question_id
int32 1
4k
| article_id
int32 665
954k
| context
stringlengths 75
87.2k
| question
stringlengths 11
135
| answers
sequence |
---|---|---|---|---|
235 | 205,953 | เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ (, ประสูติ 6 กันยายน พ.ศ. 2549) พระบุตรองค์ที่สามและพระโอรสพระองค์แรกในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ ทรงเป็นรัชทายาทลำดับที่สามในการสืบราชบัลลังก์ญี่ปุ่น โดยพระองค์ถือว่าเป็นพระราชนัดดาชายเพียงพระองค์เดียวใน สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และ สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะพระประวัติ พระประวัติ. เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ ประสูติเมื่อเวลา 8:27 นาฬิกา (เวลาสากลญี่ปุ่น) ของวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2549 เป็นพระโอรสพระองค์เดียวในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ โดยทรงคลอดก่อนกำหนดสองสัปดาห์ ทรงมีน้ำหนัก 2.556 กิโลกรัม (5 lb 10 oz) ขณะประสูติ เจ้าชายฮิซาฮิโตะเป็นทายาทในพระราชวงศ์ญี่ปุ่นเพียงพระองค์เดียวที่เป็นชาย นับตั้งแต่การประสูติของพระบิดาพระองค์เมื่อ 41 ปีก่อน พระองค์มีพระเชษฐภคินี 2พระองค์คือ เจ้าหญิงคาโกะ เจ้าหญิงมาโกะพระนาม พระนาม. โดยมีการตั้งพระนามเมื่อวันที่ 12 กันยายน โดยเจ้าชายอากิชิโนะ พระบิดา ได้พระราชทานพระนามว่า ฮิซาฮิโตะ มีความหมายคือ ผู้มีศีลธรรม จริยธรรม ความสงบเยือกเย็น และความเป็นนิรันดร์ เจ้าชายอากิชิโนะได้เสด็จมายังโรงพยาบาลไออิกุกลางกรุงโตเกียว ประกอบพิธีตั้งชื่อให้แก่พระโอรส โดยใช้เวลาเพียง 5 นาที เริ่มจากทรงเขียนพระนามพระโอรส ซึ่งผ่านการไตร่ตรองเลือกมาตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคมลงบนกระดาษทำมือ จากนั้นเจ้าหญิงคิโกะทรงเขียนสัญลักษณ์ประจำพระโอรส พร้อมกับประทานตราประจำพระองค์ต้นสนญี่ปุ่น (โคะยะมะกิ) แล้วจึงนำกระดาษนั้นใส่กล่องไม้และนำพระเขนยของพระโอรสวางทับกล่องไม้อีกทีเป็นอันเสร็จพิธี หลังจากนั้นสำนักพระราชวังจึงประกาศพระนามพระโอรส ซึ่งคำว่า ฮิซะ หมายถึง ความสงบเยือกเย็น ส่วนคำลงท้ายคือ ฮิโตะ อันหมายถึง ผู้มีคุณธรรม ตามธรรมเนียมปฏิบัติของเด็กผู้ชายที่กำเนิดในราชวงศ์นี้ ส่วนพระชนกและชนนี จะเรียกพระองค์เป็นการส่วนพระองค์ว่า ยูยู, ยูจัง หรือ ฮิซาฮิโตะคุงพระอิสริยยศ พระอิสริยยศ. เจ้าชายฮิซาฮิโตะดำรงพระอิสริยยศเป็น "เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ"เครื่องราชอิสริยาภรณ์พงศาวลี
| พระโอรสพระองค์เดียวในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"เจ้าชายอากิชิโนะ"
],
"answer_begin_position": [
633
],
"answer_end_position": [
649
]
} |
1,796 | 205,953 | เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ (, ประสูติ 6 กันยายน พ.ศ. 2549) พระบุตรองค์ที่สามและพระโอรสพระองค์แรกในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ ทรงเป็นรัชทายาทลำดับที่สามในการสืบราชบัลลังก์ญี่ปุ่น โดยพระองค์ถือว่าเป็นพระราชนัดดาชายเพียงพระองค์เดียวใน สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และ สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะพระประวัติ พระประวัติ. เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ ประสูติเมื่อเวลา 8:27 นาฬิกา (เวลาสากลญี่ปุ่น) ของวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2549 เป็นพระโอรสพระองค์เดียวในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ โดยทรงคลอดก่อนกำหนดสองสัปดาห์ ทรงมีน้ำหนัก 2.556 กิโลกรัม (5 lb 10 oz) ขณะประสูติ เจ้าชายฮิซาฮิโตะเป็นทายาทในพระราชวงศ์ญี่ปุ่นเพียงพระองค์เดียวที่เป็นชาย นับตั้งแต่การประสูติของพระบิดาพระองค์เมื่อ 41 ปีก่อน พระองค์มีพระเชษฐภคินี 2พระองค์คือ เจ้าหญิงคาโกะ เจ้าหญิงมาโกะพระนาม พระนาม. โดยมีการตั้งพระนามเมื่อวันที่ 12 กันยายน โดยเจ้าชายอากิชิโนะ พระบิดา ได้พระราชทานพระนามว่า ฮิซาฮิโตะ มีความหมายคือ ผู้มีศีลธรรม จริยธรรม ความสงบเยือกเย็น และความเป็นนิรันดร์ เจ้าชายอากิชิโนะได้เสด็จมายังโรงพยาบาลไออิกุกลางกรุงโตเกียว ประกอบพิธีตั้งชื่อให้แก่พระโอรส โดยใช้เวลาเพียง 5 นาที เริ่มจากทรงเขียนพระนามพระโอรส ซึ่งผ่านการไตร่ตรองเลือกมาตั้งแต่ช่วงเดือนกรกฎาคมลงบนกระดาษทำมือ จากนั้นเจ้าหญิงคิโกะทรงเขียนสัญลักษณ์ประจำพระโอรส พร้อมกับประทานตราประจำพระองค์ต้นสนญี่ปุ่น (โคะยะมะกิ) แล้วจึงนำกระดาษนั้นใส่กล่องไม้และนำพระเขนยของพระโอรสวางทับกล่องไม้อีกทีเป็นอันเสร็จพิธี หลังจากนั้นสำนักพระราชวังจึงประกาศพระนามพระโอรส ซึ่งคำว่า ฮิซะ หมายถึง ความสงบเยือกเย็น ส่วนคำลงท้ายคือ ฮิโตะ อันหมายถึง ผู้มีคุณธรรม ตามธรรมเนียมปฏิบัติของเด็กผู้ชายที่กำเนิดในราชวงศ์นี้ ส่วนพระชนกและชนนี จะเรียกพระองค์เป็นการส่วนพระองค์ว่า ยูยู, ยูจัง หรือ ฮิซาฮิโตะคุงพระอิสริยยศ พระอิสริยยศ. เจ้าชายฮิซาฮิโตะดำรงพระอิสริยยศเป็น "เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ"เครื่องราชอิสริยาภรณ์พงศาวลี
| เจ้าชายฮิซาฮิโตะแห่งอากิชิโนะ ทรงประสูติเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"6"
],
"answer_begin_position": [
571
],
"answer_end_position": [
572
]
} |
236 | 414,599 | อาคารขุนอำไพพาณิชย์ อาคารขุนอำไพพาณิชย์ หรือที่ชาวเมืองศรีสะเกษเรียกกันทั่วไปว่า ตึกขุนอำไพ ตั้งอยู่ในย่านเมืองเก่าเทศบาลเมืองศรีสะเกษ บนถนนอุบล (ฝั่งขาออกไปยังจังหวัดอุบลราชธานี) ตำบลเมืองใต้ อำเภอเมืองศรีสะเกษ ห่างจากศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษไปทางตะวันออกประมาณ 4 กิโลเมตร เป็นบ้านที่พักอาศัยเก่าของขุนอำไพพาณิชย์ (ทองอินทร์ นาคสีหราช) คหบดีชาวศรีสะเกษ ก่อสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2468 ได้รับการบูรณะและอนุรักษ์ไว้โดยทายาทขุนอำไพพาณิชย์ร่วมกับกรมศิลปากร จึงได้รับรางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น ด้านการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมในเขตเมือง ที่มีคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์ จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อ พ.ศ. 2530 เนื่องจากมีความโดดเด่นทางด้านศิลปะ สถาปัตยกรรมและประวัติศาสตร์ความเป็นมา ต่อมา ใน พ.ศ. 2538 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 65งประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. อาคารขุนอำไพพาณิชย์ เดิมเป็นบ้านเก่าของขุนอำไพพาณิชย์ กับนางอำไพพาณิชย์ ภริยา ซึ่งเป็นคหบดีรุ่นเก่าชาวศรีสะเกษ ก่อสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2468 โดยช่างชาวเวียดนาม (ญวน) และจีน อาคารได้รับอิทธิพลของศิลปะและสถาปัตยกรรมแบบญวนผสมจีน ขุนอำไพพาณิชย์เป็นคหบดีในพื้นที่ ประกอบธุรกิจค้าขายมีความมั่งคั่ง และสร้างอาคารขุนอำไพพาณิชย์ขึ้นบริเวณย่านตลาดใน (ย่านตลาดเก่า) ซึ่งเป็นย่านธุรกิจศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการค้ายุคแรก ๆ ของเมืองศรีสะเกษ หลังการเสียชีวิตของขุนอำไพพาณิชย์และภริยา ผู้สืบทอดสกุลนาคสีหราชคือนายหงษ์ทอง นาคสีหราช อาคารหลังนี้ได้รับการตกทอดเป็นมรดกให้กับนางเฉลา ช.วรุณชัย บุตรบุญธรรม ซึ่งเดิมเป็นหลานแต่นำมาชุบเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรมเนื่องจากขุนอำไพพาณิชย์ไม่มีบุตร หลังจากนั้นอาคารขุนอำไพพาณิชย์ก็ได้ตกทอดมายังทายาทตระกูลนาคสีหราชอีกหลายรุ่น จนถึงปัจจุบัน ซึ่งได้มีการอนุรักษ์อาคารมรดกที่บรรพบุรุษได้สร้างขึ้นและส่งมอบมาให้ไว้เป็นอย่างดี จนกระทั่งองค์กรต่าง ๆ และหน่วยงานราชการได้เข้ามาร่วมสนับสนุนการอนุรักษ์ตามลำดับ เนื่องจากเล็งเห็นคุณค่าและความสำคัญ ความโดดเด่นด้านศิลปะ สถาปัตยกรรมและประวัติศาสตร์ของอาคารดังกล่าวลักษณะเด่นสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบ ลักษณะเด่น. สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบ. อาคารขุนอำไพพาณิชย์ มีลักษณะเป็นอาคารแบบตึกแถว สร้างแบบปราศจากฐานรากด้วยการก่ออิฐ (แบบครึ่งแผ่น) ถือปูน 2 ชั้น แต่ละชั้นแบ่งเป็น 6 คูหา ชั้นล่างปูพื้นด้วยกระเบื้องอิฐแดง ทางเข้าทำเป็นประตูบานพับแบบประตูเฟี้ยม จำนวน 6 ช่อง โดยเปิดแยกข้างละ 3 บานสำหรับแต่ละช่องคูหา เหนือประตูเป็นกรอบวงโค้ง จากชั้นล่าง มีบันไดสำหรับการเดินขึ้น-ลง 2 ทาง ชั้นบนปูพื้นด้วยไม้เนื้อแข็ง บางคูหาก่อเป็นผนังทึบมีช่องหน้าต่าง บางคูหาเป็นผนังทึบที่มีช่องประตู เปิดรับออกสู่ระเบียงพื้นไม้ชั้นบน ซึ่งยื่นออกมาจากตัวอาคาร 1 เมตร เหนือหน้าต่างและประตูเป็นกรอบวงโค้ง โครงสร้างส่วนหลังคาด้านกว้างมีลักษณะเป็นหน้าจั๋วก่ออิฐฉาบปูนเรียบ มุงหลังคาด้วยสังกะสีศิลปะ ลวดลายการตกแต่งและองค์ประกอบ ศิลปะ ลวดลายการตกแต่งและองค์ประกอบ. ตัวอาคารโดยรวมของอาคารขุนอำไพพาณิชย์ตกแต่งด้วยการทาสีครีมหรือสีเหลืองอ่อน ลายปูนปั้นประดับส่วนต่าง ๆ ทาด้วยสีเหลืองเข้มและสีขาว ผนังเหนือกรอบวงโค้งของประตู หน้าต่างแต่ละชั้นในแต่ละคูหา ประดับตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้นที่สวยงาม ที่ยอดปั้นลมและปลายทั้ง 2 ข้างของหน้าจั๋วแต่ละด้านตกแต่งด้วยลวดลายปูนบัวประดับยอดใน ส่วนที่อยู่ด้านบนสุดเป็นปูนปั้นลายพรรณพฤกษาและก้านขด ลวดลายปูนปั้นทั้งผนังอาคารด้านหน้าและด้านหลัง ถือเป็นลักษณะที่โดดเด่นของอาคารประวัติศาสตร์หลังนี้ ลวดลายส่วนมากได้รับอิทธิพลทางศิลปะและคติความเชื่อแบบจีนโบราณ คือ มักเป็นลวดลายที่มีความหมายสื่อถึงความเป็นมงคล ได้แก่- ฮก ลก ซิ่ว อันหมายถึง ชาติวาสนา ความมั่งคั่งหรือทรัพย์สมบัติ และความยั่งยืน ตามลำดับ- ฮก สื่อด้วยลายปูนปั้นภาพดวงอาทิตย์ฉายรัศมี เป็นประกายเจิดจรัส และดอกพุดตาน - ลก สื่อด้วยลายปูนปั้นภาพดอกเบญจมาศ - ซิ่ว สื่อด้วยลายปูนปั้นภาพนกกระเรียน- ลายภาพพรรณพฤกษา ประกอบด้วยลายดอกบ๊วย ร่วมกับลายก้วนขด - ลายภาพสรรพสัตว์ ประกอบด้วยค้างคาวคายเหรียญเงินโบราณจำนวน 2 เหรียญ ซึ่งหมายถึงความพรั่งพร้อมด้วยโชคลาภและโภคทรัพย์การใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน การใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน. หลังจากขุนอำไพพาณิชย์ถึงแก่กรรมแล้ว อาคารหลังนี้ได้เปิดให้เช่าเป็นที่พักอาศัยและประกอบการค้าเป็นเวลานานร่วม 40 ปี จนในปี 2523 อาคารมีสภาพชำรุดมาก อาจเป็นอันตรายต่อผู้พักอาศัยได้ เทศบาลเมืองศรีสะเกษจึงประกาศเป็นเขตหวงห้ามตั้งแต่บัดนั้น จนกระทั่งกรมศิลปากร โดยสำนักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 9 นครราชสีมา (ในขณะนั้น) ได้เข้ามาดำเนินการบูรณะ และขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ปัจจุบันบ้านหรืออาคารขุนอำไพพาณิชย์ เปิดให้นักท่องเที่ยวและผู้ที่สนใจเข้าชมได้ ถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้ที่บอกเล่าถึงความเป็นอยู่ของคหบดีชาวศรีสะเกษเมื่อเกือบร้อยปีก่อนได้เป็นอย่างดีโดย ชั้นบนได้จัดแสดงข้าวของเก่าแก่บางส่วนของขุนอำไพพาณิชย์ รวมถึงรูปภาพและประวัติของท่านเจ้าของบ้านเป็นข้อมูลให้ผู้สนใจได้อ่าน ส่วนชั้นล่างเปิดเป็นร้านค้าจำหน่ายสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ของจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียง
| ขุนอำไพพาณิชย์เป็นคหบดีชาวศรีสะเกษ มีชื่อเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"ทองอินทร์ นาคสีหราช"
],
"answer_begin_position": [
409
],
"answer_end_position": [
428
]
} |
237 | 414,599 | อาคารขุนอำไพพาณิชย์ อาคารขุนอำไพพาณิชย์ หรือที่ชาวเมืองศรีสะเกษเรียกกันทั่วไปว่า ตึกขุนอำไพ ตั้งอยู่ในย่านเมืองเก่าเทศบาลเมืองศรีสะเกษ บนถนนอุบล (ฝั่งขาออกไปยังจังหวัดอุบลราชธานี) ตำบลเมืองใต้ อำเภอเมืองศรีสะเกษ ห่างจากศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษไปทางตะวันออกประมาณ 4 กิโลเมตร เป็นบ้านที่พักอาศัยเก่าของขุนอำไพพาณิชย์ (ทองอินทร์ นาคสีหราช) คหบดีชาวศรีสะเกษ ก่อสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2468 ได้รับการบูรณะและอนุรักษ์ไว้โดยทายาทขุนอำไพพาณิชย์ร่วมกับกรมศิลปากร จึงได้รับรางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น ด้านการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมในเขตเมือง ที่มีคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์ จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อ พ.ศ. 2530 เนื่องจากมีความโดดเด่นทางด้านศิลปะ สถาปัตยกรรมและประวัติศาสตร์ความเป็นมา ต่อมา ใน พ.ศ. 2538 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 65งประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. อาคารขุนอำไพพาณิชย์ เดิมเป็นบ้านเก่าของขุนอำไพพาณิชย์ กับนางอำไพพาณิชย์ ภริยา ซึ่งเป็นคหบดีรุ่นเก่าชาวศรีสะเกษ ก่อสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2468 โดยช่างชาวเวียดนาม (ญวน) และจีน อาคารได้รับอิทธิพลของศิลปะและสถาปัตยกรรมแบบญวนผสมจีน ขุนอำไพพาณิชย์เป็นคหบดีในพื้นที่ ประกอบธุรกิจค้าขายมีความมั่งคั่ง และสร้างอาคารขุนอำไพพาณิชย์ขึ้นบริเวณย่านตลาดใน (ย่านตลาดเก่า) ซึ่งเป็นย่านธุรกิจศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการค้ายุคแรก ๆ ของเมืองศรีสะเกษ หลังการเสียชีวิตของขุนอำไพพาณิชย์และภริยา ผู้สืบทอดสกุลนาคสีหราชคือนายหงษ์ทอง นาคสีหราช อาคารหลังนี้ได้รับการตกทอดเป็นมรดกให้กับนางเฉลา ช.