประเภทลู่และลานร่วมกันบุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนอาจารย์บุคคลที่มีชื่อเสียงที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน. อาจารย์. - อนุสรณ์ เกิดจนา - อาจารย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม แชมป์ 10 สมัย จาก รายการเกมเศรษฐี เดอะ แชมเปียน ทาง ไอทีวี - ครรชิต อมรภักดี - อาจารย์กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา ผู้ฝึกสอนเทควันโดแก่เยาวภา บุรพลชัย เมื่อครั้งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา - เสมอ ทองดอนอ่อน - อาจารย์กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา อดีตหัวหน้าระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 หัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมวอลเลย์บอลหญิง และวอลเลย์บอลชายหาดหญิงของโรงเรียนฯศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน. - กิตติกร เลียวศิริกุล (เรียว) OSKN1 - ผู้กำกับภาพยนตร์ - ธัญญะ วงศ์นาค (แมน) OSKN2 - ผู้จัดการทีม สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสน, ผู้ประกาศข่าวกีฬา และพิธีกรรายการ ทันโลกกีฬา ทางไทยทีวีสีช่อง 3 - ปรเมศวร์ มินศิริ OSKN3 - ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ สนุก.คอม กระปุก.คอม และ พริตตี้แก๊ง.คอม - สุวิน ไกรภูเบศ OSKN3 - ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Beauty Buffet - วาสนา นาน่วม (เล็ก) OSKN4 - ผู้สื่อข่าวสายทหาร หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์, ผู้เขียนหนังสือชุด ลับ ลวง พราง - สบชัย ไกรยูรเสน (ฟอร์ด) OSKN5 - นักร้อง เพลงไทยสากล, นักดนตรี - เศกพล อุ่นสำราญ (โก้ มิสเตอร์แซ็กซ์แมน) OSKN9 - นักร้องเพลงไทยสากล, นักดนตรี - สุรุจ (จุลพงษ์) ปรีดารัตน์ (จุ้ย) OSKN10 - นักร้องเพลงสากล - แอนณา ไพจินดา (แอนนา) OSKN11 - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - ศรัญญา ศรีสาคร (จุ๋ม) OSKN11 - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - ลัดดาวัลย์ ศรีสาคร (จ๋อม) OSKN11 - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - พัชรี แสงเมือง (ต๋อย) OSKN** - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - ว่าที่ร้อยเอก ดร. ศรัณย์ อมาตยกุล OSKN11 นักวิชาการและนักธุรกิจ - มนัสนันท์ แพงขะ (หมู) OSKN13 - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - รัตนาภรณ์ อาลัยสุข (อ้อย) OSKN** - นักกีฬาวอลเลย์บอล ทีมชาติไทย - สายใจ แสนเสนีย์ (สายใจ วลี) - OSKN14 นักร้องเพลงลูกทุ่ง - ชื่นชอบ คงอุดม OSKN1* สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร พรรคประชาธิปัตย์ - มินดา (ศรินทรา) นิตยวรรธนะ (ปู) OSKN15 - ผู้ดำเนินรายการ ตู้ ปณ.ข่าว 3 คู่กับกฤต เจนพานิชการ ทางช่อง 3 ,อดีตผู้ดำเนินรายการข่าว เจาะเกาะติด ทางช่อง 7 สี, อดีตผู้ประกาศข่าว โมเดิร์นไนน์ทีวี, พิธีกรรายการโทรทัศน์ - ภารดี อยู่ผาสุข (เปิ้ล) OSKN18 - นักแสดง - รณกรณ์ บุญมี OSKN19 - อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ภูวเนตรนรินทร์ (เจษฎา) จันทรนาคี (เจษ) OSKN19 - ผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมทีเอ็นเอ็น - เยาวภา บุรพลชัย (วิว) OSKN20 - นักกีฬาเทควันโด ทีมชาติไทย - อัมภิกา ชวนปรีชา (กุ่กกุ๊ก) OSKN20 - รองอันดับสอง มิสไทยแลนด์ยูนิเวิร์ส ประจำปี พ.ศ. 2549, นางงามทูตการท่องเที่ยวนานาชาติ ประจำปี พ.ศ. 2549, ผู้ประกาศข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 - อิทธิพัทธ์ กุลพงษ์วณิชย์ (ต๊อบ) OSKN21 - ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เถ้าแก่น้อย ฟู๊ดแอนด์มาร์เก็ตติ้ง จำกัด - ประสิทธิ์ พูนสิริไพบูลย์ (บุ๊ง) OSKN24 - ผู้ประกาศข่าว สถานีวิทยุกรมการรักษาดินแดน สปอร์ตเรดิโอ เอฟเอ็ม 96.0 เมกะเฮิร์ตซ ในเครือสยามสปอร์ต - ณฉัตร จันทพันธ์ (นิกกี) OSKN26 - ผู้ชนะเลิศการประกวด แอลจี สตาร์ส ทาเลนต์ ประจำปี พ.ศ. 2551, พิธีกรและนักแสดง - ณัฐชา จันทพันธ์ (เมาส์) OSKN27 - นักร้อง สมาชิกวงบี-โอ-วาย และพิธีกร - คียาภัทร โพธิ์วงศ์ไพรเลิศ (คี) OSKN** - มือเบสวงเคลียร์ สังกัดค่ายเพลงจีนี่เรคอร์ดส - กรรวี แก้วกอ (อุ๋มอิ๋ม)-นักแสดงจากเรื่องแม่ยายคงกระพัน - มนชนก แสงฉายเพียงเพ็ญ (โม) OSKN28 - นักแสดง - อภิษฐา คล้ายอุดม (มีน) OSKN28 - นักแสดงองค์กรที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนฯสมาคมผู้ปกครองและครู สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี องค์กรที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนฯ. สมาคมผู้ปกครองและครู สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. สมาคมผู้ปกครองและครู สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี () ก่อตั้งในนามชมรม เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2523 ตามมติของที่ประชุมร่วมกันระหว่าง นางอัมพา แสนทวีสุข ผู้อำนวยการโรงเรียนฯ, ศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และผู้มีอุปการคุณต่อโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เพื่อเป็นหน่วยงานสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนในด้านต่างๆ ให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว เนื่องจากศักยภาพของภาครัฐมีจำกัด โดยมี นาวาอากาศเอก ยุทธพงศ์ กิตติขจร (ยศในขณะนั้น) เป็นประธานชมรม (และนายกสมาคมฯ คนแรก) ต่อมา คณะกรรมการชมรมฯ จึงยื่นคำขออนุญาตจดทะเบียนในรูปสมาคม เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ปัจจุบันมีนายวิชัย บรรดาศักดิ์ นายกเทศมนตรีเทศบาลนครปากเกร็ด เป็นนายกสมาคมฯมูลนิธิ สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี มูลนิธิ สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. มูลนิธิ สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (ชื่อย่อ: ม.สกน.; ) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2533 เพื่อส่งเสริมการศึกษาแก่นักเรียนของโรงเรียนฯ ด้วยการมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่เรียนดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ รวมถึงให้ความสนับสนุนช่วยเหลือโรงเรียนฯ ในกิจการส่งเสริมการศึกษา ทางการเงินและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนดำเนินงานสาธารณประโยชน์ โดยมูลนิธิฯ มีทรัพย์สินประกอบด้วย เงินสดจำนวน 314,432 บาท 66 สตางค์ เป็นทุนประเดิม พร้อมด้วยโฉนดที่ดิน 1 ฉบับ ซึ่งเป็นที่ตั้งของมูลนิธิฯ เลขที่ 77/20 หมู่ที่ 5 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีคณะกรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน ประธานมูลนิธิฯ คนแรกคือ พลโท จันทรคุปต์ สิริสุทธิ์ ดำรงตำแหน่งระหว่างวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2533-3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 ปัจจุบัน (ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541) มีนายไพโรจน์ นพทีปกังวาล เป็นประธานชมรมครูเก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ชมรมครูเก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. ชมรมครูเก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 เพื่อเป็นหน่วยประสานงานกลาง ระหว่างอดีตครู-อาจารย์ของโรงเรียนฯ รวมทั้งจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิกชมรมฯ ตลอดจนให้การสนับสนุน ส่งเสริมโดยประการต่างๆ แก่สมาชิก โรงเรียนฯ และชุมชน โดยมีการประสานงานจัดประชุมครูเก่าเป็นครั้งแรก เพื่อลงมติจัดตั้งชมรมฯ อย่างเป็นทางการ ทั้งนี้ กลุ่มอดีตคณาจารย์ จำนวน 18 ท่าน ลงความเห็นให้ นางกอบเกื้อ โคกสีอำนวย อดีตผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ทำหน้าที่รักษาการประธานชมรมฯ เป็นการชั่วคราวสมาคมศิษย์เก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี สมาคมศิษย์เก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. สมาคมศิษย์เก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ก่อตั้งเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2544 ตามหนังสืออนุญาตจัดตั้งสมาคม โดยคณะศิษย์เก่าของโรงเรียนฯ จำนวน 18 คน มีมติร่วมกันก่อตั้งเป็นสมาคม โดยผู้อำนวยการโรงเรียนฯ อนุญาตให้ใช้สถานที่ของโรงเรียนฯ เป็นที่ทำการของสมาคมฯ รวมถึงขออนุญาตใช้ชื่อโรงเรียนเป็นชื่อสมาคมฯ จากสำนักงานสามัญศึกษาจังหวัดนนทบุรีด้วย นายกสมาคมฯ คนที่ 1 คือ นายประถม ศิริวงศ์วานงาม ศิษย์เก่ารุ่น 4 (2544 - 2548) นายกสมาคมฯ คนที่ 2 คือ นายณัฐวงศ์ เจียมบุรเศรษฐ์ ศิษย์เก่ารุ่น 4 (2548 - 2552) นายกสมาคมฯ คนที่ 3 คือ นายการุณ แก่นรัตนะ ศิษย์เก่ารุ่น 6 (ถาวร)เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ก่อตั้งเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2550 เพื่อเป็นองค์กรประสานงานกลาง และจัดกิจกรรมต่างๆ ระหว่างผู้ปกครองนักเรียน ให้การสนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียนฯ ตลอดจนประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโรงเรียนและเครือข่ายฯ ปัจจุบัน (ตั้งแต่ พ.ศ. 2557) มีนายวรวุฒิ สุขแสวง เป็นประธานเครือข่ายฯ
| โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี ใช้ชื่อย่อว่าอะไร | {
"answer": [
"ส.ก.น"
],
"answer_begin_position": [
187
],
"answer_end_position": [
192
]
} |
423 | 146,153 | วัดทุ่งเศรษฐี (อุตรดิตถ์) วัดทุ่งเศรษฐี หรือ วัดห้วยบง ตั้งอยู่ที่ หมู่ 7 บ้านห้วยบง ตำบลป่าเซ่า อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ห่างจากตัวอำเภอ 12 กิโลเมตร มีชื่อเดิมว่า "วัดห้วยบง" วัดทุ่งเศรษฐี มีฐานะเป็นวัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา (ยังไม่มีอุโบสถ) สังกัดสังกัดการปกครองคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 4 ตัววัดมีความร่มรื่นและเงียบสงบ วัดนี้ตั้งอยู่ริมบึงทุ่งกะโล่ แหล่งกักเก็บน้ำตามธรรมชาติขนาดใหญ่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ จากตัววัดสามารถมองเห็นทัศนียของบึงทุ่งกะโล่ได้ชัดเจนสภาพวัด สภาพวัด. วัดทุ่งเศรษฐี เดิมชื่อ วัดห้วยบง มีฐานะเป็นวัดตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2505 (ไม่มีวิสุงคามสีมา) มีพื้นที่ 49 ไร่เศษ มีศาสนสถาน - ถาวรวัตถุอยู่ประปรายกระจายไปตามป่าภายในอาณาบริเวณวัด ตัววัดตั้งอยู่ริมบึงทุ่งกะโล่ แหล่งกักเก็บน้ำตามธรรมชาติขนาดใหญ่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีบรรยากาศที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรมประวัติวัดรายนามเจ้าอาวาสวัดทุ่งเศรษฐี รายนามเจ้าอาวาสวัดทุ่งเศรษฐี. ตั้งแต่ พ.ศ. 2502 ถึงปัจจุบันพระภิกษุสงฆ์จำพรรษาพระสังฆาธิการจำนวนพระภิกษุสามเณรจำพรรษา พระภิกษุสงฆ์จำพรรษา. จำนวนพระภิกษุสามเณรจำพรรษา. ปัจจุบันวัดทุ่งเศรษฐีมีพระภิกษุจำนวน 3 รูป สามเณร 1 รูป รวม 4 รูปรายนามพระภิกษุสงฆ์จำพรรษาปี พ.ศ. ๒๕๕๐ รายนามพระภิกษุสงฆ์จำพรรษาปี พ.ศ. ๒๕๕๐. เรียงตามลำดับพรรษาไวยาวัจกร ไวยาวัจกร. ปัจจุบันวัดคุ้งตะเภามีไวยาวัจกร 2 ท่านคือ นายแจ้ว บุญมาก แต่งตั้งเมื่อ พ.ศ. 2549 - ปัจจุบัน ส.อบต.เสน่ห์ ตันจ่าง แต่งตั้งเมื่อ พ.ศ. 2549 - ปัจจุบันอาณาเขตที่ตั้งวัด อาณาเขตที่ตั้งวัด. วัดทุ่งเศรษฐีมีพื้นที่ทั้งหมด 49 ไร่- ทิศเหนือ จดสระน้ำสาธารณะบ้านห้วยบง - ทิศใต้ จดโรงเรียนวัดทุ่งเศรษฐี - ทิศตะวันออก จดป่าชุมชนบ้านห้วยบง - ทิศตะวันตก จดบึงทุ่งกะโล่ศาสนสถาน-ถาวรวัตถุข้อมูลจำเพาะ ข้อมูลจำเพาะ. ได้รับพระบรมราชานุญาตให้สร้างวัด ตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑
| วัดทุ่งเศรษฐี ตั้งอยู่หมู่ 7 บ้านห้วยบง ตำบลป่าเซ่า อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีชื่อเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"วัดห้วยบง"
],
"answer_begin_position": [
268
],
"answer_end_position": [
277
]
} |
1,637 | 146,153 | วัดทุ่งเศรษฐี (อุตรดิตถ์) วัดทุ่งเศรษฐี หรือ วัดห้วยบง ตั้งอยู่ที่ หมู่ 7 บ้านห้วยบง ตำบลป่าเซ่า อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ห่างจากตัวอำเภอ 12 กิโลเมตร มีชื่อเดิมว่า "วัดห้วยบง" วัดทุ่งเศรษฐี มีฐานะเป็นวัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา (ยังไม่มีอุโบสถ) สังกัดสังกัดการปกครองคณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 4 ตัววัดมีความร่มรื่นและเงียบสงบ วัดนี้ตั้งอยู่ริมบึงทุ่งกะโล่ แหล่งกักเก็บน้ำตามธรรมชาติขนาดใหญ่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ จากตัววัดสามารถมองเห็นทัศนียของบึงทุ่งกะโล่ได้ชัดเจนสภาพวัด สภาพวัด. วัดทุ่งเศรษฐี เดิมชื่อ วัดห้วยบง มีฐานะเป็นวัดตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2505 (ไม่มีวิสุงคามสีมา) มีพื้นที่ 49 ไร่เศษ มีศาสนสถาน - ถาวรวัตถุอยู่ประปรายกระจายไปตามป่าภายในอาณาบริเวณวัด ตัววัดตั้งอยู่ริมบึงทุ่งกะโล่ แหล่งกักเก็บน้ำตามธรรมชาติขนาดใหญ่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีบรรยากาศที่เหมาะแก่การปฏิบัติธรรมประวัติวัดรายนามเจ้าอาวาสวัดทุ่งเศรษฐี รายนามเจ้าอาวาสวัดทุ่งเศรษฐี. ตั้งแต่ พ.ศ. 2502 ถึงปัจจุบันพระภิกษุสงฆ์จำพรรษาพระสังฆาธิการจำนวนพระภิกษุสามเณรจำพรรษา พระภิกษุสงฆ์จำพรรษา. จำนวนพระภิกษุสามเณรจำพรรษา. ปัจจุบันวัดทุ่งเศรษฐีมีพระภิกษุจำนวน 3 รูป สามเณร 1 รูป รวม 4 รูปรายนามพระภิกษุสงฆ์จำพรรษาปี พ.ศ. ๒๕๕๐ รายนามพระภิกษุสงฆ์จำพรรษาปี พ.ศ. ๒๕๕๐. เรียงตามลำดับพรรษาไวยาวัจกร ไวยาวัจกร. ปัจจุบันวัดคุ้งตะเภามีไวยาวัจกร 2 ท่านคือ นายแจ้ว บุญมาก แต่งตั้งเมื่อ พ.ศ. 2549 - ปัจจุบัน ส.อบต.เสน่ห์ ตันจ่าง แต่งตั้งเมื่อ พ.ศ. 2549 - ปัจจุบันอาณาเขตที่ตั้งวัด อาณาเขตที่ตั้งวัด. วัดทุ่งเศรษฐีมีพื้นที่ทั้งหมด 49 ไร่- ทิศเหนือ จดสระน้ำสาธารณะบ้านห้วยบง - ทิศใต้ จดโรงเรียนวัดทุ่งเศรษฐี - ทิศตะวันออก จดป่าชุมชนบ้านห้วยบง - ทิศตะวันตก จดบึงทุ่งกะโล่ศาสนสถาน-ถาวรวัตถุข้อมูลจำเพาะ ข้อมูลจำเพาะ. ได้รับพระบรมราชานุญาตให้สร้างวัด ตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑
| วัดทุ่งเศรษฐี หรือ วัดห้วยบง ตั้งอยู่หมู่ 7 บ้านห้วยบง ตำบลป่าเซ่า อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีพื้นที่ทั้งหมดกี่ไร่ | {
"answer": [
"49 ไร่"
],
"answer_begin_position": [
703
],
"answer_end_position": [
709
]
} |
424 | 106,243 | ไชยา สุริยัน ไชยา สุริยัน หรือชื่อจริง หม่อมหลวงอภิรัฐ จรูญโรจน์ (7 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2533) นักแสดงเจ้าบทบาท เจ้าของรางวัลตุ๊กตาทอง นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม 3 ปี ซ้อน ระหว่างปี พ.ศ. 2505 - พ.ศ. 2507ประวัติ ประวัติ. ไชยา สุริยัน เป็นบุตรชายของหม่อมราชวงศ์เจริญ จรูญโรจน์ และคุณระเบียบ จรูญโรจน์ ณ อยุธยา มีพี่สาว 1 คน คือ หม่อมหลวงบุญสนอง จรูญโรจน์ เข้าสู่วงการโดยการชักนำของสุรพงศ์ โปร่งมณี และศิริ ศิริจินดา แสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือ "เห่าดง" บทประพันธ์เรื่องแรกของพนมเทียนคู่กับอมรา อัศวนนท์ เมื่อ พ.ศ. 2500 ไชยาได้สมรสกับเทียมแข กุญชร ณ อยุธยา บุตรสาวของหม่อมหลวงขาบ กุญชร และถึงแก่กรรมด้วยโรคมะเร็ง เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2533 อายุ 56 ปี มีพิธีพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาสรางวัล รางวัล. ไชยา สุริยัน เป็นพระเอกคนแรกที่ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง 3 ปีซ้อน- พ.ศ. 2505 ได้รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505 จากเรื่อง "เรือนแพ" คู่กับมาเรีย จาง (ดาราของชอว์ บราเดอร์ส) - พ.ศ. 2506 ได้รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506 จากเรื่อง "ภูติพิศวาส" คู่กับเพชรา เชาวราษฎร์ - พ.ศ. 2507 ได้รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507 จากเรื่อง "ธนูทอง" คู่กับพิศมัย วิไลศักดิ์ผลงานภาพยนตร์ผลงาน. ภาพยนตร์. - 2501: เห่าดง - 2502: สี่คิงส์ ,ซาเซียน ,พล นิกร กิมหงวน ตะลุยฮาเร็ม - 2503: สุดชีวิต ,ชายต้องสู้ ,ยอดมนุษย์ - 2504: เรือนแพ (ตุ๊กตาทองดารานำชาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2505) - 2505: ดอกแก้ว - 2506: ฝนแรก ,เก้ามังกร ,วันปืน ,หนึ่งในทรวง - 2507: ภูติพิศวาส (ตุ๊กตาทองดารานำชาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2506) ,ลูกทาส ,เก้ามหากาฬ - 2508: ธนูทอง (ตุ๊กตาทองดารานำชาย ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2507) ,เกียรติศักดิ์ทหารเสือ ,ลูกนก ,จามรีสีฟ้า ,มัจจุราชเปลือย ,ปลาบู่ทอง ,บัวน้อย ,ลูกหญิง ,นางพรายคะนอง ,พระรถ-เมรี ,ค่ายบางระจัน ,อรัญญิก - 2509: ผู้ชนะสิบทิศ ตอน ยอดขุนพล ,โสนน้อยเรือนงาม ,น้อยใจยา ,จามเทวี - 2510: ผู้ชนะสิบทิศ ตอน บุเรงนองลั่นกลองรบ , ผู้ชนะสิบทิศ ตอน ถล่มหงสาวดี ,สองสิงห์สองแผ่นดิน (กำกับและนำแสดง) - 2511: เป็ดน้อย ,สิงห์เหนือเสือใต้ - 2513: ฟ้าคะนอง ,โทน - 2514: ค่าของคน ,ราชินีบอด ,แหวนทองเหลือง ,วิมานสีทอง ,กว่าจะรักกันได้ ,สะใภ้หัวนอก ,ไอ้หนุ่มบ้านนา ,ดาบคู่สะท้านโลกันต์ (ไทย-ฮ่องกง) ,รุ้งทอง ,ยั่วรัก ,น้องนางบ้านนา - 2515: นางฟ้าชาตรี ,หยาดฝน ,แม่งู ,วิวาห์ลูกทุ่ง - 2516: ธนูสวาท ,ผาเวียงทอง ,พรานเพชฌฆาต - 2517: ยักษ์วัดแจ้งพบจัมโบ้เอ - 2518: งิ้วราย (กำกับการแสดง) - 2519: มหาอุตม์ ,แซ่บ ,คมเฉือนคม - 2520: หัวใจที่ไม่อยากเต้น ,ขยี้มือปืน - 2521: สืบยัดไส้ ,พ่อเสือลูกสิงห์ (กำกับและนำแสดง) - 2526: มรกตดำ ,นักเลงร้อยคม ,เหยี่ยวดง - 2527: เพลิงพิศวาส ,สาวบัวตอง (กำกับและร่วมแสดง),นักเพลงผู้ยิ่งใหญ่ ,ลวดหนาม ,ไอ้โหด.375 ,พูดด้วยปืน - 2528: สวัสดีความรัก ,ขุมทองแม่น้ำแคว - 2530: ปล้นข้ามโลก
| ไชยา สุริยัน มีชื่อจริงว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมหลวงอภิรัฐ จรูญโรจน์"
],
"answer_begin_position": [
126
],
"answer_end_position": [
151
]
} |
425 | 106,243 | ไชยา สุริยัน ไชยา สุริยัน หรือชื่อจริง หม่อมหลวงอภิรัฐ จรูญโรจน์ (7 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2533) นักแสดงเจ้าบทบาท เจ้าของรางวัลตุ๊กตาทอง นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม 3 ปี ซ้อน ระหว่างปี พ.ศ. 2505 - พ.ศ. 2507ประวัติ ประวัติ. ไชยา สุริยัน เป็นบุตรชายของหม่อมราชวงศ์เจริญ จรูญโรจน์ และคุณระเบียบ จรูญโรจน์ ณ อยุธยา มีพี่สาว 1 คน คือ หม่อมหลวงบุญสนอง จรูญโรจน์ เข้าสู่วงการโดยการชักนำของสุรพงศ์ โปร่งมณี และศิริ ศิริจินดา แสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือ "เห่าดง" บทประพันธ์เรื่องแรกของพนมเทียนคู่กับอมรา อัศวนนท์ เมื่อ พ.ศ. 2500 ไชยาได้สมรสกับเทียมแข กุญชร ณ อยุธยา บุตรสาวของหม่อมหลวงขาบ กุญชร และถึงแก่กรรมด้วยโรคมะเร็ง เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2533 อายุ 56 ปี มีพิธีพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาสรางวัล รางวัล. ไชยา สุริยัน เป็นพระเอกคนแรกที่ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง 3 ปีซ้อน- พ.ศ. 2505 ได้รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505 จากเรื่อง "เรือนแพ" คู่กับมาเรีย จาง (ดาราของชอว์ บราเดอร์ส) - พ.ศ. 2506 ได้รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506 จากเรื่อง "ภูติพิศวาส" คู่กับเพชรา เชาวราษฎร์ - พ.ศ. 2507 ได้รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507 จากเรื่อง "ธนูทอง" คู่กับพิศมัย วิไลศักดิ์ผลงานภาพยนตร์ผลงาน. ภาพยนตร์. - 2501: เห่าดง - 2502: สี่คิงส์ ,ซาเซียน ,พล นิกร กิมหงวน ตะลุยฮาเร็ม - 2503: สุดชีวิต ,ชายต้องสู้ ,ยอดมนุษย์ - 2504: เรือนแพ (ตุ๊กตาทองดารานำชาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2505) - 2505: ดอกแก้ว - 2506: ฝนแรก ,เก้ามังกร ,วันปืน ,หนึ่งในทรวง - 2507: ภูติพิศวาส (ตุ๊กตาทองดารานำชาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2506) ,ลูกทาส ,เก้ามหากาฬ - 2508: ธนูทอง (ตุ๊กตาทองดารานำชาย ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2507) ,เกียรติศักดิ์ทหารเสือ ,ลูกนก ,จามรีสีฟ้า ,มัจจุราชเปลือย ,ปลาบู่ทอง ,บัวน้อย ,ลูกหญิง ,นางพรายคะนอง ,พระรถ-เมรี ,ค่ายบางระจัน ,อรัญญิก - 2509: ผู้ชนะสิบทิศ ตอน ยอดขุนพล ,โสนน้อยเรือนงาม ,น้อยใจยา ,จามเทวี - 2510: ผู้ชนะสิบทิศ ตอน บุเรงนองลั่นกลองรบ , ผู้ชนะสิบทิศ ตอน ถล่มหงสาวดี ,สองสิงห์สองแผ่นดิน (กำกับและนำแสดง) - 2511: เป็ดน้อย ,สิงห์เหนือเสือใต้ - 2513: ฟ้าคะนอง ,โทน - 2514: ค่าของคน ,ราชินีบอด ,แหวนทองเหลือง ,วิมานสีทอง ,กว่าจะรักกันได้ ,สะใภ้หัวนอก ,ไอ้หนุ่มบ้านนา ,ดาบคู่สะท้านโลกันต์ (ไทย-ฮ่องกง) ,รุ้งทอง ,ยั่วรัก ,น้องนางบ้านนา - 2515: นางฟ้าชาตรี ,หยาดฝน ,แม่งู ,วิวาห์ลูกทุ่ง - 2516: ธนูสวาท ,ผาเวียงทอง ,พรานเพชฌฆาต - 2517: ยักษ์วัดแจ้งพบจัมโบ้เอ - 2518: งิ้วราย (กำกับการแสดง) - 2519: มหาอุตม์ ,แซ่บ ,คมเฉือนคม - 2520: หัวใจที่ไม่อยากเต้น ,ขยี้มือปืน - 2521: สืบยัดไส้ ,พ่อเสือลูกสิงห์ (กำกับและนำแสดง) - 2526: มรกตดำ ,นักเลงร้อยคม ,เหยี่ยวดง - 2527: เพลิงพิศวาส ,สาวบัวตอง (กำกับและร่วมแสดง),นักเพลงผู้ยิ่งใหญ่ ,ลวดหนาม ,ไอ้โหด.375 ,พูดด้วยปืน - 2528: สวัสดีความรัก ,ขุมทองแม่น้ำแคว - 2530: ปล้นข้ามโลก