วรุณชัย บุตรบุญธรรม ซึ่งเดิมเป็นหลานแต่นำมาชุบเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรมเนื่องจากขุนอำไพพาณิชย์ไม่มีบุตร หลังจากนั้นอาคารขุนอำไพพาณิชย์ก็ได้ตกทอดมายังทายาทตระกูลนาคสีหราชอีกหลายรุ่น จนถึงปัจจุบัน ซึ่งได้มีการอนุรักษ์อาคารมรดกที่บรรพบุรุษได้สร้างขึ้นและส่งมอบมาให้ไว้เป็นอย่างดี จนกระทั่งองค์กรต่าง ๆ และหน่วยงานราชการได้เข้ามาร่วมสนับสนุนการอนุรักษ์ตามลำดับ เนื่องจากเล็งเห็นคุณค่าและความสำคัญ ความโดดเด่นด้านศิลปะ สถาปัตยกรรมและประวัติศาสตร์ของอาคารดังกล่าวลักษณะเด่นสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบ ลักษณะเด่น. สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบ. อาคารขุนอำไพพาณิชย์ มีลักษณะเป็นอาคารแบบตึกแถว สร้างแบบปราศจากฐานรากด้วยการก่ออิฐ (แบบครึ่งแผ่น) ถือปูน 2 ชั้น แต่ละชั้นแบ่งเป็น 6 คูหา ชั้นล่างปูพื้นด้วยกระเบื้องอิฐแดง ทางเข้าทำเป็นประตูบานพับแบบประตูเฟี้ยม จำนวน 6 ช่อง โดยเปิดแยกข้างละ 3 บานสำหรับแต่ละช่องคูหา เหนือประตูเป็นกรอบวงโค้ง จากชั้นล่าง มีบันไดสำหรับการเดินขึ้น-ลง 2 ทาง ชั้นบนปูพื้นด้วยไม้เนื้อแข็ง บางคูหาก่อเป็นผนังทึบมีช่องหน้าต่าง บางคูหาเป็นผนังทึบที่มีช่องประตู เปิดรับออกสู่ระเบียงพื้นไม้ชั้นบน ซึ่งยื่นออกมาจากตัวอาคาร 1 เมตร เหนือหน้าต่างและประตูเป็นกรอบวงโค้ง โครงสร้างส่วนหลังคาด้านกว้างมีลักษณะเป็นหน้าจั๋วก่ออิฐฉาบปูนเรียบ มุงหลังคาด้วยสังกะสีศิลปะ ลวดลายการตกแต่งและองค์ประกอบ ศิลปะ ลวดลายการตกแต่งและองค์ประกอบ. ตัวอาคารโดยรวมของอาคารขุนอำไพพาณิชย์ตกแต่งด้วยการทาสีครีมหรือสีเหลืองอ่อน ลายปูนปั้นประดับส่วนต่าง ๆ ทาด้วยสีเหลืองเข้มและสีขาว ผนังเหนือกรอบวงโค้งของประตู หน้าต่างแต่ละชั้นในแต่ละคูหา ประดับตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้นที่สวยงาม ที่ยอดปั้นลมและปลายทั้ง 2 ข้างของหน้าจั๋วแต่ละด้านตกแต่งด้วยลวดลายปูนบัวประดับยอดใน ส่วนที่อยู่ด้านบนสุดเป็นปูนปั้นลายพรรณพฤกษาและก้านขด ลวดลายปูนปั้นทั้งผนังอาคารด้านหน้าและด้านหลัง ถือเป็นลักษณะที่โดดเด่นของอาคารประวัติศาสตร์หลังนี้ ลวดลายส่วนมากได้รับอิทธิพลทางศิลปะและคติความเชื่อแบบจีนโบราณ คือ มักเป็นลวดลายที่มีความหมายสื่อถึงความเป็นมงคล ได้แก่- ฮก ลก ซิ่ว อันหมายถึง ชาติวาสนา ความมั่งคั่งหรือทรัพย์สมบัติ และความยั่งยืน ตามลำดับ- ฮก สื่อด้วยลายปูนปั้นภาพดวงอาทิตย์ฉายรัศมี เป็นประกายเจิดจรัส และดอกพุดตาน - ลก สื่อด้วยลายปูนปั้นภาพดอกเบญจมาศ - ซิ่ว สื่อด้วยลายปูนปั้นภาพนกกระเรียน- ลายภาพพรรณพฤกษา ประกอบด้วยลายดอกบ๊วย ร่วมกับลายก้วนขด - ลายภาพสรรพสัตว์ ประกอบด้วยค้างคาวคายเหรียญเงินโบราณจำนวน 2 เหรียญ ซึ่งหมายถึงความพรั่งพร้อมด้วยโชคลาภและโภคทรัพย์การใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน การใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน. หลังจากขุนอำไพพาณิชย์ถึงแก่กรรมแล้ว อาคารหลังนี้ได้เปิดให้เช่าเป็นที่พักอาศัยและประกอบการค้าเป็นเวลานานร่วม 40 ปี จนในปี 2523 อาคารมีสภาพชำรุดมาก อาจเป็นอันตรายต่อผู้พักอาศัยได้ เทศบาลเมืองศรีสะเกษจึงประกาศเป็นเขตหวงห้ามตั้งแต่บัดนั้น จนกระทั่งกรมศิลปากร โดยสำนักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 9 นครราชสีมา (ในขณะนั้น) ได้เข้ามาดำเนินการบูรณะ และขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ปัจจุบันบ้านหรืออาคารขุนอำไพพาณิชย์ เปิดให้นักท่องเที่ยวและผู้ที่สนใจเข้าชมได้ ถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้ที่บอกเล่าถึงความเป็นอยู่ของคหบดีชาวศรีสะเกษเมื่อเกือบร้อยปีก่อนได้เป็นอย่างดีโดย ชั้นบนได้จัดแสดงข้าวของเก่าแก่บางส่วนของขุนอำไพพาณิชย์ รวมถึงรูปภาพและประวัติของท่านเจ้าของบ้านเป็นข้อมูลให้ผู้สนใจได้อ่าน ส่วนชั้นล่างเปิดเป็นร้านค้าจำหน่ายสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ของจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียง
| อาคารขุนอำไพพาณิชย์ ตั้งอยู่ตำบลเมืองใต้ อำเภอเมืองศรีสะเกษในจังหวัดอะไร | {
"answer": [
"จังหวัดศรีสะเกษ"
],
"answer_begin_position": [
321
],
"answer_end_position": [
336
]
} |
238 | 568,011 | นิพัทธ์ ทองเล็ก พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก อดีตประธานคณะที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตเจ้ากรมกิจการชายแดนทหาร อดีตรองปลัดกระทรวงกลาโหม ตุลาการศาลทหารสูงสุดเป็นรองผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตั้งแต่วันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2557 ถึง วันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2557 ในเหตุการณ์วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557ประวัติ ประวัติ. พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก เป็นบุตรของพันเอก สนอง และนางไพเราะ ทองเล็ก สมรสกับทันตแพทย์หญิง รัตนาวดี ทองเล็ก มีบุตรชาย 2 คน คือ พ.ต.นิติพัทธ์ ทองเล็ก เจ้าพนักงานในพระองค์ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน งานมหาดเล็ก ฝ่ายพระราชวัง กองกิจการในพระองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร สำนักพระราชวัง และ ร.ท.นพ.กิตติพัฒน์ ทองเล็กการศึกษาการศึกษา. - ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนในจังหวัดฉะเชิงเทรา - พ.ศ. 2514 มัธยมศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร์ รุ่น 88 - พ.ศ. 2514 โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่น 14 - พ.ศ. 2521 โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เหล่าทหารราบ (รุ่นที่ 25) - พ.ศ. 2530 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ 65 - พ.ศ. 2523 หลักสูตรชั้นนายร้อย (Regimental Officer Basic Course)ประเทศออสเตรเลีย - พ.ศ. 2526 หลักสูตรชั้นนายพัน (Grade II Staff and Tactics Course)ประเทศนิวซีแลนด์ - พ.ศ. 2531 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก (The Command and General Staff College, Fort Leavenworth) ประเทศสหรัฐอเมริกา - พ.ศ. 2532 ปริญญาโท ด้านการบริหาร Master of Art (Management) Missouri มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร์การทำงานการทำงาน. - พ.ศ. 2521ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ - ผู้บังคับกองร้อยฝึก ร.๒๑ พัน.๓ รอ. - อาจารย์สอนวิชาข่าวกรองในโรงเรียนเสนาธิการทหารบกที่ 65 - รับราชการ ยศพันเอก ที่เสนาธิการกรมทหารราบที่ 161 กองพลทหารราบที่ 16 - พ.ศ. 2541 ผู้ชำนาญการสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2542 ผู้ทรงคุณวุฒิสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2544 ผู้ทรงคุณวุฒิกองทัพบก - เสนาธิการหน่วยข่าวกรองทางทหาร - พ.ศ. 2545 ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผน กรมยุทธการทหาร - พ.ศ. 2545 ผู้อำนวยการสำนักวางแผนการฝึกร่วมและผสม กรมยุทธการทหาร - พ.ศ. 2547 ผู้ช่วยหัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2547 รองผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนกลาโหม - พ.ศ. 2548 ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองบัญชาการทหารสูงสุด - พ.ศ. 2549 เจ้ากรมกิจการชายแดนทหาร - ที่ปรึกษาสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ - พ.ศ. 2554 ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนกลาโหม - พ.ศ. 2555 รองปลัดกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2556 ปลัดกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2557 รองผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ - พ.ศ. 2557 ประธานคณะที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2557 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติการปฏิบัติราชการชายแดนการปฏิบัติราชการชายแดน. - พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2523 ปฏิบัติหน้าที่ ผู้หมวดปืนเล็ก ปฏิบัติการตามแผนป้องกันประเทศ อำเภอวัฒนานคร จังหวัดปราจีนบุรี - พ.ศ. 2526 - พ.ศ. 2528 ปฏิบัติหน้าที่ รองผู้บังคับกองร้อยอาวุธเบา ปฏิบัติการตามแผนป้องกันประเทศ บ้านแซร์ออ อำเภอวัฒนานคร จังหวัดปราจีนบุรีราชการและหน้าที่พิเศษราชการและหน้าที่พิเศษ. - ผู้ประสานภารกิจพิเศษ กองทัพบกไทย-ผู้นำรัฐบาลพม่า - รองหัวหน้าชุดปฏิบัติการพิเศษชายแดนไทย – พม่า - ผู้บรรยายพิเศษหลักสูตรรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยบูรพา - ผู้บรรยายพิเศษหลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) จุฬาลงกรณ์ ฯ - ผู้บรรยายพิเศษหลักสูตรบริหารรัฐกิจมหาบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) ธรรมศาสตร์ - ผู้แทนกองทัพไทยไปปฏิบัติภารกิจในอัฟกานิสถาน - ผู้อำนวยการฝึกร่วมกองทัพไทย ๒๕๔๖ - ผู้อำนวยการฝึกคอบร้าโกลด์ ๒๐๐๓ - ผู้บรรยายพิเศษ วปอ. สหรัฐอเมริกา - รองอาวุโสหัวหน้าภารกิจควบคุมการหยุดยิงในอาเจห์ อินโดนีเซีย (Principal Deputy Head of Mission of the Aceh Monitoring Mission) - ทูตพิเศษ ผู้แทนนายสมัคร สุนทรเวช เจรจาให้ สหรัฐเข้าไปช่วยเหลือรัฐบาลพม่ากรณีพายุไซโคลนนาร์กิส - นายกสมาคมผู้ปกครองและอาจารย์ วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์พระมงกุฎเกล้าตำแหน่งในคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจตำแหน่งในคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ. - พ.ศ. 2556 กรรมการ การท่าเรือแห่งประเทศไทย - พ.ศ. 2554 กรรมการอิสระ โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลังเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 - เหรียญราชการชายแดนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - Legion of Merit Officer Degree - Bintang Jasa Utama จาก ปธน. อินโดนีเซีย - เหรียญเชิดชูเกียรติจาก ประธาน EU ( สหภาพยุโรป ) - อิสริยาภรณ์ Panglima Setia Angkatan Tentara จากพระราชาธิบดีมาเลเซีย - เหรียญชัยมิตรภาพจาก สปป.ลาว
| คู่สมรสของนิพัทธ์ ทองเล็ก คือใคร | {
"answer": [
"ทันตแพทย์หญิง รัตนาวดี ทองเล็ก"
],
"answer_begin_position": [
539
],
"answer_end_position": [
569
]
} |
1,880 | 568,011 | นิพัทธ์ ทองเล็ก พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก อดีตประธานคณะที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม อดีตเจ้ากรมกิจการชายแดนทหาร อดีตรองปลัดกระทรวงกลาโหม ตุลาการศาลทหารสูงสุดเป็นรองผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตั้งแต่วันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2557 ถึง วันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2557 ในเหตุการณ์วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557ประวัติ ประวัติ. พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก เป็นบุตรของพันเอก สนอง และนางไพเราะ ทองเล็ก สมรสกับทันตแพทย์หญิง รัตนาวดี ทองเล็ก มีบุตรชาย 2 คน คือ พ.ต.นิติพัทธ์ ทองเล็ก เจ้าพนักงานในพระองค์ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน งานมหาดเล็ก ฝ่ายพระราชวัง กองกิจการในพระองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร สำนักพระราชวัง และ ร.ท.นพ.กิตติพัฒน์ ทองเล็กการศึกษาการศึกษา. - ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนในจังหวัดฉะเชิงเทรา - พ.ศ. 2514 มัธยมศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร์ รุ่น 88 - พ.ศ. 2514 โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่น 14 - พ.ศ. 2521 โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เหล่าทหารราบ (รุ่นที่ 25) - พ.ศ. 2530 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ 65 - พ.ศ. 2523 หลักสูตรชั้นนายร้อย (Regimental Officer Basic Course)ประเทศออสเตรเลีย - พ.ศ. 2526 หลักสูตรชั้นนายพัน (Grade II Staff and Tactics Course)ประเทศนิวซีแลนด์ - พ.ศ. 2531 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก (The Command and General Staff College, Fort Leavenworth) ประเทศสหรัฐอเมริกา - พ.ศ. 2532 ปริญญาโท ด้านการบริหาร Master of Art (Management) Missouri มหาวิทยาลัยเว็บสเตอร์การทำงานการทำงาน. - พ.ศ. 2521ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ - ผู้บังคับกองร้อยฝึก ร.๒๑ พัน.๓ รอ. - อาจารย์สอนวิชาข่าวกรองในโรงเรียนเสนาธิการทหารบกที่ 65 - รับราชการ ยศพันเอก ที่เสนาธิการกรมทหารราบที่ 161 กองพลทหารราบที่ 16 - พ.ศ. 2541 ผู้ชำนาญการสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2542 ผู้ทรงคุณวุฒิสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2544 ผู้ทรงคุณวุฒิกองทัพบก - เสนาธิการหน่วยข่าวกรองทางทหาร - พ.ศ. 2545 ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผน กรมยุทธการทหาร - พ.ศ. 2545 ผู้อำนวยการสำนักวางแผนการฝึกร่วมและผสม กรมยุทธการทหาร - พ.ศ. 2547 ผู้ช่วยหัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2547 รองผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนกลาโหม - พ.ศ. 2548 ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองบัญชาการทหารสูงสุด - พ.ศ. 2549 เจ้ากรมกิจการชายแดนทหาร - ที่ปรึกษาสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ - พ.ศ. 2554 ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนกลาโหม - พ.ศ. 2555 รองปลัดกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2556 ปลัดกระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2557 รองผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ - พ.ศ. 2557 ประธานคณะที่ปรึกษากระทรวงกลาโหม - พ.ศ. 2557 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติการปฏิบัติราชการชายแดนการปฏิบัติราชการชายแดน. - พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2523 ปฏิบัติหน้าที่ ผู้หมวดปืนเล็ก ปฏิบัติการตามแผนป้องกันประเทศ อำเภอวัฒนานคร จังหวัดปราจีนบุรี - พ.ศ. 2526 - พ.ศ. 2528 ปฏิบัติหน้าที่ รองผู้บังคับกองร้อยอาวุธเบา ปฏิบัติการตามแผนป้องกันประเทศ บ้านแซร์ออ อำเภอวัฒนานคร จังหวัดปราจีนบุรีราชการและหน้าที่พิเศษราชการและหน้าที่พิเศษ. - ผู้ประสานภารกิจพิเศษ กองทัพบกไทย-ผู้นำรัฐบาลพม่า - รองหัวหน้าชุดปฏิบัติการพิเศษชายแดนไทย – พม่า - ผู้บรรยายพิเศษหลักสูตรรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัยบูรพา - ผู้บรรยายพิเศษหลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) จุฬาลงกรณ์ ฯ - ผู้บรรยายพิเศษหลักสูตรบริหารรัฐกิจมหาบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) ธรรมศาสตร์ - ผู้แทนกองทัพไทยไปปฏิบัติภารกิจในอัฟกานิสถาน - ผู้อำนวยการฝึกร่วมกองทัพไทย ๒๕๔๖ - ผู้อำนวยการฝึกคอบร้าโกลด์ ๒๐๐๓ - ผู้บรรยายพิเศษ วปอ. สหรัฐอเมริกา - รองอาวุโสหัวหน้าภารกิจควบคุมการหยุดยิงในอาเจห์ อินโดนีเซีย (Principal Deputy Head of Mission of the Aceh Monitoring Mission) - ทูตพิเศษ ผู้แทนนายสมัคร สุนทรเวช เจรจาให้ สหรัฐเข้าไปช่วยเหลือรัฐบาลพม่ากรณีพายุไซโคลนนาร์กิส - นายกสมาคมผู้ปกครองและอาจารย์ วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์พระมงกุฎเกล้าตำแหน่งในคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจตำแหน่งในคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ. - พ.ศ. 2556 กรรมการ การท่าเรือแห่งประเทศไทย - พ.ศ. 2554 กรรมการอิสระ โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลังเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 - เหรียญราชการชายแดนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ. - Legion of Merit Officer Degree - Bintang Jasa Utama จาก ปธน. อินโดนีเซีย - เหรียญเชิดชูเกียรติจาก ประธาน EU ( สหภาพยุโรป ) - อิสริยาภรณ์ Panglima Setia Angkatan Tentara จากพระราชาธิบดีมาเลเซีย - เหรียญชัยมิตรภาพจาก สปป.ลาว
| คุณนิพัทธ์ ทองเล็ก จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอะไร | {
"answer": [
"โรงเรียนเทพศิรินทร์"
],
"answer_begin_position": [
885
],
"answer_end_position": [
904
]
} |
239 | 311,295 | แอนนา ฟาริส แอนนา เคย์ ฟาริส (; เกิด 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1976) เป็นนักแสดงแะนักร้องชาวอเมริกัน ฟาริสปรากฏในภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง Scary Movie ในภาพยนตร์เรื่อง The Hot Chick (2002), Lost in Translation (2003), และ My Super Ex-Girlfriend (2006) ในปี 2008 เธอแสดงในเรื่อง The House Bunny ที่เธอได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเอ็มทีวีมูวี่อวอร์ดส ผลงานภาพยนตร์หลัง ๆ ของเธออย่างเช่น Young Americans, Frequently Asked Questions About Time Travel, Yogi Bear, และ Observe and Report เธอยังพากย์เสียงให้กับภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง Cloudy with a Chance of Meatballs และ
| ในปี 2008 แอนนา เคย์ ฟาริสได้แสดงภาพยนตร์เรื่องอะไร | {
"answer": [
"เรื่อง The House Bunny"
],
"answer_begin_position": [
344
],
"answer_end_position": [
366
]
} |
1,823 | 311,295 | แอนนา ฟาริส แอนนา เคย์ ฟาริส (; เกิด 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1976) เป็นนักแสดงแะนักร้องชาวอเมริกัน ฟาริสปรากฏในภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง Scary Movie ในภาพยนตร์เรื่อง The Hot Chick (2002), Lost in Translation (2003), และ My Super Ex-Girlfriend (2006) ในปี 2008 เธอแสดงในเรื่อง The House Bunny ที่เธอได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเอ็มทีวีมูวี่อวอร์ดส ผลงานภาพยนตร์หลัง ๆ ของเธออย่างเช่น Young Americans, Frequently Asked Questions About Time Travel, Yogi Bear, และ Observe and Report เธอยังพากย์เสียงให้กับภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่อง Cloudy with a Chance of Meatballs และ
| แอนนา เคย์ ฟาริส นักแสดงและนักร้องชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"29"
],
"answer_begin_position": [
123
],
"answer_end_position": [
125
]
} |
240 | 319,863 | ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ต ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ต () เป็นซิงเกิลลำดับที่ 3 ของไม คุรากิ มีรหัสซีดี GZCA-1030 ออกจำหน่ายวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2543 ใช้เป็นเพลงประกอบอะนิเมะ เรื่องยอดนักสืบจิ๋วโคนันข้อมูลเพลง ข้อมูลเพลง. ซิงเกิลนี้เป็นซิงเกิลลำดับที่ 3 ของไม คุรากิ ออกจำหน่ายวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2543 เช่นเดียวกับสองซิงเกิลแรกของเธอท เลิฟ เดย์อาฟเตอร์ทูมอโรว์ (Love, Day After Tomorrow) และ สเตย์บายมายไซต์ (Stay by my side) ที่ได้รับการรับรอง Million จากสมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงในญี่ปุ่น (RIAJ) จากยอดขาย 1 ล้านแผ่น ซิงเกิลนี้ก็ได้รับการรับรองเช่นเดียวกัน จากสถิติดังกล่าวคุรากิจึงเป็นนักร้องคนเดียวที่มีสามซิงเกิลแรกได้รับการรับรอง Million นอกจากการรับรองแล้ว เพลงนี้ยังได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำครั้งที่ 16 ประจำปี 2544 สาขาเพลงแห่งปีจาก RIAJ ด้วย ในส่วนยอดขายซิงเกิลนี้เปิดตัวประจำสัปดาห์ที่อันดับที่ 2 ยอดขายเปิดตัวอยู่ที่ 410,550 ชุด (จากการตรวจสอบชาร์ต ณ วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 พบว่าทั้งซิงเกิลอยู่บน 30 อันดับแรกของชาร์ตเรียงตามลำดับดังนี้:#2 ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท,#8 สเตย์บายมายไซต์,#21 เลิฟ เดย์อาฟเตอร์ทูมอร์โรว์ ส่วนวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 พบว่าซิงเกิล 3 ซิงเกิลของไม คุรากิยังคงอยู่บน 20 อันดับแรกของชาร์ตเรียงตามลำดับดังนี้:#3 ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท,#8 สเตย์บายมายไซต์,#14 เลิฟ เดย์อาฟเตอร์ทูมอร์โรว์) เป็นซิงเกิลเดียวของไม ที่สัปดาห์เปิดตัวในสัปดาห์แรกสูงกว่าซิงเกิลของอายูมิ ฮามาซากิ (ซึ่งซิงเกิลโว้กของอายูมิ ที่จำหน่ายในวันเดียวกัน เปิดตัวที่อันดับ 3) อยู่ในโอริคอนซาร์ด 16 สัปดาห์ ทำยอดขายรวมทั้งสิ้น 968,980 ชุด นับเป็นซิงเกิลลำดับที่ 16 ของปี 2543 ซิงเกิลนี้ถูกนำไปใช้ในการออกอากาศอะนิเมะยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ตอนที่ 180-204 เป็นเพลงปิด โดยเพลงนี้นับได้ว่าถือเป็นเพลงจากยอดนักสืบจิ๋วโคนันที่มียอดขายสูงสุดจนถึงปัจจุบันรายชื่อเพลง รายชื่อเพลง. เนื้อเพลงทั้งหมดแต่งโดยไม คุรากิ ทำนองทั้งหมดแต่งโดยไอกะ โอโนะและเรียบเรียงโดยไซเบอร์ซาวด์1. ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท (Secret of my heart) (4:24)- เพลงนี้ทีมงานจากไซเบอร์ซาว์ด สตูดิโอ (เพอร์รี กีเยอร์, Miguel Sá Pessoa) และไมเคิล อะฟริก ร่วมผลิต โดยเพอร์รีรับหน้าที่โปรแกรมมิง Miguel เล่นคีย์บอร์ดและไมเคิลเป็นคอรัสคู่กับคุรากิเอง ภายหลังไอกะ โอโนะ ผู้แต่งเพลงนี้ได้นำเพลงนี้ไปร้องในฉบับภาษาอังกฤษของตนเองในสตูดิโออัลบั้ม "แชโดวส์ออฟดรีมส์" (Shadow of Dreams) ซึ่งต่อมาได้รับเลือกไปลงในอัลบั้มรวมเพลงรักฉลอง 10 ปีที่ก่อตั้งกิซะ สตูดิโอ รวมถึงคุรากิเองก็ได้ร้องเพลงนี้เป็นฉบับภาษาอังกฤษในอัลบั้มซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท เป็นอัลบั้มภาษาอังกฤษที่มุ่งทำตลาดในสหรัฐอเมริกา 2. ดิสอิสยัวร์ไลฟ์ (This is your life) (4:08)- เพลงนี้เคยเป็นตัวเลือกที่จะนำมาทำเป็นซิงเกิลลำดับที่ 2 แต่ไม่ได้รับเลือก เนื้อเพลงของเพลงนี้ไม่ได้บรรจุในหีบห่อแต่อย่างใด อย่างไรก็ดีไอกะ โอโนะ ผู้แต่งเพลงและร้องคอรัสคู่กับคุรากิในเพลงนี้ได้นำเพลงนี้ไปร้องในฉบับภาษาอังกฤษของตนเองในสตูดิโออัลบั้ม "แชโดวส์ออฟดรีมส์" ของตนเองเช่นเดียวกับเพลงซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท โดยเพลงฉบับที่ไอกะนำไปร้องนั้นได้นำไปประกอบอะนิเมะเรื่อง พาตะพาตะ ฮิโคเซ็นโนะโบเค็น () ในตอนที่ 14 ถึง 26 3. ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท -รันนิ่ง'อะราว แอท เดอะ "วิลเลจ" มิกซ์- (Secret of my heart ~runnin'around at the "village" Mix~) (6:44)- รีมิกซ์โดยดิวิชันออฟมาร์ก (Division of Mark) 4. ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท -Instrumental; ฉบับดนตรี-การนำไปใช้การนำไปใช้. - ใช้ในการออกอากาศอะนิเมะยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ทางนิปปอนเทเลวิชัน (#1) - อัลบั้ม ดิลิเชียสเวย์ (delicious way), วิชยูเดอะเบสต์ (Wish You The Best), ออลมายเบสต์ (ALL MY BEST) และ เดอะเบสต์ออฟดีเทคทีฟโคนัน ~เมตันเตะโคนันธีมเคียวคุชู~ (#1)
| ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ต เป็นซิงเกิลลำดับที่ 3 ของใคร | {
"answer": [
"ไม คุรากิ"
],
"answer_begin_position": [
334
],
"answer_end_position": [
343
]
} |
1,828 | 319,863 | ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ต ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ต () เป็นซิงเกิลลำดับที่ 3 ของไม คุรากิ มีรหัสซีดี GZCA-1030 ออกจำหน่ายวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2543 ใช้เป็นเพลงประกอบอะนิเมะ เรื่องยอดนักสืบจิ๋วโคนันข้อมูลเพลง ข้อมูลเพลง. ซิงเกิลนี้เป็นซิงเกิลลำดับที่ 3 ของไม คุรากิ ออกจำหน่ายวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2543 เช่นเดียวกับสองซิงเกิลแรกของเธอท เลิฟ เดย์อาฟเตอร์ทูมอโรว์ (Love, Day After Tomorrow) และ สเตย์บายมายไซต์ (Stay by my side) ที่ได้รับการรับรอง Million จากสมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงในญี่ปุ่น (RIAJ) จากยอดขาย 1 ล้านแผ่น ซิงเกิลนี้ก็ได้รับการรับรองเช่นเดียวกัน จากสถิติดังกล่าวคุรากิจึงเป็นนักร้องคนเดียวที่มีสามซิงเกิลแรกได้รับการรับรอง Million นอกจากการรับรองแล้ว เพลงนี้ยังได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำครั้งที่ 16 ประจำปี 2544 สาขาเพลงแห่งปีจาก RIAJ ด้วย ในส่วนยอดขายซิงเกิลนี้เปิดตัวประจำสัปดาห์ที่อันดับที่ 2 ยอดขายเปิดตัวอยู่ที่ 410,550 ชุด (จากการตรวจสอบชาร์ต ณ วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 พบว่าทั้งซิงเกิลอยู่บน 30 อันดับแรกของชาร์ตเรียงตามลำดับดังนี้:#2 ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท,#8 สเตย์บายมายไซต์,#21 เลิฟ เดย์อาฟเตอร์ทูมอร์โรว์ ส่วนวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 พบว่าซิงเกิล 3 ซิงเกิลของไม คุรากิยังคงอยู่บน 20 อันดับแรกของชาร์ตเรียงตามลำดับดังนี้:#3 ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท,#8 สเตย์บายมายไซต์,#14 เลิฟ เดย์อาฟเตอร์ทูมอร์โรว์) เป็นซิงเกิลเดียวของไม ที่สัปดาห์เปิดตัวในสัปดาห์แรกสูงกว่าซิงเกิลของอายูมิ ฮามาซากิ (ซึ่งซิงเกิลโว้กของอายูมิ ที่จำหน่ายในวันเดียวกัน เปิดตัวที่อันดับ 3) อยู่ในโอริคอนซาร์ด 16 สัปดาห์ ทำยอดขายรวมทั้งสิ้น 968,980 ชุด นับเป็นซิงเกิลลำดับที่ 16 ของปี 2543 ซิงเกิลนี้ถูกนำไปใช้ในการออกอากาศอะนิเมะยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ตอนที่ 180-204 เป็นเพลงปิด โดยเพลงนี้นับได้ว่าถือเป็นเพลงจากยอดนักสืบจิ๋วโคนันที่มียอดขายสูงสุดจนถึงปัจจุบันรายชื่อเพลง รายชื่อเพลง. เนื้อเพลงทั้งหมดแต่งโดยไม คุรากิ ทำนองทั้งหมดแต่งโดยไอกะ โอโนะและเรียบเรียงโดยไซเบอร์ซาวด์1. ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท (Secret of my heart) (4:24)- เพลงนี้ทีมงานจากไซเบอร์ซาว์ด สตูดิโอ (เพอร์รี กีเยอร์, Miguel Sá Pessoa) และไมเคิล อะฟริก ร่วมผลิต โดยเพอร์รีรับหน้าที่โปรแกรมมิง Miguel เล่นคีย์บอร์ดและไมเคิลเป็นคอรัสคู่กับคุรากิเอง ภายหลังไอกะ โอโนะ ผู้แต่งเพลงนี้ได้นำเพลงนี้ไปร้องในฉบับภาษาอังกฤษของตนเองในสตูดิโออัลบั้ม "แชโดวส์ออฟดรีมส์" (Shadow of Dreams) ซึ่งต่อมาได้รับเลือกไปลงในอัลบั้มรวมเพลงรักฉลอง 10 ปีที่ก่อตั้งกิซะ สตูดิโอ รวมถึงคุรากิเองก็ได้ร้องเพลงนี้เป็นฉบับภาษาอังกฤษในอัลบั้มซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท เป็นอัลบั้มภาษาอังกฤษที่มุ่งทำตลาดในสหรัฐอเมริกา 2. ดิสอิสยัวร์ไลฟ์ (This is your life) (4:08)- เพลงนี้เคยเป็นตัวเลือกที่จะนำมาทำเป็นซิงเกิลลำดับที่ 2 แต่ไม่ได้รับเลือก เนื้อเพลงของเพลงนี้ไม่ได้บรรจุในหีบห่อแต่อย่างใด อย่างไรก็ดีไอกะ โอโนะ ผู้แต่งเพลงและร้องคอรัสคู่กับคุรากิในเพลงนี้ได้นำเพลงนี้ไปร้องในฉบับภาษาอังกฤษของตนเองในสตูดิโออัลบั้ม "แชโดวส์ออฟดรีมส์" ของตนเองเช่นเดียวกับเพลงซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท โดยเพลงฉบับที่ไอกะนำไปร้องนั้นได้นำไปประกอบอะนิเมะเรื่อง พาตะพาตะ ฮิโคเซ็นโนะโบเค็น () ในตอนที่ 14 ถึง 26 3. ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท -รันนิ่ง'อะราว แอท เดอะ "วิลเลจ" มิกซ์- (Secret of my heart ~runnin'around at the "village" Mix~) (6:44)- รีมิกซ์โดยดิวิชันออฟมาร์ก (Division of Mark) 4. ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ท -Instrumental; ฉบับดนตรี-การนำไปใช้การนำไปใช้. - ใช้ในการออกอากาศอะนิเมะยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ทางนิปปอนเทเลวิชัน (#1) - อัลบั้ม ดิลิเชียสเวย์ (delicious way), วิชยูเดอะเบสต์ (Wish You The Best), ออลมายเบสต์ (ALL MY BEST) และ เดอะเบสต์ออฟดีเทคทีฟโคนัน ~เมตันเตะโคนันธีมเคียวคุชู~ (#1)
| เพลงซีเคร็ตออฟมายฮาร์ต ของไม คุรากิ จัดจำหน่ายเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"26"
],
"answer_begin_position": [
361
],
"answer_end_position": [
363
]
} |