| พ่อตาของไชยา สุริยัน คือใคร | {
"answer": [
"หม่อมหลวงขาบ กุญชร"
],
"answer_begin_position": [
658
],
"answer_end_position": [
676
]
} |
426 | 48,391 | สบู่หอมนกแก้ว สบู่หอมนกแก้ว เป็นสบู่เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2490 โดยส่วนผสมคิดค้นโดย วอลเตอร์ เลโอ ไมเยอร์ ประธานกรรมการบริษัทเบอร์ลี่ ยุคเกอร์ สบู่หอมนกแก้วผลิตขึ้นครั้งแรก ในนามของบริษัทรูเบียอุตสาหกรรม มีโรงงานตั้งอยู่ในซอยรูเบีย เขตคลองเตย โดยมีบริษัทเบอร์ลี่ ยุคเกอร์เป็นผู้จัดจัดจำหน่าย โดยเริ่มขายก้อนละ 3 บาทลักษณะเด่น ลักษณะเด่น. สบู่เป็นเนื้อแข็งสีเขียว มีกลิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ โดยใช้หัวน้ำหอมที่นำเข้ามาจากฝรั่งเศส ปัจจุบันมีแบบกลิ่นจำปีด้วย
| สบู่หอมนกแก้วเริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2490 ผู้คิดค้นส่วนผสมคือใคร | {
"answer": [
"วอลเตอร์ เลโอ ไมเยอร์"
],
"answer_begin_position": [
165
],
"answer_end_position": [
186
]
} |
704 | 48,391 | สบู่หอมนกแก้ว สบู่หอมนกแก้ว เป็นสบู่เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2490 โดยส่วนผสมคิดค้นโดย วอลเตอร์ เลโอ ไมเยอร์ ประธานกรรมการบริษัทเบอร์ลี่ ยุคเกอร์ สบู่หอมนกแก้วผลิตขึ้นครั้งแรก ในนามของบริษัทรูเบียอุตสาหกรรม มีโรงงานตั้งอยู่ในซอยรูเบีย เขตคลองเตย โดยมีบริษัทเบอร์ลี่ ยุคเกอร์เป็นผู้จัดจัดจำหน่าย โดยเริ่มขายก้อนละ 3 บาทลักษณะเด่น ลักษณะเด่น. สบู่เป็นเนื้อแข็งสีเขียว มีกลิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ โดยใช้หัวน้ำหอมที่นำเข้ามาจากฝรั่งเศส ปัจจุบันมีแบบกลิ่นจำปีด้วย
| สบู่หอมนกแก้วผลิตขึ้นครั้งแรกในนามของบริษัทอะไร | {
"answer": [
"บริษัทรูเบียอุตสาหกรรม"
],
"answer_begin_position": [
262
],
"answer_end_position": [
284
]
} |
1,615 | 48,391 | สบู่หอมนกแก้ว สบู่หอมนกแก้ว เป็นสบู่เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2490 โดยส่วนผสมคิดค้นโดย วอลเตอร์ เลโอ ไมเยอร์ ประธานกรรมการบริษัทเบอร์ลี่ ยุคเกอร์ สบู่หอมนกแก้วผลิตขึ้นครั้งแรก ในนามของบริษัทรูเบียอุตสาหกรรม มีโรงงานตั้งอยู่ในซอยรูเบีย เขตคลองเตย โดยมีบริษัทเบอร์ลี่ ยุคเกอร์เป็นผู้จัดจัดจำหน่าย โดยเริ่มขายก้อนละ 3 บาทลักษณะเด่น ลักษณะเด่น. สบู่เป็นเนื้อแข็งสีเขียว มีกลิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ โดยใช้หัวน้ำหอมที่นำเข้ามาจากฝรั่งเศส ปัจจุบันมีแบบกลิ่นจำปีด้วย
| สบู่หอมนกแก้ว เริ่มผลิตเมื่อปี พ.ศ. 2490 จำหน่ายครั้งแรกในราคาก้อนละกี่บาท | {
"answer": [
"3 บาท"
],
"answer_begin_position": [
391
],
"answer_end_position": [
396
]
} |
427 | 668,671 | บัญชา ล่ำซำ บัญชา ล่ำซำ ( 12 มกราคม พ.ศ. 2468 - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ) ผู้ก่อตั้งบริษัทเมืองไทยประกันชีวิต กรรมการผู้จัดการธนาคารกสิกรไทย ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารธนาคารกสิกรไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติสมัยที่ 1 และสมัยที่ 2 ในสมัยที่บัญชายังมีชีวิตอยู่สามารถขยายกิจการธนาคารกสิกรไทย จากการที่มีสินทรัพย์ 700 ล้านบาทมาเป็น 600,000 ล้านบาท จนได้การยกย่องเป็นนายธนาคารแห่งปี 2527 จาก วารสารการเงินธนาคารและนิตยสารดอกเบี้ย และยังได้รับรางวัลนักการตลาดไทยแห่งปี 2534 จากสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยอีกด้วยประวัติ ประวัติ. เป็นบุตรคนโตของนาย โชติ-นางน้อม (สกุลเดิม อึ้งภากรณ์) ล่ำซำ เกิดวันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2468 ที่บ้านในซอยผักกาด ถนนเจริญกรุง ใกล้สี่แยกถนนเสือป่า (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งอาคารบริษัทเมืองไทยประกันชีวิต) สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ประทานชื่อให้ บัญชามีน้องชายและน้องสาวรวมแล้ว 7 คนดังนี้- นางชูจิตร สีบุญเรือง - คุณหญิงชัชนี (รัชนี) จาติกวณิช - นางชนาทิพย์ จูตระกูล - นายบรรยงค์ ล่ำซำ - นายบรรจบ ล่ำซำ - นางยุพิน ล่ำซำ - น ายยุตติ ล่ำซำ ด้านครอบครัว บัญชาสมรสกับ ม.ร.ว. สำอางวรรณ เทวกุล (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2471 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560) บุตรีของ พล.ต.ม.จ. ปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล กับ ม.ร.ว. สอางค์ เทวกุล (ราชสกุลเดิมคือปราโมช) และยังเป็นพี่สาวต่างมารดาของ ม.ร.ว. ปรีดิยาธร เทวกุล เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2495 มีบุตรธิดา 3 คนคือ- นายบัณฑูร ล่ำซำ เกิดวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2496 สมรสกับ อุษา จิระพงศ์ - นางสุภรรณ ปันยารชุน เกิดวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 สมรสกับ กฤติ ปันยารชุน - นางวรางคณา เดอเลออน เกิดวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2503 สมรสกับ แอนโทนี เดอเลออน บัญชาถึงแก่กรรม ในวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 รวมอายุได้ 67 ปีการศึกษา การศึกษา. บัญชาจบการศึกษาระดับประถมและมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนอัสสัมชัญ (เลขประจำตัว อสช 9950) มัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นศึกษาต่อในคณะวิทยาศาสตร์ (แผนกเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยมิชิแกน แอนน์ อาร์เบอร์ สหรัฐอเมริกาการทำงานการทำงาน. - กรรมการผู้จัดการบริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด (2495 - 2505) - กรรมการบริหาร บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัดและประธานกรรมการ บริษัท ล่ำซำประกันภัยและคลังสินค้า จำกัด (2505 - 2520) - กรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย (2505 - 2519) - ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธนาคารกสิกรไทย (2519 - 2534) - ประธานกิตติมศักดิ์ ธนาคารกสิกรไทย (2535)ประสบการณ์ประสบการณ์. - กรรมการปูนซีเมนต์ไทย - กรรมการมูลนิธิสายใจไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - กรรมการการบินพลเรือน - กรรมการธนาคารกสิกรไทย - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ - ผู้อำนวยการสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย - กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. (ฝ่ายหน้า)
| ผู้ก่อตั้งบริษัทเมืองไทยประกันชีวิตคือใคร | {
"answer": [
"บัญชา ล่ำซำ"
],
"answer_begin_position": [
98
],
"answer_end_position": [
109
]
} |
428 | 668,671 | บัญชา ล่ำซำ บัญชา ล่ำซำ ( 12 มกราคม พ.ศ. 2468 - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ) ผู้ก่อตั้งบริษัทเมืองไทยประกันชีวิต กรรมการผู้จัดการธนาคารกสิกรไทย ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารธนาคารกสิกรไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติสมัยที่ 1 และสมัยที่ 2 ในสมัยที่บัญชายังมีชีวิตอยู่สามารถขยายกิจการธนาคารกสิกรไทย จากการที่มีสินทรัพย์ 700 ล้านบาทมาเป็น 600,000 ล้านบาท จนได้การยกย่องเป็นนายธนาคารแห่งปี 2527 จาก วารสารการเงินธนาคารและนิตยสารดอกเบี้ย และยังได้รับรางวัลนักการตลาดไทยแห่งปี 2534 จากสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยอีกด้วยประวัติ ประวัติ. เป็นบุตรคนโตของนาย โชติ-นางน้อม (สกุลเดิม อึ้งภากรณ์) ล่ำซำ เกิดวันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2468 ที่บ้านในซอยผักกาด ถนนเจริญกรุง ใกล้สี่แยกถนนเสือป่า (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งอาคารบริษัทเมืองไทยประกันชีวิต) สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ประทานชื่อให้ บัญชามีน้องชายและน้องสาวรวมแล้ว 7 คนดังนี้- นางชูจิตร สีบุญเรือง - คุณหญิงชัชนี (รัชนี) จาติกวณิช - นางชนาทิพย์ จูตระกูล - นายบรรยงค์ ล่ำซำ - นายบรรจบ ล่ำซำ - นางยุพิน ล่ำซำ - น ายยุตติ ล่ำซำ ด้านครอบครัว บัญชาสมรสกับ ม.ร.ว. สำอางวรรณ เทวกุล (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2471 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560) บุตรีของ พล.ต.ม.จ. ปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล กับ ม.ร.ว. สอางค์ เทวกุล (ราชสกุลเดิมคือปราโมช) และยังเป็นพี่สาวต่างมารดาของ ม.ร.ว. ปรีดิยาธร เทวกุล เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2495 มีบุตรธิดา 3 คนคือ- นายบัณฑูร ล่ำซำ เกิดวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2496 สมรสกับ อุษา จิระพงศ์ - นางสุภรรณ ปันยารชุน เกิดวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 สมรสกับ กฤติ ปันยารชุน - นางวรางคณา เดอเลออน เกิดวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2503 สมรสกับ แอนโทนี เดอเลออน บัญชาถึงแก่กรรม ในวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 รวมอายุได้ 67 ปีการศึกษา การศึกษา. บัญชาจบการศึกษาระดับประถมและมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนอัสสัมชัญ (เลขประจำตัว อสช 9950) มัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นศึกษาต่อในคณะวิทยาศาสตร์ (แผนกเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยมิชิแกน แอนน์ อาร์เบอร์ สหรัฐอเมริกาการทำงานการทำงาน. - กรรมการผู้จัดการบริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด (2495 - 2505) - กรรมการบริหาร บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัดและประธานกรรมการ บริษัท ล่ำซำประกันภัยและคลังสินค้า จำกัด (2505 - 2520) - กรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย (2505 - 2519) - ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ธนาคารกสิกรไทย (2519 - 2534) - ประธานกิตติมศักดิ์ ธนาคารกสิกรไทย (2535)ประสบการณ์ประสบการณ์. - กรรมการปูนซีเมนต์ไทย - กรรมการมูลนิธิสายใจไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - กรรมการการบินพลเรือน - กรรมการธนาคารกสิกรไทย - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ - ผู้อำนวยการสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย - กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. (ฝ่ายหน้า)
| ภรรยาของบัญชา ล่ำซำ คือใคร | {
"answer": [
"ม.ร.ว. สำอางวรรณ เทวกุล"
],
"answer_begin_position": [
1184
],
"answer_end_position": [
1207
]
} |
429 | 344,545 | กิบซัน เลส พอล กิบซัน เลส พอล () เป็นกีตาร์ไฟฟ้าตัวตัน ที่ผลิตครั้งแรกโดยกิบซันในปี 1952 รุ่นเลส พอลถูกออกแบบโดย เทด แม็กคาร์ที ร่วมกับ จอห์น ยูส์ กับทีมของพวกเขา รวมทั้ง เลส พอล ด้วย แต่เดิมรุ่นเลส พอล ผลิตโดยใช้สีทอง (gold) และติดปิกอัปรุ่น P-90 ในปี 1957 ได้เปลี่ยนปิกอัปฮัมบักกิง (humbucking) สองตัวแทนพร้อมกับสีซันเบิรสต์ (sunburst) ที่ออกในปี 1958 ปัจจุบันกีตาร์ทรงเลส พอล เป็นประเภทกีตาร์ไฟฟ้าที่รู้จักกันมากที่สุดในโลก ซึ่งเคยมล้มเหลวทั่งการขายและการการผลิตที่น้อย ต่อมาได้ผลิตกีตาร์ กิบซัน เอสจี (Gibson SG) มาแทนในปี 1961 ที่แยกจากทรงเลส พอล คอเว้าเดี่ยว เลส พอลถูกผลิตอีกครั้งในปี 1968 และผลิตอย่างต่อเนื่องนับไม่ถ้วน พร้อมกับกีตาร์เฟนเดอร์ เทเลแคสเตอร์และสตราโตแคสเตอร์ กีตาร์เลส พอล มักจะเอาไปเล่นในหลายแนวเพลง ตั่งแต่ ร็อก คันทรี ป็อป โซล ริทึมแอนด์บลูส์ บลูส์ แจ๊ส เร็กเก พังก์ และเฮฟวีเมทัล
| กิบซัน เลส พอล เป็นกีตาร์ไฟฟ้าตัวตัน ที่ผลิตครั้งแรกโดยกิบซันในปีใด | {
"answer": [
"ปี 1952"
],
"answer_begin_position": [
170
],
"answer_end_position": [
177
]
} |
1,684 | 344,545 | กิบซัน เลส พอล กิบซัน เลส พอล () เป็นกีตาร์ไฟฟ้าตัวตัน ที่ผลิตครั้งแรกโดยกิบซันในปี 1952 รุ่นเลส พอลถูกออกแบบโดย เทด แม็กคาร์ที ร่วมกับ จอห์น ยูส์ กับทีมของพวกเขา รวมทั้ง เลส พอล ด้วย แต่เดิมรุ่นเลส พอล ผลิตโดยใช้สีทอง (gold) และติดปิกอัปรุ่น P-90 ในปี 1957 ได้เปลี่ยนปิกอัปฮัมบักกิง (humbucking) สองตัวแทนพร้อมกับสีซันเบิรสต์ (sunburst) ที่ออกในปี 1958 ปัจจุบันกีตาร์ทรงเลส พอล เป็นประเภทกีตาร์ไฟฟ้าที่รู้จักกันมากที่สุดในโลก ซึ่งเคยมล้มเหลวทั่งการขายและการการผลิตที่น้อย ต่อมาได้ผลิตกีตาร์ กิบซัน เอสจี (Gibson SG) มาแทนในปี 1961 ที่แยกจากทรงเลส พอล คอเว้าเดี่ยว เลส พอลถูกผลิตอีกครั้งในปี 1968 และผลิตอย่างต่อเนื่องนับไม่ถ้วน พร้อมกับกีตาร์เฟนเดอร์ เทเลแคสเตอร์และสตราโตแคสเตอร์ กีตาร์เลส พอล มักจะเอาไปเล่นในหลายแนวเพลง ตั่งแต่ ร็อก คันทรี ป็อป โซล ริทึมแอนด์บลูส์ บลูส์ แจ๊ส เร็กเก พังก์ และเฮฟวีเมทัล
| กีตาร์รุ่นเลส พอล ของ กิบซัน เลส พอล ที่ออกในปี 1958 ใช้สีอะไร | {
"answer": [
"สีซันเบิรสต์"
],
"answer_begin_position": [
403
],
"answer_end_position": [
415
]
} |
430 | 609,628 | ยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ (26 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง 5 สมัยประวัติ ประวัติ. นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 เป็นบุตรของนายอุดม กับ นางไหม อรุณเวสสะเศรษฐ สำเร็จการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก กศน. สมรสกับนางอุไร อรุณเวสสะเศรษฐ มีธิดา 1 คน ยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553 สิริอายุรวม 50 ปีงานการเมือง งานการเมือง. ยงยศ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยองครั้งแรก เมื่อ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 และได้รับเลือกตั้งเรื่อยมา จนถึง พ.ศ. 2548 รวม 5 สมัยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. ยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด 5 สมัย คือ1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 จังหวัดระยอง สังกัดพรรคสามัคคีธรรม 2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 จังหวัดระยอง สังกัดพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 จังหวัดระยอง สังกัดพรรคชาติไทย 4. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 จังหวัดระยอง สังกัดพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 5. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 จังหวัดระยอง สังกัดพรรคไทยรักไทย
| ภรรยาของยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ คือใคร | {
"answer": [
"นางไหม อรุณเวสสะเศรษฐ"
],
"answer_begin_position": [
326
],
"answer_end_position": [
347
]
} |
1,700 | 609,628 | ยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ (26 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง 5 สมัยประวัติ ประวัติ. นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 เป็นบุตรของนายอุดม กับ นางไหม อรุณเวสสะเศรษฐ สำเร็จการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก กศน. สมรสกับนางอุไร อรุณเวสสะเศรษฐ มีธิดา 1 คน ยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553 สิริอายุรวม 50 ปีงานการเมือง งานการเมือง. ยงยศ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยองครั้งแรก เมื่อ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 และได้รับเลือกตั้งเรื่อยมา จนถึง พ.ศ. 2548 รวม 5 สมัยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. ยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด 5 สมัย คือ1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 จังหวัดระยอง สังกัดพรรคสามัคคีธรรม 2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 จังหวัดระยอง สังกัดพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 จังหวัดระยอง สังกัดพรรคชาติไทย 4. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 จังหวัดระยอง สังกัดพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) 5. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 จังหวัดระยอง สังกัดพรรคไทยรักไทย
| ยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"26"
],
"answer_begin_position": [
282
],
"answer_end_position": [
284
]
} |
431 | 668,156 | เจมี โนเบิล เจมส์ กิบสัน () เกิดวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1976 เป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน ในชื่อวงการมวยปล้ำชื่อว่า เจมี โนเบิล () ปัจจุบันเซ็นสัญญากับดับเบิลยูดับเบิลยูอี(WWE) ทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่ผู้ผลิตอยู่ใน WWE เป็นสมาชิกของกลุ่มดิออธอริตี และเป็นส่วนหนึ่งของ J&J Security พร้อมกับ โจอี เมอร์คิวรี อดีตแชมป์ HWA Cruiserweight Championship และแชมป์ WWE Cruiserweight Championshipผลงานผลงาน. - Heartland Wrestling Association- HWA Cruiserweight Championship (1 time) - Independent Professional Wrestling- IPW Light Heavyweight Championship (1 time) - Pro Wrestling Illustrated- PWI ranked him #42 of the top 500 singles wrestlers of the year in the PWI 500 in 2002 - Ring of Honor- ROH World Championship (1 time) - World Wrestling Entertainment- WWE Cruiserweight Championship (1 time)
| เจมส์ กิบสันเป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน ใช้ชื่อในวงการมวยปล้ำว่าอะไร | {
"answer": [
"เจมี โนเบิล"
],
"answer_begin_position": [
203
],
"answer_end_position": [
214
]
} |
1,709 | 668,156 | เจมี โนเบิล เจมส์ กิบสัน () เกิดวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1976 เป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน ในชื่อวงการมวยปล้ำชื่อว่า เจมี โนเบิล () ปัจจุบันเซ็นสัญญากับดับเบิลยูดับเบิลยูอี(WWE) ทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่ผู้ผลิตอยู่ใน WWE เป็นสมาชิกของกลุ่มดิออธอริตี และเป็นส่วนหนึ่งของ J&J Security พร้อมกับ โจอี เมอร์คิวรี อดีตแชมป์ HWA Cruiserweight Championship และแชมป์ WWE Cruiserweight Championshipผลงานผลงาน. - Heartland Wrestling Association- HWA Cruiserweight Championship (1 time) - Independent Professional Wrestling- IPW Light Heavyweight Championship (1 time) - Pro Wrestling Illustrated- PWI ranked him #42 of the top 500 singles wrestlers of the year in the PWI 500 in 2002 - Ring of Honor- ROH World Championship (1 time) - World Wrestling Entertainment- WWE Cruiserweight Championship (1 time)
| เจมส์ กิบสันเป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน เกิดวันเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"23"
],
"answer_begin_position": [
125
],
"answer_end_position": [
127
]
} |