241 | 147,798 | โดเมนีโก กีร์ลันดาโย โดเมนีโก กีร์ลันดาโย () หรือ โดเมนีโก ดี ตอมมาโซ กูร์ราดี ดี ดอฟโฟ บีกอร์ดี (; ค.ศ. 1449 - 11 มกราคม ค.ศ. 1494) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และการเขียนด้วยสึฝุ่นบนไม้ โดเมนีโกเป็นจิตรกรร่วมสมัยกับซันโดร บอตตีเชลลี และฟิลิปปินโน ลิบปี และมีลูกศิษย์หลายคนรวมทั้งมีเกลันเจโลชีวิตเบื้องต้น ชีวิตเบื้องต้น. จากชื่อเต็ม "โดเมนีโก ดี ตอมมาโซ กูร์ราดี ดี ดอฟโฟ บีกอร์ดี" ทำให้สันนิษฐานได้ว่าพ่อของโดเมนีโกชื่อ กูร์ราดี และปู่ชื่อ บีกอร์ดี โดเมนีโกเป็นลูกคนโตที่สุดในบรรดาพี่น้องแปดคน เมี่อเริ่มแรกโดเมนีโกฝึกงานกับช่างอัญมณี หรือช่างทองซึ่งอาจจะเป็นพ่อของโดเมนีโกเอง ชื่อสร้อย "อิลกีร์ลันดาโย" หมายความว่าผู้ทำสร้อยประดับคอและไหล่ มาจากพ่อเป็นผู้ตั้งให้เอง ซึ่งคงเป็นเพราะโดเมนีโกมีฝีมือดีในการทำสร้อยประดับจากโลหะที่ผู้หญิงชาวฟลอเรนซ์สวม เมื่อโดเมนีโกยังทำงานอยู่ในร้านของพ่อก็ได้วาดภาพเหมือนของผู้เดินผ่านหน้าร้าน ต่อมาโดเมนีโกก็ได้ไปฝึกงานการเขียนภาพและงานโมเสกกับอาเลสซีโอ บัลโดวีเนตตี (Alessio Baldovinetti)งานชิ้นแรกที่ฟลอเรนซ์ โรม และซานจีมิญญาโน งานชิ้นแรกที่ฟลอเรนซ์ โรม และซานจีมิญญาโน. ในปี ค.ศ. 1480 โดเมนีโก กีร์ลันดาโยเขียนภาพ "นักบุญเจอโรมในห้องทำงาน" และจิตรกรรมฝาผนังที่วัดออญญิสซันตีที่ฟลอเรนซ์ และภาพเขียน "พระกระยาหารมื้อสุดท้าย" ขนาดเท่าคนจริงในโรงฉัน ระหว่างปี ค.ศ. 1481 ถึงปี ค.ศ. 1485 ก็ได้รับงานเขียนจิตรกรรมฝาผนังในห้อง "Sala dell Orologio" ที่ วังเวคคิโอ นอกจากนั้นก็ยังเขียนภาพ "ความประเสริฐของนักบุญเซโนเบียส" (Apotheosis of St. Zenobius) ซึ่งเป็นภาพขนาดใหญ่กว่คนจริงที่ตกแต่งล้อมรอบด้วยสถาปัตยกรรม, รูปปั้นวีรบุรุษโรมัน และรายละเอียดอื่นๆ งานชิ้นนี้เป็นงานที่ทำให้เห็นฝีมืองานของกีร์ลันดาโยทั้งในด้านโครงสร้างและองค์ประกอบ ในปี ค.ศ. 1483 กีร์ลันดาโยก็ถูกเรียกตัวไปโรมโดยพระสันตะปาปาซิกส์ตัสที่ 4เพื่อให้ไปเขียนภาพ "พระเยซูเรียกตัวปีเตอร์และแอนดรูว์มาให้เป็นสาวก" บนผนังของชาเปลซิสติน แม้ว่าจะทราบกันว่ากีร์ลันดาโยมีงานเขียนที่อื่นในโรมแต่ก็หายสาบสูญไป นอกจากนั้นกีร์ลันดาโยก็ยังเขียนภาพบนผนังภายในชาเปลเซนต์ฟินาที่วัดแห่งซานจีมิญญาโนเมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1350 เซบาสเตียโน มาอินาร์ดิช่วยเขียนทั้งที่โรมและซานจีมิญญาโนงานต่อมาในทัสกานี งานต่อมาในทัสกานี. เมื่อกลับมาฟลอเรนซ์ในปี ค.ศ. 85 กีร์ลันดาโยก็เขียนภาพชุด จิตรกรรมฝาผนังที่ชาเปลซาสเซ็ตติ (Sassetti Chapel) ในวัดซานตาทรินิตา สำหรับนายธนาคารและผู้อุทิศ ฟรานเชสโก ซาสเซ็ตติ (Francesco Sassetti) ผู้เป็นผู้จัดการผู้มีอำนาจของธนาคารเมดิชิที่เจนัว ตำแหน่งที่ จิโอวานนิ ทอร์นาบุโอนิ (Giovanni Tornabuoni) ผู้อุปถัมภ์คนต่อมาของกีร์ลันดาโยรับหน้าที่แทน กีร์ลันดาโยเขียนภาพหกฉากจากชีวประวัติของนักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซิรวมทั้งฉาก "นักบุญฟรานซิสได้รับการอนุมัติ "กฎของนักบุญฟรานซิส" จากพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 3"; "ความตายและงานศพของนักบุญฟรานซิส" และ "นักบุญฟรานซิสชุบชีวิต" ซึ่งเป็นภาพนักบุญฟรานซิสชุบชีวิตลูกของตระกูลสปินิที่ตกหน้าต่างตาย ฉากแรกมีภาพเหมือนของลอเรนโซ เดอ เมดิชิในภาพและฉากที่สามมีภาพเหมือนของตัวกีร์ลันดาโยเองในภาพ ภาพเหมือนตนเองอื่นๆ ก็มีที่วัดซานตามาเรียโนเวลลา และในภาพ "การชื่นชมของแมไจ" ที่โรงเลี้ยงเด็กกำพร้า ออสปิดาเล เดกลิ อินโนเซนติ (Ospedale degli Innocenti) ฉากแท่นบูชา "การชื่นชมของเด็กเลี้ยงแกะ" จากชาเปลซาสเซ็ตติปัจจุบันตั้งอยู่ที่สถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฟลอเรนซ์ ทันทีที่ได้รับงานกีร์ลันดาโยก็ได้รับคำสั่งให้บูรณะจิตรกรรมฝาผนังภายในบริเวณร้องเพลงสวดในวัดซานตามาเรียโนเวลลาซึ่งเป็นชาเปลของตระกูลริชชิแต่ทอร์นาบุโอนิและพี่น้องในตระกูลเป็นผู้ที่มีอำนาจมากกว่าจึงได้เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการบูรณะทั้งหมดแต่มีข้อแม้—ปัญหาการรักษาตราประจำตระกูลของตระกูลริชชิซึ่งกลายมาเป็นเรื่องฟ้องร้องที่ออกจะชวนหัว จิตรกรรมฝาผนังภายในชาเปลทอร์นาบุโอนิเขียนโดยกีร์ลันดาโยกับผู้ช่วยอีกหลายคน เขียนเป็นสี่ตอนบนผนังสามด้าน หัวเรื่องหลักที่เขียนก็เป็นประวัติของพระแม่มารีและนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ ซึ่งเป็นภาพเขียนที่มีความสำคัญไม่แต่ทางศิลปะแต่เป็นภาพเขียนที่มีภาพเหมือนของบุคคลสำคัญๆ ในสมัยนั้นหลายคน ซึ่งเป็นลักษณะการเขียนที่กีร์ลันดาโยมีความเชี่ยวชาญ ภาพเขียนชุดนี้มีภาพเหมือนของสมาชิกจากตระกูลทอร์นาบุโอนิไม่ต่ำกว่า 21 ภาพ ในภาพ "เทวดาปรากฏตัวต่อแซ็คคาไรส์" มีภาพเหมือนของ มาร์ซิลิโอ ฟิชิโน (Marsilio Ficino) นักการเมือง; ภาพ "นักบุญแอนน์และนักบุญเอลิซาเบธ" (Salutation of Anna and Elizabeth) มีภาพเหมือนของจิโอวานนา ทอร์นาบุโอนิซึ่งเดิมจอร์โจ วาซารีเชื่อว่าเป็นภาพจิเนฟรา เด เบนชิ (Ginevra de' Benci); ในภาพ "ขับนักบุญโยฮาคิมจากวัด" มีภาพเหมือนของเซบาสเตียโน มาอินาร์ดิและอเลสซิโอ บาลโดวิเน็ตติ (Alessio Baldovinetti) ภาพหลังนี้อาจจะเป็นภาพเหมือนของพ่อของกีร์ลันดาโย ชาเปลทอร์นาบุโอนิบูรณะเสร็จในปี ค.ศ. 1490 ฉากแท่นบูชาอาจจะทำโดยผู้ช่วยของน้องชายสองคนของกีร์ลันดาโยดาวิเด และ เบเนเด็ตโต ส่วนหน้าต่างทำตามแบบที่ออกโดยกีร์ลันดาโยเอง วานชิ้นเด่นๆ ของกีร์ลันดาโยก็ได้แก่ฉากแท่นบูขา "นักบุญเซโนเบียส นักบุญจัสตัส และนักบุญอื่นๆ ชื่นชมพระแม่มารี" (Virgin Adored by Saints Zenobius, Justus and Others) ที่เขียนให้วัดเซนต์จัสตัสที่ในปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ยูฟิซิที่ฟลอเรนซ์; ภาพ "พระเยซูผู้ทรงเดชานุภาพกับโรมอลด์และนักบุญอื่นๆ" (Christ in Glory with Romuald and Other Saints) ที่โวลเทอรา; "การชื่นชมของแมไจ" (ค.ศ. 488) ที่โรงเลี้ยงเด็กกำพร้า ออสปิดาเล เดกลิ อินโนเซนติซึ่งอาจจะถือว่าเป็นงานจิตรกรรมแผงชิ้นที่ดีที่สุดของกีร์ลันดาโย; และ "พระแม่มารีเยี่ยมเอลิซาเบธ" (Visitation) ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ ซึ่งเป็นงานลงวันที่สุดท้ายที่สุดของงานของกีร์ลันดาโย ในปีค.ศ. 1491 กีร์ลันดาโยไม่ค่อยเขียนภาพเปลือย แต่ภาพที่เขียนก็ได้แก่ "วัลคันและผู้ช่วยโยนสายฟ้า" (Vulcan and His Assistants Forging Thunderbolts) ที่เขียนให้ลอเรนโซที่ 2 ดยุคแห่งเออร์บิโน (Lorenzo II de' Medici, Duke of Urbino) แต่ภาพนี้สูญหายไป นอกจากงานเขียนแล้วก็ยังมีงานโมเสกที่ทำก่อน ค.ศ. 1491—โดยเฉพาะชิ้นที่ชื่อว่า "การประกาศของเทพ" ที่อยู่หน้าประตูมหาวิหารฟลอเรนซ์ลักษณะงาน ลักษณะงาน. องค์ประกอบของงานของกีร์ลันดาโยจะทั้งใหญ่โตแต่ก็ไม่ขาดความงดงามซึ่งเป็นแบบงานเขียนของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ที่ค่อนข้างรัดตัว กีร์ลันดาโยออกจะมีความก้าวหน้าใช้การเล่นแสงเงา (chiaroscuro) ที่เหมือนแสงเงาจริงที่ทำให้เกิดความรู้สึกว่าภาพเป็นสามมิติและการเขียนแบบทัศนียภาพ ซึ่งทำจากสายตาเท่านั้นโดยไม่ได้ใช้การคำนวณทางคณิตศาสตร์เข้าช่วยแต่อย่างใด แต่กีร์ลันดาโยมักจะถูกวิจารณ์เรื่องการใช้สีแต่ข้อวิจารณ์ไม่รวมไปถึงงานจิตรกรรมฝาผนังเท่าใดนักว่าเป็นสีที่แรงและสว่างอย่างหยาบงานจิตรกรรมฝาผนังเป็นงานที่เขียนแบบที่ชาวอิตาลีเรียกว่า "buon fresco" หรือ "จิตรกรรมฝาผนังแท้" โดยไม่ได้เพิ่มเติมด้วยสีฝุ่น ความแข็งของเส้นตัดขอบอาจจะเป็นเพราะกีร์ลันดาโยได้รับการฝึกมาทางช่างโลหะ วาซารีกล่าวว่ากีร์ลันดาโยเป็นจิตรกรคนแรกที่เลิกใช้การปิดทองแต่ความคิดเห็นอันนี้ก็ไม่จริงเสมอไป เช่นงาน "การชื่นชมของเด็กเลี้ยงแกะ" ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่สถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฟลอเรนซ์ตกแต่งด้วยเปลวทอง ภาพวาดและภาพร่างหลายชิ้นของกีร์ลันดาโยมีเส้นสายที่ลักษณะเด่นตรงที่เป็นธรรมชาติ มรดกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกีร์ลันดาโยก็คือได้ชื่อว่าเป็นผู้ให้การศึกษาเบื้องต้นบางส่วนแก่มีเกลันเจโลแต่ก็เพียงไม่นาน ลูกศิษย์คนอื่นก็ได้แก่ ฟรานเชสโก กรานาคคิ (Francesco Granacci) กีร์ลันดาโยเสียชีวิตจากการเป็นไข้ ร่างฝังไว้ที่วัดซานตามาเรียโนเวลลา กีร์ลันดาโยแต่งงานสองครั้งและมีลูกชายสามคนลูกสาวสามคน คนหนึ่งเป็นจิตรกรเช่นเดียกัน--ริดอลโฟ กีร์ลันดาโยมีผู้สืบเชื้อสายต่อมาหลายคนแต่ตระกูลมาสิ้นสุดลงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อสมาชิกคนสุดท้ายบวชเป็นพระ
| ผลงานชิ้นแรก ในปี ค.ศ. 1480 ของโดเมนีโก กีร์ลันดาโย เป็นภาพอะไร | {
"answer": [
"นักบุญเจอโรมในห้องทำงาน"
],
"answer_begin_position": [
1235
],
"answer_end_position": [
1258
]
} |
242 | 147,798 | โดเมนีโก กีร์ลันดาโย โดเมนีโก กีร์ลันดาโย () หรือ โดเมนีโก ดี ตอมมาโซ กูร์ราดี ดี ดอฟโฟ บีกอร์ดี (; ค.ศ. 1449 - 11 มกราคม ค.ศ. 1494) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และการเขียนด้วยสึฝุ่นบนไม้ โดเมนีโกเป็นจิตรกรร่วมสมัยกับซันโดร บอตตีเชลลี และฟิลิปปินโน ลิบปี และมีลูกศิษย์หลายคนรวมทั้งมีเกลันเจโลชีวิตเบื้องต้น ชีวิตเบื้องต้น. จากชื่อเต็ม "โดเมนีโก ดี ตอมมาโซ กูร์ราดี ดี ดอฟโฟ บีกอร์ดี" ทำให้สันนิษฐานได้ว่าพ่อของโดเมนีโกชื่อ กูร์ราดี และปู่ชื่อ บีกอร์ดี โดเมนีโกเป็นลูกคนโตที่สุดในบรรดาพี่น้องแปดคน เมี่อเริ่มแรกโดเมนีโกฝึกงานกับช่างอัญมณี หรือช่างทองซึ่งอาจจะเป็นพ่อของโดเมนีโกเอง ชื่อสร้อย "อิลกีร์ลันดาโย" หมายความว่าผู้ทำสร้อยประดับคอและไหล่ มาจากพ่อเป็นผู้ตั้งให้เอง ซึ่งคงเป็นเพราะโดเมนีโกมีฝีมือดีในการทำสร้อยประดับจากโลหะที่ผู้หญิงชาวฟลอเรนซ์สวม เมื่อโดเมนีโกยังทำงานอยู่ในร้านของพ่อก็ได้วาดภาพเหมือนของผู้เดินผ่านหน้าร้าน ต่อมาโดเมนีโกก็ได้ไปฝึกงานการเขียนภาพและงานโมเสกกับอาเลสซีโอ บัลโดวีเนตตี (Alessio Baldovinetti)งานชิ้นแรกที่ฟลอเรนซ์ โรม และซานจีมิญญาโน งานชิ้นแรกที่ฟลอเรนซ์ โรม และซานจีมิญญาโน. ในปี ค.ศ. 1480 โดเมนีโก กีร์ลันดาโยเขียนภาพ "นักบุญเจอโรมในห้องทำงาน" และจิตรกรรมฝาผนังที่วัดออญญิสซันตีที่ฟลอเรนซ์ และภาพเขียน "พระกระยาหารมื้อสุดท้าย" ขนาดเท่าคนจริงในโรงฉัน ระหว่างปี ค.ศ. 1481 ถึงปี ค.ศ. 1485 ก็ได้รับงานเขียนจิตรกรรมฝาผนังในห้อง "Sala dell Orologio" ที่ วังเวคคิโอ นอกจากนั้นก็ยังเขียนภาพ "ความประเสริฐของนักบุญเซโนเบียส" (Apotheosis of St. Zenobius) ซึ่งเป็นภาพขนาดใหญ่กว่คนจริงที่ตกแต่งล้อมรอบด้วยสถาปัตยกรรม, รูปปั้นวีรบุรุษโรมัน และรายละเอียดอื่นๆ งานชิ้นนี้เป็นงานที่ทำให้เห็นฝีมืองานของกีร์ลันดาโยทั้งในด้านโครงสร้างและองค์ประกอบ ในปี ค.ศ. 1483 กีร์ลันดาโยก็ถูกเรียกตัวไปโรมโดยพระสันตะปาปาซิกส์ตัสที่ 4เพื่อให้ไปเขียนภาพ "พระเยซูเรียกตัวปีเตอร์และแอนดรูว์มาให้เป็นสาวก" บนผนังของชาเปลซิสติน แม้ว่าจะทราบกันว่ากีร์ลันดาโยมีงานเขียนที่อื่นในโรมแต่ก็หายสาบสูญไป นอกจากนั้นกีร์ลันดาโยก็ยังเขียนภาพบนผนังภายในชาเปลเซนต์ฟินาที่วัดแห่งซานจีมิญญาโนเมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1350 เซบาสเตียโน มาอินาร์ดิช่วยเขียนทั้งที่โรมและซานจีมิญญาโนงานต่อมาในทัสกานี งานต่อมาในทัสกานี. เมื่อกลับมาฟลอเรนซ์ในปี ค.ศ. 85 กีร์ลันดาโยก็เขียนภาพชุด จิตรกรรมฝาผนังที่ชาเปลซาสเซ็ตติ (Sassetti Chapel) ในวัดซานตาทรินิตา สำหรับนายธนาคารและผู้อุทิศ ฟรานเชสโก ซาสเซ็ตติ (Francesco Sassetti) ผู้เป็นผู้จัดการผู้มีอำนาจของธนาคารเมดิชิที่เจนัว ตำแหน่งที่ จิโอวานนิ ทอร์นาบุโอนิ (Giovanni Tornabuoni) ผู้อุปถัมภ์คนต่อมาของกีร์ลันดาโยรับหน้าที่แทน กีร์ลันดาโยเขียนภาพหกฉากจากชีวประวัติของนักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซิรวมทั้งฉาก "นักบุญฟรานซิสได้รับการอนุมัติ "กฎของนักบุญฟรานซิส" จากพระสันตะปาปาโฮโนริอุสที่ 3"; "ความตายและงานศพของนักบุญฟรานซิส" และ "นักบุญฟรานซิสชุบชีวิต" ซึ่งเป็นภาพนักบุญฟรานซิสชุบชีวิตลูกของตระกูลสปินิที่ตกหน้าต่างตาย ฉากแรกมีภาพเหมือนของลอเรนโซ เดอ เมดิชิในภาพและฉากที่สามมีภาพเหมือนของตัวกีร์ลันดาโยเองในภาพ ภาพเหมือนตนเองอื่นๆ ก็มีที่วัดซานตามาเรียโนเวลลา และในภาพ "การชื่นชมของแมไจ" ที่โรงเลี้ยงเด็กกำพร้า ออสปิดาเล เดกลิ อินโนเซนติ (Ospedale degli Innocenti) ฉากแท่นบูชา "การชื่นชมของเด็กเลี้ยงแกะ" จากชาเปลซาสเซ็ตติปัจจุบันตั้งอยู่ที่สถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฟลอเรนซ์ ทันทีที่ได้รับงานกีร์ลันดาโยก็ได้รับคำสั่งให้บูรณะจิตรกรรมฝาผนังภายในบริเวณร้องเพลงสวดในวัดซานตามาเรียโนเวลลาซึ่งเป็นชาเปลของตระกูลริชชิแต่ทอร์นาบุโอนิและพี่น้องในตระกูลเป็นผู้ที่มีอำนาจมากกว่าจึงได้เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการบูรณะทั้งหมดแต่มีข้อแม้—ปัญหาการรักษาตราประจำตระกูลของตระกูลริชชิซึ่งกลายมาเป็นเรื่องฟ้องร้องที่ออกจะชวนหัว จิตรกรรมฝาผนังภายในชาเปลทอร์นาบุโอนิเขียนโดยกีร์ลันดาโยกับผู้ช่วยอีกหลายคน เขียนเป็นสี่ตอนบนผนังสามด้าน หัวเรื่องหลักที่เขียนก็เป็นประวัติของพระแม่มารีและนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ ซึ่งเป็นภาพเขียนที่มีความสำคัญไม่แต่ทางศิลปะแต่เป็นภาพเขียนที่มีภาพเหมือนของบุคคลสำคัญๆ ในสมัยนั้นหลายคน ซึ่งเป็นลักษณะการเขียนที่กีร์ลันดาโยมีความเชี่ยวชาญ ภาพเขียนชุดนี้มีภาพเหมือนของสมาชิกจากตระกูลทอร์นาบุโอนิไม่ต่ำกว่า 21 ภาพ ในภาพ "เทวดาปรากฏตัวต่อแซ็คคาไรส์" มีภาพเหมือนของ มาร์ซิลิโอ ฟิชิโน (Marsilio Ficino) นักการเมือง; ภาพ "นักบุญแอนน์และนักบุญเอลิซาเบธ" (Salutation of Anna and Elizabeth) มีภาพเหมือนของจิโอวานนา ทอร์นาบุโอนิซึ่งเดิมจอร์โจ วาซารีเชื่อว่าเป็นภาพจิเนฟรา เด เบนชิ (Ginevra de' Benci); ในภาพ "ขับนักบุญโยฮาคิมจากวัด" มีภาพเหมือนของเซบาสเตียโน มาอินาร์ดิและอเลสซิโอ บาลโดวิเน็ตติ (Alessio Baldovinetti) ภาพหลังนี้อาจจะเป็นภาพเหมือนของพ่อของกีร์ลันดาโย ชาเปลทอร์นาบุโอนิบูรณะเสร็จในปี ค.ศ. 1490 ฉากแท่นบูชาอาจจะทำโดยผู้ช่วยของน้องชายสองคนของกีร์ลันดาโยดาวิเด และ เบเนเด็ตโต ส่วนหน้าต่างทำตามแบบที่ออกโดยกีร์ลันดาโยเอง วานชิ้นเด่นๆ ของกีร์ลันดาโยก็ได้แก่ฉากแท่นบูขา "นักบุญเซโนเบียส นักบุญจัสตัส และนักบุญอื่นๆ ชื่นชมพระแม่มารี" (Virgin Adored by Saints Zenobius, Justus and Others) ที่เขียนให้วัดเซนต์จัสตัสที่ในปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ยูฟิซิที่ฟลอเรนซ์; ภาพ "พระเยซูผู้ทรงเดชานุภาพกับโรมอลด์และนักบุญอื่นๆ" (Christ in Glory with Romuald and Other Saints) ที่โวลเทอรา; "การชื่นชมของแมไจ" (ค.ศ. 488) ที่โรงเลี้ยงเด็กกำพร้า ออสปิดาเล เดกลิ อินโนเซนติซึ่งอาจจะถือว่าเป็นงานจิตรกรรมแผงชิ้นที่ดีที่สุดของกีร์ลันดาโย; และ "พระแม่มารีเยี่ยมเอลิซาเบธ" (Visitation) ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ ซึ่งเป็นงานลงวันที่สุดท้ายที่สุดของงานของกีร์ลันดาโย ในปีค.ศ. 1491 กีร์ลันดาโยไม่ค่อยเขียนภาพเปลือย แต่ภาพที่เขียนก็ได้แก่ "วัลคันและผู้ช่วยโยนสายฟ้า" (Vulcan and His Assistants Forging Thunderbolts) ที่เขียนให้ลอเรนโซที่ 2 ดยุคแห่งเออร์บิโน (Lorenzo II de' Medici, Duke of Urbino) แต่ภาพนี้สูญหายไป นอกจากงานเขียนแล้วก็ยังมีงานโมเสกที่ทำก่อน ค.ศ. 1491—โดยเฉพาะชิ้นที่ชื่อว่า "การประกาศของเทพ" ที่อยู่หน้าประตูมหาวิหารฟลอเรนซ์ลักษณะงาน ลักษณะงาน. องค์ประกอบของงานของกีร์ลันดาโยจะทั้งใหญ่โตแต่ก็ไม่ขาดความงดงามซึ่งเป็นแบบงานเขียนของคริสต์ศตวรรษที่ 15 ที่ค่อนข้างรัดตัว กีร์ลันดาโยออกจะมีความก้าวหน้าใช้การเล่นแสงเงา (chiaroscuro) ที่เหมือนแสงเงาจริงที่ทำให้เกิดความรู้สึกว่าภาพเป็นสามมิติและการเขียนแบบทัศนียภาพ ซึ่งทำจากสายตาเท่านั้นโดยไม่ได้ใช้การคำนวณทางคณิตศาสตร์เข้าช่วยแต่อย่างใด แต่กีร์ลันดาโยมักจะถูกวิจารณ์เรื่องการใช้สีแต่ข้อวิจารณ์ไม่รวมไปถึงงานจิตรกรรมฝาผนังเท่าใดนักว่าเป็นสีที่แรงและสว่างอย่างหยาบงานจิตรกรรมฝาผนังเป็นงานที่เขียนแบบที่ชาวอิตาลีเรียกว่า "buon fresco" หรือ "จิตรกรรมฝาผนังแท้" โดยไม่ได้เพิ่มเติมด้วยสีฝุ่น ความแข็งของเส้นตัดขอบอาจจะเป็นเพราะกีร์ลันดาโยได้รับการฝึกมาทางช่างโลหะ วาซารีกล่าวว่ากีร์ลันดาโยเป็นจิตรกรคนแรกที่เลิกใช้การปิดทองแต่ความคิดเห็นอันนี้ก็ไม่จริงเสมอไป เช่นงาน "การชื่นชมของเด็กเลี้ยงแกะ" ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่สถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฟลอเรนซ์ตกแต่งด้วยเปลวทอง ภาพวาดและภาพร่างหลายชิ้นของกีร์ลันดาโยมีเส้นสายที่ลักษณะเด่นตรงที่เป็นธรรมชาติ มรดกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกีร์ลันดาโยก็คือได้ชื่อว่าเป็นผู้ให้การศึกษาเบื้องต้นบางส่วนแก่มีเกลันเจโลแต่ก็เพียงไม่นาน ลูกศิษย์คนอื่นก็ได้แก่ ฟรานเชสโก กรานาคคิ (Francesco Granacci) กีร์ลันดาโยเสียชีวิตจากการเป็นไข้ ร่างฝังไว้ที่วัดซานตามาเรียโนเวลลา กีร์ลันดาโยแต่งงานสองครั้งและมีลูกชายสามคนลูกสาวสามคน คนหนึ่งเป็นจิตรกรเช่นเดียกัน--ริดอลโฟ กีร์ลันดาโยมีผู้สืบเชื้อสายต่อมาหลายคนแต่ตระกูลมาสิ้นสุดลงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อสมาชิกคนสุดท้ายบวชเป็นพระ
| ร่างของโดเมนีโก กีร์ลันดาโยเป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถูกฝังไว้ที่วัดใด | {
"answer": [
"วัดซานตามาเรียโนเวลลา"
],
"answer_begin_position": [
6704
],
"answer_end_position": [
6725
]
} |
243 | 499,334 | ไชยา พรหมา นายไชยา พรหมา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภู เป็นประธานคณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24ประวัติ ประวัติ. นายไชยา พรหมา เกิดเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2503 ที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น เป็นบุตรของนายพิจิตร กับนางบัวไหล พรหมา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง และปริญญาโท สาขาพัฒนาสังคม จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ด้านครอบครัว สมรสกับนางอัญชลี พรหมา (สกุลเดิม เทือกต๊ะ) มีบุตรสาว 1 คนการทำงาน การทำงาน. นายไชยา พรหมา ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี ในการเลือกตั้ง มีนาคม พ.ศ. 2535 สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และ การเลือกตั้ง กันยายน พ.ศ. 2535 สังกัด พรรคชาติพัฒนา ต่อมาในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2538 ได้เป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภู สังกัดเดิม และได้รับเลือกตั้งอีกเป็นสมัยที่ 4 ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 สังกัดพรรคเสรีธรรม ซึ่งต่อมาได้ยุบรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย นายไชยา จึงย้ายมาร่วมงานกับพรรคไทยรักไทย และได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2548 การเลือกตั้ง พ.ศ. 2550 (สังกัดพรรคพลังประชาชน) และการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 ในสังกัดพรรคเพื่อไทย ในปี พ.ศ. 2554 นายไชยา ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎรเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - มหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
| ภรรยาของนายไชยา พรหมา คือใคร | {
"answer": [
"นางอัญชลี พรหมา"
],
"answer_begin_position": [
527
],
"answer_end_position": [
542
]
} |
1,723 | 499,334 | ไชยา พรหมา นายไชยา พรหมา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภู เป็นประธานคณะกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24ประวัติ ประวัติ. นายไชยา พรหมา เกิดเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2503 ที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น เป็นบุตรของนายพิจิตร กับนางบัวไหล พรหมา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง และปริญญาโท สาขาพัฒนาสังคม จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ด้านครอบครัว สมรสกับนางอัญชลี พรหมา (สกุลเดิม เทือกต๊ะ) มีบุตรสาว 1 คนการทำงาน การทำงาน. นายไชยา พรหมา ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี ในการเลือกตั้ง มีนาคม พ.ศ. 2535 สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และ การเลือกตั้ง กันยายน พ.ศ. 2535 สังกัด พรรคชาติพัฒนา ต่อมาในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2538 ได้เป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองบัวลำภู สังกัดเดิม และได้รับเลือกตั้งอีกเป็นสมัยที่ 4 ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 สังกัดพรรคเสรีธรรม ซึ่งต่อมาได้ยุบรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย นายไชยา จึงย้ายมาร่วมงานกับพรรคไทยรักไทย และได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2548 การเลือกตั้ง พ.ศ. 2550 (สังกัดพรรคพลังประชาชน) และการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 ในสังกัดพรรคเพื่อไทย ในปี พ.ศ. 2554 นายไชยา ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคารและสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎรเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) - มหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
| นายไชยา พรหมา ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดอะไรในปี พ.ศ.2535 | {
"answer": [
"จังหวัดอุดรธานี"
],
"answer_begin_position": [
649
],
"answer_end_position": [
664
]
} |
244 | 332,354 | สุรพงษ์ บุนนาค สุรพงษ์ บุนนาค นักเขียนนวนิยาย บทความ สารคดี เจ้าของรางวัลนราธิป ประจำปี พ.ศ. 2545 สุรพงษ์จบการศึกษาจากประเทศเยอรมนี เคยทำงานเป็นนักเขียนบทภาพยนตร์ให้กับสำนักข่าวสารอเมริกัน และสถานีโทรทัศน์ช่อง 4 (ปัจจุบันคือ โมเดิร์นไนน์) ในช่วงก่อตั้งสถานี เมื่อ พ.ศ. 2498 จากนั้นได้ไปทำงานกับสถานีวิทยุเสียงอเมริกา ที่กรุงวอชิงตัน เป็นเวลาหลายปี สุรพงษ์มีผลงานเขียนในหลายรูปแบบ ทั้งสารคดีท่องเที่ยว เนื่องจากความชื่นชอบในการเดินทางท่องเที่ยว, สารคดีเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สอง, สารคดีเกี่ยวกับศิลปะตะวันตก ทั้งเกี่ยวกับประวัติคีตกวีดนตรีคลาสสิก และช่างวาดศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ สุรพงษ์ บุนนาคถึงแก่กรรมด้วยโรคมะเร็ง เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2545 อายุ 82 ปี
| สุรพงษ์ บุนนาค นักเขียนนวนิยาย บทความ สารคดี เสียชีวิตด้วยโรคอะไร | {
"answer": [
"โรคมะเร็ง"
],
"answer_begin_position": [
697
],
"answer_end_position": [
706
]
} |
245 | 332,354 | สุรพงษ์ บุนนาค สุรพงษ์ บุนนาค นักเขียนนวนิยาย บทความ สารคดี เจ้าของรางวัลนราธิป ประจำปี พ.ศ. 2545 สุรพงษ์จบการศึกษาจากประเทศเยอรมนี เคยทำงานเป็นนักเขียนบทภาพยนตร์ให้กับสำนักข่าวสารอเมริกัน และสถานีโทรทัศน์ช่อง 4 (ปัจจุบันคือ โมเดิร์นไนน์) ในช่วงก่อตั้งสถานี เมื่อ พ.ศ. 2498 จากนั้นได้ไปทำงานกับสถานีวิทยุเสียงอเมริกา ที่กรุงวอชิงตัน เป็นเวลาหลายปี สุรพงษ์มีผลงานเขียนในหลายรูปแบบ ทั้งสารคดีท่องเที่ยว เนื่องจากความชื่นชอบในการเดินทางท่องเที่ยว, สารคดีเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สอง, สารคดีเกี่ยวกับศิลปะตะวันตก ทั้งเกี่ยวกับประวัติคีตกวีดนตรีคลาสสิก และช่างวาดศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ สุรพงษ์ บุนนาคถึงแก่กรรมด้วยโรคมะเร็ง เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2545 อายุ 82 ปี
| สุรพงษ์ บุนนาค เจ้าของรางวัลนราธิป ประจำปี พ.ศ. 2545 จบการศึกษาจากประเทศอะไร | {
"answer": [
"ประเทศเยอรมนี"
],
"answer_begin_position": [
207
],
"answer_end_position": [
220
]
} |
246 | 306,030 | ซูวา ซูวา () เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศฟีจี ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะวีตีเลวูในเขตภาคกลาง จังหวัดเรวา ที่เป็นที่ตั้งศูนย์กลางการบริหาร ในปี ค.ศ. 1877 ได้ตั้งซูวาเป็นเมืองหลวงของฟีจี เมื่อสภาพภูมิศาสตร์ของอดีตที่ตั้งอดีตรกรากของชาวยุโรปที่เลวูกาบนเกาะ Ovalau ที่คับแคบเกินไป คณะบริหารของประเทศอาณานิคมได้ย้ายจากเลวูกามายังซูวาในปี ค.ศ. 1882 จากข้อมูลประชากรในปี 2007 เมืองซูวามีประชากร 85,691 คน
| เมืองหลวงของประเทศฟีจี มีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"ซูวา"
],
"answer_begin_position": [
84
],
"answer_end_position": [
88
]
} |
1,822 | 306,030 | ซูวา ซูวา () เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศฟีจี ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะวีตีเลวูในเขตภาคกลาง จังหวัดเรวา ที่เป็นที่ตั้งศูนย์กลางการบริหาร ในปี ค.ศ. 1877 ได้ตั้งซูวาเป็นเมืองหลวงของฟีจี เมื่อสภาพภูมิศาสตร์ของอดีตที่ตั้งอดีตรกรากของชาวยุโรปที่เลวูกาบนเกาะ Ovalau ที่คับแคบเกินไป คณะบริหารของประเทศอาณานิคมได้ย้ายจากเลวูกามายังซูวาในปี ค.ศ. 1882 จากข้อมูลประชากรในปี 2007 เมืองซูวามีประชากร 85,691 คน
| ข้อมูลประชากรในปี 2007 เมืองซูวาเมืองหลวงของประเทศฟีจีมี ประชากรกี่คน | {
"answer": [
"85,691 คน"
],
"answer_begin_position": [
497
],
"answer_end_position": [
506
]
} |
247 | 561,775 | มายาโรส มายาโรส เป็นนามปากกาของ อรุโณทัย วรรณถาวร นักเขียนนวนิยายโรแมนติกเขย่าขวัญ นักเขียนรางวัลชนะเลิศโครงการประกวดนักเขียนน่ารัก season 2 ซึ่งเป็นโครงการค้นหานักเขียนนวนิยายไม่เป็นพิษต่อสังคมไทย โดยสำนักพิมพ์แน็ตตี้ ในเครือบรรลือสาสน์ประวัติ ประวัติ. เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 ที่เชียงใหม่ จบการศึกษาจากคณะการสื่อสารมวลชน สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน แขนงวิชาสื่อใหม่ และการสร้างภาพเคลื่อนไหว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปัจจุบันทำงานเป็นผู้ผลิตข่าวและสารคดี มีรายการสารคดีที่ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส คือ รายการเด็กมีเรื่อง และ รายการสองกำลังสื่อการประพันธ์ การประพันธ์. เริ่มเขียนเรื่อง Passion สุสานรักกุหลาบดำ และไปโพสต์ลงในเว็บเด็กดี ในปี พ.ศ. 2552 ได้รับรางวัลชนะเลิศนวนิยายรักโรแมนติกใน โครงการประกวดนักเขียนน่ารัก season 2 ซึ่งเป็นโครงการค้นหานักเขียนนวนิยายไม่เป็นพิษต่อสังคมไทย โดยสำนักพิมพ์แน็ตตี้ ในเครือสำนักพิมพ์บรรลือสาสน์ และได้เป็นผลงานตีพิมพ์เรื่องแรก โดยในครั้งนั้นได้ใช้นามปากกาว่า กุหลาบน้ำเงิน หลังจากนั้นยังได้รับมอบโล่เกียรติยศในโครงการ “NEW STAR the Writer” โดย “พิมพ์คำสำนักพิมพ์” ซึ่งเป็นโครงการเฟ้นหานักเขียนดาวดวงใหม่ผู้มีผลงานโดดเด่นน่าจับตามอง มาพัฒนางานเขียนให้ก้าวสู้การเป็นนักเขียนมืออาชีพ โดยมีผู้ได้รับมอบโล่เกียรติยศทังหมด 22 คน ต่อมา ได้มีผลงานตีพิมพ์กับสำนักพิมพ์โซฟา ในเครืออักขระบันเทิง โดยครั้งนี้ได้ใช้นามปากกาว่ามายาโรสเป็นครั้งแรก มีผลงานเล่มแรกที่ได้ตีพิมพ์กับสำนักพิมพ์นี้คือ รวมเรื่องสั้นชุด Calnival of love เกมรักราตรีเลือด เรื่อง ชิงช้าสวรรค์ ซึ่งเขียนร่วมกับ แรบบิสโรส, ปริชญา, และ เซวิลล์ โดยสำนักพิมพ์ได้นำไปทำเป็นหนังสือการ์ตูนช่องในเวลาต่อมาที่มาของนามปากกา ที่มาของนามปากกา. เดิมทีใช้นามปากกาว่ากุหลาบน้ำเงิน ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นนามปากกามายาโรส ซึ่งมาจากดอกกุหลาบ หมายถึง ความสลับซับซ้อน และเร้นลับ ส่วนคำว่ามายาคือ ความฝันและภาพลวง เช่นเดียวกับลักษณะงานเขียนส่วนใหญ่ของมายาโรส ก็มักเขียนถึงความเพ้อฝันและความเร้นลับผลงานนวนิยายผลงานนวนิยาย. 1. Passion สุสานรักกุหลาบดำ 2. รวมเรื่องสั้นชุด Canival of love เกมรักราตรีเลือด เรื่อง ชิงช้าสวรรค์ เขียนร่วมกับ แรบบิสโรส, ปริชญา, และ เซวิลล์ 3. ซีรีส์ชุด Death Zodiac เรื่อง ตุ๊กตากล่อมวิญญาณ 4. ซีรีส์ชุด สิบศพ เรื่อง เคหาสน์เทวทูต 5. ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง ฉบับ Novel ตอน มิตรภาพวุ่นๆ ชุนมุนวันเปิดเทอม 6. ซีรีส์ชุด Bloody Honeymoon เรื่อง Promise พรายนครา 7. ซีรีส์ชุด Bad Furtune เรื่อง Midnight Opera สุสานผีเสื้อ 8. ซีรีส์ชุด ปัญจอาถรรพ์ เรื่อง วังอสุรา 9. หุบผาเจ้านาง 10. Death for Rent รถเช่าเหมาวิญญาณ 11. ลิลิตเมืองมาร 12. Eternal นิรัตินิรันดร์กาล 13. รวมเรื่องสั้นชุด ทศฆาต เรื่อง ปราสาทสาง 14. รวมเรื่องสั้นชุด 13 หลอน ฆ่า อาฆาต เรื่อง ราตรีปิศาจ 15. ซีรีส์ชุด Forword Die เรื่อง Clown มายากลเลือด 16. Devil Tale นิทราอาฆาต