432 | 331,754 | กันตธีร์ ศุภมงคล ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล (3 เมษายน พ.ศ. 2495 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร และอดีตโฆษกพรรคไทยรักไทยคนแรกประวัติ ประวัติ. ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล เกิดเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2495 ที่เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายกนต์ธีร์ ศุภมงคล อดีตเอกอัคราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน,อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (จอมพงถนอม กิตติจร) กับคุณหญิงดุษฎี ศุภมงคล สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส เมื่อปี พ.ศ. 2519 ระดับปริญญาโท สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยอเมริกัน (AU) ปี พ.ศ. 2520 และปริญญาเอก สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย ในปี พ.ศ. 2527การทำงาน การทำงาน. ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล เริ่มรับราชการหลังจากเรียนจบปริญญาเอก สังกัดกระทรวงการต่างประเทศ รวมระยะเวลาในการรับราชการเกือบ 10 ปี จนได้รับตำแหน่งสูงสุด คือ ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผน จึงตัดสินใจลาออกจากราชการ เพื่อทำธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ คือ บริษัท กันตสหกิจ จำกัดการดำรงตำแหน่งทางการเมือง การดำรงตำแหน่งทางการเมือง. ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล เริ่มเข้าสู่งานการเมือง โดยการชักชวนของทักษิณ ชินวัตร หัวหน้าพรรคพลังธรรมและได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 6 สังกัดพรรคพลังธรรม ต่อมา ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล จึงเข้าร่วมกับทักษิณ ชินวัตร ก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และได้รับตำแหน่งเป็นโฆษกพรรคคนแรก (คณะกรรมการชุดที่ขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง) กระทั่งในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จึงได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ ผู้แทนการค้าไทย และต่อมาจึงได้รับตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 ได้ถูกตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยซึ่งถูกยุบในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
| ภรรยาของกันตธีร์ ศุภมงคล คือใคร | {
"answer": [
"คุณหญิงดุษฎี ศุภมงคล"
],
"answer_begin_position": [
503
],
"answer_end_position": [
523
]
} |
1,683 | 331,754 | กันตธีร์ ศุภมงคล ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล (3 เมษายน พ.ศ. 2495 -) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร และอดีตโฆษกพรรคไทยรักไทยคนแรกประวัติ ประวัติ. ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล เกิดเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2495 ที่เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายกนต์ธีร์ ศุภมงคล อดีตเอกอัคราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน,อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (จอมพงถนอม กิตติจร) กับคุณหญิงดุษฎี ศุภมงคล สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส เมื่อปี พ.ศ. 2519 ระดับปริญญาโท สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยอเมริกัน (AU) ปี พ.ศ. 2520 และปริญญาเอก สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยเซาเทิร์นแคลิฟอร์เนีย ในปี พ.ศ. 2527การทำงาน การทำงาน. ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล เริ่มรับราชการหลังจากเรียนจบปริญญาเอก สังกัดกระทรวงการต่างประเทศ รวมระยะเวลาในการรับราชการเกือบ 10 ปี จนได้รับตำแหน่งสูงสุด คือ ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผน จึงตัดสินใจลาออกจากราชการ เพื่อทำธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ คือ บริษัท กันตสหกิจ จำกัดการดำรงตำแหน่งทางการเมือง การดำรงตำแหน่งทางการเมือง. ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล เริ่มเข้าสู่งานการเมือง โดยการชักชวนของทักษิณ ชินวัตร หัวหน้าพรรคพลังธรรมและได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 6 สังกัดพรรคพลังธรรม ต่อมา ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล จึงเข้าร่วมกับทักษิณ ชินวัตร ก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และได้รับตำแหน่งเป็นโฆษกพรรคคนแรก (คณะกรรมการชุดที่ขอจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมือง) กระทั่งในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จึงได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ ผู้แทนการค้าไทย และต่อมาจึงได้รับตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 ได้ถูกตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยซึ่งถูกยุบในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
| ดร.กันตธีร์ ศุภมงคล เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"3"
],
"answer_begin_position": [
343
],
"answer_end_position": [
344
]
} |
433 | 550,584 | สมชาย เบญจรงคกุล นายสมชาย เบญจรงคกุล เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และเป็นนักธุรกิจที่เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารหลายบริษัทประวัติ ประวัติ. สมชาย เบญจรงคกุล เกิดเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2500 เป็นบุตรของนายสุจินต์ เบญจรงคกุล กับนางกาญจนา เบญจรงคกุล มีพี่น้องรวม 4 คน คือ- นายบุญชัย เบญจรงคกุล นักธุรกิจโทรคมนาคม สมรสกับ บงกช คงมาลัย - นางวรรณา จิรกิติ (เบญจรงคกุล) สมรสกับ ประกอบ จิรกิติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ - นายสมชาย - นายวิชัย เบญจรงคกุล เขาสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย และระดับปริญญาตรีจาก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงการทำงาน การทำงาน. สมชาย เบญจรงคกุล เป็นนักธุรกิจชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารบริษัทหลายแห่ง อาทิ เป็นประธานกรรมการบริหารบริษัท ไทยเซทเทิลไลท์ บริษัท ยูคอมอินเตอร์เนชั่นแนล คอมมูนิเกชั่น จำกัด บริษัท ยูไนเต็ด เรดิโอ จำกัด และเป็นกรรมการบริหารบริษัท ยูไนเต็ดคอมมูนิเกชั่น อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเกชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัท เดลคอม เซอร์วิส (ประเทศไทย) บริษัท เวิร์ล เทเลคอม โฮลดิ้ง จำกัด ประธานกรรมการบริหาร บริษัทยูไนเต็ด เทเลคอม เซลส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด (ยูเทล) และเป็นผู้บริหารของกลุ่มบริษัทยูคอม เขาเคยเป็นที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ) ในปี พ.ศ. 2538 เป็นที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายมนตรี พงษ์พานิช) ในปี พ.ศ. 2539 และในปี พ.ศ. 2540 ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม) - พ.ศ. 2540 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)
| นายสมชาย เบญจรงคกุล เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของใคร | {
"answer": [
"พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ"
],
"answer_begin_position": [
182
],
"answer_end_position": [
201
]
} |
1,696 | 550,584 | สมชาย เบญจรงคกุล นายสมชาย เบญจรงคกุล เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และเป็นนักธุรกิจที่เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารหลายบริษัทประวัติ ประวัติ. สมชาย เบญจรงคกุล เกิดเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2500 เป็นบุตรของนายสุจินต์ เบญจรงคกุล กับนางกาญจนา เบญจรงคกุล มีพี่น้องรวม 4 คน คือ- นายบุญชัย เบญจรงคกุล นักธุรกิจโทรคมนาคม สมรสกับ บงกช คงมาลัย - นางวรรณา จิรกิติ (เบญจรงคกุล) สมรสกับ ประกอบ จิรกิติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ - นายสมชาย - นายวิชัย เบญจรงคกุล เขาสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย และระดับปริญญาตรีจาก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงการทำงาน การทำงาน. สมชาย เบญจรงคกุล เป็นนักธุรกิจชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารบริษัทหลายแห่ง อาทิ เป็นประธานกรรมการบริหารบริษัท ไทยเซทเทิลไลท์ บริษัท ยูคอมอินเตอร์เนชั่นแนล คอมมูนิเกชั่น จำกัด บริษัท ยูไนเต็ด เรดิโอ จำกัด และเป็นกรรมการบริหารบริษัท ยูไนเต็ดคอมมูนิเกชั่น อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเกชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัท เดลคอม เซอร์วิส (ประเทศไทย) บริษัท เวิร์ล เทเลคอม โฮลดิ้ง จำกัด ประธานกรรมการบริหาร บริษัทยูไนเต็ด เทเลคอม เซลส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด (ยูเทล) และเป็นผู้บริหารของกลุ่มบริษัทยูคอม เขาเคยเป็นที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายบุญพันธ์ แขวัฒนะ) ในปี พ.ศ. 2538 เป็นที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายมนตรี พงษ์พานิช) ในปี พ.ศ. 2539 และในปี พ.ศ. 2540 ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2555 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม) - พ.ศ. 2540 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)
| สมชาย เบญจรงคกุล เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"3"
],
"answer_begin_position": [
304
],
"answer_end_position": [
305
]
} |
434 | 550,122 | วิสาร เตชะธีราวัฒน์ นายกองเอก วิสาร เตชะธีราวัฒน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 8 สมัยประวัติ ประวัติ. วิสาร เตชะธีราวัฒน์ เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 ที่จังหวัดเชียงราย เป็นบุตรของนายวันชัย กับนางสมรวย เตชะธีราวัฒน์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และปริญญาด้านบริหารรัฐกิจ จากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายวิสาร สมรสกับ นางสมสะอาด เตชะธีราวัฒน์ มีบุตรสาวคนเดียวคือ วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงรายการทำงาน การทำงาน. วิสาร เตชะธีราวัฒน์ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงรายครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 สังกัดพรรครวมไทย ต่อมาย้ายมาสังกัดพรรคเอกภาพ พรรคสามัคคีธรรม และพรรคชาติพัฒนา ต่อมาในปี พ.ศ. 2538 สังกัดพรรคนำไทย และได้รับเลือกเป็นกรรมการบริหารพรรค จากนั้นในปี พ.ศ. 2539 ย้ายมาสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2544 สังกัดพรรคไทยรักไทย และถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองพร้อมกับกรรมการบริหารพรรค 111 คน ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
| ภรรยาของวิสาร เตชะธีราวัฒน์ คือใคร | {
"answer": [
"นางสมสะอาด เตชะธีราวัฒน์"
],
"answer_begin_position": [
537
],
"answer_end_position": [
561
]
} |
1,979 | 550,122 | วิสาร เตชะธีราวัฒน์ นายกองเอก วิสาร เตชะธีราวัฒน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 8 สมัยประวัติ ประวัติ. วิสาร เตชะธีราวัฒน์ เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 ที่จังหวัดเชียงราย เป็นบุตรของนายวันชัย กับนางสมรวย เตชะธีราวัฒน์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และปริญญาด้านบริหารรัฐกิจ จากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายวิสาร สมรสกับ นางสมสะอาด เตชะธีราวัฒน์ มีบุตรสาวคนเดียวคือ วิสาระดี เตชะธีราวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงรายการทำงาน การทำงาน. วิสาร เตชะธีราวัฒน์ ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงรายครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 สังกัดพรรครวมไทย ต่อมาย้ายมาสังกัดพรรคเอกภาพ พรรคสามัคคีธรรม และพรรคชาติพัฒนา ต่อมาในปี พ.ศ. 2538 สังกัดพรรคนำไทย และได้รับเลือกเป็นกรรมการบริหารพรรค จากนั้นในปี พ.ศ. 2539 ย้ายมาสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2544 สังกัดพรรคไทยรักไทย และถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองพร้อมกับกรรมการบริหารพรรค 111 คน ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
| วิสาร เตชะธีราวัฒน์ เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"14"
],
"answer_begin_position": [
287
],
"answer_end_position": [
289
]
} |
435 | 231,421 | วิสันต์ ไกรเกรียงยุค วิสันต์ ไกรเกรียงยุค มีชื่อจริงว่า วิสันต์ ไพรอนันต์ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2492 ที่อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ในครอบครัวที่มีพี่น้อง 5 คนเป็นนักมวยหรือบุคคลในวงการมวยทั้งหมด ตั้งแต่ พี่ชายคนโต ไพรอนันต์ สนั่นเมือง, วิสันต์ ไกรเกรียงยุค, วิชิต ลูกบางปลาสร้อย, ณรงค์ ไพรอนันต์ และ วิรัตน์ ไพรอนันต์ (ปัจจุบันรู้จักดีในชื่อของ เชน เมืองชล โปรโมเตอร์มวยไทยชื่อดัง) วิสันต์ฝึกหัดมวยกับ จรัล แสงจำรัส เจ้าของค่าย ลูกบางปลาสร้อย เพียงแต่ใช้ชื่อค่ายว่า ไกรเกรียงยุค ซึ่งเป็นชื่อซอยเล็ก ๆ ซอยหนึ่งในเขตเทศบาลเมืองชลบุรีนั่นเอง วิสันต์เป็นนักมวยรูปร่างผอมสูง ผิวขาว บอบบาง แต่เป็นมวยในสไตล์ไฟเตอร์ ชอบเดินชกแบบลุยแลกแข้งแลกหมัดอย่างไม่เกรงใคร หลายต่อหลายครั้งที่หน้าแตกเลือดอาบใบหน้า ไม่ทำให้วิสันต์เกิดอาการท้อแท้ แต่ยิ่งกลับทำให้วิสันต์เดินลุยเข้าแลกหนักขึ้นไปอีก สื่อมวลชนจึงให้ฉายาว่า "สุริยาบ้าเลือด" วิสันต์เคยปะทะกับนักมวยไทยฝีมือดีร่วมสมัยหลายคน เช่น ศิริมงคล ลูกศิริพัฒน์, ขุนพล สาครพิทักษ์, บุรีรัมย์ สวนมิสกวัน และแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ โดยเฉพาะการชกกับแสนศักดิ์ที่สนามมวยเวทีลุมพินีเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2515 วิสันต์ถูกหมัดของแสนศักดิ์ลงไปให้กรรมการนับก่อน แต่ลุกขึ้นมาแลกหมัดกับแสนศักดิ์ซึ่งเป็นนักมวยหมัดหนักอย่างไม่กลัวแพ้น็อก จนได้นับแสนศักดิ์บ้างในยกที่ 4 และเป็นฝ่ายชนะคะแนนไปในที่สุด ปัจจุบัน วิสันต์ทำงานประจำอยู่แผนกดับเพลิงเทศบาลเมืองชลบุรี
| วิสันต์ ไกรเกรียงยุค มีชื่อจริงว่าอะไร | {
"answer": [
"วิสันต์ ไพรอนันต์"
],
"answer_begin_position": [
151
],
"answer_end_position": [
168
]
} |
1,663 | 231,421 | วิสันต์ ไกรเกรียงยุค วิสันต์ ไกรเกรียงยุค มีชื่อจริงว่า วิสันต์ ไพรอนันต์ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2492 ที่อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ในครอบครัวที่มีพี่น้อง 5 คนเป็นนักมวยหรือบุคคลในวงการมวยทั้งหมด ตั้งแต่ พี่ชายคนโต ไพรอนันต์ สนั่นเมือง, วิสันต์ ไกรเกรียงยุค, วิชิต ลูกบางปลาสร้อย, ณรงค์ ไพรอนันต์ และ วิรัตน์ ไพรอนันต์ (ปัจจุบันรู้จักดีในชื่อของ เชน เมืองชล โปรโมเตอร์มวยไทยชื่อดัง) วิสันต์ฝึกหัดมวยกับ จรัล แสงจำรัส เจ้าของค่าย ลูกบางปลาสร้อย เพียงแต่ใช้ชื่อค่ายว่า ไกรเกรียงยุค ซึ่งเป็นชื่อซอยเล็ก ๆ ซอยหนึ่งในเขตเทศบาลเมืองชลบุรีนั่นเอง วิสันต์เป็นนักมวยรูปร่างผอมสูง ผิวขาว บอบบาง แต่เป็นมวยในสไตล์ไฟเตอร์ ชอบเดินชกแบบลุยแลกแข้งแลกหมัดอย่างไม่เกรงใคร หลายต่อหลายครั้งที่หน้าแตกเลือดอาบใบหน้า ไม่ทำให้วิสันต์เกิดอาการท้อแท้ แต่ยิ่งกลับทำให้วิสันต์เดินลุยเข้าแลกหนักขึ้นไปอีก สื่อมวลชนจึงให้ฉายาว่า "สุริยาบ้าเลือด" วิสันต์เคยปะทะกับนักมวยไทยฝีมือดีร่วมสมัยหลายคน เช่น ศิริมงคล ลูกศิริพัฒน์, ขุนพล สาครพิทักษ์, บุรีรัมย์ สวนมิสกวัน และแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ โดยเฉพาะการชกกับแสนศักดิ์ที่สนามมวยเวทีลุมพินีเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2515 วิสันต์ถูกหมัดของแสนศักดิ์ลงไปให้กรรมการนับก่อน แต่ลุกขึ้นมาแลกหมัดกับแสนศักดิ์ซึ่งเป็นนักมวยหมัดหนักอย่างไม่กลัวแพ้น็อก จนได้นับแสนศักดิ์บ้างในยกที่ 4 และเป็นฝ่ายชนะคะแนนไปในที่สุด ปัจจุบัน วิสันต์ทำงานประจำอยู่แผนกดับเพลิงเทศบาลเมืองชลบุรี
| วิสันต์ ไกรเกรียงยุค มีชื่อจริงว่า วิสันต์ ไพรอนันต์ เกิดเมื่อปี พ.ศ. ใด | {
"answer": [
"2492"
],
"answer_begin_position": [
186
],
"answer_end_position": [
190
]
} |
436 | 125,960 | นิพนธ์ พร้อมพันธุ์ นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เป็นอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (ชวน หลีกภัย และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 6 สมัย นายนิพนธ์ เป็นเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และโรงเลื่อย เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน บ.ไทยประสิทธิ์ทำไม้ และ บ.ชนาพันธ์ นับเป็นแหล่งทุนเก่าแก่รายหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และยังเป็นพี่ชายของศรีสกุล พร้อมพันธุ์ ภรรยาสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์อีกด้วยประวัติ ประวัติ. นิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายประสิทธิ์ และนางตุ๊ พร้อมพันธุ์ สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล จากนั้นได้ไปศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ โรงเรียนมิลฟิลด์ แคว้นซอมเมอร์เซท ประเทศอังกฤษ โดยเป็นพระสหายร่วมชั้นเรียนใน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ก่อนที่จะไปศึกษาต่อที่บาร์เกอร์คอลเลจ ประเทศออสเตรเลีย จนได้ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อปี พ.ศ. 2515 หลังจากสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ยังไม่ทันได้เข้าศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย บิดาได้ขยายธุรกิจการลงทุนของครอบครัวในหลายกิจการ เช่น โรงเลื่อย การค้าไม้ ธุรกิจก่อสร้าง ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ค้าขายที่ดินที่มีจำนวนมากในจังหวัดภาคอีสาน และกรุงเทพมหานคร นายนิพนธ์จึงถูกเรียกตัวกลับให้มาทำงานสืบต่อธุรกิจขณะที่มีอายุเพียง 20 ปี การกลับเข้ามาบริหารธุรกิจของครอบครัว ทำให้นายนิพนธ์ได้เรียนรู้ประสบการณ์ทางธุรกิจจากการบริหารธุรกิจค้าไม้ของครอบครัว เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน บริษัทไทยประสิทธิ์ค้าไม้ และธุรกิจอื่นๆ เช่น บริษัทชนาพันธ์ ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่ได้ทำโครงการบ้านเดี่ยว “ไม้ล้อมเรือน” เป็นโครงการแรกย่านสวนหลวง ร.9 นอกจากนี้ยังได้ดูแลธุรกิจก่อสร้าง กระทั่งสามารถเข้าไปแข่งขันสัมปทานในประเทศเพื่อนบ้านหลายโครงการ ทั้งในประเทศลาว กัมพูชา และพม่า ด้านชีวิตส่วนตัว นายนิพนธ์ สมรสกับนวนิตย์ ไชยกูล มีบุตรธิดาด้วยกัน 3 คน คือ ชนาธิป ภากมล และ ธีร์พร พร้อมพันธุ์ ปัจจุบันนายนิพนธ์เป็นหม้ายเนื่องจากนางนวนิตย์ ได้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งงานการเมือง งานการเมือง. นายนิพนธ์ เข้าสู่วงการเมืองได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 และได้รับการเลือกตั้งอีกหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทั่งในปี พ.ศ. 2537 ขณะดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายนิพนธ์ถูก พรรคชาติไทย ในฐานะพรรคฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โจมตีกรณีเกิดทุจริตในการแจกเอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01 พร้อมกับนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในขณะนั้น นายนิพนธ์ได้แสดงความรับผิดชอบ ด้วยการลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี แต่พรรคฝ่ายค้านยังคงนำมาเป็นประเด็นเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล เป็นเหตุให้นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ประกาศยุบสภาก่อนมีการลงมติ แม้ว่านับตั้งแต่ถูกโจมตีในปี พ.ศ. 2537 นายนิพนธ์จะไม่เคยถูกฟ้องร้อง ดำเนินคดีในชั้นศาลเกี่ยวกับกรณี ส.ป.ก. 4-01 แต่อย่างใดจนถึงปัจจุบัน แต่ยังคงมีการนำกรณีดังกล่าวมาอ้างอิง เพื่อโจมตีทางการเมืองต่อ พรรคประชาธิปัตย์ มาโดยตลอด ในปี พ.ศ. 2540 หลังการลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และพรรคประชาธิปัตย์สามารถกลับขั้วการเมืองจัดตั้งรัฐบาล นายนิพจน์ได้ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชวน หลีกภัย ต่อมาปลายปี พ.ศ. 2551 นายนิพนธ์ได้กลับมาดำรงตำแหน่ง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี อีกครั้งในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เมื่อพรรคประชาธิปัตย์สามารถกลับขั้วการเมืองจัดตั้งรัฐบาล ในการดำรงตำแหน่งครั้งนี้นายนิพนธ์ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนอีกครั้ง เมื่อพยายามขับรถฝ่าคนกลุ่มเสื้อแดงที่หน้ากระทรวงมหาดไทย แต่ถูกรุมทุบรถและทำร้ายร่างกายโดยกลุ่มคนเสื้อแดง ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2552 ต่อมา นายนิพนธ์ได้ลาออกจากตำแหน่งเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เหตุเนื่องจากไม่พอใจเรื่องการแต่งตั้งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ทั้งนี้นายนิพนธ์ให้การสนับสนุน พลตำรวจเอก จุมพล มั่นหมาย แต่นายอภิสิทธิ์ ให้การสนับสนุน พล.ต.อ.ปทีป ตันประเสริฐ และแต่งตั้งให้ พล.ต.อ.ปทีป เป็นรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติในที่สุดเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| น้องเขยของนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ คือใคร | {
"answer": [
"สุเทพ เทือกสุบรรณ"
],
"answer_begin_position": [
529
],
"answer_end_position": [
546
]
} |
437 | 125,960 | นิพนธ์ พร้อมพันธุ์ นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เป็นอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (ชวน หลีกภัย และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 6 สมัย นายนิพนธ์ เป็นเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และโรงเลื่อย เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน บ.ไทยประสิทธิ์ทำไม้ และ บ.ชนาพันธ์ นับเป็นแหล่งทุนเก่าแก่รายหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และยังเป็นพี่ชายของศรีสกุล พร้อมพันธุ์ ภรรยาสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์อีกด้วยประวัติ ประวัติ. นิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายประสิทธิ์ และนางตุ๊ พร้อมพันธุ์ สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล จากนั้นได้ไปศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ โรงเรียนมิลฟิลด์ แคว้นซอมเมอร์เซท ประเทศอังกฤษ โดยเป็นพระสหายร่วมชั้นเรียนใน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ก่อนที่จะไปศึกษาต่อที่บาร์เกอร์คอลเลจ ประเทศออสเตรเลีย จนได้ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อปี พ.ศ. 2515 หลังจากสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ยังไม่ทันได้เข้าศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย บิดาได้ขยายธุรกิจการลงทุนของครอบครัวในหลายกิจการ เช่น โรงเลื่อย การค้าไม้ ธุรกิจก่อสร้าง ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ค้าขายที่ดินที่มีจำนวนมากในจังหวัดภาคอีสาน และกรุงเทพมหานคร นายนิพนธ์จึงถูกเรียกตัวกลับให้มาทำงานสืบต่อธุรกิจขณะที่มีอายุเพียง 20 ปี การกลับเข้ามาบริหารธุรกิจของครอบครัว ทำให้นายนิพนธ์ได้เรียนรู้ประสบการณ์ทางธุรกิจจากการบริหารธุรกิจค้าไม้ของครอบครัว เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน บริษัทไทยประสิทธิ์ค้าไม้ และธุรกิจอื่นๆ เช่น บริษัทชนาพันธ์ ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่ได้ทำโครงการบ้านเดี่ยว “ไม้ล้อมเรือน” เป็นโครงการแรกย่านสวนหลวง ร.9 นอกจากนี้ยังได้ดูแลธุรกิจก่อสร้าง กระทั่งสามารถเข้าไปแข่งขันสัมปทานในประเทศเพื่อนบ้านหลายโครงการ ทั้งในประเทศลาว กัมพูชา และพม่า ด้านชีวิตส่วนตัว นายนิพนธ์ สมรสกับนวนิตย์ ไชยกูล มีบุตรธิดาด้วยกัน 3 คน คือ ชนาธิป ภากมล และ ธีร์พร พร้อมพันธุ์ ปัจจุบันนายนิพนธ์เป็นหม้ายเนื่องจากนางนวนิตย์ ได้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งงานการเมือง งานการเมือง. นายนิพนธ์ เข้าสู่วงการเมืองได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 และได้รับการเลือกตั้งอีกหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทั่งในปี พ.ศ. 2537 ขณะดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายนิพนธ์ถูก พรรคชาติไทย ในฐานะพรรคฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โจมตีกรณีเกิดทุจริตในการแจกเอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01 พร้อมกับนายสุเทพ เทือกสุบรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในขณะนั้น นายนิพนธ์ได้แสดงความรับผิดชอบ ด้วยการลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี แต่พรรคฝ่ายค้านยังคงนำมาเป็นประเด็นเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล เป็นเหตุให้นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ประกาศยุบสภาก่อนมีการลงมติ แม้ว่านับตั้งแต่ถูกโจมตีในปี พ.ศ. 2537 นายนิพนธ์จะไม่เคยถูกฟ้องร้อง ดำเนินคดีในชั้นศาลเกี่ยวกับกรณี ส.ป.ก. 4-01 แต่อย่างใดจนถึงปัจจุบัน แต่ยังคงมีการนำกรณีดังกล่าวมาอ้างอิง เพื่อโจมตีทางการเมืองต่อ พรรคประชาธิปัตย์ มาโดยตลอด ในปี พ.ศ. 2540 หลังการลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และพรรคประชาธิปัตย์สามารถกลับขั้วการเมืองจัดตั้งรัฐบาล นายนิพจน์ได้ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชวน หลีกภัย ต่อมาปลายปี พ.ศ. 2551 นายนิพนธ์ได้กลับมาดำรงตำแหน่ง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี อีกครั้งในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เมื่อพรรคประชาธิปัตย์สามารถกลับขั้วการเมืองจัดตั้งรัฐบาล ในการดำรงตำแหน่งครั้งนี้นายนิพนธ์ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนอีกครั้ง เมื่อพยายามขับรถฝ่าคนกลุ่มเสื้อแดงที่หน้ากระทรวงมหาดไทย แต่ถูกรุมทุบรถและทำร้ายร่างกายโดยกลุ่มคนเสื้อแดง ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2552 ต่อมา นายนิพนธ์ได้ลาออกจากตำแหน่งเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เหตุเนื่องจากไม่พอใจเรื่องการแต่งตั้งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ทั้งนี้นายนิพนธ์ให้การสนับสนุน พลตำรวจเอก จุมพล มั่นหมาย แต่นายอภิสิทธิ์ ให้การสนับสนุน พล.ต.อ.ปทีป ตันประเสริฐ และแต่งตั้งให้ พล.ต.อ.ปทีป เป็นรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติในที่สุดเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| นิพนธ์ พร้อมพันธุ์ สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนอะไร | {
"answer": [
"โรงเรียนเซนต์คาเบรียล"
],
"answer_begin_position": [
745
],
"answer_end_position": [
766
]
} |
438 | 529,172 | อาสนวิหารว็องส์ อาสนวิหารว็องส์ () เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระบังเกิดแห่งว็องส์ () ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลว็องส์ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลนิสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองว็องส์ในจังหวัดอาลป์-มารีตีม แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่การบังเกิดของพระแม่มารีย์ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1944ประวัติ ประวัติ. อาสนวิหารแห่งนี้สร้างบนวัดเก่าในสมัยโบราณเพื่อใช้บูชาเทพมาร์ส ซึ่งต่อมากลายเป็นโบสถ์ในสมัยราชวงศ์เมรอแว็งเฌียง ประกอบด้วยลักษณะทางสถาปัตยกรรมแบบผสมผสานระหว่างโรมาเนสก์, กอทิก และบาโรก ภายในอาสนวิหารแบ่งเป็นบริเวณกลางโบสถ์ทั้งหมด 5 ช่วง บริเวณช่องทางเดินข้างเป็นที่ตั้งของหลุมฝังศพของนักบุญล็องแบร์พร้อมคำสดุดี เป็นงานในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 และยังพบโลงหินซึ่งปรากฏคำจารึกว่าเป็นหลุมศพของนักบุญเวร็อง (อดีตมุขนายกในสมัยกลางคริสต์ศตวรรษที่ 5) นอกจากนี้ยังพบฉากประดับแท่นบูชาในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งตั้งอยู่บริเวณทางเดินข้างอีกด้วย นอกจากนี้บริเวณเสาต่าง ๆ ยังพบหินสลักแบบสมัยราชวงศ์การอแล็งเฌียง หอล้างบาปยังมีงานกระเบื้องโมเสกผลงานของมาร์ก ชากาล เกี่ยวกับโมเสสแหวกน้ำทะเล
| อาสนวิหารแม่พระบังเกิดแห่งว็องส์ อยู่ในประเทศอะไร | {
"answer": [
"ประเทศฝรั่งเศส"
],
"answer_begin_position": [
456
],
"answer_end_position": [
470
]
} |
439 | 529,172 | อาสนวิหารว็องส์ อาสนวิหารว็องส์ () เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระบังเกิดแห่งว็องส์ () ในปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลว็องส์ซึ่งต่อมาได้ถูกยุบลงเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลนิสตั้งแต่ปี ค.ศ. 1801 เป็นต้นมา (ตามความตกลง ค.ศ. 1801) ตั้งอยู่ที่เมืองว็องส์ในจังหวัดอาลป์-มารีตีม แคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่การบังเกิดของพระแม่มารีย์ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1944ประวัติ ประวัติ. อาสนวิหารแห่งนี้สร้างบนวัดเก่าในสมัยโบราณเพื่อใช้บูชาเทพมาร์ส ซึ่งต่อมากลายเป็นโบสถ์ในสมัยราชวงศ์เมรอแว็งเฌียง ประกอบด้วยลักษณะทางสถาปัตยกรรมแบบผสมผสานระหว่างโรมาเนสก์, กอทิก และบาโรก ภายในอาสนวิหารแบ่งเป็นบริเวณกลางโบสถ์ทั้งหมด 5 ช่วง บริเวณช่องทางเดินข้างเป็นที่ตั้งของหลุมฝังศพของนักบุญล็องแบร์พร้อมคำสดุดี เป็นงานในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 และยังพบโลงหินซึ่งปรากฏคำจารึกว่าเป็นหลุมศพของนักบุญเวร็อง (อดีตมุขนายกในสมัยกลางคริสต์ศตวรรษที่ 5) นอกจากนี้ยังพบฉากประดับแท่นบูชาในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งตั้งอยู่บริเวณทางเดินข้างอีกด้วย นอกจากนี้บริเวณเสาต่าง ๆ ยังพบหินสลักแบบสมัยราชวงศ์การอแล็งเฌียง หอล้างบาปยังมีงานกระเบื้องโมเสกผลงานของมาร์ก ชากาล เกี่ยวกับโมเสสแหวกน้ำทะเล
| อาสนวิหารว็องส์ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. ใด | {
"answer": [
"ปี ค.ศ. 1944"
],
"answer_begin_position": [
591
],
"answer_end_position": [
603
]
} |
440 | 857,573 | เจ้าชายเอมานูเอเล ฟีลีแบร์โตแห่งซาวอย เจ้าชายแห่งเวนิซ เจ้าชายเอ็มมานูเอล ฟิลิแบร์โตแห่งซาวอย เจ้าชายแห่งเวนิซ เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวใน เจ้าชายวิคตอริโอ เอ็มมานูเอล เจ้าชายแห่งเนเปิลส์ และ เจ้าหญิงมารินา เจ้าหญิงแห่งเนเปิลส์ ด้วยพระราชวงศ์แห่งอิตาลีถูกล้มล้างไปแล้วก็ตาม แต่สมาชิกพระบรมวงศานุวงศ์แห่งราชวงศ์ซาวอย ก็ยังสามารถดำรงพระอิสริยยศนี้ไปได้ตลอดพระชนม์ชีพ เจ้าชายเอ็มมานูเอล ทรงเสกสมรสกับนางสาวคลอทิลด์ มารี ปาสคาลล์ คูโร่ (ภายหลัง เจ้าหญิงคลอทิลด์ เจ้าหญิงแห่งเวนิซ) ทรงมีพระธิดาร่วมกัน 2 พระองค์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - House of Savoy: Grand Master Knight Grand Collar of the Supreme Order of the Most Holy Annunciation - House of Savoy: Grand Master Knight Grand Cordon of the Order of Saints Maurice and Lazarus - Sovereign Military Order of Malta: Bailiff Knight Grand Cross of Justice of the Sovereign Military Order of Malta, 1st Class - Castroan Royal Family of Two Sicilies: Bailiff Knight Grand Cross of Justice of the Castroan-Two Sicilian Sacred Military Constantinian Order of Saint George - : Knight Grand Officer of the Order of Saint-Charles - Montenegrin Royal Family: Knight of the Order of Petrovic Njegos - Montenegrin Royal Family: Knight Grand Cross of the Order of Prince Danilo I - Montenegrin Royal Family: Knight of the Order of Saint Peter of Cetinje - Russian Imperial Family: Knight Grand Cordon of the Order of St. Alexander Nevsky - Abanyiginya Dynasty: Knight Grand Collar of the Royal Order of the Drum (Rwanda)
| พระโอรสของเจ้าชายวิคตอริโอ เอ็มมานูเอล เจ้าชายแห่งเนเปิลส์ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"เจ้าชายเอ็มมานูเอล ฟิลิแบร์โตแห่งซาวอย เจ้าชายแห่งเวนิซ"
],
"answer_begin_position": [
184
],
"answer_end_position": [
239
]
} |
441 | 857,573 | เจ้าชายเอมานูเอเล ฟีลีแบร์โตแห่งซาวอย เจ้าชายแห่งเวนิซ เจ้าชายเอ็มมานูเอล ฟิลิแบร์โตแห่งซาวอย เจ้าชายแห่งเวนิซ เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวใน เจ้าชายวิคตอริโอ เอ็มมานูเอล เจ้าชายแห่งเนเปิลส์ และ เจ้าหญิงมารินา เจ้าหญิงแห่งเนเปิลส์ ด้วยพระราชวงศ์แห่งอิตาลีถูกล้มล้างไปแล้วก็ตาม แต่สมาชิกพระบรมวงศานุวงศ์แห่งราชวงศ์ซาวอย ก็ยังสามารถดำรงพระอิสริยยศนี้ไปได้ตลอดพระชนม์ชีพ เจ้าชายเอ็มมานูเอล ทรงเสกสมรสกับนางสาวคลอทิลด์ มารี ปาสคาลล์ คูโร่ (ภายหลัง เจ้าหญิงคลอทิลด์ เจ้าหญิงแห่งเวนิซ) ทรงมีพระธิดาร่วมกัน 2 พระองค์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - House of Savoy: Grand Master Knight Grand Collar of the Supreme Order of the Most Holy Annunciation - House of Savoy: Grand Master Knight Grand Cordon of the Order of Saints Maurice and Lazarus - Sovereign Military Order of Malta: Bailiff Knight Grand Cross of Justice of the Sovereign Military Order of Malta, 1st Class - Castroan Royal Family of Two Sicilies: Bailiff Knight Grand Cross of Justice of the Castroan-Two Sicilian Sacred Military Constantinian Order of Saint George - : Knight Grand Officer of the Order of Saint-Charles - Montenegrin Royal Family: Knight of the Order of Petrovic Njegos - Montenegrin Royal Family: Knight Grand Cross of the Order of Prince Danilo I - Montenegrin Royal Family: Knight of the Order of Saint Peter of Cetinje - Russian Imperial Family: Knight Grand Cordon of the Order of St. Alexander Nevsky - Abanyiginya Dynasty: Knight Grand Collar of the Royal Order of the Drum (Rwanda)
| เจ้าหญิงคลอทิลด์ เจ้าหญิงแห่งเวนิซ มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"นางสาวคลอทิลด์ มารี ปาสคาลล์ คูโร่"
],
"answer_begin_position": [
529
],
"answer_end_position": [
563
]
} |
442 | 189,925 | พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์ (23 สิงหาคม พ.ศ. 2328 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2380) ประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 9 แรม 3 ค่ำ ปีมะเส็ง สัปตศก จุลศักราช 1147 ตรงกับวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2328 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ทรงเป็นพระเชษฐาแท้ๆของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษ์รณเรศ เมื่อทรงพระเยาว์ชาววังออกพระนามเรียกพระองค์กันว่า "พระองค์ชายเสือ" พ.ศ. 2350 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น "กรมหมื่นเทพพลภักดิ์" ต่อมาในรัชกาลที่ 2 ได้ทรงกำกับกรมพระคชบาล และในปี พ.ศ. 2375 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนกรมขึ้นเป็น "กรมหลวงเทพพลภักดิ์" สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3 เมื่อวันอังคาร เดือน 3 แรม 11 ค่ำ ปีระกา นพศก จุลศักราช 1199 ตรงกับวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2380 พระชันษา 51 ปี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทาน พระโกศทองใหญ่ ทรงพระศพ และ พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุท้องสนามหลวง
| พระราชบิดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช"
],
"answer_begin_position": [
412
],
"answer_end_position": [
450
]
} |
443 | 189,925 | พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์ (23 สิงหาคม พ.ศ. 2328 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2380) ประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 9 แรม 3 ค่ำ ปีมะเส็ง สัปตศก จุลศักราช 1147 ตรงกับวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2328 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ทรงเป็นพระเชษฐาแท้ๆของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษ์รณเรศ เมื่อทรงพระเยาว์ชาววังออกพระนามเรียกพระองค์กันว่า "พระองค์ชายเสือ" พ.ศ. 2350 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น "กรมหมื่นเทพพลภักดิ์" ต่อมาในรัชกาลที่ 2 ได้ทรงกำกับกรมพระคชบาล และในปี พ.ศ. 2375 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนกรมขึ้นเป็น "กรมหลวงเทพพลภักดิ์" สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3 เมื่อวันอังคาร เดือน 3 แรม 11 ค่ำ ปีระกา นพศก จุลศักราช 1199 ตรงกับวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2380 พระชันษา 51 ปี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทาน พระโกศทองใหญ่ ทรงพระศพ และ พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุท้องสนามหลวง
| พี่น้องร่วมบิดามารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษ์รณเรศ"
],
"answer_begin_position": [
498
],
"answer_end_position": [
550
]
} |
444 | 887,240 | มิโตะ ฮอลลีฮอก มิโตะ ฮอลลีฮอก (; ) เป็นสโมสรฟุตบอลระดับอาชีพของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งปัจจุบันกำลังแข่งขันรายการเจลีก ดิวิชัน 2 ทีมนี้ประจำอยู่ที่เมืองมิโตะ จังหวัดอิบะระกิ นามสมญา "ฮอลลีฮอก" มาจากเครื่องยอดแห่งตระกูลโทะกุงะวะ ซึ่งเป็นผู้ปกครองจากมิโตะในยุคเอะโดะประวัติ ประวัติ. สโมสรก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1990 ในนามพรีม่าอาเซโน เอฟซี โดยพนักงานโรงงานของพรีม่าแฮม (ซึ่งเป็นบริษัทอาหาร) ในสึชิอุระ ก่อนเปลี่ยนชื่อเป็นพรีม่าแฮม เอฟซี สึชิอุระ และได้รับการเลื่อนชั้นสู่ฟุตบอลลีกญี่ปุ่นหลังจากจบการแข่งในฐานะรองชนะเลิศในการแข่งขันเพลย์ออฟลีกภูมิภาคปี ค.ศ. 1996 ทีมนี้ได้รวมกับสโมสรฟุตบอลมิโตะ (ที่ได้รับการก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1994) แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นมิโตะ ฮอลลีฮอก ก่อนเริ่มฤดูกาล 1997 เมื่อพรีม่าแฮมตัดสินใจเลิกการสนับสนุนทางการเงินให้แก่สโมสร การร้องขอของทีมมิโตะในการเปิดตัวเจลีก ดิวิชัน 2 ฤดูกาล 1999 ได้รับการปฏิเสธในขั้นต้น เนื่องจากฐานการเงินและฐานแฟน ๆ ที่ไม่เสถียร อย่างไรก็ตาม หลังจากจบการแข่งในอันดับที่ 3 ในฟุตบอลลีกญี่ปุ่นเมื่อปี ค.ศ. 1999 และได้รับการสนับสนุน ทางสโมสรก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งเจลีกในปี ค.ศ. 2000 ส่วนในปี ค.ศ. 2016 มิโตะ ฮอลลีฮอก ได้จัดทำทีมฟุตบอลหญิง ในคันโตลีก ดิวิชัน 2 และทีมฮอกกี้น้ำแข็ง ในลีกของจังหวัดอิบะระกิระเบียงภาพ (จากสนามเหย้าในอดีต)
| มิโตะ ฮอลลีฮอก เป็นสโมสรฟุตบอลระดับอาชีพของประเทศญี่ปุ่น ประจำอยู่ที่เมืองมิโตะ จังหวัดอะไร | {
"answer": [
"จังหวัดอิบะระกิ"
],
"answer_begin_position": [
241
],
"answer_end_position": [
256
]
} |
445 | 887,240 | มิโตะ ฮอลลีฮอก มิโตะ ฮอลลีฮอก (; ) เป็นสโมสรฟุตบอลระดับอาชีพของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งปัจจุบันกำลังแข่งขันรายการเจลีก ดิวิชัน 2 ทีมนี้ประจำอยู่ที่เมืองมิโตะ จังหวัดอิบะระกิ นามสมญา "ฮอลลีฮอก" มาจากเครื่องยอดแห่งตระกูลโทะกุงะวะ ซึ่งเป็นผู้ปกครองจากมิโตะในยุคเอะโดะประวัติ ประวัติ. สโมสรก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1990 ในนามพรีม่าอาเซโน เอฟซี โดยพนักงานโรงงานของพรีม่าแฮม (ซึ่งเป็นบริษัทอาหาร) ในสึชิอุระ ก่อนเปลี่ยนชื่อเป็นพรีม่าแฮม เอฟซี สึชิอุระ และได้รับการเลื่อนชั้นสู่ฟุตบอลลีกญี่ปุ่นหลังจากจบการแข่งในฐานะรองชนะเลิศในการแข่งขันเพลย์ออฟลีกภูมิภาคปี ค.ศ. 1996 ทีมนี้ได้รวมกับสโมสรฟุตบอลมิโตะ (ที่ได้รับการก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1994) แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นมิโตะ ฮอลลีฮอก ก่อนเริ่มฤดูกาล 1997 เมื่อพรีม่าแฮมตัดสินใจเลิกการสนับสนุนทางการเงินให้แก่สโมสร การร้องขอของทีมมิโตะในการเปิดตัวเจลีก ดิวิชัน 2 ฤดูกาล 1999 ได้รับการปฏิเสธในขั้นต้น เนื่องจากฐานการเงินและฐานแฟน ๆ ที่ไม่เสถียร อย่างไรก็ตาม หลังจากจบการแข่งในอันดับที่ 3 ในฟุตบอลลีกญี่ปุ่นเมื่อปี ค.ศ. 1999 และได้รับการสนับสนุน ทางสโมสรก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งเจลีกในปี ค.ศ. 2000 ส่วนในปี ค.ศ. 2016 มิโตะ ฮอลลีฮอก ได้จัดทำทีมฟุตบอลหญิง ในคันโตลีก ดิวิชัน 2 และทีมฮอกกี้น้ำแข็ง ในลีกของจังหวัดอิบะระกิระเบียงภาพ (จากสนามเหย้าในอดีต)