| อรุโณทัย วรรณถาวร นักเขียนนวนิยายโรแมนติกเขย่าขวัญ ใช้นามปากกว่าอะไร | {
"answer": [
"มายาโรส"
],
"answer_begin_position": [
90
],
"answer_end_position": [
97
]
} |
248 | 561,775 | มายาโรส มายาโรส เป็นนามปากกาของ อรุโณทัย วรรณถาวร นักเขียนนวนิยายโรแมนติกเขย่าขวัญ นักเขียนรางวัลชนะเลิศโครงการประกวดนักเขียนน่ารัก season 2 ซึ่งเป็นโครงการค้นหานักเขียนนวนิยายไม่เป็นพิษต่อสังคมไทย โดยสำนักพิมพ์แน็ตตี้ ในเครือบรรลือสาสน์ประวัติ ประวัติ. เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 ที่เชียงใหม่ จบการศึกษาจากคณะการสื่อสารมวลชน สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน แขนงวิชาสื่อใหม่ และการสร้างภาพเคลื่อนไหว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปัจจุบันทำงานเป็นผู้ผลิตข่าวและสารคดี มีรายการสารคดีที่ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส คือ รายการเด็กมีเรื่อง และ รายการสองกำลังสื่อการประพันธ์ การประพันธ์. เริ่มเขียนเรื่อง Passion สุสานรักกุหลาบดำ และไปโพสต์ลงในเว็บเด็กดี ในปี พ.ศ. 2552 ได้รับรางวัลชนะเลิศนวนิยายรักโรแมนติกใน โครงการประกวดนักเขียนน่ารัก season 2 ซึ่งเป็นโครงการค้นหานักเขียนนวนิยายไม่เป็นพิษต่อสังคมไทย โดยสำนักพิมพ์แน็ตตี้ ในเครือสำนักพิมพ์บรรลือสาสน์ และได้เป็นผลงานตีพิมพ์เรื่องแรก โดยในครั้งนั้นได้ใช้นามปากกาว่า กุหลาบน้ำเงิน หลังจากนั้นยังได้รับมอบโล่เกียรติยศในโครงการ “NEW STAR the Writer” โดย “พิมพ์คำสำนักพิมพ์” ซึ่งเป็นโครงการเฟ้นหานักเขียนดาวดวงใหม่ผู้มีผลงานโดดเด่นน่าจับตามอง มาพัฒนางานเขียนให้ก้าวสู้การเป็นนักเขียนมืออาชีพ โดยมีผู้ได้รับมอบโล่เกียรติยศทังหมด 22 คน ต่อมา ได้มีผลงานตีพิมพ์กับสำนักพิมพ์โซฟา ในเครืออักขระบันเทิง โดยครั้งนี้ได้ใช้นามปากกาว่ามายาโรสเป็นครั้งแรก มีผลงานเล่มแรกที่ได้ตีพิมพ์กับสำนักพิมพ์นี้คือ รวมเรื่องสั้นชุด Calnival of love เกมรักราตรีเลือด เรื่อง ชิงช้าสวรรค์ ซึ่งเขียนร่วมกับ แรบบิสโรส, ปริชญา, และ เซวิลล์ โดยสำนักพิมพ์ได้นำไปทำเป็นหนังสือการ์ตูนช่องในเวลาต่อมาที่มาของนามปากกา ที่มาของนามปากกา. เดิมทีใช้นามปากกาว่ากุหลาบน้ำเงิน ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นนามปากกามายาโรส ซึ่งมาจากดอกกุหลาบ หมายถึง ความสลับซับซ้อน และเร้นลับ ส่วนคำว่ามายาคือ ความฝันและภาพลวง เช่นเดียวกับลักษณะงานเขียนส่วนใหญ่ของมายาโรส ก็มักเขียนถึงความเพ้อฝันและความเร้นลับผลงานนวนิยายผลงานนวนิยาย. 1. Passion สุสานรักกุหลาบดำ 2. รวมเรื่องสั้นชุด Canival of love เกมรักราตรีเลือด เรื่อง ชิงช้าสวรรค์ เขียนร่วมกับ แรบบิสโรส, ปริชญา, และ เซวิลล์ 3. ซีรีส์ชุด Death Zodiac เรื่อง ตุ๊กตากล่อมวิญญาณ 4. ซีรีส์ชุด สิบศพ เรื่อง เคหาสน์เทวทูต 5. ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง ฉบับ Novel ตอน มิตรภาพวุ่นๆ ชุนมุนวันเปิดเทอม 6. ซีรีส์ชุด Bloody Honeymoon เรื่อง Promise พรายนครา 7. ซีรีส์ชุด Bad Furtune เรื่อง Midnight Opera สุสานผีเสื้อ 8. ซีรีส์ชุด ปัญจอาถรรพ์ เรื่อง วังอสุรา 9. หุบผาเจ้านาง 10. Death for Rent รถเช่าเหมาวิญญาณ 11. ลิลิตเมืองมาร 12. Eternal นิรัตินิรันดร์กาล 13. รวมเรื่องสั้นชุด ทศฆาต เรื่อง ปราสาทสาง 14. รวมเรื่องสั้นชุด 13 หลอน ฆ่า อาฆาต เรื่อง ราตรีปิศาจ 15. ซีรีส์ชุด Forword Die เรื่อง Clown มายากลเลือด 16. Devil Tale นิทราอาฆาต
| บ้านเกิดของอรุโณทัย วรรณถาวร หรือใช้นามปากกาว่า มายาโรส อยู่ที่ไหน | {
"answer": [
"เชียงใหม่"
],
"answer_begin_position": [
376
],
"answer_end_position": [
385
]
} |
249 | 313,407 | โซฟี มังก์ โซฟี มังก์ () เกิดเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1979 เป็น นักร้องออสเตรเลียประวัติ ประวัติ. โซฟี มังก์ เกิดใน อังกฤษ แต่พ่อแม่ก็ย้ายไป รัฐควีนส์แลนด์ ใน ออสเตรเลีย เธอเคยเป็นสมาชิกของวง ป็อป ออสเตรเลีย Bardot และได้ก่อตั้งมาตั้งแต่งานเดี่ยว เมื่อเร็ว ๆ นี้เธอกลายเป็นหน้าที่ที่ปรากฏในภาพยนตร์เช่น Date Movie, Click และ Sex and Death 101 งานเพลงของเธอเริ่มอาชีพในปี ค.ศ. 1999 เมื่อเธอตอบสนองต่อโฆษณาที่ขอหญิงด้วยเสียงและการเต้นรำโฆษณาได้สำหรับชุดโทรทัศน์ออสเตรเลีย Popstars แสดงโทรทัศน์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกลุ่มผู้หญิงที่ประสบความสำเร็จใหม่ หลังจากหลายรอบของการร้องเพลงและเต้นเธอได้รับเลือกเป็นสมาชิกของกลุ่มซึ่งเป็นชื่อ Bardot หลังจากแยก Bardot, โซฟี มังก์ เริ่มทำงานในงานเดี่ยวของเธอและนี่ผลออกก่อนเดียวเธอ Inside Outside ในเดือนตุลาคม 2002 และอัลบั้มเดี่ยวครั้งแรกของเธอ Calendar Girl พฤษภาคม 2003 ซึ่งประหลาดใจมากโดยผสม ป็อป ร่วมสมัยและเต้นรำกับ อุปรากร คลาสสิกพระได้รับการฝึกอบรมในคลาสสิกเติบโต โซฟี มังก์ ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อตัวเองใน ฮอลลีวูด ถึงแม้ว่าส่วนใหญ่ของบทบาทของเธอมีขนาดเล็กพอสมควร ในเดือนกุมภาพันธ์ปี 2006 เธอติดดาวในบทบาทคุณลักษณะของเธอเปิดตัวเป็นสาวเจ้าชู้และเสน่ห์ในตลกหลอกว่า Date Movie ในเดือนมิถุนายน 2006 เห็นการออกฟิล์ม Click เรื่องราวเกี่ยวกับการควบคุมระยะไกลทั่วไป โซฟี มังก์ มีบทบาทเล็ก ๆ ในภาพยนตร์เป็นเลขานุการเจ้าชู้นี้
| โซฟี มังก์ นักร้องชาวออสเตรเลีย เกิดที่ประเทศอะไร | {
"answer": [
"อังกฤษ"
],
"answer_begin_position": [
204
],
"answer_end_position": [
210
]
} |
250 | 313,407 | โซฟี มังก์ โซฟี มังก์ () เกิดเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1979 เป็น นักร้องออสเตรเลียประวัติ ประวัติ. โซฟี มังก์ เกิดใน อังกฤษ แต่พ่อแม่ก็ย้ายไป รัฐควีนส์แลนด์ ใน ออสเตรเลีย เธอเคยเป็นสมาชิกของวง ป็อป ออสเตรเลีย Bardot และได้ก่อตั้งมาตั้งแต่งานเดี่ยว เมื่อเร็ว ๆ นี้เธอกลายเป็นหน้าที่ที่ปรากฏในภาพยนตร์เช่น Date Movie, Click และ Sex and Death 101 งานเพลงของเธอเริ่มอาชีพในปี ค.ศ. 1999 เมื่อเธอตอบสนองต่อโฆษณาที่ขอหญิงด้วยเสียงและการเต้นรำโฆษณาได้สำหรับชุดโทรทัศน์ออสเตรเลีย Popstars แสดงโทรทัศน์ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกลุ่มผู้หญิงที่ประสบความสำเร็จใหม่ หลังจากหลายรอบของการร้องเพลงและเต้นเธอได้รับเลือกเป็นสมาชิกของกลุ่มซึ่งเป็นชื่อ Bardot หลังจากแยก Bardot, โซฟี มังก์ เริ่มทำงานในงานเดี่ยวของเธอและนี่ผลออกก่อนเดียวเธอ Inside Outside ในเดือนตุลาคม 2002 และอัลบั้มเดี่ยวครั้งแรกของเธอ Calendar Girl พฤษภาคม 2003 ซึ่งประหลาดใจมากโดยผสม ป็อป ร่วมสมัยและเต้นรำกับ อุปรากร คลาสสิกพระได้รับการฝึกอบรมในคลาสสิกเติบโต โซฟี มังก์ ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อตัวเองใน ฮอลลีวูด ถึงแม้ว่าส่วนใหญ่ของบทบาทของเธอมีขนาดเล็กพอสมควร ในเดือนกุมภาพันธ์ปี 2006 เธอติดดาวในบทบาทคุณลักษณะของเธอเปิดตัวเป็นสาวเจ้าชู้และเสน่ห์ในตลกหลอกว่า Date Movie ในเดือนมิถุนายน 2006 เห็นการออกฟิล์ม Click เรื่องราวเกี่ยวกับการควบคุมระยะไกลทั่วไป โซฟี มังก์ มีบทบาทเล็ก ๆ ในภาพยนตร์เป็นเลขานุการเจ้าชู้นี้
| อัลบั้มเดี่ยวครั้งแรกของโซฟี มังก์ ในเดือน พฤษภาคม 2003 มีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"Calendar Girl"
],
"answer_begin_position": [
874
],
"answer_end_position": [
887
]
} |
251 | 443,713 | ชินโนะซุเกะ ฮนดะ ชินโนะซุเกะ ฮนดะ เกิดเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2533 เป็นนักฟุตบอลชาวญี่ปุ่นเกิดในเมืองฟุกุชิมะ ปัจจุบันเล่นให้แก่สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าส โดยยืมตัวมาจาก บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ใน ไทยพรีเมียร์ลีก เล่นในตำแหน่ง กองหลัง แต่เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2556 สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าสได้ยกเลิกสัญญายืมตัว
| ชินโนะซุเกะ ฮนดะ นักฟุตบอลชาวญี่ปุ่น เกิดที่เมืองอะไร | {
"answer": [
"เมืองฟุกุชิมะ"
],
"answer_begin_position": [
192
],
"answer_end_position": [
205
]
} |
1,861 | 443,713 | ชินโนะซุเกะ ฮนดะ ชินโนะซุเกะ ฮนดะ เกิดเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2533 เป็นนักฟุตบอลชาวญี่ปุ่นเกิดในเมืองฟุกุชิมะ ปัจจุบันเล่นให้แก่สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าส โดยยืมตัวมาจาก บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ใน ไทยพรีเมียร์ลีก เล่นในตำแหน่ง กองหลัง แต่เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2556 สโมสรฟุตบอลบางกอกกล๊าสได้ยกเลิกสัญญายืมตัว
| ชินโนะซุเกะ ฮนดะ เป็นนักฟุตบอลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"23"
],
"answer_begin_position": [
141
],
"answer_end_position": [
143
]
} |
252 | 369,047 | หลวงปู่เงิน พุทธโชติ หลวงพ่อเงิน พุทธโชติ เกิดวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2353 ตรงกับรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดบางคลาน จังหวัดพิจิตรประวัติ ประวัติ. นามเดิมแรกเกิดของท่านคือ เงิน เมื่อท่านอายุได้ 3 ขวบ ผู้เป็นลุงได้พามาอยู่ที่กรุงเทพฯศึกษาเล่าเรียนอยู่ที่วัดชนะสงคราม ต่อมา เมื่อท่านอายุ 12 ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดชนะสงครามศึกษาพระธรรมวินัย คำภีร์มูลกัจจายน์ เวทมนตร์คาถาและวิทยาการต่างๆ จนแตกฉาน จากนั้น ท่านได้อุปสมบทเมื่ออายุครบ 20 ปี ณ วัดชนะสงคราม มีฉายาว่า "พุทธโชติ" บวชได้ 3 พรรษา ก็ย้ายมาจำพรรษาที่วัดคงคาราม (วัดบางคลานใต้) ต่อมาย้ายเข้าไปอยู่ที่ในหมู่บ้านวังตะโก อยู่ห่างจากวัดคงคารามคนละฝั่งเท่านั้น ตอนที่ย้ายจากวัดคงคาราม หลวงพ่อได้นำกิ่งโพธิ์ติดต้วมาด้วย 1 กิ่งแล้วนำกิ่งโพธิ์นั้นมาปลูกเสี่ยงทาย ถ้าหากต้นโพธิ์ตายก็คงจะอยู่ไม่ได้ ถ้าหากที่นี่จะเป็นวัดได้ขอให้ต้นโพธิ์เจริญงอกงาม ปรากฏว่า ต้นโพธิ์เจริญงอกงามแผ่กิ่งก้านสาขาใหญ่โต หลวงพ่อเงินก็ได้เป็นพระอุปัชฌาย์ที่นี่ด้วย และท่านเป็นเพื่อนกับหลวงปู่ศุข ซึ่งหลวงปู่ศุขก็ได้ฝากกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์มาเป็นลูกศิษย์ด้วย หลวงพ่อเงินถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2464 สิริอายุได้ 111 ปี
| หลวงพ่อเงิน พุทธโชติ อดีตเจ้าอาวาสวัดบางคลาน จังหวัดพิจิตร สิริอายุกี่ปี | {
"answer": [
"111 ปี"
],
"answer_begin_position": [
1184
],
"answer_end_position": [
1190
]
} |
1,850 | 369,047 | หลวงปู่เงิน พุทธโชติ หลวงพ่อเงิน พุทธโชติ เกิดวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2353 ตรงกับรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดบางคลาน จังหวัดพิจิตรประวัติ ประวัติ. นามเดิมแรกเกิดของท่านคือ เงิน เมื่อท่านอายุได้ 3 ขวบ ผู้เป็นลุงได้พามาอยู่ที่กรุงเทพฯศึกษาเล่าเรียนอยู่ที่วัดชนะสงคราม ต่อมา เมื่อท่านอายุ 12 ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดชนะสงครามศึกษาพระธรรมวินัย คำภีร์มูลกัจจายน์ เวทมนตร์คาถาและวิทยาการต่างๆ จนแตกฉาน จากนั้น ท่านได้อุปสมบทเมื่ออายุครบ 20 ปี ณ วัดชนะสงคราม มีฉายาว่า "พุทธโชติ" บวชได้ 3 พรรษา ก็ย้ายมาจำพรรษาที่วัดคงคาราม (วัดบางคลานใต้) ต่อมาย้ายเข้าไปอยู่ที่ในหมู่บ้านวังตะโก อยู่ห่างจากวัดคงคารามคนละฝั่งเท่านั้น ตอนที่ย้ายจากวัดคงคาราม หลวงพ่อได้นำกิ่งโพธิ์ติดต้วมาด้วย 1 กิ่งแล้วนำกิ่งโพธิ์นั้นมาปลูกเสี่ยงทาย ถ้าหากต้นโพธิ์ตายก็คงจะอยู่ไม่ได้ ถ้าหากที่นี่จะเป็นวัดได้ขอให้ต้นโพธิ์เจริญงอกงาม ปรากฏว่า ต้นโพธิ์เจริญงอกงามแผ่กิ่งก้านสาขาใหญ่โต หลวงพ่อเงินก็ได้เป็นพระอุปัชฌาย์ที่นี่ด้วย และท่านเป็นเพื่อนกับหลวงปู่ศุข ซึ่งหลวงปู่ศุขก็ได้ฝากกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์มาเป็นลูกศิษย์ด้วย หลวงพ่อเงินถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2464 สิริอายุได้ 111 ปี
| หลวงพ่อเงิน พุทธโชติ อดีตเจ้าอาวาสวัดบางคลาน จังหวัดพิจิตร เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"16"
],
"answer_begin_position": [
148
],
"answer_end_position": [
150
]
} |
253 | 156,628 | ฮันส์ คริสเทียน เออร์สเตด ฮันส์ คริสเทียน เออร์สเตด (Hans Christian Ørsted, 14 สิงหาคม พ.ศ. 2320 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2394) เป็นนักฟิสิกส์และนักเคมีชาวเดสัมพันธ์ระหว่างไฟฟ้าและความเป็นแม่เหล็ก หรือที่เรียกว่า ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า ฮานส์ คริสเตียน เออร์สเตด ) เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2320 เขาเป็นศาสตราจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ ประจำมหาวิทยาโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เออร์สเตดค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กด้วยความบังเอิญ ในเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2363 ขณะบรรยายวิชาฟิสิกส์ในหัวข้อ คุณสมบัติของกระแสไฟฟ้า (Electricity, Galvanism and Magnetism) โดยมีอุปกรณ์ในการทำการทดลองประกอบการบรรยาย คือ แบตเตอรี่ สายไฟ และเข็มทิศ เออร์สเตดได้ทำการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เข็มทิศจะเบนเมื่อมีฝนตกหนัก และฟ้าแลบ เพื่อลองดูว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับเข็มทิศ ถ้าผ่านกระแสไฟเข้าไปในลวดตัวนำ เขานำลวดตัวนำตั้งฉากกับเข็มทิศและพบว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น แต่หลังจากการบรรยายสิ้นสุด เออร์สเตดลองวางลวดตัวนำขนานกับเข็มทิศ และผ่านกระแสไฟฟ้าไปในลวดตัวนำ กลับพบว่าเข็มทิศกระดิก และเริ่มเบน การ ค้นพบนี้ทำให้เออร์สเตดเป็นบุคคลแรกที่ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า และแม่เหล็ก หรือนำไปสู่ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างแม่เหล็กกับไฟฟ้า (Electro Magnetism Theory) ต่อมาในวันที่ 11 กันยายน ปีเดียวกันนั้นเอง การค้นพบของเออร์สเตดได้ถูกไปนำเสนอที่ราชสมาคมฝรั่งเศส โดย โดมินิก ฟร็องซัวส์ ฌอง อราโก (Dominiqiue Francois Jean Arago) เขาระบุว่าการค้นพบนี้สำคัญไม่น้อยไปกว่าการค้นพบไฟฟ้า นอกจากนี้ยังมีนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสและชาวอังกฤษอีกหลายคนที่พยายาม แข่งขันเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ที่เออร์สเตดค้นพบ โดยเฉพาะนักทดลองชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ ฌอง แบพติสท์ บิโอต์ (Jean Baptiste Biot) และ เฟลิกซ์ ซาวาร์ (Felix Savart) เป็นนักฟิสิกส์คนแรกๆ ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์นี้อย่างละเอียดได้ นับได้ว่าการค้นพบของ ฮานส์ คริสเตียน เออร์สเตด ได้จุดประกายที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนพยายามค้นพบเรื่องแม่เหล็กไฟฟ้า รวมถึง อังเดร มารี แอมแป (Andre Marie Ampere) ผู้ค้นพบทฤษฎีแม