| สมญานาม ฮอลลีฮอก มาจากเครื่องยอดแห่งตระกูลโทะกุงะวะ ซึ่งเป็นผู้ปกครองจากมิโตะในยุคใด | {
"answer": [
"ยุคเอะโดะ"
],
"answer_begin_position": [
338
],
"answer_end_position": [
347
]
} |
446 | 603,368 | ปราปต์ปฎล สุวรรณบาง ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 ที่จังหวัดนครสวรรค์ประวัติ ประวัติ. ปราปต์ปฎลเข้าสู่วงการบันเทิงในขณะที่ยังศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) อยู่ที่วิทยาเขตพณิชยการพระนคร โดยได้พบกับดีไซเนอร์ซึ่งเป็นแมวมองที่เซ็นทรัล ลาดพร้าว จึงเริ่มงานด้วยการถ่ายแบบ, เดินแฟชั่น และถ่ายมิวสิควีดีโอ จากนั้นจึงได้มีผลงานการแสดงครั้งแรกกับบทร้ายในเรื่อง สุภาพบุรุษที่สุดในโลก ในปี พ.ศ. 2532 ปัจจุบัน ปราปต์ปฎล มักได้รับบทเป็นขุนศึก แม่ทัพ นายกอง จากภาพยนตร์และละครในแนวอิงประวัติศาสตร์ หรือตัวร้ายในละครโทรทัศน์หรือภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ การก้าวเข้าสู่วงการดนตรีถือเป็นงานอีกด้านหนึ่งที่ปราปต์รักและชื่นชอบ ด้วยบุคลิกภาพที่ชัดเจนและเป็นผู้ทำประโยชน์ในกิจกรรมสาธารณกุศลมากมาย ทำให้ปราปต์ปฎลสร้างสรรค์ผลงานเพลงของตัวเอง ในปี 2557 กับซิงเกิ้ลแรก 'แล้วพบกันเมื่อเจอ'ไมรับผิดชอบ...ผลงานละครโทรทัศน์ / ละครเวทีผลงาน. ละครโทรทัศน์ / ละครเวที. - "ตาเบบูญ่า" (2542) ช่อง 5 - "หลวงตา" (2543) ช่อง 3 - "อาจารย์โกย" (2544) ช่อง 3 - "มนต์รักส้มตำ" (2545) ช่อง 5 - ท้าลิขิต ตอน กรรมตัดตอน (2547) - "ข้ามฟ้าเฉือนคม Split Second" (2547) ร่วมทุนระหว่างบรอดคาซไทยเทเลวิชั่นกับ TVB ฮ่องกง ออกอากาศทั้งที่ฮ่องกงและช่อง 3 - "นางสาวสัปเหร่อ" รับบท ชาคริต (2549) ช่อง 3 ช่วงแกะกล่องละครบ่าย - "ละครเทิดเกียรติทหารวันกองทัพไทย "แด่ทหารกล้า" รับบท พ.ต.วีระพล แย้มอำพล " (สร้างโดยบริษัทกันตนา ออกอากาศทางช่อง 5) (ปี 2550) - "Laksamana Cheng Ho" รับบทสมเด็จพระรามราชาธิราช (เป็นละครโทรทัศน์ที่ทางกันตนาร่วมทุนกับประเทศอินโดนีเซีย ไม่ได้ออกอากาศในประเทศไทย) (2550) - "ตากสินมหาราช" (2550) ช่อง 3 รับบท เมฆราโบ - "โก๊ะซ่า ท้ามิติ (2552) รับบท เหิน - "พยัคฆ์ยี่เก" (2552) รับบท พ.ต.ต.มงคล ช่อง 7 - "ตำรวจเหล็ก" (2553) รับบท ยอดชาย ช่อง 7 - "ไทยเธียเตอร์ ชุด หลายชีวิต ตอน ละม่อม" (2553-2554) รับบท สนิท ช่อง ทีวีไทย - "ตะวันเดือด" (2554) รับบท ก้อน ช่อง 3 - โก๊ะ 7 (2554) รับบท จอระเด - ละครเวที "สมเด็จพระนเรศวรมหาราช" (2554) รับบท นันทสู / พระเอกาทศรถ (ขึ้นอยู่กับรอบการแสดง) - ละครซีรีส์ เซน...สื่อรักสื่อวิญญาณ ตอน บทละครผี รับบท นนท์ นักเขียนบทละคร (2555) ช่อง 5 - "ละครซีรีส์ สัมผัสพิศวง ตอน สาบานกับความตาย" ช่อง 3 รับบท สิงห์ (2555) - เสือสมิง (2555-2556) ช่อง 7 รับบท พรานป่าอองไชย - "สุภาพบุรุษจุฑาเทพ ตอน คุณชายธราธร (2556) รับบท พรานสม ช่อง 3 - ซิทคอม "ครัวซองทำนองรัก" ช่อง 3 (9 มิ.ย.2556) รับเชิญ ในบทเสี่ย - ผู้ชนะสิบทิศ (2556-2557) ช่อง 8 รับบท ปะขันหวุ่นญี - ลูกสาวพ่อมด (2557) ช่อง 3 รับบท พรานป่า - เสือ (2557) รับบท พ่อใหญ่แห่งหมู่บ้านผาสมิง - บางระจัน รับบท สุรินทจอข่อง เริ่มออกอากาศ 6 มกราคม 2558 ทางช่อง 3 - "ชาติเจ้าพระยา 2 (สิงห์สี่แคว)" รับบท ไพฑูรย์ เพิ่มพูน/หัวหน้าองค์กร ACE โค้ดเนม A ข้าวหลามตัด (รุ่นบุกเบิก) เริ่มออกอากาศ 23 มกราคม 2558 ทางช่อง 3 - "แม้เลือกเกิดได้" รับบท ตง เริ่มออกอากาศวันที่ 15 มกราคม 2558 ทางช่อง 8 - "รายการเกิดเพราะกรรม ตอน ผีนางตานี]รับบทพ่อเลี้ยงของมณี (2558) ช่องไบรท์ทีวี - ข้าบดินทร์ (2558) ช่อง 3 รับบท ขุนสิทธิสงคราม/พระศรีสิทธิสงคราม ออกอากาศตอนแรก 30 พฤษภาคม 2558 - "สิงห์รถบรรทุก"(2558) ช่อง 7 รับบท เสือเล็ก แห่ง ผาพยัคฆ์ ออกอากาศตอนแรก 5 มิถุนายน 2558 - "ข้ามากับพระ" (2558) ช่อง 7 รับบท เสือทอง ออกอากาศตอนแรก 14 สิงหาคม 2558 - "บ้านนี้ผีไม่ปอบ" (2558) ช่อง 3 รับบท ระทม ออกอากาศตอนแรก 23 กันยายน 2557 (ช่วง Prime time 1) - "มนต์รักอสูร" (2559) ช่อง 8 รับบท น้าผัน ออกอากาศตอนแรก 4 มีนาคม 2559 - "พันท้ายนรสิงห์" (2559) ช่อง workpoint รับบท หลวงกำแหง ออกอากาศตอนแรก 4 เมษายน 2559 - "เจ้าพายุ" (2559) ช่อง 7 รับบท จ่าชานนท์ ออกอากาศตอนแรก 10 มิถุนายน 2559 - "คงกระพันนารี" (2559) ช่อง 3 รับบท โจรโก้ (รับเชิญ) ออกอากาศตอนแรก 5 กรกฎาคม 2559 - "เจ้าจอม" (2559) ช่อง 3 เอสดี รับบท เต็ม ออกอากาศตอนแรก 6 ธันวาคม 2559 - "เชลยศึก" (2560) ช่อง 8 รับบท พระเจ้าเอกทัศ ออกอากาศตอนแรก 25 มกราคม 2560 - "มหาหิน" (2560) ช่อง 7 รับบท นายพลเก้ายอด ออกอากาศตอนแรก 8 ธันวาคม 2560 - "บุพเพสันนิวาส (นวนิยาย)" (2561) ช่อง 3 รับบท สมเด็จพระนารายณ์มหาราช คู่กับ เจนจิรา จันทรศร ออกอากาศตอนแรก 21 กุมภาพันธ์ 2561ภาพยนตร์ภาพยนตร์. - สุภาพบุรุษที่สุดในโลก (2532) - "สองอันตราย ล่าหักเหลี่ยม" (2543) รับบท อาณัฐ - ขวัญ-เรียม (2544) รับบท จ้อย - "เปรต ร.ศ.69" (2544) รับบท หลวงยศ - "ผีหัวขาด" (2545) รับบท สมพงษ์ - 'ขุนศึก' (2546) รับบท หมู่ขัน - "เจ้าตาก" (2547) รับบท หลวงพิชัย หรือ ทองดี - "Children in the dark เด็กน้อยในเงามืด"(2548)รับบท ชิด (สร้างร่วมระหว่างไทยกับญี่ปุ่น ไม่ได้เข้าฉายในประเทศไทย) - ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ (2550) รับบท ออกพระชัยบุรี - คู่แรด (2550) รับบท เคน ซาคาโมโตะ - ผีตุ๋มติ๋ม (2552) - "หนังสั้นเรื่อง "เปลือก""2553) - คนไททิ้งแผ่นดิน (2553) รับบท ลิตงเจีย - ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี (2554) รับบท ออกพระชัยบุรี - ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง (2554) รับบท ออกพระชัยบุรี - "Largowinch II" รับบท "กาดจา" (เป็นหนึ่งในนักแสดงไทยที่ร่วมแสดงในภาพยนตร์ของประเทศฝรั่งเศสเรื่องนี้) (2554) - "เค้าเรียกผมว่าความรัก"(2555) รับบท สารวัตรลาภ - กาลครั้งหนึ่ง...จนวันนี้ (2557) รับบท ชัย - ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี (2557) รับบท ออกพระชัยบุรี - "ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชภาค 6 อวสานหงสา" (2558) รับบท พระชัยบุรี เข้าฉาย 9 เมษายน 2558 - "พันท้ายนรสิงห์" (2558) รับบท หลวงกำแหง เข้าฉาย 30 ธันวาคม 2558 ละคร / ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำเสร็จแล้วรอออนแอร์- "ลมไพรผูกรัก" ช่อง 3 - "สารวัตรใหญ่" ช่อง 7 - "จ้าวสมิง" ช่อง 7 - "บ่วงนฤมิต" ช่อง 3 ผลงานเพลง- แล้วพบกันเมื่อเจอ released on 29/9/2014 ปราปต์ปฎล สุวรรณบาง นักแสดงมากความสามารถคว้าไมค์ทำซิงเกิ้ลแรกในชีวิต กับซิงเกิ้ล แล้วพบกันเมื่อเจอ ที่มาของเพลงเริ่มจากเค้าได้มีโอกาสร้องเพลงและสามารถสร้างความสุขกับเสียงเพลงที่นำมาร้อง คำถามที่มักได้รับประจำคือ...ร้องเพลงอะไร...ร้องเพลงใคร จึงทำให้เป็นแรงบันดาลใจในการทำเพลงนี้ขึ้นมา โดยเนื้อหาของเพลงอยากบอกว่าเราไม่อาจเปลี่ยนตัวตนของเราได้ ขอแค่ยอมรับในสิ่งที่เราเป็นแค่นี้คำว่าผิดหวังและเสียใจกับความรักก็จะไม่มีอีกแล้ว.. รางวัลที่ได้รับ- รางวัลพลอยคเณศ สาขาศิลปินผู้อุทิศตนบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสาธารณกุศล ประจำปี 2558 จากสมาคมคเณศรีศิลปินเพื่อสังคม (11 มิถุนายน 2558)
| ผลงานการแสดงครั้งแรกกับบทร้ายของปราปต์ปฎล สุวรรณบาง คือเรื่องอะไร | {
"answer": [
"เรื่อง สุภาพบุรุษที่สุดในโลก"
],
"answer_begin_position": [
501
],
"answer_end_position": [
529
]
} |
447 | 603,368 | ปราปต์ปฎล สุวรรณบาง ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 ที่จังหวัดนครสวรรค์ประวัติ ประวัติ. ปราปต์ปฎลเข้าสู่วงการบันเทิงในขณะที่ยังศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) อยู่ที่วิทยาเขตพณิชยการพระนคร โดยได้พบกับดีไซเนอร์ซึ่งเป็นแมวมองที่เซ็นทรัล ลาดพร้าว จึงเริ่มงานด้วยการถ่ายแบบ, เดินแฟชั่น และถ่ายมิวสิควีดีโอ จากนั้นจึงได้มีผลงานการแสดงครั้งแรกกับบทร้ายในเรื่อง สุภาพบุรุษที่สุดในโลก ในปี พ.ศ. 2532 ปัจจุบัน ปราปต์ปฎล มักได้รับบทเป็นขุนศึก แม่ทัพ นายกอง จากภาพยนตร์และละครในแนวอิงประวัติศาสตร์ หรือตัวร้ายในละครโทรทัศน์หรือภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ การก้าวเข้าสู่วงการดนตรีถือเป็นงานอีกด้านหนึ่งที่ปราปต์รักและชื่นชอบ ด้วยบุคลิกภาพที่ชัดเจนและเป็นผู้ทำประโยชน์ในกิจกรรมสาธารณกุศลมากมาย ทำให้ปราปต์ปฎลสร้างสรรค์ผลงานเพลงของตัวเอง ในปี 2557 กับซิงเกิ้ลแรก 'แล้วพบกันเมื่อเจอ'ไมรับผิดชอบ...ผลงานละครโทรทัศน์ / ละครเวทีผลงาน. ละครโทรทัศน์ / ละครเวที. - "ตาเบบูญ่า" (2542) ช่อง 5 - "หลวงตา" (2543) ช่อง 3 - "อาจารย์โกย" (2544) ช่อง 3 - "มนต์รักส้มตำ" (2545) ช่อง 5 - ท้าลิขิต ตอน กรรมตัดตอน (2547) - "ข้ามฟ้าเฉือนคม Split Second" (2547) ร่วมทุนระหว่างบรอดคาซไทยเทเลวิชั่นกับ TVB ฮ่องกง ออกอากาศทั้งที่ฮ่องกงและช่อง 3 - "นางสาวสัปเหร่อ" รับบท ชาคริต (2549) ช่อง 3 ช่วงแกะกล่องละครบ่าย - "ละครเทิดเกียรติทหารวันกองทัพไทย "แด่ทหารกล้า" รับบท พ.ต.วีระพล แย้มอำพล " (สร้างโดยบริษัทกันตนา ออกอากาศทางช่อง 5) (ปี 2550) - "Laksamana Cheng Ho" รับบทสมเด็จพระรามราชาธิราช (เป็นละครโทรทัศน์ที่ทางกันตนาร่วมทุนกับประเทศอินโดนีเซีย ไม่ได้ออกอากาศในประเทศไทย) (2550) - "ตากสินมหาราช" (2550) ช่อง 3 รับบท เมฆราโบ - "โก๊ะซ่า ท้ามิติ (2552) รับบท เหิน - "พยัคฆ์ยี่เก" (2552) รับบท พ.ต.ต.มงคล ช่อง 7 - "ตำรวจเหล็ก" (2553) รับบท ยอดชาย ช่อง 7 - "ไทยเธียเตอร์ ชุด หลายชีวิต ตอน ละม่อม" (2553-2554) รับบท สนิท ช่อง ทีวีไทย - "ตะวันเดือด" (2554) รับบท ก้อน ช่อง 3 - โก๊ะ 7 (2554) รับบท จอระเด - ละครเวที "สมเด็จพระนเรศวรมหาราช" (2554) รับบท นันทสู / พระเอกาทศรถ (ขึ้นอยู่กับรอบการแสดง) - ละครซีรีส์ เซน...สื่อรักสื่อวิญญาณ ตอน บทละครผี รับบท นนท์ นักเขียนบทละคร (2555) ช่อง 5 - "ละครซีรีส์ สัมผัสพิศวง ตอน สาบานกับความตาย" ช่อง 3 รับบท สิงห์ (2555) - เสือสมิง (2555-2556) ช่อง 7 รับบท พรานป่าอองไชย - "สุภาพบุรุษจุฑาเทพ ตอน คุณชายธราธร (2556) รับบท พรานสม ช่อง 3 - ซิทคอม "ครัวซองทำนองรัก" ช่อง 3 (9 มิ.ย.2556) รับเชิญ ในบทเสี่ย - ผู้ชนะสิบทิศ (2556-2557) ช่อง 8 รับบท ปะขันหวุ่นญี - ลูกสาวพ่อมด (2557) ช่อง 3 รับบท พรานป่า - เสือ (2557) รับบท พ่อใหญ่แห่งหมู่บ้านผาสมิง - บางระจัน รับบท สุรินทจอข่อง เริ่มออกอากาศ 6 มกราคม 2558 ทางช่อง 3 - "ชาติเจ้าพระยา 2 (สิงห์สี่แคว)" รับบท ไพฑูรย์ เพิ่มพูน/หัวหน้าองค์กร ACE โค้ดเนม A ข้าวหลามตัด (รุ่นบุกเบิก) เริ่มออกอากาศ 23 มกราคม 2558 ทางช่อง 3 - "แม้เลือกเกิดได้" รับบท ตง เริ่มออกอากาศวันที่ 15 มกราคม 2558 ทางช่อง 8 - "รายการเกิดเพราะกรรม ตอน ผีนางตานี]รับบทพ่อเลี้ยงของมณี (2558) ช่องไบรท์ทีวี - ข้าบดินทร์ (2558) ช่อง 3 รับบท ขุนสิทธิสงคราม/พระศรีสิทธิสงคราม ออกอากาศตอนแรก 30 พฤษภาคม 2558 - "สิงห์รถบรรทุก"(2558) ช่อง 7 รับบท เสือเล็ก แห่ง ผาพยัคฆ์ ออกอากาศตอนแรก 5 มิถุนายน 2558 - "ข้ามากับพระ" (2558) ช่อง 7 รับบท เสือทอง ออกอากาศตอนแรก 14 สิงหาคม 2558 - "บ้านนี้ผีไม่ปอบ" (2558) ช่อง 3 รับบท ระทม ออกอากาศตอนแรก 23 กันยายน 2557 (ช่วง Prime time 1) - "มนต์รักอสูร" (2559) ช่อง 8 รับบท น้าผัน ออกอากาศตอนแรก 4 มีนาคม 2559 - "พันท้ายนรสิงห์" (2559) ช่อง workpoint รับบท หลวงกำแหง ออกอากาศตอนแรก 4 เมษายน 2559 - "เจ้าพายุ" (2559) ช่อง 7 รับบท จ่าชานนท์ ออกอากาศตอนแรก 10 มิถุนายน 2559 - "คงกระพันนารี" (2559) ช่อง 3 รับบท โจรโก้ (รับเชิญ) ออกอากาศตอนแรก 5 กรกฎาคม 2559 - "เจ้าจอม" (2559) ช่อง 3 เอสดี รับบท เต็ม ออกอากาศตอนแรก 6 ธันวาคม 2559 - "เชลยศึก" (2560) ช่อง 8 รับบท พระเจ้าเอกทัศ ออกอากาศตอนแรก 25 มกราคม 2560 - "มหาหิน" (2560) ช่อง 7 รับบท นายพลเก้ายอด ออกอากาศตอนแรก 8 ธันวาคม 2560 - "บุพเพสันนิวาส (นวนิยาย)" (2561) ช่อง 3 รับบท สมเด็จพระนารายณ์มหาราช คู่กับ เจนจิรา จันทรศร ออกอากาศตอนแรก 21 กุมภาพันธ์ 2561ภาพยนตร์ภาพยนตร์. - สุภาพบุรุษที่สุดในโลก (2532) - "สองอันตราย ล่าหักเหลี่ยม" (2543) รับบท อาณัฐ - ขวัญ-เรียม (2544) รับบท จ้อย - "เปรต ร.ศ.69" (2544) รับบท หลวงยศ - "ผีหัวขาด" (2545) รับบท สมพงษ์ - 'ขุนศึก' (2546) รับบท หมู่ขัน - "เจ้าตาก" (2547) รับบท หลวงพิชัย หรือ ทองดี - "Children in the dark เด็กน้อยในเงามืด"(2548)รับบท ชิด (สร้างร่วมระหว่างไทยกับญี่ปุ่น ไม่ได้เข้าฉายในประเทศไทย) - ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ (2550) รับบท ออกพระชัยบุรี - คู่แรด (2550) รับบท เคน ซาคาโมโตะ - ผีตุ๋มติ๋ม (2552) - "หนังสั้นเรื่อง "เปลือก""2553) - คนไททิ้งแผ่นดิน (2553) รับบท ลิตงเจีย - ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี (2554) รับบท ออกพระชัยบุรี - ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง (2554) รับบท ออกพระชัยบุรี - "Largowinch II" รับบท "กาดจา" (เป็นหนึ่งในนักแสดงไทยที่ร่วมแสดงในภาพยนตร์ของประเทศฝรั่งเศสเรื่องนี้) (2554) - "เค้าเรียกผมว่าความรัก"(2555) รับบท สารวัตรลาภ - กาลครั้งหนึ่ง...จนวันนี้ (2557) รับบท ชัย - ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี (2557) รับบท ออกพระชัยบุรี - "ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชภาค 6 อวสานหงสา" (2558) รับบท พระชัยบุรี เข้าฉาย 9 เมษายน 2558 - "พันท้ายนรสิงห์" (2558) รับบท หลวงกำแหง เข้าฉาย 30 ธันวาคม 2558 ละคร / ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำเสร็จแล้วรอออนแอร์- "ลมไพรผูกรัก" ช่อง 3 - "สารวัตรใหญ่" ช่อง 7 - "จ้าวสมิง" ช่อง 7 - "บ่วงนฤมิต" ช่อง 3 ผลงานเพลง- แล้วพบกันเมื่อเจอ released on 29/9/2014 ปราปต์ปฎล สุวรรณบาง นักแสดงมากความสามารถคว้าไมค์ทำซิงเกิ้ลแรกในชีวิต กับซิงเกิ้ล แล้วพบกันเมื่อเจอ ที่มาของเพลงเริ่มจากเค้าได้มีโอกาสร้องเพลงและสามารถสร้างความสุขกับเสียงเพลงที่นำมาร้อง คำถามที่มักได้รับประจำคือ...ร้องเพลงอะไร...ร้องเพลงใคร จึงทำให้เป็นแรงบันดาลใจในการทำเพลงนี้ขึ้นมา โดยเนื้อหาของเพลงอยากบอกว่าเราไม่อาจเปลี่ยนตัวตนของเราได้ ขอแค่ยอมรับในสิ่งที่เราเป็นแค่นี้คำว่าผิดหวังและเสียใจกับความรักก็จะไม่มีอีกแล้ว.. รางวัลที่ได้รับ- รางวัลพลอยคเณศ สาขาศิลปินผู้อุทิศตนบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสาธารณกุศล ประจำปี 2558 จากสมาคมคเณศรีศิลปินเพื่อสังคม (11 มิถุนายน 2558)
| ภาพยนตร์เรื่อง "พันท้ายนรสิงห์" ในปี 2558 ปราปต์ปฎล สุวรรณบาง รับบทเป็นใคร | {
"answer": [
"หลวงกำแหง"
],
"answer_begin_position": [
5022
],
"answer_end_position": [
5031
]
} |
448 | 133,198 | สวัสดิ์ จำปาศรี พันตำรวจเอกสวัสดิ์ จำปาศรี เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2495 ที่ อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา โดยเป็นบุตรของพ่อซึ่งเป็นกำนัน ชื่อ นายทองคำ และแม่คือ นางกองศรี จำปาศรี พ.ต.อ.สวัสดิ์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ เริ่มรับราชการตำรวจ โดยเริ่มตั้งแต่เป็นลูกแถวและผู้บังคับหมู่ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน และเป็นสารวัตรประจำแผนกสืบสวนสอบสวนในสถานีตำรวจแถบฝั่งธนบุรีหลายท้องที่นานถึง 25 ปี เช่น หนองค้างพลู, บางขุนเทียน เป็นต้น จนกระทั่งได้ลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2548 ในยศ พันตำรวจเอก (พ.ต.อ.) เพื่อออกมาเล่นการเมือง โดยในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548 พ.ต.อ.สวัสดิ์ ได้ลงรับสมัคร ส.ส. ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ในเขตบางขุนเทียน โดยได้เป็นผู้สมัครของพรรคประชาธิปัตย์อย่างกะทันหัน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงตัวผู้สมัคร และ พ.ต.อ.สวัสดิ์ ก็ไม่ได้รับการเลือกตั้งในครั้งนั้น จากนั้น พ.ต.อ.สวัสดิ์ จำปาศรี ก็ยังคงลงพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 พ.ต.อ.สวัสดิ์ ก็ยังคงสมัครในพื้นที่เดิมกับทางพรรคประชาธิปัตย์ แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ชีวิตส่วนตัว สมรสแล้วกับ นางรัตนา จำปาศรี (นามสกุลเดิม สุวภาพ) มีบุตรสาว 2 คน ปัจจุบัน พ.ต.อ.สวัสดิ์ มีทำหน้าที่ที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร
| บ้านเกิดของสวัสดิ์ จำปาศรี อยู่ในอำเภอใด | {
"answer": [
"อ.ชุมพวง"
],
"answer_begin_position": [
173
],
"answer_end_position": [
181
]
} |
449 | 133,198 | สวัสดิ์ จำปาศรี พันตำรวจเอกสวัสดิ์ จำปาศรี เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2495 ที่ อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา โดยเป็นบุตรของพ่อซึ่งเป็นกำนัน ชื่อ นายทองคำ และแม่คือ นางกองศรี จำปาศรี พ.ต.อ.สวัสดิ์ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ เริ่มรับราชการตำรวจ โดยเริ่มตั้งแต่เป็นลูกแถวและผู้บังคับหมู่ กองกำกับการสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน และเป็นสารวัตรประจำแผนกสืบสวนสอบสวนในสถานีตำรวจแถบฝั่งธนบุรีหลายท้องที่นานถึง 25 ปี เช่น หนองค้างพลู, บางขุนเทียน เป็นต้น จนกระทั่งได้ลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2548 ในยศ พันตำรวจเอก (พ.ต.อ.) เพื่อออกมาเล่นการเมือง โดยในการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548 พ.ต.อ.สวัสดิ์ ได้ลงรับสมัคร ส.ส. ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ในเขตบางขุนเทียน โดยได้เป็นผู้สมัครของพรรคประชาธิปัตย์อย่างกะทันหัน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงตัวผู้สมัคร และ พ.ต.อ.สวัสดิ์ ก็ไม่ได้รับการเลือกตั้งในครั้งนั้น จากนั้น พ.ต.อ.สวัสดิ์ จำปาศรี ก็ยังคงลงพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ. 2550 พ.ต.อ.สวัสดิ์ ก็ยังคงสมัครในพื้นที่เดิมกับทางพรรคประชาธิปัตย์ แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ชีวิตส่วนตัว สมรสแล้วกับ นางรัตนา จำปาศรี (นามสกุลเดิม สุวภาพ) มีบุตรสาว 2 คน ปัจจุบัน พ.ต.อ.สวัสดิ์ มีทำหน้าที่ที่ปรึกษาผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร
| ภรรยาของสวัสดิ์ จำปาศรี มีนามสกุลเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"สุวภาพ"
],
"answer_begin_position": [
1188
],
"answer_end_position": [
1194
]
} |
450 | 543,343 | กึนเทอร์ กลอมบ์ กึนเทอร์ กลอมบ์ (; 17 สิงหาคม ค.ศ. 1930 — ) เป็นทั้งนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวเยอรมัน รวมถึงเป็นผู้ฝึกสอนทีมชาติไทยเมื่อครั้งที่เข้าร่วมการแข่งกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1968ผลงานในระดับอาชีพ ผลงานในระดับอาชีพ. กึนเทอร์ กลอมบ์ เริ่มเล่นฟุตบอลในสโมสรฟุตบอลพรอยอูสเซนฮินเดนบูร์ก ในไซลีเซียตอนบน ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ลี้ภัยไปยังเนือร์นแบร์ก และเล่นให้แก่สโมสรฟุตบอลทุสโพเนือร์นแบร์ก เขายังได้เรียนรู้ถึงอาชีพช่างเครื่อง โดยใน ค.ศ. 1951 เขาได้เรียนวิศวกรรมเครื่องกล ที่ซึ่งเขาสำเร็จหลักสูตรใน ค.ศ. 1954 เขาเป็นกองหน้าที่มีความคล่องตัวเป็นอย่างมาก โดยกลอมบ์กล่าวกับตัวเองว่า “ผมเล่นแบบเข้าถึงผู้รักษาประตูได้ทั้งหมด”ผลงานการฝึกสอน ผลงานการฝึกสอน. เขาได้เป็นผู้ฝึกสอนให้แก่ทีมบอนเนอร์เอสทเซ (ค.ศ. 1965-1966) และเอสเพเฟาเกเฟรเชน 20 ค.ศ. 1968 กึนเทอร์ กลอมบ์ ได้รับการทาบทามจากเดทท์มาร์ คราเมอร์ ให้เข้าทำหน้าที่เป็นผู้ฝึกสอนแก่ทีมชาติไทย ซึ่งเป็นครั้งแรกที่เขาฝึกสอนในกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1968 และกลอมบ์ยังคงใช้เวลา 17 ปีในการฝึกสอนให้แก่ทีมชาติไทย โดยทีมชาติไทยที่เขาฝึกสอนสามารถประสบความสำเร็จเป็นอันดับสามในเอเชียนคัพ 1972หนังสืออ่านเพิ่มหนังสืออ่านเพิ่ม. - Glomb, Günther in: Lorenz Knierim, Hardy Grüne: Enzyklopädie des deutschen Ligafußballs. Spielerlexikon 1890 - 1963. Agon Sportverlag, Kassel 2006, ISBN 3-89784-148-7, S. 110.
| กึนเทอร์ กลอมบ์เป็นทั้งนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอลเชื่้อชาติอะไร | {
"answer": [
"เยอรมัน"
],
"answer_begin_position": [
191
],
"answer_end_position": [
198
]
} |
451 | 543,343 | กึนเทอร์ กลอมบ์ กึนเทอร์ กลอมบ์ (; 17 สิงหาคม ค.ศ. 1930 — ) เป็นทั้งนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวเยอรมัน รวมถึงเป็นผู้ฝึกสอนทีมชาติไทยเมื่อครั้งที่เข้าร่วมการแข่งกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1968ผลงานในระดับอาชีพ ผลงานในระดับอาชีพ. กึนเทอร์ กลอมบ์ เริ่มเล่นฟุตบอลในสโมสรฟุตบอลพรอยอูสเซนฮินเดนบูร์ก ในไซลีเซียตอนบน ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้ลี้ภัยไปยังเนือร์นแบร์ก และเล่นให้แก่สโมสรฟุตบอลทุสโพเนือร์นแบร์ก เขายังได้เรียนรู้ถึงอาชีพช่างเครื่อง โดยใน ค.ศ. 1951 เขาได้เรียนวิศวกรรมเครื่องกล ที่ซึ่งเขาสำเร็จหลักสูตรใน ค.ศ. 1954 เขาเป็นกองหน้าที่มีความคล่องตัวเป็นอย่างมาก โดยกลอมบ์กล่าวกับตัวเองว่า “ผมเล่นแบบเข้าถึงผู้รักษาประตูได้ทั้งหมด”ผลงานการฝึกสอน ผลงานการฝึกสอน. เขาได้เป็นผู้ฝึกสอนให้แก่ทีมบอนเนอร์เอสทเซ (ค.ศ. 1965-1966) และเอสเพเฟาเกเฟรเชน 20 ค.ศ. 1968 กึนเทอร์ กลอมบ์ ได้รับการทาบทามจากเดทท์มาร์ คราเมอร์ ให้เข้าทำหน้าที่เป็นผู้ฝึกสอนแก่ทีมชาติไทย ซึ่งเป็นครั้งแรกที่เขาฝึกสอนในกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1968 และกลอมบ์ยังคงใช้เวลา 17 ปีในการฝึกสอนให้แก่ทีมชาติไทย โดยทีมชาติไทยที่เขาฝึกสอนสามารถประสบความสำเร็จเป็นอันดับสามในเอเชียนคัพ 1972หนังสืออ่านเพิ่มหนังสืออ่านเพิ่ม. - Glomb, Günther in: Lorenz Knierim, Hardy Grüne: Enzyklopädie des deutschen Ligafußballs. Spielerlexikon 1890 - 1963. Agon Sportverlag, Kassel 2006, ISBN 3-89784-148-7, S. 110.
| ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองกึนเทอร์ กลอมบ์เป็นทั้งนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวเยอรมัน ได้ลี้ภัยไปยังอยู่เมืองอะไร | {
"answer": [
"เนือร์นแบร์ก"
],
"answer_begin_position": [
455
],
"answer_end_position": [
467
]
} |
452 | 101,242 | ศรชัย เมฆวิเชียร ศรชัย เมฆวิเชียร (11 มีนาคม พ.ศ. 2496 - ) เป็นนักร้องลูกทุ่งชายเสียงดี และมีหน้าตาที่ดีเข้ามาเสริมความโด่งดัง รวมทั้งมีผลงานเพลงเป็นที่นิยมและรู้จักของแฟนเพลงมากมาย เขาเป็นศิษย์เอกอีกคนของครูฉลอง ภู่สว่าง และโด่งดังอย่างมากจากเพลง “ อ้อนจันทร์ และ “พายงัด “ประวัติ ประวัติ. ศรชัย เมฆวิเชียร ผู้มีใบหน้าละม้ายคล้ายคลึง ยอดชาย เมฆสุวรรณ ยอดพระเอกดังแห่งยุคอีกคน มีชื่อจริงว่า ยง ปราบไชยโจร เป็นชาว อ.จักราช จ.นครราชสีมา เข้าสู่วงการเพลงลูกทุ่งไทยเหมือนกับนักร้องอีกหลายคนในยุคนั้น คือการตระเวนประกวดตามเวทีประกวดต่างๆจนเป็นที่รู้จักของวงการประกวดทั่วภาคอีสาน รวมทั้งเคยได้ร้องเพลงของศรคีรี ศรีประจวบ ที่โทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น จนไม่มีเวทีในภูมิภาคให้ขึ้นประกวดมากนัก ต่อเมื่อมีคนชวนไปขึ้นร้องเพลงในงานวันเกษียณอายุพ่อของ อ.พรศักดิ์ จันทร์สีสุข ซึ่งรู้จักกับ สุเทพ วงศ์กำแหง นักร้องลูกกรุงชื่อดัง จึงออกปากฝากฝังให้สุเทพ วงศ์กำแหง ดูช่องทางการเป็นนักร้องให้ แต่สุเทพ วงศ์กำแหง ซึ่งอยู่ในวงการลูกกรุง ไม่กว้างขวางในวงการลูกทุ่ง จึงไม่สามารถช่วยอะไรได้มากนัก ศรชัย เมฆวิเชียรจึงต้องเดินหน้าการประกวดร้องเพลงต่อไปเจอครูที่อู่ซ่อมรถ เจอครูที่อู่ซ่อมรถ. ต่อมา ศรชัย เมฆวิเชียรมีโอกาสมาประกวดร้องเพลงที่เสียงสามยอด หลังวัดลาดพร้าว งานนี้เขาได้ที่ 2 เพราะร้องคร่อมจังหวะ อันเป็นจุดอ่อนสำคัญในการร้องเพลงของเขา จากนั้นศรชัยก็มาศึกษาเรื่องดนตรีกับครูฉลอง การะเกด และแดน สนธยา ที่ทำวง“ พัทยานายก “ พร้อมกับทำงานในอู่ซ่อมรถ การทำงานที่อู่ซ่อมรถ ทำให้ศรชัย เมฆวิเชียร ได้เจอกับครูฉลอง ภู่สว่าง ครูเพลงชื่อดังแห่งยุคโดยบังเอิญ เนื่องจากรถของครูเกิดมาเสียแถวนั้นระหว่างที่จะไปแสดงดนตรีที่ต่างจังหวัด เพื่อนรุ่นพี่ที่แผนกช่างเครื่องยนต์ของอู่เห็นว่าข้างรถเขียนว่า “วงดนตรีฉลอง ภู่สว่าง ก็เลยมาตามและพาไปฝาก แต่ครูก็ไม่รับโดยบอกกับศรชัย เมฆวิเชียรว่า “มีงานทำอย่างนี้ดีแล้ว ไม่เสี่ยง” อีก 3 วันต่อมา ครูฉลอง ภู่สว่าง มารับรถที่อู่ เพื่อนของศรชัย เมฆวิเชียร ก็พาไปฝากอีกครั้ง คราวนี้ ครูฉลอง ภู่สว่าง ลองให้ร้องเพลง “คิดถึงพี่ไหม “ ของศรคีรี ศรีประจวบให้ฟัง หลังร้องจบครูก็ตกลงใจที่จะไม่รับ แต่ภรรยาของครู ที่ตามมาด้วยเกิดติดใจน้ำเสียง และเลยให้ครูรับเขาไว้ เมื่อมาอยู่กับครูฉลอง ภู่สว่าง ที่ช่วยแก้ไขปัญหาการร้องคร่อมจังหวะให้เขาได้แล้ว ครูก็แต่งเพลงให้เขา ครูฉลอง ภู่สว่างนั้นถนัดในแนวเพลงต่อว่าผู้หญิง แต่เห็นว่า ศรชัย เมฆวิเชียรมีหน้าตาหล่อเหลา ไม่เหมาะกับเพลงต่อว่าผู้หญิง ก็เลยแต่งเพลงแนวหวานให้ ก็เลยมอบเพลง “จูบไม่หวาน” ที่แต่เดิมกะจะแต่งให้ ชินกร ไกรลาศ ส่วนเพลงสร้างชื่อของเขานั้น ได้แก่เพลง “ลำดวนลืมดง” และเพลง ” ทหารเกณฑ์ผลัด 2 “ ก่อนจะมาดังอย่างสุดๆกับ “อ้อนจันทร์” และ”พายงัด “ สำหรับชื่อ ศรชัย เมฆวิเชียร นั้น หลวงพ่อสุด วัดกาหลง และหลวงพ่อวัดช่องลมเป็นคนตั้งให้ โดยเลียนแบบมาจากชื่อ ยอดชาย เมฆสุวรรณผลงานเพลงดังผลงานเพลงดัง. - จูบไม่หวาน (ฉลอง ภู่สว่าง) - ทหารเกณฑ์ผลัดสอง (สุรินทร์ ภาคศิริ) - คนงานลืมง่าย - ลำดวนลืมดง (สุรินทร์ ภาคศิริ) - อ้อนจันทร์ (ฉลอง ภู่สว่าง) - พายงัด - มาน้องมา - บัวหลวงบึงพลาญ - รอทั้งปี - รักแรมไกล - นักรบลาแฟน - บ.ข.ส.รอรัก - จงคอยพี่ที่อีสานปัจจุบัน ปัจจุบัน. ศรชัย เมฆวิเชียร ในวัย 54 ปี (2550) พักอยู่หลังวัดลาดพร้าว และยังคงรับงานร้องเพลงอยู่เหมือนเดิม โดยมีโรคไตเป็นโรคประจำตัว
| ศรชัย เมฆวิเชียร มีหน้าตาคล้ายคลึงกับพระเอกดังแห่งยุคคนหนึ่งคือใคร | {
"answer": [
"ยอดชาย เมฆสุวรรณ"
],
"answer_begin_position": [
426
],
"answer_end_position": [
442
]
} |
1,623 | 101,242 | ศรชัย เมฆวิเชียร ศรชัย เมฆวิเชียร (11 มีนาคม พ.ศ. 2496 - ) เป็นนักร้องลูกทุ่งชายเสียงดี และมีหน้าตาที่ดีเข้ามาเสริมความโด่งดัง รวมทั้งมีผลงานเพลงเป็นที่นิยมและรู้จักของแฟนเพลงมากมาย เขาเป็นศิษย์เอกอีกคนของครูฉลอง ภู่สว่าง และโด่งดังอย่างมากจากเพลง “ อ้อนจันทร์ และ “พายงัด “ประวัติ ประวัติ. ศรชัย เมฆวิเชียร ผู้มีใบหน้าละม้ายคล้ายคลึง ยอดชาย เมฆสุวรรณ ยอดพระเอกดังแห่งยุคอีกคน มีชื่อจริงว่า ยง ปราบไชยโจร เป็นชาว อ.จักราช จ.นครราชสีมา เข้าสู่วงการเพลงลูกทุ่งไทยเหมือนกับนักร้องอีกหลายคนในยุคนั้น คือการตระเวนประกวดตามเวทีประกวดต่างๆจนเป็นที่รู้จักของวงการประกวดทั่วภาคอีสาน รวมทั้งเคยได้ร้องเพลงของศรคีรี ศรีประจวบ ที่โทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น จนไม่มีเวทีในภูมิภาคให้ขึ้นประกวดมากนัก ต่อเมื่อมีคนชวนไปขึ้นร้องเพลงในงานวันเกษียณอายุพ่อของ อ.พรศักดิ์ จันทร์สีสุข ซึ่งรู้จักกับ สุเทพ วงศ์กำแหง นักร้องลูกกรุงชื่อดัง จึงออกปากฝากฝังให้สุเทพ วงศ์กำแหง ดูช่องทางการเป็นนักร้องให้ แต่สุเทพ วงศ์กำแหง ซึ่งอยู่ในวงการลูกกรุง ไม่กว้างขวางในวงการลูกทุ่ง จึงไม่สามารถช่วยอะไรได้มากนัก ศรชัย เมฆวิเชียรจึงต้องเดินหน้าการประกวดร้องเพลงต่อไปเจอครูที่อู่ซ่อมรถ เจอครูที่อู่ซ่อมรถ. ต่อมา ศรชัย เมฆวิเชียรมีโอกาสมาประกวดร้องเพลงที่เสียงสามยอด หลังวัดลาดพร้าว งานนี้เขาได้ที่ 2 เพราะร้องคร่อมจังหวะ อันเป็นจุดอ่อนสำคัญในการร้องเพลงของเขา จากนั้นศรชัยก็มาศึกษาเรื่องดนตรีกับครูฉลอง การะเกด และแดน สนธยา ที่ทำวง“ พัทยานายก “ พร้อมกับทำงานในอู่ซ่อมรถ การทำงานที่อู่ซ่อมรถ ทำให้ศรชัย เมฆวิเชียร ได้เจอกับครูฉลอง ภู่สว่าง ครูเพลงชื่อดังแห่งยุคโดยบังเอิญ เนื่องจากรถของครูเกิดมาเสียแถวนั้นระหว่างที่จะไปแสดงดนตรีที่ต่างจังหวัด เพื่อนรุ่นพี่ที่แผนกช่างเครื่องยนต์ของอู่เห็นว่าข้างรถเขียนว่า “วงดนตรีฉลอง ภู่สว่าง ก็เลยมาตามและพาไปฝาก แต่ครูก็ไม่รับโดยบอกกับศรชัย เมฆวิเชียรว่า “มีงานทำอย่างนี้ดีแล้ว ไม่เสี่ยง” อีก 3 วันต่อมา ครูฉลอง ภู่สว่าง มารับรถที่อู่ เพื่อนของศรชัย เมฆวิเชียร ก็พาไปฝากอีกครั้ง คราวนี้ ครูฉลอง ภู่สว่าง ลองให้ร้องเพลง “คิดถึงพี่ไหม “ ของศรคีรี ศรีประจวบให้ฟัง หลังร้องจบครูก็ตกลงใจที่จะไม่รับ แต่ภรรยาของครู ที่ตามมาด้วยเกิดติดใจน้ำเสียง และเลยให้ครูรับเขาไว้ เมื่อมาอยู่กับครูฉลอง ภู่สว่าง ที่ช่วยแก้ไขปัญหาการร้องคร่อมจังหวะให้เขาได้แล้ว ครูก็แต่งเพลงให้เขา ครูฉลอง ภู่สว่างนั้นถนัดในแนวเพลงต่อว่าผู้หญิง แต่เห็นว่า ศรชัย เมฆวิเชียรมีหน้าตาหล่อเหลา ไม่เหมาะกับเพลงต่อว่าผู้หญิง ก็เลยแต่งเพลงแนวหวานให้ ก็เลยมอบเพลง “จูบไม่หวาน” ที่แต่เดิมกะจะแต่งให้ ชินกร ไกรลาศ ส่วนเพลงสร้างชื่อของเขานั้น ได้แก่เพลง “ลำดวนลืมดง” และเพลง ” ทหารเกณฑ์ผลัด 2 “ ก่อนจะมาดังอย่างสุดๆกับ “อ้อนจันทร์” และ”พายงัด “ สำหรับชื่อ ศรชัย เมฆวิเชียร นั้น หลวงพ่อสุด วัดกาหลง และหลวงพ่อวัดช่องลมเป็นคนตั้งให้ โดยเลียนแบบมาจากชื่อ ยอดชาย เมฆสุวรรณผลงานเพลงดังผลงานเพลงดัง. - จูบไม่หวาน (ฉลอง ภู่สว่าง) - ทหารเกณฑ์ผลัดสอง (สุรินทร์ ภาคศิริ) - คนงานลืมง่าย - ลำดวนลืมดง (สุรินทร์ ภาคศิริ) - อ้อนจันทร์ (ฉลอง ภู่สว่าง) - พายงัด - มาน้องมา - บัวหลวงบึงพลาญ - รอทั้งปี - รักแรมไกล - นักรบลาแฟน - บ.ข.ส.รอรัก - จงคอยพี่ที่อีสานปัจจุบัน ปัจจุบัน. ศรชัย เมฆวิเชียร ในวัย 54 ปี (2550) พักอยู่หลังวัดลาดพร้าว และยังคงรับงานร้องเพลงอยู่เหมือนเดิม โดยมีโรคไตเป็นโรคประจำตัว
| ศรชัย เมฆวิเชียรเป็นนักร้องลูกทุ่งชายอายุ 54 ปี ในปีพ.ศ.ใด | {
"answer": [
"2550"
],
"answer_begin_position": [
2926
],
"answer_end_position": [
2930
]
} |
453 | 941,772 | แมทธิว เฮทเซนาวเออร์ แมทธิว เฮทเซนาวเออร์ (23 ธันวาคม ค.ศ. 1924 – 3 ตุลาคม ค.ศ. 2004) เป็นพลซุ่มยิงชาวออสเตรียในกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้รับหน้าที่ในกองพลทหารภูเขาที่ 3 บนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้มีชื่อเสียงด้วยการสังหาร 345 คน การสังหารที่ยาวที่สุดของเขาได้ถูกเขียนรายงานอยู่ที่ 1,100 เมตร(12,00 หลา) เฮทเซนาวเออร์ยังเป็นผู้ที่ได้รับการปูนบำเหน็จด้วยเหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน
| แมทธิว เฮทเซนาวเออร์เป็นพลซุ่มยิงชาวออสเตรียในกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่เท่าไร | {
"answer": [
"สงครามโลกครั้งที่สอง"
],
"answer_begin_position": [
323
],
"answer_end_position": [
343
]
} |
456 | 941,772 | แมทธิว เฮทเซนาวเออร์ แมทธิว เฮทเซนาวเออร์ (23 ธันวาคม ค.ศ. 1924 – 3 ตุลาคม ค.ศ. 2004) เป็นพลซุ่มยิงชาวออสเตรียในกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้รับหน้าที่ในกองพลทหารภูเขาที่ 3 บนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้มีชื่อเสียงด้วยการสังหาร 345 คน การสังหารที่ยาวที่สุดของเขาได้ถูกเขียนรายงานอยู่ที่ 1,100 เมตร(12,00 หลา) เฮทเซนาวเออร์ยังเป็นผู้ที่ได้รับการปูนบำเหน็จด้วยเหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน
| แมทธิว เฮทเซนาวเออร์เป็นพลซุ่มยิงชาวออสเตรียในกองทัพเวร์มัคท์แห่งนาซีเยอรมนี รับการปูนบำเหน็จด้วยเหรียญอะไร | {
"answer": [
"เหรียญกางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน"
],
"answer_begin_position": [
506
],
"answer_end_position": [
535
]
} |
454 | 550,941 | วิชัย ชัยจิตวณิชกุล นายแพทย์วิชัย ชัยจิตวณิชกุล เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยประวัติ ประวัติ. วิชัย ชัยจิตวณิชกุล เกิดเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2498 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านวิทยาศาสตร์ จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และแพทยศาสตร์ จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลเช่นเดียวกัน นายแพทย์วิชัย สมรสกับนางจารุวรรณ ชัยจิตวณิชกุล อดีตผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี พรรคเพื่อแผ่นดินการทำงาน การทำงาน. วิชัย ชัยจิตวณิชกุล มีอาชีพหลักเป็นแพทย์ เคยเป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาลอำเภอเพ็ญ ต่อมาได้เข้ามาทำงานการเมืองโดยได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 สังกัดพรรคความหวังใหม่ เป็นสมัยแรก และได้รับเลือกตั้งเรื่อยมาอีกในปี พ.ศ. 2535 (กันยายน) พ.ศ. 2538 และ พ.ศ. 2539 จากนั้นในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 เขาได้รับเลือกตั้งในนามพรรคชาติพัฒนา และได้เข้าร่วมกับพรรคไทยรักไทยในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2548 ในครั้งนั้นเขาได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารพรรค และถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองพร้อมกับสมาชิกบ้านเลขที่ 111 ด้วย นายแพทย์วิชัย เคยดำรงตำแหน่งข้าราชการการเมืองหลายตำแหน่ง และในปี พ.ศ. 2540 เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ซึ่งเป็นช่วงหลังเกิดวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 ในปี พ.ศ. 2561 เขาได้ร่วมกับนักการเมืองหลายคนในการจัดตั้งพรรคการเมืองในชื่อพรรคพลังพลเมืองไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
| ภรรยาของนายแพทย์วิชัย ชัยจิตวณิชกุล คือใคร | {
"answer": [
"นางจารุวรรณ ชัยจิตวณิชกุล"
],
"answer_begin_position": [
531
],
"answer_end_position": [
556
]
} |
455 | 550,941 | วิชัย ชัยจิตวณิชกุล นายแพทย์วิชัย ชัยจิตวณิชกุล เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยประวัติ ประวัติ. วิชัย ชัยจิตวณิชกุล เกิดเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2498 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านวิทยาศาสตร์ จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และแพทยศาสตร์ จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลเช่นเดียวกัน นายแพทย์วิชัย สมรสกับนางจารุวรรณ ชัยจิตวณิชกุล อดีตผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี พรรคเพื่อแผ่นดินการทำงาน การทำงาน. วิชัย ชัยจิตวณิชกุล มีอาชีพหลักเป็นแพทย์ เคยเป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาลอำเภอเพ็ญ ต่อมาได้เข้ามาทำงานการเมืองโดยได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 สังกัดพรรคความหวังใหม่ เป็นสมัยแรก และได้รับเลือกตั้งเรื่อยมาอีกในปี พ.ศ. 2535 (กันยายน) พ.ศ. 2538 และ พ.ศ. 2539 จากนั้นในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 เขาได้รับเลือกตั้งในนามพรรคชาติพัฒนา และได้เข้าร่วมกับพรรคไทยรักไทยในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2548 ในครั้งนั้นเขาได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารพรรค และถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองพร้อมกับสมาชิกบ้านเลขที่ 111 ด้วย นายแพทย์วิชัย เคยดำรงตำแหน่งข้าราชการการเมืองหลายตำแหน่ง และในปี พ.ศ. 2540 เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ซึ่งเป็นช่วงหลังเกิดวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 ในปี พ.ศ. 2561 เขาได้ร่วมกับนักการเมืองหลายคนในการจัดตั้งพรรคการเมืองในชื่อพรรคพลังพลเมืองไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
| นายแพทย์วิชัย ชัยจิตวณิชกุล ได้ดำรงตำแหน่งใดในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ | {
"answer": [
"รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์"
],
"answer_begin_position": [
150
],
"answer_end_position": [
182
]
} |
457 | 84,642 | ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ (OR Tambo International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุดในแอฟริกาใต้ และทวีปแอฟริกา รวมถึงเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเซาแอฟริกันแอร์เวย์ เดิมท่าอากาศยานแห่งนี้ชื่อว่า ท่าอากาศยานนานาชาติแจน สมัตส์ ตั้งชื่อตามรัฐบุรุษของแอฟริกาใต้ จนกระทั่งได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อท่าอากาศยานนานาชาติโจฮันเนสเบิร์ก ในปีพ.ศ. 2537 และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบันในปีพ.ศ. 2549 ตามชื่อของอดีตประธานสภาครองเกรสแห่งชาติแอฟริกาใต้ โอลิเวอร์ เรจินัลด์ แทมโบ (Oliver Reginald Tambo)อาคารผู้โดยสาร และสายการบินอาคารผู้โดยสาร และสายการบิน. - กาตาร์แอร์เวย์ - กาน่าอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์ไลน์ - กาบอนแอร์ไลน์ - การบินไทย - กูลูลาดอตคอม - คาเธย์แปซิฟิก - เคนย่าแอร์เวย์ - เคแอลเอ็ม - แควนตัส - แคเมอรูนแอร์ไลน์ - ซาอุดิอาระเบียนแอร์ไลน์ - เซโฟเฟน - เซาแอฟริกันแอร์เวย์- แมงโก - แอร์ลิงก์ - เซาแอฟริกันเอ็กซ์เพรส - แซมเบียนแอร์เวย์ - เดลต้า แอร์ไลน์ - เนชั่นไวด์แอร์ไลน์ - บริติชแอร์เวย์- คอมแอร์ - เบลล์วิวแอร์ไลน์ - ฟลายโกลบสแปน - มาเลเซียนแอร์ไลน์ - เยเมเนีย - ราวันดาร์เอ็กซ์เพรส - ลุฟต์ฮันซา - แลงฮาสแอร์ เดอ โมแซมบิก - วันไทม์ - เวอร์จิ้นไนจีเรียแอร์เวย์ - เวอร์จิ้นแอตแลนติกแอร์เวย์ - สวิสอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์ไลน์ - สิงคโปร์แอร์ไลน์ - อินเตอร์แอร์เซาแอฟริกา - อียิปต์แอร์ - เอติฮัดแอร์ไลน์ - เอธิโอเปียนแอร์ไลน์ - เอมิเรตส์ - เอลอัล - แองโกลาแอร์ชาร์เตอร์ - แอร์โคโมเรสอินเตอร์เนชั่นเนล - แอร์ซิมบับเว - แอร์ซีย์เคลเลส - แอร์แทนซาเนีย - แอร์นามิเบีย - แอร์บอตสวานา - แอร์ฟรานซ์ - แอร์มอริเทียส - แอร์มาดากัสการ์ - แอร์มาลาวี - แอร์ออสตรัล - โอลิมปิกแอร์ไลน์ - ไอบีเรีย - เฮวาโบราแอร์เวย์สายการบินขนส่งสินค้าสายการบินขนส่งสินค้า. - คาร์โกลักซ์ - ดีเอเอสแอร์คาร์โก - ทรามอนแอร์ - ฟาสต์แอร์ - มาร์ตินแอร์ คาร์โก - ลุฟต์ฮันซาคาร์โก - วิมบีดีราแอร์เวย์ - สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก - เอ็มเคแอร์ไลน์ - เอมิเรตส์สกายคาร์โก - แอตลาสแอร์ - แอฟริกันอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์เวย์ - โอเชียนแอร์ไลน์
| ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบอยู่ที่เมืองอะไรในประเทศแอฟริกาใต้ | {
"answer": [
"เมืองโจฮันเนสเบิร์ก"
],
"answer_begin_position": [
212
],
"answer_end_position": [
231
]
} |
1,434 | 84,642 | ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ (OR Tambo International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุดในแอฟริกาใต้ และทวีปแอฟริกา รวมถึงเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเซาแอฟริกันแอร์เวย์ เดิมท่าอากาศยานแห่งนี้ชื่อว่า ท่าอากาศยานนานาชาติแจน สมัตส์ ตั้งชื่อตามรัฐบุรุษของแอฟริกาใต้ จนกระทั่งได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อท่าอากาศยานนานาชาติโจฮันเนสเบิร์ก ในปีพ.ศ. 2537 และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบันในปีพ.ศ. 2549 ตามชื่อของอดีตประธานสภาครองเกรสแห่งชาติแอฟริกาใต้ โอลิเวอร์ เรจินัลด์ แทมโบ (Oliver Reginald Tambo)อาคารผู้โดยสาร และสายการบินอาคารผู้โดยสาร และสายการบิน. - กาตาร์แอร์เวย์ - กาน่าอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์ไลน์ - กาบอนแอร์ไลน์ - การบินไทย - กูลูลาดอตคอม - คาเธย์แปซิฟิก - เคนย่าแอร์เวย์ - เคแอลเอ็ม - แควนตัส - แคเมอรูนแอร์ไลน์ - ซาอุดิอาระเบียนแอร์ไลน์ - เซโฟเฟน - เซาแอฟริกันแอร์เวย์- แมงโก - แอร์ลิงก์ - เซาแอฟริกันเอ็กซ์เพรส - แซมเบียนแอร์เวย์ - เดลต้า แอร์ไลน์ - เนชั่นไวด์แอร์ไลน์ - บริติชแอร์เวย์- คอมแอร์ - เบลล์วิวแอร์ไลน์ - ฟลายโกลบสแปน - มาเลเซียนแอร์ไลน์ - เยเมเนีย - ราวันดาร์เอ็กซ์เพรส - ลุฟต์ฮันซา - แลงฮาสแอร์ เดอ โมแซมบิก - วันไทม์ - เวอร์จิ้นไนจีเรียแอร์เวย์ - เวอร์จิ้นแอตแลนติกแอร์เวย์ - สวิสอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์ไลน์ - สิงคโปร์แอร์ไลน์ - อินเตอร์แอร์เซาแอฟริกา - อียิปต์แอร์ - เอติฮัดแอร์ไลน์ - เอธิโอเปียนแอร์ไลน์ - เอมิเรตส์ - เอลอัล - แองโกลาแอร์ชาร์เตอร์ - แอร์โคโมเรสอินเตอร์เนชั่นเนล - แอร์ซิมบับเว - แอร์ซีย์เคลเลส - แอร์แทนซาเนีย - แอร์นามิเบีย - แอร์บอตสวานา - แอร์ฟรานซ์ - แอร์มอริเทียส - แอร์มาดากัสการ์ - แอร์มาลาวี - แอร์ออสตรัล - โอลิมปิกแอร์ไลน์ - ไอบีเรีย - เฮวาโบราแอร์เวย์สายการบินขนส่งสินค้าสายการบินขนส่งสินค้า. - คาร์โกลักซ์ - ดีเอเอสแอร์คาร์โก - ทรามอนแอร์ - ฟาสต์แอร์ - มาร์ตินแอร์ คาร์โก - ลุฟต์ฮันซาคาร์โก - วิมบีดีราแอร์เวย์ - สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก - เอ็มเคแอร์ไลน์ - เอมิเรตส์สกายคาร์โก - แอตลาสแอร์ - แอฟริกันอินเตอร์เนชั่นเนลแอร์เวย์ - โอเชียนแอร์ไลน์
| ชื่อท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ ตั้งตามชื่อใคร | {
"answer": [
"โอลิเวอร์ เรจินัลด์ แทมโบ"
],
"answer_begin_position": [
638
],
"answer_end_position": [
663
]
} |
458 | 859,367 | เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) หรือ เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยาธิบดี หรือ เจ้าพระยานครน้อย เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชสมัยกรุงรัตนโกสินทร์คนที่ 3 บุตรบุญธรรมในเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์) เป็นพระราชโอรสองค์รองสุดท้ายในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชประวัติ ประวัติ. เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2319 ที่เมืองนครศรีธรรมราช ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เป็นพระราชโอรสสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปราง และยังเป็นบุตรบุญธรรมของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์ ณ นคร) ซึ่งมีบันทึกในจดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี ตอนที่ตรัสถึงเจ้าพระยานคร (น้อย) และเจ้าจอมมารดาปรางในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชว่า "เจ้าจอมมารดาปรางในพระเจ้ากรุงธนบุรี พระราชทานแก่อุปราชพัฒน์ มีความชอบชนะศึกชายาถึงแก่กรรม รับสั่งว่าอย่าเสียใจนักเลยจะให้เลี้ยงหลาน ท้าวนางกราบทูลว่า เริ่มตั้งครรภ์ได้ ๒ เดือนแล้ว แต่รับสั่งตรัสแล้วไม่คืนคำ พระราชวิจารณ์รัชกาลที่ ๕ ว่าไม่ทรงทราบหรือเป็นราโชบายให้เชื้อสายไปครองเมืองให้กว้างขวางออกไป แนวเดียวกับให้กรมขุนอินทรพิทักษ์ไปครองเขมร เจ้าพัฒน์รับตั้งไว้เป็นนางเมือง มิได้เป็นภรรยาเป็นเรื่องเล่ากระซิบกันอย่างเปิดเผย บุตรติดครรภ์เป็นชายชื่อ น้อย เป็นเจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช สำเร็จราชการเมืองนครศรีธรรมราช มีอำนาจวาสนากว่าเจ้านครทุกคน" ครั้นโตขึ้นเจ้าพระยานคร (พัฒน์) ได้นำเข้าเฝ้าถวายตัวเป็นมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นนายสรรพวิไชย มหาดเล็กหุ้มแพร ปฏิบัติราชการสนองเบื้องยุคลบาทจนเป็นที่โปรดปราน พระราชทานบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้นเป็นพระบริรักษ์ภูเบศร์ ตำแหน่งผู้ช่วยราชการเมืองนครศรีธรรมราช โปรดเกล้าให้กลับไปปฏิบัติราชการ ณ เมืองนครศรีธรรมราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีลายพระหัตถเลขาเรียกชื่อเจ้าพระยานคร (น้อย) ตอนนี้ว่า "น้อยคืนเมือง" ต่อมาได้เลื่อนบรรดาศักดิ์และตำแหน่งหน้าที่สูงขึ้นเป็นพระยานครศรีธรรมราช และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์สุดท้ายที่ เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยาธิบดี ผู้สำเร็จราชการเมืองนครศรีธรรมราช เมื่อบั้นปลายเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) กำลังทหารไปปราบปรามเมืองไทรบุรีครั้งหลังสุด ป่วยเป็นไข้มาแล้ว เมื่อปราบปรามเสร็จอาการไข้กำเริบจนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2381
| พระราชบิดาของเจ้าพระยานครศรีธรรมราช หรือ น้อย ณ นคร มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช"
],
"answer_begin_position": [
384
],
"answer_end_position": [
409
]
} |
1,961 | 859,367 | เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) หรือ เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยาธิบดี หรือ เจ้าพระยานครน้อย เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชสมัยกรุงรัตนโกสินทร์คนที่ 3 บุตรบุญธรรมในเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์) เป็นพระราชโอรสองค์รองสุดท้ายในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชประวัติ ประวัติ. เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2319 ที่เมืองนครศรีธรรมราช ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เป็นพระราชโอรสสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปราง และยังเป็นบุตรบุญธรรมของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (พัฒน์ ณ นคร) ซึ่งมีบันทึกในจดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี ตอนที่ตรัสถึงเจ้าพระยานคร (น้อย) และเจ้าจอมมารดาปรางในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชว่า "เจ้าจอมมารดาปรางในพระเจ้ากรุงธนบุรี พระราชทานแก่อุปราชพัฒน์ มีความชอบชนะศึกชายาถึงแก่กรรม รับสั่งว่าอย่าเสียใจนักเลยจะให้เลี้ยงหลาน ท้าวนางกราบทูลว่า เริ่มตั้งครรภ์ได้ ๒ เดือนแล้ว แต่รับสั่งตรัสแล้วไม่คืนคำ พระราชวิจารณ์รัชกาลที่ ๕ ว่าไม่ทรงทราบหรือเป็นราโชบายให้เชื้อสายไปครองเมืองให้กว้างขวางออกไป แนวเดียวกับให้กรมขุนอินทรพิทักษ์ไปครองเขมร เจ้าพัฒน์รับตั้งไว้เป็นนางเมือง มิได้เป็นภรรยาเป็นเรื่องเล่ากระซิบกันอย่างเปิดเผย บุตรติดครรภ์เป็นชายชื่อ น้อย เป็นเจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช สำเร็จราชการเมืองนครศรีธรรมราช มีอำนาจวาสนากว่าเจ้านครทุกคน" ครั้นโตขึ้นเจ้าพระยานคร (พัฒน์) ได้นำเข้าเฝ้าถวายตัวเป็นมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นนายสรรพวิไชย มหาดเล็กหุ้มแพร ปฏิบัติราชการสนองเบื้องยุคลบาทจนเป็นที่โปรดปราน พระราชทานบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้นเป็นพระบริรักษ์ภูเบศร์ ตำแหน่งผู้ช่วยราชการเมืองนครศรีธรรมราช โปรดเกล้าให้กลับไปปฏิบัติราชการ ณ เมืองนครศรีธรรมราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีลายพระหัตถเลขาเรียกชื่อเจ้าพระยานคร (น้อย) ตอนนี้ว่า "น้อยคืนเมือง" ต่อมาได้เลื่อนบรรดาศักดิ์และตำแหน่งหน้าที่สูงขึ้นเป็นพระยานครศรีธรรมราช และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์สุดท้ายที่ เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช ชาติเดโชชัย มไหสุริยาธิบดี ผู้สำเร็จราชการเมืองนครศรีธรรมราช เมื่อบั้นปลายเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) กำลังทหารไปปราบปรามเมืองไทรบุรีครั้งหลังสุด ป่วยเป็นไข้มาแล้ว เมื่อปราบปรามเสร็จอาการไข้กำเริบจนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2381
| เจ้าพระยานครศรีธรรมราช หรือ น้อย ณ นคร เกิดวันอะไร | {
"answer": [
"จันทร์"
],
"answer_begin_position": [
474
],
"answer_end_position": [
480
]
} |
459 | 139,197 | หลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม) พลโท พลอากาศโท กาจ กาจสงคราม หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หลวงกาจสงคราม หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร สมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ของกองทัพบกไทย ช่วงปี พ.ศ. 2491-พ.ศ. 2492 และอดีตอธิบดีกรมศุลกากร พ.ศ. 2481-2485 หลวงกาจสงคราม เกิดที่จังหวัดลำพูน เมื่อปีพ.ศ. 2446 มีชื่อเดิมว่า เทียน เก่งระดมยิง จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก และเข้ารับราชการทหารที่เชียงใหม่และที่พระนคร ได้ร่วมกับหลวงพิบูลสงคราม (จอมพล ป. พิบูลสงคราม) เข้าร่วมในคณะราษฎรฝ่ายทหาร ผู้ก่อการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช มาเป็นระบอบประชาธิปไตย ภายหลังการปฏิวัติ หลวงกาจสงครามได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ผู้บังคับการกองพันทหารปืนใหญ่ที่ 2 ในพระนคร ในเหตุการณ์กบฏบวรเดช เดือนตุลาคม พ.ศ. 2476 หลวงกาจสงคราม ได้นำกำลังทหารฝ่ายรัฐบาล ขึ้นรถจักรดีเซลที่สถานีรถไฟบางซื่อ เพื่อเดินทางไปกวาดล้างทหารกบฏของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ที่จังหวัดนครราชสีมา ฝ่ายพระองค์เจ้าบวรเดชได้ใช้รถจักรฮาโนแม็ก เบอร์ 277 หรือที่เรียกว่า “รถตอปิโดบก” พุ่งชนรถไฟของกองทัพรัฐบาล ทำให้ทหารฝ่ายรัฐบาลบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมาก และทำให้หลวงกาจสงครามได้รับบาดเจ็บ หูแหว่ง จากเหตุการณ์ครั้งนี้ รัฐบาลได้ปูนบำเหน็จและย้ายให้ไปควบคุม กรมอากาศยาน (กองทัพอากาศ) และหลังจากนั้นหลวงกาจสงครามได้ดำรงตำแหน่งเป็นเสนาธิการกองทัพอากาศคนแรก แต่เนื่องด้วยหลวงกาจสงครามมีความขัดแย้งกับนายทหารในกองทัพอากาศ ทำให้รัฐบาลย้ายหลวงกาศสงครามไปเป็นอธิบดีกรมศุลกากร ในเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 หลวงกาจสงครามเป็น คนหนึ่งในคณะเสรีไทยโดยร่วมมือกับนายปรีดี พนมยงค์ ในการตั้งขบวนการต่อต้านญี่ปุ่น โดยยอมลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2486 เป็นตัวแทนเสรีไทยเดินทางไปประเทศจีน และเมื่อสงครามยุติแล้วหลวงกาจสงครามก็ร่วมกับนายปรีดี พนมยงค์ ก่อตั้งพรรคสหชีพ ซึ่งเป็นพรรคที่ก้าวหน้าที่มีนโยบายเป็นประชาธิปไตยของฝ่ายพลเรือนในขณะนั้น ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงกาจสงครามในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยใช้ราชทินนามเป็นนามสกุล เมื่อ พ.ศ. 2484 ภายหลังจากเกิดกรณีวิกฤตเหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8 หลวงกาจสงครามได้โจมตีนายปรีดี พนมยงค์ ว่ามีแผนการจัดตั้ง "มหาชนรัฐ" ที่มีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนประเทศไทยเป็น "สาธารณรัฐ" จนเป็นที่โจษจันไปทั่ว และเกิดการจับกุมผู้ต้องสงสัยหลายรายซึ่งล้วนแต่เป็นกลุ่มของนายปรีดี หลวงกาจสงครามอ้างเรื่องแผนมหาชนรัฐว่าจะก่อให้เกิดการวินาศกรรมครั้งใหญ่ จึงได้ตัดสินใจรัฐประหารเสียก่อน เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 เกิดเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 พ.อ. กาจ กาจสงคราม เป็นรองหัวหน้าคณะรัฐประหาร ซึ่งประกอบด้วยนายทหารนอกราชการที่นำโดย พล.ท. ผิน ชุณหะวัณ พ.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ พ.อ. สฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ.อ. ถนอม กิตติขจร พ.ท. ประภาส จารุเสถียร และ ร.อ. สมบูรณ์ (ชาติชาย) ชุณหะวัณ ทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศ จากรัฐบาลของหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ และตั้งนายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี หลวงกาจสงครามมีส่วนอย่างสำคัญในการยกร่าง และเก็บซ่อนไว้ใต้ตุ่ม จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ารัฐธรรมนูญฉบับ “ใต้ตุ่ม” หรือ “ตุ่มแดง” และหลวงกาจสงคราม ได้รับฉายาจากการรัฐประหารครั้งนี้ว่า “นายพลตุ่มแดง” หลังจากการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2491 นายควง อภัยวงศ์ได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง แต่หลังจากการบริหารประเทศเพียงไม่นาน เกิดเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491 ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 หลวงกาจสงครามพร้อมทหารสี่นาย ได้บุกเข้าพบนายควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาล และบีบบังคับให้นายควงลาออกจากตำแหน่ง ซึ่งนายควงก็ลาออกแต่โดยดี การรัฐประหารครั้งนี้เรียกว่า “รัฐประหารเงียบ” เนื่องจากไม่มีการใช้กำลังทหาร และเสียเลือดเนื้อแต่อย่างใด และตั้งจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี หลวงกาจสงคราม สมรสครั้งแรกกับคุณหญิงฟองสมุทร เก่งระดมยิง มีบุตร-ธิดา 7 คน รวมทั้ง ท่านผู้หญิงสายหยุด ดิฐการภักดี (สายหยุด บุณยรัตพันธุ์) , หม่อมวิภา จักรพันธุ์ ณ อยุธยา (หม่อมใน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ) และ พันเอก (พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง หลังจากนั้นได้สมรสกับนางประดับ กาจสงคราม มีบุตร-ธิดา 4 คน รวมทั้ง นายชัยพฤณท์ กาจสงคราม ในวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2493 หลวงกาจสงคราม ได้ถูกกล่าวหาว่าจะก่อการกบฏล้มล้างรัฐบาล โดยทาง พ.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ รองอธิบดีกรมตำรวจ ได้ถูกจับขังคุก และในเช้าวันรุ่งขึ้น ได้ถูกเนรเทศไปที่ฮ่องกงทันที จนกระทั่งหลัง พ.ศ. 2500 ที่มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลแล้ว จึงได้เดินทางกลับมาพำนักยังประเทศไทย หลวงกาจสงคราม ถึงแก่อนิจกรรมในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 สิริอายุได้ 64 ปี ได้รับพระราชทานเพลิงศพจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส ในวันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2510ผลงานหนังสือผลงานหนังสือ. 1. ข้อปรารถนาของประเทศชาติ, พระนคร : โรงพิมพ์วัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 172 ก414ข 2. กำลังและอำนาจของประเทศชาติ, พระนคร : โรงพิมพ์รัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 355 ก414ก 3. ภาวะคับขันแห่งมหาสงครามอาเซียบูรพา 2484, พระนคร : โรงพิมพ์รัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 940.3 ก414ภ 4. เรื่องของวันชาติ 2492 , พระนคร : โรงพิมพ์รัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 172 ก414ร 5. สารคดีลึกลับ เรื่องสถานะการณ์ของผู้ลืมตัว , พระนคร : โรงพิมพ์บริษัทรัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 320.9593 ก421ส 6. ปาฐกถาโฆษณา เรื่องเกี่ยวกับการทหาร, พระนคร : โรงพิมพ์อักษรนิติ์, 2480, เลขเรียกหนังสือ: 895.915 ก415ปข 7. ข้อสังเกตบางประการในคราวเดินทางไปราชการรอบโลก พ.ศ. 2479 เล่ม 1 ว่าด้วยเรื่องอะไรที่ทำให้ประเทศญี่ปุ่นก้าวหน้า ,พระนคร : โรงพิมพ์กรมรถไฟ, 2484,เลขเรียกหนังสือ: 915.2 ก415ห 8. ข้อสังเกตบางประการในคราวเดินทางไปราชการรอบโลก พ.ศ. 2479 เล่ม 2 ว่าด้วยสหรัฐอเมริกา, พระนคร : บริษัทรัฐภักดี, 2490, เลขเรียกหนังสือ: 917.3 ก414ข 9. ความรู้ทั่วไปในการทหาร โดย สรวุฒิสมรรถ, หลวง, สินธุสงครามชัย, หลวง, กาจสงคราม, หลวง, พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์ 2478, เลขเรียกหนังสือ: 355 ส341ค
| บ้านเกิดของหลวงกาจสงครามอยู่ที่จังหวัดใด | {
"answer": [
"จังหวัดลำพูน"
],
"answer_begin_position": [
366
],
"answer_end_position": [
378
]
} |
761 | 139,197 | หลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม) พลโท พลอากาศโท กาจ กาจสงคราม หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หลวงกาจสงคราม หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร สมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ของกองทัพบกไทย ช่วงปี พ.ศ. 2491-พ.ศ. 2492 และอดีตอธิบดีกรมศุลกากร พ.ศ. 2481-2485 หลวงกาจสงคราม เกิดที่จังหวัดลำพูน เมื่อปีพ.ศ. 2446 มีชื่อเดิมว่า เทียน เก่งระดมยิง จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก และเข้ารับราชการทหารที่เชียงใหม่และที่พระนคร ได้ร่วมกับหลวงพิบูลสงคราม (จอมพล ป. พิบูลสงคราม) เข้าร่วมในคณะราษฎรฝ่ายทหาร ผู้ก่อการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช มาเป็นระบอบประชาธิปไตย ภายหลังการปฏิวัติ หลวงกาจสงครามได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ผู้บังคับการกองพันทหารปืนใหญ่ที่ 2 ในพระนคร ในเหตุการณ์กบฏบวรเดช เดือนตุลาคม พ.ศ. 2476 หลวงกาจสงคราม ได้นำกำลังทหารฝ่ายรัฐบาล ขึ้นรถจักรดีเซลที่สถานีรถไฟบางซื่อ เพื่อเดินทางไปกวาดล้างทหารกบฏของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ที่จังหวัดนครราชสีมา ฝ่ายพระองค์เจ้าบวรเดชได้ใช้รถจักรฮาโนแม็ก เบอร์ 277 หรือที่เรียกว่า “รถตอปิโดบก” พุ่งชนรถไฟของกองทัพรัฐบาล ทำให้ทหารฝ่ายรัฐบาลบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมาก และทำให้หลวงกาจสงครามได้รับบาดเจ็บ หูแหว่ง จากเหตุการณ์ครั้งนี้ รัฐบาลได้ปูนบำเหน็จและย้ายให้ไปควบคุม กรมอากาศยาน (กองทัพอากาศ) และหลังจากนั้นหลวงกาจสงครามได้ดำรงตำแหน่งเป็นเสนาธิการกองทัพอากาศคนแรก แต่เนื่องด้วยหลวงกาจสงครามมีความขัดแย้งกับนายทหารในกองทัพอากาศ ทำให้รัฐบาลย้ายหลวงกาศสงครามไปเป็นอธิบดีกรมศุลกากร ในเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 หลวงกาจสงครามเป็น คนหนึ่งในคณะเสรีไทยโดยร่วมมือกับนายปรีดี พนมยงค์ ในการตั้งขบวนการต่อต้านญี่ปุ่น โดยยอมลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2486 เป็นตัวแทนเสรีไทยเดินทางไปประเทศจีน และเมื่อสงครามยุติแล้วหลวงกาจสงครามก็ร่วมกับนายปรีดี พนมยงค์ ก่อตั้งพรรคสหชีพ ซึ่งเป็นพรรคที่ก้าวหน้าที่มีนโยบายเป็นประชาธิปไตยของฝ่ายพลเรือนในขณะนั้น ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงกาจสงครามในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยใช้ราชทินนามเป็นนามสกุล เมื่อ พ.ศ. 2484 ภายหลังจากเกิดกรณีวิกฤตเหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8 หลวงกาจสงครามได้โจมตีนายปรีดี พนมยงค์ ว่ามีแผนการจัดตั้ง "มหาชนรัฐ" ที่มีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนประเทศไทยเป็น "สาธารณรัฐ" จนเป็นที่โจษจันไปทั่ว และเกิดการจับกุมผู้ต้องสงสัยหลายรายซึ่งล้วนแต่เป็นกลุ่มของนายปรีดี หลวงกาจสงครามอ้างเรื่องแผนมหาชนรัฐว่าจะก่อให้เกิดการวินาศกรรมครั้งใหญ่ จึงได้ตัดสินใจรัฐประหารเสียก่อน เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 เกิดเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 พ.อ. กาจ กาจสงคราม เป็นรองหัวหน้าคณะรัฐประหาร ซึ่งประกอบด้วยนายทหารนอกราชการที่นำโดย พล.ท. ผิน ชุณหะวัณ พ.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ พ.อ. สฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ.อ. ถนอม กิตติขจร พ.ท. ประภาส จารุเสถียร และ ร.อ. สมบูรณ์ (ชาติชาย) ชุณหะวัณ ทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศ จากรัฐบาลของหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ และตั้งนายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี หลวงกาจสงครามมีส่วนอย่างสำคัญในการยกร่าง และเก็บซ่อนไว้ใต้ตุ่ม จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ารัฐธรรมนูญฉบับ “ใต้ตุ่ม” หรือ “ตุ่มแดง” และหลวงกาจสงคราม ได้รับฉายาจากการรัฐประหารครั้งนี้ว่า “นายพลตุ่มแดง” หลังจากการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2491 นายควง อภัยวงศ์ได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง แต่หลังจากการบริหารประเทศเพียงไม่นาน เกิดเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491 ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 หลวงกาจสงครามพร้อมทหารสี่นาย ได้บุกเข้าพบนายควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาล และบีบบังคับให้นายควงลาออกจากตำแหน่ง ซึ่งนายควงก็ลาออกแต่โดยดี การรัฐประหารครั้งนี้เรียกว่า “รัฐประหารเงียบ” เนื่องจากไม่มีการใช้กำลังทหาร และเสียเลือดเนื้อแต่อย่างใด และตั้งจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี หลวงกาจสงคราม สมรสครั้งแรกกับคุณหญิงฟองสมุทร เก่งระดมยิง มีบุตร-ธิดา 7 คน รวมทั้ง ท่านผู้หญิงสายหยุด ดิฐการภักดี (สายหยุด บุณยรัตพันธุ์) , หม่อมวิภา จักรพันธุ์ ณ อยุธยา (หม่อมใน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ) และ พันเอก (พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง หลังจากนั้นได้สมรสกับนางประดับ กาจสงคราม มีบุตร-ธิดา 4 คน รวมทั้ง นายชัยพฤณท์ กาจสงคราม ในวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2493 หลวงกาจสงคราม ได้ถูกกล่าวหาว่าจะก่อการกบฏล้มล้างรัฐบาล โดยทาง พ.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ รองอธิบดีกรมตำรวจ ได้ถูกจับขังคุก และในเช้าวันรุ่งขึ้น ได้ถูกเนรเทศไปที่ฮ่องกงทันที จนกระทั่งหลัง พ.ศ. 2500 ที่มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลแล้ว จึงได้เดินทางกลับมาพำนักยังประเทศไทย หลวงกาจสงคราม ถึงแก่อนิจกรรมในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 สิริอายุได้ 64 ปี ได้รับพระราชทานเพลิงศพจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส ในวันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2510ผลงานหนังสือผลงานหนังสือ. 1. ข้อปรารถนาของประเทศชาติ, พระนคร : โรงพิมพ์วัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 172 ก414ข 2. กำลังและอำนาจของประเทศชาติ, พระนคร : โรงพิมพ์รัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 355 ก414ก 3. ภาวะคับขันแห่งมหาสงครามอาเซียบูรพา 2484, พระนคร : โรงพิมพ์รัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 940.3 ก414ภ 4. เรื่องของวันชาติ 2492 , พระนคร : โรงพิมพ์รัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 172 ก414ร 5. สารคดีลึกลับ เรื่องสถานะการณ์ของผู้ลืมตัว , พระนคร : โรงพิมพ์บริษัทรัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 320.9593 ก421ส 6. ปาฐกถาโฆษณา เรื่องเกี่ยวกับการทหาร, พระนคร : โรงพิมพ์อักษรนิติ์, 2480, เลขเรียกหนังสือ: 895.915 ก415ปข 7. ข้อสังเกตบางประการในคราวเดินทางไปราชการรอบโลก พ.ศ. 2479 เล่ม 1 ว่าด้วยเรื่องอะไรที่ทำให้ประเทศญี่ปุ่นก้าวหน้า ,พระนคร : โรงพิมพ์กรมรถไฟ, 2484,เลขเรียกหนังสือ: 915.2 ก415ห 8. ข้อสังเกตบางประการในคราวเดินทางไปราชการรอบโลก พ.ศ. 2479 เล่ม 2 ว่าด้วยสหรัฐอเมริกา, พระนคร : บริษัทรัฐภักดี, 2490, เลขเรียกหนังสือ: 917.3 ก414ข 9. ความรู้ทั่วไปในการทหาร โดย สรวุฒิสมรรถ, หลวง, สินธุสงครามชัย, หลวง, กาจสงคราม, หลวง, พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์ 2478, เลขเรียกหนังสือ: 355 ส341ค
| หลวงกาจสงครามมีอายุกี่ปีก่อนถึงแก่อนิจกรรม | {
"answer": [
"64"
],
"answer_begin_position": [
4160
],
"answer_end_position": [
4162
]
} |
1,453 | 139,197 | หลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม) พลโท พลอากาศโท กาจ กาจสงคราม หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หลวงกาจสงคราม หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร สมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ของกองทัพบกไทย ช่วงปี พ.ศ. 2491-พ.ศ. 2492 และอดีตอธิบดีกรมศุลกากร พ.ศ. 2481-2485 หลวงกาจสงคราม เกิดที่จังหวัดลำพูน เมื่อปีพ.ศ. 2446 มีชื่อเดิมว่า เทียน เก่งระดมยิง จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก และเข้ารับราชการทหารที่เชียงใหม่และที่พระนคร ได้ร่วมกับหลวงพิบูลสงคราม (จอมพล ป. พิบูลสงคราม) เข้าร่วมในคณะราษฎรฝ่ายทหาร ผู้ก่อการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช มาเป็นระบอบประชาธิปไตย ภายหลังการปฏิวัติ หลวงกาจสงครามได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ผู้บังคับการกองพันทหารปืนใหญ่ที่ 2 ในพระนคร ในเหตุการณ์กบฏบวรเดช เดือนตุลาคม พ.ศ. 2476 หลวงกาจสงคราม ได้นำกำลังทหารฝ่ายรัฐบาล ขึ้นรถจักรดีเซลที่สถานีรถไฟบางซื่อ เพื่อเดินทางไปกวาดล้างทหารกบฏของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ที่จังหวัดนครราชสีมา ฝ่ายพระองค์เจ้าบวรเดชได้ใช้รถจักรฮาโนแม็ก เบอร์ 277 หรือที่เรียกว่า “รถตอปิโดบก” พุ่งชนรถไฟของกองทัพรัฐบาล ทำให้ทหารฝ่ายรัฐบาลบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมาก และทำให้หลวงกาจสงครามได้รับบาดเจ็บ หูแหว่ง จากเหตุการณ์ครั้งนี้ รัฐบาลได้ปูนบำเหน็จและย้ายให้ไปควบคุม กรมอากาศยาน (กองทัพอากาศ) และหลังจากนั้นหลวงกาจสงครามได้ดำรงตำแหน่งเป็นเสนาธิการกองทัพอากาศคนแรก แต่เนื่องด้วยหลวงกาจสงครามมีความขัดแย้งกับนายทหารในกองทัพอากาศ ทำให้รัฐบาลย้ายหลวงกาศสงครามไปเป็นอธิบดีกรมศุลกากร ในเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 หลวงกาจสงครามเป็น คนหนึ่งในคณะเสรีไทยโดยร่วมมือกับนายปรีดี พนมยงค์ ในการตั้งขบวนการต่อต้านญี่ปุ่น โดยยอมลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2486 เป็นตัวแทนเสรีไทยเดินทางไปประเทศจีน และเมื่อสงครามยุติแล้วหลวงกาจสงครามก็ร่วมกับนายปรีดี พนมยงค์ ก่อตั้งพรรคสหชีพ ซึ่งเป็นพรรคที่ก้าวหน้าที่มีนโยบายเป็นประชาธิปไตยของฝ่ายพลเรือนในขณะนั้น ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงกาจสงครามในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยใช้ราชทินนามเป็นนามสกุล เมื่อ พ.ศ. 2484 ภายหลังจากเกิดกรณีวิกฤตเหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8 หลวงกาจสงครามได้โจมตีนายปรีดี พนมยงค์ ว่ามีแผนการจัดตั้ง "มหาชนรัฐ" ที่มีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนประเทศไทยเป็น "สาธารณรัฐ" จนเป็นที่โจษจันไปทั่ว และเกิดการจับกุมผู้ต้องสงสัยหลายรายซึ่งล้วนแต่เป็นกลุ่มของนายปรีดี หลวงกาจสงครามอ้างเรื่องแผนมหาชนรัฐว่าจะก่อให้เกิดการวินาศกรรมครั้งใหญ่ จึงได้ตัดสินใจรัฐประหารเสียก่อน เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 เกิดเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 พ.อ. กาจ กาจสงคราม เป็นรองหัวหน้าคณะรัฐประหาร ซึ่งประกอบด้วยนายทหารนอกราชการที่นำโดย พล.ท. ผิน ชุณหะวัณ พ.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ พ.อ. สฤษดิ์ ธนะรัชต์ พ.อ. ถนอม กิตติขจร พ.ท. ประภาส จารุเสถียร และ ร.อ. สมบูรณ์ (ชาติชาย) ชุณหะวัณ ทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศ จากรัฐบาลของหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ และตั้งนายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี หลวงกาจสงครามมีส่วนอย่างสำคัญในการยกร่าง และเก็บซ่อนไว้ใต้ตุ่ม จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ารัฐธรรมนูญฉบับ “ใต้ตุ่ม” หรือ “ตุ่มแดง” และหลวงกาจสงคราม ได้รับฉายาจากการรัฐประหารครั้งนี้ว่า “นายพลตุ่มแดง” หลังจากการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2491 นายควง อภัยวงศ์ได้กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง แต่หลังจากการบริหารประเทศเพียงไม่นาน เกิดเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491 ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 หลวงกาจสงครามพร้อมทหารสี่นาย ได้บุกเข้าพบนายควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาล และบีบบังคับให้นายควงลาออกจากตำแหน่ง ซึ่งนายควงก็ลาออกแต่โดยดี การรัฐประหารครั้งนี้เรียกว่า “รัฐประหารเงียบ” เนื่องจากไม่มีการใช้กำลังทหาร และเสียเลือดเนื้อแต่อย่างใด และตั้งจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี หลวงกาจสงคราม สมรสครั้งแรกกับคุณหญิงฟองสมุทร เก่งระดมยิง มีบุตร-ธิดา 7 คน รวมทั้ง ท่านผู้หญิงสายหยุด ดิฐการภักดี (สายหยุด บุณยรัตพันธุ์) , หม่อมวิภา จักรพันธุ์ ณ อยุธยา (หม่อมใน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ) และ พันเอก (พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง หลังจากนั้นได้สมรสกับนางประดับ กาจสงคราม มีบุตร-ธิดา 4 คน รวมทั้ง นายชัยพฤณท์ กาจสงคราม ในวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2493 หลวงกาจสงคราม ได้ถูกกล่าวหาว่าจะก่อการกบฏล้มล้างรัฐบาล โดยทาง พ.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ รองอธิบดีกรมตำรวจ ได้ถูกจับขังคุก และในเช้าวันรุ่งขึ้น ได้ถูกเนรเทศไปที่ฮ่องกงทันที จนกระทั่งหลัง พ.ศ. 2500 ที่มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลแล้ว จึงได้เดินทางกลับมาพำนักยังประเทศไทย หลวงกาจสงคราม ถึงแก่อนิจกรรมในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 สิริอายุได้ 64 ปี ได้รับพระราชทานเพลิงศพจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส ในวันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2510ผลงานหนังสือผลงานหนังสือ. 1. ข้อปรารถนาของประเทศชาติ, พระนคร : โรงพิมพ์วัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 172 ก414ข 2. กำลังและอำนาจของประเทศชาติ, พระนคร : โรงพิมพ์รัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 355 ก414ก 3. ภาวะคับขันแห่งมหาสงครามอาเซียบูรพา 2484, พระนคร : โรงพิมพ์รัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 940.3 ก414ภ 4. เรื่องของวันชาติ 2492 , พระนคร : โรงพิมพ์รัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 172 ก414ร 5. สารคดีลึกลับ เรื่องสถานะการณ์ของผู้ลืมตัว , พระนคร : โรงพิมพ์บริษัทรัฐภักดี, 2492, เลขเรียกหนังสือ: 320.9593 ก421ส 6. ปาฐกถาโฆษณา เรื่องเกี่ยวกับการทหาร, พระนคร : โรงพิมพ์อักษรนิติ์, 2480, เลขเรียกหนังสือ: 895.915 ก415ปข 7. ข้อสังเกตบางประการในคราวเดินทางไปราชการรอบโลก พ.ศ. 2479 เล่ม 1 ว่าด้วยเรื่องอะไรที่ทำให้ประเทศญี่ปุ่นก้าวหน้า ,พระนคร : โรงพิมพ์กรมรถไฟ, 2484,เลขเรียกหนังสือ: 915.2 ก415ห 8. ข้อสังเกตบางประการในคราวเดินทางไปราชการรอบโลก พ.ศ. 2479 เล่ม 2 ว่าด้วยสหรัฐอเมริกา, พระนคร : บริษัทรัฐภักดี, 2490, เลขเรียกหนังสือ: 917.3 ก414ข 9. ความรู้ทั่วไปในการทหาร โดย สรวุฒิสมรรถ, หลวง, สินธุสงครามชัย, หลวง, กาจสงคราม, หลวง, พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์ 2478, เลขเรียกหนังสือ: 355 ส341ค
| พลอากาศโทกาจ กาจสงคราม หรือ หลวงกาจสงครามถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"27"
],
"answer_begin_position": [
4124
],
"answer_end_position": [
4126
]
} |
460 | 504,187 | หมู่เกาะแชทัม หมู่เกาะแชทัม () เป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ห่างจากเกาะใต้ราว 680 กม. (420 ไมล์) มีเกาะราว 10 เกาะ ในรัศมี 40 กม. (25 ไมล์) เกาะใหญ่สุดคือเกาะแชทัมและรองลงมาคือเกาะพิตต์ เกาะแห่งนี้เป็นส่วนหนึ่งของประเทศนิวซีแลนด์อย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี ค.ศ. 1842 ชาวยุโรปเดินทางมาถึงเกาะนี้เป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1791
| หมู่เกาะแชทัมเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรใด | {
"answer": [
"มหาสมุทรแปซิฟิก"
],
"answer_begin_position": [
134
],
"answer_end_position": [
149
]
} |
1,537 | 504,187 | หมู่เกาะแชทัม หมู่เกาะแชทัม () เป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ห่างจากเกาะใต้ราว 680 กม. (420 ไมล์) มีเกาะราว 10 เกาะ ในรัศมี 40 กม. (25 ไมล์) เกาะใหญ่สุดคือเกาะแชทัมและรองลงมาคือเกาะพิตต์ เกาะแห่งนี้เป็นส่วนหนึ่งของประเทศนิวซีแลนด์อย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี ค.ศ. 1842 ชาวยุโรปเดินทางมาถึงเกาะนี้เป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1791
| เกาะพิตต์เป็นส่วนหนึ่งของประเทศนิวซีแลนด์อย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี ค.ศ.ใด | {
"answer": [
"1842"
],
"answer_begin_position": [
388
],
"answer_end_position": [
392
]
} |
461 | 198,461 | ยุนะ อิโต ยุนะ อิโต (, , ) หรืออาจรู้จักในชื่อ อิโต คริสติน ( อิโต คุริซุตีน) เป็นนักร้องเพลงป็อป มีบิดาเป็นชาวญี่ปุ่น กับมารดาชาวอเมริกันเชื้อสายเกาหลี รวมทั้งยังเป็นนักแต่งเพลงและนักแสดงในประเทศญี่ปุ่น ยุนะเกิดที่ลอสแอนเจลิสวันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 1983 แต่ไปเติบโตที่ฮาวาย ปัจจุบันเป็นนักร้องในค่ายโซนี่ มิวสิค เจแปน ยุนะโด่งดังจากการแสดงภาพยนตร์ญี่ปุ่นเรื่อง นานะ และยังเป็นผู้ร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ที่มีชื่อเพลงว่า "Endless Story" ที่ได้รับความนิยมอย่างมากจากการติดชาร์ตเพลงฮิตอันดับ 2 ในชาร์ตของโอริคอน
| ยุนะ อิโต หรืออาจรู้จักในชื่อ อิโต คริสติน นักร้องเพลงป็อปชาวญี่ปุ่น เกิดที่ไหน | {
"answer": [
"ลอสแอนเจลิส"
],
"answer_begin_position": [
299
],
"answer_end_position": [
310
]
} |
1,471 | 198,461 | ยุนะ อิโต ยุนะ อิโต (, , ) หรืออาจรู้จักในชื่อ อิโต คริสติน ( อิโต คุริซุตีน) เป็นนักร้องเพลงป็อป มีบิดาเป็นชาวญี่ปุ่น กับมารดาชาวอเมริกันเชื้อสายเกาหลี รวมทั้งยังเป็นนักแต่งเพลงและนักแสดงในประเทศญี่ปุ่น ยุนะเกิดที่ลอสแอนเจลิสวันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 1983 แต่ไปเติบโตที่ฮาวาย ปัจจุบันเป็นนักร้องในค่ายโซนี่ มิวสิค เจแปน ยุนะโด่งดังจากการแสดงภาพยนตร์ญี่ปุ่นเรื่อง นานะ และยังเป็นผู้ร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ที่มีชื่อเพลงว่า "Endless Story" ที่ได้รับความนิยมอย่างมากจากการติดชาร์ตเพลงฮิตอันดับ 2 ในชาร์ตของโอริคอน
| ยุนะ อิโต นักร้องเพลงป็อปชาวญี่ปุ่น เกิดเดือนอะไร | {
"answer": [
"กันยายน"
],
"answer_begin_position": [
320
],
"answer_end_position": [
327
]
} |
462 | 223,854 | จอมโหดกระทะเหล็ก จอมโหดกระทะเหล็ก () เป็นการ์ตูนที่เล่าเรื่องเกี่ยวกับการทำอาหาร โดยเฉพาะอาหารจีน เขียนโดย ชินจิ ไซโจ โดยเคย์โกะ โอยามา เป็นผู้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ ตีพิมพ์ในประเทศญี่ปุ่นช่วง พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2543 ปัจจุบันมีการออกภาคต่อ ใช้ชื่อภาษาไทยว่า "จอมโหดกระทะเหล็ก! สุดยอดกลยุทธ"เนื้อเรื่องตัวละครตัวละคร. - อากิยามะ จาง - อากิยามะ ไคอิจิโร่ - โกบังโจ คิริโกะ - โกบังโจ มิซึจู - โกบังโจ ยาอิจิ - โอโกโนงิ ทาคาโอะ - เซเรนุ ยังรายชื่อตอน
| ผู้แต่งหนังสือการ์ตูนเรื่องจอมโหดกระทะเหล็ก ตีพิมพ์ในประเทศญี่ปุ่นช่วง พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2543 คือใคร | {
"answer": [
"ชินจิ ไซโจ"
],
"answer_begin_position": [
198
],
"answer_end_position": [
208
]
} |
463 | 223,854 | จอมโหดกระทะเหล็ก จอมโหดกระทะเหล็ก () เป็นการ์ตูนที่เล่าเรื่องเกี่ยวกับการทำอาหาร โดยเฉพาะอาหารจีน เขียนโดย ชินจิ ไซโจ โดยเคย์โกะ โอยามา เป็นผู้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ ตีพิมพ์ในประเทศญี่ปุ่นช่วง พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2543 ปัจจุบันมีการออกภาคต่อ ใช้ชื่อภาษาไทยว่า "จอมโหดกระทะเหล็ก! สุดยอดกลยุทธ"เนื้อเรื่องตัวละครตัวละคร. - อากิยามะ จาง - อากิยามะ ไคอิจิโร่ - โกบังโจ คิริโกะ - โกบังโจ มิซึจู - โกบังโจ ยาอิจิ - โอโกโนงิ ทาคาโอะ - เซเรนุ ยังรายชื่อตอน
| ผู้ที่ให้ข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการ กับชินจิ ไซโจ เพื่อเขียนการ์ตูนเรื่องจอมโหดกระทะเหล็ก คือใคร | {
"answer": [
"เคย์โกะ โอยามา"
],
"answer_begin_position": [
212
],
"answer_end_position": [
226
]
} |