| บุคคลแรกที่ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและแม่เหล็ก คือใคร | {
"answer": [
"เออร์สเตด"
],
"answer_begin_position": [
1075
],
"answer_end_position": [
1084
]
} |
2,679 | 156,628 | ฮันส์ คริสเทียน เออร์สเตด ฮันส์ คริสเทียน เออร์สเตด (Hans Christian Ørsted, 14 สิงหาคม พ.ศ. 2320 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2394) เป็นนักฟิสิกส์และนักเคมีชาวเดสัมพันธ์ระหว่างไฟฟ้าและความเป็นแม่เหล็ก หรือที่เรียกว่า ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า ฮานส์ คริสเตียน เออร์สเตด ) เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2320 เขาเป็นศาสตราจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ ประจำมหาวิทยาโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เออร์สเตดค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กด้วยความบังเอิญ ในเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2363 ขณะบรรยายวิชาฟิสิกส์ในหัวข้อ คุณสมบัติของกระแสไฟฟ้า (Electricity, Galvanism and Magnetism) โดยมีอุปกรณ์ในการทำการทดลองประกอบการบรรยาย คือ แบตเตอรี่ สายไฟ และเข็มทิศ เออร์สเตดได้ทำการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เข็มทิศจะเบนเมื่อมีฝนตกหนัก และฟ้าแลบ เพื่อลองดูว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับเข็มทิศ ถ้าผ่านกระแสไฟเข้าไปในลวดตัวนำ เขานำลวดตัวนำตั้งฉากกับเข็มทิศและพบว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น แต่หลังจากการบรรยายสิ้นสุด เออร์สเตดลองวางลวดตัวนำขนานกับเข็มทิศ และผ่านกระแสไฟฟ้าไปในลวดตัวนำ กลับพบว่าเข็มทิศกระดิก และเริ่มเบน การ ค้นพบนี้ทำให้เออร์สเตดเป็นบุคคลแรกที่ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า และแม่เหล็ก หรือนำไปสู่ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างแม่เหล็กกับไฟฟ้า (Electro Magnetism Theory) ต่อมาในวันที่ 11 กันยายน ปีเดียวกันนั้นเอง การค้นพบของเออร์สเตดได้ถูกไปนำเสนอที่ราชสมาคมฝรั่งเศส โดย โดมินิก ฟร็องซัวส์ ฌอง อราโก (Dominiqiue Francois Jean Arago) เขาระบุว่าการค้นพบนี้สำคัญไม่น้อยไปกว่าการค้นพบไฟฟ้า นอกจากนี้ยังมีนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสและชาวอังกฤษอีกหลายคนที่พยายาม แข่งขันเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ที่เออร์สเตดค้นพบ โดยเฉพาะนักทดลองชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ ฌอง แบพติสท์ บิโอต์ (Jean Baptiste Biot) และ เฟลิกซ์ ซาวาร์ (Felix Savart) เป็นนักฟิสิกส์คนแรกๆ ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์นี้อย่างละเอียดได้ นับได้ว่าการค้นพบของ ฮานส์ คริสเตียน เออร์สเตด ได้จุดประกายที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนพยายามค้นพบเรื่องแม่เหล็กไฟฟ้า รวมถึง อังเดร มารี แอมแป (Andre Marie Ampere) ผู้ค้นพบทฤษฎีแม
| ฮันส์ คริสเทียน เออร์สเตด เป็นศาสตราจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ ประจำมหาวิทยาโคเปนเฮเกน เกิดเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"14"
],
"answer_begin_position": [
367
],
"answer_end_position": [
369
]
} |
254 | 327,215 | เจ้าเหมพินธุไพจิตร เจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็น เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 แห่ง "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)"พระประวัติ พระประวัติ. เจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร มีพระนามเดิมว่า เจ้าคำหยาด ไม่ทราบปีที่ประสูต ทรงเป็นราชโอรสใน เจ้าหลวงไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 6 กับ แม่เจ้าคำจ๋าราชเทวี และทรงเป็นราชนัดดา (หลานปู่) ใน เจ้าหลวงเศรษฐีคำฝั้น เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 1 และเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3 กับ แม่เจ้าคำแปงราชเทวี เจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร ทรงมีราชอนุชา และราชขนิษฐา ร่วมราชมารดา 3 พระองค์ มีนามตามลำดับ ดังนี้- เจ้าหญิงแสน ณ ลำพูน - ชายา "เจ้าหนานยศ ณ ลำพูน" - เจ้าน้อยบุ ณ ลำพูน - เจ้าน้อยหล้า ณ ลำพูน - พิราลัยแต่เยาว์ เจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร ได้เสด็จขึ้นครองนครลำพูน ใน พ.ศ. 2431 ต่อจาก เจ้าหลวงดาราดิเรกรัตน์ไพโรจน์ ราชเชษฐาต่างราชมารดา และถึงแก่พิราลัยในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 (นับเอาวันที่ 1 เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่) ภายหลังจากป่วยด้วยอาการอุจาระ ธาตุพิการ รวมระยะเวลาที่ทรงครองนคร 5 ปี ในขณะที่ท่านได้เป็นเจ้าครองนครลำพูนนั้น ท่านได้เป็นผู้นำราษฎรลำพูนให้เอาใจใส่ในการเกษตรกรรมทุกๆสาขา มีการปลูกข้าวและทดน้ำเข้านาสร้างเหมืองฝายมากมาย ปรับปรุงที่ดอนให้เป็นพื้นที่ราบ และ ขุดลอกเหมืองเก่าให้น้ำเข้านาได้สะดวก ที่ใดไม่มีเหมืองฝายก็สร้างเหมืองฝายใหม่เพื่อทดน้ำเข้านา พอข้าวเสร็จก็ปลูกหอมกระเทียมและใบยากันต่อไป นอกจากนั้นท่านได้เป็นผู้นำในการบำรุงพระพุทธศาสนา ปรับปรุงวัดที่เก่าแก่ให้เจริญก้าวหน้าขึ้นกว่าเดิม ชักชวนราษฎรปั้นอิฐ ก่อกำแพง สร้างวิหาร กุฏิ โบสถ์ วัดวาอาราม บริเวณนอกเมืองและในเมืองลำพูน ชักชวนราษฎรสร้างสะพาน ยกร่องถนนในหมู่บ้านให้ล้อเกวียนเข้าได้ ขุดร่องระบายน้ำเวลาฝนตกราชโอรส ราชธิดา ราชโอรส ราชธิดา. เจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร ทรงมีราชโอรสและราชธิดา รวม 19 พระองค์ อยู่ในราชตระกูล ณ ลำพูน และ ลังการ์พินธุ์ มีพระนามตามลำดับ ดังนี้แม่เจ้าเปาคำเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าเปาคำเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าเปาคำเหมพินธุไพจิตร (มีราชโอรส 1 ราชธิดา 2)- เจ้าหญิงรสคำ (ณ ลำพูน) ณ เชียงใหม่ - ชายา เจ้าน้อยแก้วมรกต ณ เชียงใหม่ - เจ้าน้อยสองเมือง ณ ลำพูน - เจ้าหญิงลัมนุช ณ ลำพูนแม่เจ้าอุษาเหมพินธุไพจิตรราชเทวี แม่เจ้าอุษาเหมพินธุไพจิตรราชเทวี. ใน แม่เจ้าอุษาเหมพินธุไพจิตรเทวี (มีราชโอรส 1)- เจ้าบุรีรัตน์ สุริยะ ณ ลำพูน, เจ้าบุรีรัตน์นครลำพูนแม่เจ้าบัวทิพย์เหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าบัวทิพย์เหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าบัวทิพย์เหมพินธุไพจิตรเทวี (มีราชโอรส 1)- เจ้าไชยสงคราม โอรส ณ ลำพูน, เจ้าไชยสงครามนครลำพูนแม่เจ้าบัวเขียวใหญ่เหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าบัวเขียวใหญ่เหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าบัวเขียวใหญ่เหมพินธุไพจิตรเทวี (มีราชโอรส 1)- เจ้าอุตรการโกศล เมืองคำ ณ ลำพูน, เจ้าอุตรการโกศลนครลำพูนแม่เจ้าบัวเขียวน้อยเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าบัวเขียวน้อยเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าบัวเขียวน้อยเหมพินธุไพจิตร (มีราชโอรส 2)- เจ้าน้อยอินเหลา ณ ลำพูน - เจ้าน้อยคำมุง ณ ลำพูนแม่เจ้าฝางเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าฝางเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าฝางเหมพินธุไพจิตร (มีราชโอรส 1 ราชธิดา 1)- เจ้าหญิงลังกา ณ ลำพูน - เจ้าน้อยอินทยศ ณ ลำพูนแม่เจ้าคำปาเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าคำปาเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าคำปาเหมพินธุไพจิตร (มีราชโอรส 1)- เจ้าน้อยแจ่ม ณ ลำพูนแม่เจ้าบัวล้อมเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าบัวล้อมเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าบัวล้อมเหมพินธุ์ไพจิตร (มีราชโอรส 1)- เจ้าน้อยรามจักร ลังการ์พินธุ์ - เจ้าน้อยรามจักรฯ ได้รับพระราชทานใช้นามราชตระกูลสาขา "ลังการ์พินธุ์"แม่เจ้าบุญเป็งเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าบุญเป็งเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าบุญเป็งเหมพินธุไพจิตร (มีราชโอรส 1)- เจ้าน้อยคำหมื่น ณ ลำพูนแม่เจ้าคำแปงเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าคำแปงเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าคำแปงเหมพินธุไพจิตร (มีราชธิดา 1)- เจ้าหญิงคำแตน ณ ลำพูนแม่เจ้าคำปันเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าคำปันเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าคำปันเหมพินธุไพจิตร (มีราชธิดา 2)- เจ้าหญิงจันทร์ฟอง ณ ลำพูน - เจ้าหญิงจันทร์เที่ยง ณ ลำพูนแม่เจ้าปันเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าปันเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าปันเหมพินธุไพจิตร (มีราชธิดา 2)- เจ้าหญิงมุกดิ์ ณ ลำพูน - เจ้าหญิงพิมพา ณ ลำพูนหม่อม - หม่อม -. ใน หม่อม - (มีราชธิดา 1)- เจ้าหญิงแว่นคำ (ณ ลำพูน) ธนัญชยานนท์ - ชายา เจ้าราชบุตร มหาวัน ธนัญชยานนท์, เจ้าราชบุตรนครลำพูนลำดับสาแหรก
| พระนามเดิมของเจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"เจ้าคำหยาด"
],
"answer_begin_position": [
278
],
"answer_end_position": [
288
]
} |
2,696 | 327,215 | เจ้าเหมพินธุไพจิตร เจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร ทรงเป็น เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 แห่ง "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)"พระประวัติ พระประวัติ. เจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร มีพระนามเดิมว่า เจ้าคำหยาด ไม่ทราบปีที่ประสูต ทรงเป็นราชโอรสใน เจ้าหลวงไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 6 กับ แม่เจ้าคำจ๋าราชเทวี และทรงเป็นราชนัดดา (หลานปู่) ใน เจ้าหลวงเศรษฐีคำฝั้น เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 1 และเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3 กับ แม่เจ้าคำแปงราชเทวี เจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร ทรงมีราชอนุชา และราชขนิษฐา ร่วมราชมารดา 3 พระองค์ มีนามตามลำดับ ดังนี้- เจ้าหญิงแสน ณ ลำพูน - ชายา "เจ้าหนานยศ ณ ลำพูน" - เจ้าน้อยบุ ณ ลำพูน - เจ้าน้อยหล้า ณ ลำพูน - พิราลัยแต่เยาว์ เจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร ได้เสด็จขึ้นครองนครลำพูน ใน พ.ศ. 2431 ต่อจาก เจ้าหลวงดาราดิเรกรัตน์ไพโรจน์ ราชเชษฐาต่างราชมารดา และถึงแก่พิราลัยในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 (นับเอาวันที่ 1 เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่) ภายหลังจากป่วยด้วยอาการอุจาระ ธาตุพิการ รวมระยะเวลาที่ทรงครองนคร 5 ปี ในขณะที่ท่านได้เป็นเจ้าครองนครลำพูนนั้น ท่านได้เป็นผู้นำราษฎรลำพูนให้เอาใจใส่ในการเกษตรกรรมทุกๆสาขา มีการปลูกข้าวและทดน้ำเข้านาสร้างเหมืองฝายมากมาย ปรับปรุงที่ดอนให้เป็นพื้นที่ราบ และ ขุดลอกเหมืองเก่าให้น้ำเข้านาได้สะดวก ที่ใดไม่มีเหมืองฝายก็สร้างเหมืองฝายใหม่เพื่อทดน้ำเข้านา พอข้าวเสร็จก็ปลูกหอมกระเทียมและใบยากันต่อไป นอกจากนั้นท่านได้เป็นผู้นำในการบำรุงพระพุทธศาสนา ปรับปรุงวัดที่เก่าแก่ให้เจริญก้าวหน้าขึ้นกว่าเดิม ชักชวนราษฎรปั้นอิฐ ก่อกำแพง สร้างวิหาร กุฏิ โบสถ์ วัดวาอาราม บริเวณนอกเมืองและในเมืองลำพูน ชักชวนราษฎรสร้างสะพาน ยกร่องถนนในหมู่บ้านให้ล้อเกวียนเข้าได้ ขุดร่องระบายน้ำเวลาฝนตกราชโอรส ราชธิดา ราชโอรส ราชธิดา. เจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร ทรงมีราชโอรสและราชธิดา รวม 19 พระองค์ อยู่ในราชตระกูล ณ ลำพูน และ ลังการ์พินธุ์ มีพระนามตามลำดับ ดังนี้แม่เจ้าเปาคำเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าเปาคำเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าเปาคำเหมพินธุไพจิตร (มีราชโอรส 1 ราชธิดา 2)- เจ้าหญิงรสคำ (ณ ลำพูน) ณ เชียงใหม่ - ชายา เจ้าน้อยแก้วมรกต ณ เชียงใหม่ - เจ้าน้อยสองเมือง ณ ลำพูน - เจ้าหญิงลัมนุช ณ ลำพูนแม่เจ้าอุษาเหมพินธุไพจิตรราชเทวี แม่เจ้าอุษาเหมพินธุไพจิตรราชเทวี. ใน แม่เจ้าอุษาเหมพินธุไพจิตรเทวี (มีราชโอรส 1)- เจ้าบุรีรัตน์ สุริยะ ณ ลำพูน, เจ้าบุรีรัตน์นครลำพูนแม่เจ้าบัวทิพย์เหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าบัวทิพย์เหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าบัวทิพย์เหมพินธุไพจิตรเทวี (มีราชโอรส 1)- เจ้าไชยสงคราม โอรส ณ ลำพูน, เจ้าไชยสงครามนครลำพูนแม่เจ้าบัวเขียวใหญ่เหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าบัวเขียวใหญ่เหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าบัวเขียวใหญ่เหมพินธุไพจิตรเทวี (มีราชโอรส 1)- เจ้าอุตรการโกศล เมืองคำ ณ ลำพูน, เจ้าอุตรการโกศลนครลำพูนแม่เจ้าบัวเขียวน้อยเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าบัวเขียวน้อยเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าบัวเขียวน้อยเหมพินธุไพจิตร (มีราชโอรส 2)- เจ้าน้อยอินเหลา ณ ลำพูน - เจ้าน้อยคำมุง ณ ลำพูนแม่เจ้าฝางเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าฝางเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าฝางเหมพินธุไพจิตร (มีราชโอรส 1 ราชธิดา 1)- เจ้าหญิงลังกา ณ ลำพูน - เจ้าน้อยอินทยศ ณ ลำพูนแม่เจ้าคำปาเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าคำปาเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าคำปาเหมพินธุไพจิตร (มีราชโอรส 1)- เจ้าน้อยแจ่ม ณ ลำพูนแม่เจ้าบัวล้อมเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าบัวล้อมเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าบัวล้อมเหมพินธุ์ไพจิตร (มีราชโอรส 1)- เจ้าน้อยรามจักร ลังการ์พินธุ์ - เจ้าน้อยรามจักรฯ ได้รับพระราชทานใช้นามราชตระกูลสาขา "ลังการ์พินธุ์"แม่เจ้าบุญเป็งเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าบุญเป็งเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าบุญเป็งเหมพินธุไพจิตร (มีราชโอรส 1)- เจ้าน้อยคำหมื่น ณ ลำพูนแม่เจ้าคำแปงเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าคำแปงเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าคำแปงเหมพินธุไพจิตร (มีราชธิดา 1)- เจ้าหญิงคำแตน ณ ลำพูนแม่เจ้าคำปันเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าคำปันเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าคำปันเหมพินธุไพจิตร (มีราชธิดา 2)- เจ้าหญิงจันทร์ฟอง ณ ลำพูน - เจ้าหญิงจันทร์เที่ยง ณ ลำพูนแม่เจ้าปันเหมพินธุไพจิตร แม่เจ้าปันเหมพินธุไพจิตร. ใน แม่เจ้าปันเหมพินธุไพจิตร (มีราชธิดา 2)- เจ้าหญิงมุกดิ์ ณ ลำพูน - เจ้าหญิงพิมพา ณ ลำพูนหม่อม - หม่อม -. ใน หม่อม - (มีราชธิดา 1)- เจ้าหญิงแว่นคำ (ณ ลำพูน) ธนัญชยานนท์ - ชายา เจ้าราชบุตร มหาวัน ธนัญชยานนท์, เจ้าราชบุตรนครลำพูนลำดับสาแหรก
| บิดาของเจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตรเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 8 คือใคร | {
"answer": [
"เจ้าหลวงไชยลังกาพิศาลโสภาคย์คุณ"
],
"answer_begin_position": [
325
],
"answer_end_position": [
356
]
} |
255 | 475,300 | เทือกเขาคาร์เพเทียน เทือกเขาคาร์เพเทียน () เป็นเทือกเขาที่มีความยาวราว 1,500 กม. (932 ไมล์) ในทวีปยุโรปตอนกลางและตะวันออก เป็นเทือกเขาที่มีความยาวเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (รองจากเทือกเขาสแกนดิเนเวีย ที่มีความยาว 1,700 กม. (1,056 ไมล์) เทือกเขาคาร์เพเทียนแบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ ทิวเขาเวสเทิร์นคาร์เพเทียน (เช็กเกีย โปแลนด์ สโลวาเกีย), ทิวเขาเซนทรัลคาร์เพเทียน (โปแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ สโลวาเกียตะวันออก ยูเครน โรมาเนีย) และอีสเทิร์นคาร์เพเทียน (โรมาเนีย เซอร์เบีย) เทือกเขาสูงสุดของคาร์เพเทียนคือทาทรัส เป็นชายแดนระหว่างโปแลนด์กับสโลวาเกีย มีจุดสูงสุดมากกว่า 2,600 ม. (8,530 ฟุต) ยอดสูงสุดชื่อ เกร์ลาคอฟกา
| เทือกเขาที่ยาวที่สุดในทวีปยุโรป คือเทือกเขาอะไร | {
"answer": [
"เทือกเขาสแกนดิเนเวีย"
],
"answer_begin_position": [
268
],
"answer_end_position": [
288
]
} |
256 | 475,300 | เทือกเขาคาร์เพเทียน เทือกเขาคาร์เพเทียน () เป็นเทือกเขาที่มีความยาวราว 1,500 กม. (932 ไมล์) ในทวีปยุโรปตอนกลางและตะวันออก เป็นเทือกเขาที่มีความยาวเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (รองจากเทือกเขาสแกนดิเนเวีย ที่มีความยาว 1,700 กม. (1,056 ไมล์) เทือกเขาคาร์เพเทียนแบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ ทิวเขาเวสเทิร์นคาร์เพเทียน (เช็กเกีย โปแลนด์ สโลวาเกีย), ทิวเขาเซนทรัลคาร์เพเทียน (โปแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ สโลวาเกียตะวันออก ยูเครน โรมาเนีย) และอีสเทิร์นคาร์เพเทียน (โรมาเนีย เซอร์เบีย) เทือกเขาสูงสุดของคาร์เพเทียนคือทาทรัส เป็นชายแดนระหว่างโปแลนด์กับสโลวาเกีย มีจุดสูงสุดมากกว่า 2,600 ม. (8,530 ฟุต) ยอดสูงสุดชื่อ เกร์ลาคอฟกา
| เทือกเขาที่มีความยาวเป็นอันดับ 2 ในยุโรป คือเทือกเขาอะไร | {
"answer": [
"เทือกเขาคาร์เพเทียน"
],
"answer_begin_position": [
114
],
"answer_end_position": [
133
]
} |
257 | 938,376 | วัดน้อย (จังหวัดน่าน) โบราณสถานวัดน้อย หรือเรียกโดยย่อว่า วัดน้อย เป็นวัดแห่งหนึ่งในจังหวัดน่าน ตั้งอยู่ภายในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่านใกล้วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร สร้างตามพระประสงค์ในพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช และมีชื่อเสียงจากการเป็นวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในประเทศไทยประวัติ ประวัติ. พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช พระเจ้าผู้ครองนครน่าน ได้มีโอกาสเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้ากรุงสยามในปี พ.ศ. 2416 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระดำรัสตรัสถามถึงจำนวนวัดภายในน่าน พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชได้กราบทูลว่าในน่านมีวัดทั้งหมด 500 วัด เมื่อพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชกลับน่านจึงสำรวจจำนวนวัดใหม่อีกครั้ง ก็พบว่ามีวัดทั้งหมด 499 วัด คลาดไปหนึ่งวัด ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้ช่างพื้นเมืองน่านก่อสร้างวัดตรงโคนต้นโพหน้าหอคำหรือวังที่พระองค์ประทับ เพื่อให้วัดครบจำนวนตามที่กราบทูลพระเจ้ากรุงสยามเป็นสัจจวาจา และตั้งชื่อว่า "วัดน้อย" ต่อมาหอคำได้กลายสภาพเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่านในปัจจุบัน บางแห่งก็ว่าวัดน้อยคือหอเสื้อเมืองมากกว่าที่จะเป็นวัดในพุทธศาสนาโครงสร้าง โครงสร้าง. โครงสร้างของวัดน้อยมีลักษณะเป็นวิหารก่ออิฐถือปูนศิลปะล้านนาสกุลช่างเมืองน่านผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหันไปทางทิศตะวันออก หลังคาก่ออิฐถือปูนเป็นทรงจั่วซ้อนกันสองชั้น แต่มีขนาดน้อยคล้ายศาลพระภูมิ เพราะมีขนาดกว้าง 1.98 เมตร ยาว 2.34 เมตร และสูง 3.35 เมตร ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป และแผงพระพิมพ์ไม้ จากลักษณะที่โดดเด่นของวัดน้อยที่เป็นวัดที่เล็กที่สุดในประเทศไทย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยจึงยกให้วัดน้อยเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอันซีนอินไทยแลนด์ด้วย
| ผู้สร้างวัดน้อย จังหวัดน่าน คือใคร | {
"answer": [
"พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช"
],
"answer_begin_position": [
378
],
"answer_end_position": [
401
]
} |
1,727 | 938,376 | วัดน้อย (จังหวัดน่าน) โบราณสถานวัดน้อย หรือเรียกโดยย่อว่า วัดน้อย เป็นวัดแห่งหนึ่งในจังหวัดน่าน ตั้งอยู่ภายในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่านใกล้วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร สร้างตามพระประสงค์ในพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช และมีชื่อเสียงจากการเป็นวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในประเทศไทยประวัติ ประวัติ. พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช พระเจ้าผู้ครองนครน่าน ได้มีโอกาสเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้ากรุงสยามในปี พ.ศ. 2416 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระดำรัสตรัสถามถึงจำนวนวัดภายในน่าน พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชได้กราบทูลว่าในน่านมีวัดทั้งหมด 500 วัด เมื่อพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชกลับน่านจึงสำรวจจำนวนวัดใหม่อีกครั้ง ก็พบว่ามีวัดทั้งหมด 499 วัด คลาดไปหนึ่งวัด ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้ช่างพื้นเมืองน่านก่อสร้างวัดตรงโคนต้นโพหน้าหอคำหรือวังที่พระองค์ประทับ เพื่อให้วัดครบจำนวนตามที่กราบทูลพระเจ้ากรุงสยามเป็นสัจจวาจา และตั้งชื่อว่า "วัดน้อย" ต่อมาหอคำได้กลายสภาพเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่านในปัจจุบัน บางแห่งก็ว่าวัดน้อยคือหอเสื้อเมืองมากกว่าที่จะเป็นวัดในพุทธศาสนาโครงสร้าง โครงสร้าง. โครงสร้างของวัดน้อยมีลักษณะเป็นวิหารก่ออิฐถือปูนศิลปะล้านนาสกุลช่างเมืองน่านผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหันไปทางทิศตะวันออก หลังคาก่ออิฐถือปูนเป็นทรงจั่วซ้อนกันสองชั้น แต่มีขนาดน้อยคล้ายศาลพระภูมิ เพราะมีขนาดกว้าง 1.98 เมตร ยาว 2.34 เมตร และสูง 3.35 เมตร ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป และแผงพระพิมพ์ไม้ จากลักษณะที่โดดเด่นของวัดน้อยที่เป็นวัดที่เล็กที่สุดในประเทศไทย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยจึงยกให้วัดน้อยเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอันซีนอินไทยแลนด์ด้วย
| วัดน้อย ในจังหวัดน่าน ตั้งอยู่ภายในพิพิธฑสถานแห่งชาติใกล้กับวัดอะไร | {
"answer": [
"วัดพระธาตุช้างค้ำวรวิหาร"
],
"answer_begin_position": [
235
],
"answer_end_position": [
259
]
} |
258 | 462,321 | พระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ) พระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ) อดีตเจ้าอาวาสวัดอโศการาม หมู่ 2 ซ.สุขาภิบาล 58 ถ.สุขุมวิท (กม.31) ต.ท้ายบ้าน อ.เมือง จ.สมุทรปราการประวัติชาติกำเนิด ประวัติ. ชาติกำเนิด. พระเทพโมลี มีชาติกำเนิดในสกุล “อุตตรนคร” มีนามเดิมว่า “สำรอง” เกิดเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 ตรงกับวันจันทร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ปีกุน ณ ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โยมมารดาชื่อ “นิ่ม” มีบ้านเดิม อยู่ที่อำเภอหนองสองห้อง และเป็นญาติกับพระสุทธิธรรมรังสีคัมภีรเมทาจารย์(พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร) โยมบิดาชื่อ “สี” ท่านเป็นบุตรคนที่ 4 ในพี่น้อง 10 คนอุปสมบท อุปสมบท. พระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ) ได้อุปสมบทที่วัดพุทธวิสัยยาราม (วัดท่าน้ำพอง) ปี พ.ศ. 2474 โดยมีพระครูแก้ว วัดพิชัยพัฒนา เป็นอุปัชฌาย์ พระครูสมุห์ค้ำ เป็นพระกรรมวาจารย์ พระครูบุญตา เป็นพระอนุสาวานาจารย์ สังกัดมหานิกาย ในปี พ.ศ. 2476 ท่านได้รับการญัตติใหม่เป็นธรรมยุติ โดยมี พระพรหมมุนี(ติสฺโส อ้วน) เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส เป็นพระอุปฌาย์ พระคุณธรรมฐิติญาณ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระญาณดิลก(พิมพ์) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า คุณวุฑฺโฒ และในปีนั้นเองท่านได้ตั้งใจศึกษาธรรมจนสอบได้ นักธรรมชั้นโท ในปีต่อมาท่าน สอบได้เปรียญธรรมประโยค 3 และได้ย้ายมาพำนักอยู่ที่วัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ และตั้งใจศึกษาธรรมจนในปี 2480 ท่านสอบได้เปรียญธรรม 5 เมื่อท่านสอบได้เปรียญธรรม 5 แล้ว จึงหันมาตั้งใจในแนวทางของการปฏิบัติ ท่านก็ได้ออกธุดงค์ไปกับหมู่สหธรรมิกเพื่อหาประสบการณ์ ในปี พ.ศ. 2482 ได้ไปจำวัดอยู่ที่วัดเจดีย์หลวง ทำหน้าที่เป็นครูสอนบาลีไวยากรณ์ ช่วยสนองงานท่านเจ้าคุณญาณดิลก ซึ่งในขณะนั้นท่านเจ้าคุณ ได้รับหน้าที่ดูแลคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตที่จังหวัด เชียงใหม่ และได้เป็นจังหวะดียิ่งที่ในช่วงเวลานั้น ท่านพระอาจารย์ มั่น ภูริทตฺโต ได้เดินทางผ่านมาพักที่วัดเจดีย์หลวง จึงได้มีโอกาส กราบนมัสการฟังธรรมและอบรมสมาธิกับพระอาจารย์มั่นบ้าง และเมื่อมีเวลาท่านก็จะท่องเที่ยวจาริกหาที่วิเวกปฏิบัติธรรม ตามป่าเขาทางภาคเหนือ เคยได้ไปพักอยู่กับ พระอาจารย์หนูและหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณวัดอโศกราม วัดอโศกราม. ในปี พ.ศ. 2485 คณะรัฐบาลของจอมพล ป พิบูลสงคราม มีความประสงค์จะให้ พระทั้งมหานิกายและธรรมยุติอยู่รวมกันเป็นคณะเดียวจึงได้สร้างวัดศรีมหาธาตุขึ้น โดยอาราธนา สมเด็จพระมหาวีรวงศ์(อ้วน ติสฺโส)ให้ไปเป็นเจ้าอาวาส ท่านจึงได้รับเลือกเป็นเลขานุการของสมเด็จรูปหนึ่ง และในปี 2505 ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการเจ้าอาวาสวัดอโศการาม จวบจนปี พ.ศ 2509 ท่านจึงได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดอโศการามมรณภาพ มรณภาพ. พระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ) ท่านได้ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ขณะอายุได้ 89 ปี พรรษาที่ 68สมณศักดิ์สมณศักดิ์. - พ.ศ 2494 ได้รับการแต่งตั้งเป็น "พระครูศรีมหาเจติยาภิมนต์" - พ.ศ 2497 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ “พระศรีวิศาลคุณ” - พ.ศ 2505 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ “พระราชวรคุณ” - พ.ศ 2528 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ “พระเทพโมลี”
| บ้านเกิดของพระเทพโมลี หรือ สำรอง คุณวุฑฺโฒ อยู่ที่จังหวัดใด | {
"answer": [
"จังหวัดขอนแก่น"
],
"answer_begin_position": [
463
],
"answer_end_position": [
477
]
} |
259 | 462,321 | พระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ) พระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ) อดีตเจ้าอาวาสวัดอโศการาม หมู่ 2 ซ.สุขาภิบาล 58 ถ.สุขุมวิท (กม.31) ต.ท้ายบ้าน อ.เมือง จ.สมุทรปราการประวัติชาติกำเนิด ประวัติ. ชาติกำเนิด. พระเทพโมลี มีชาติกำเนิดในสกุล “อุตตรนคร” มีนามเดิมว่า “สำรอง” เกิดเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 ตรงกับวันจันทร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ปีกุน ณ ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โยมมารดาชื่อ “นิ่ม” มีบ้านเดิม อยู่ที่อำเภอหนองสองห้อง และเป็นญาติกับพระสุทธิธรรมรังสีคัมภีรเมทาจารย์(พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร) โยมบิดาชื่อ “สี” ท่านเป็นบุตรคนที่ 4 ในพี่น้อง 10 คนอุปสมบท อุปสมบท. พระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ) ได้อุปสมบทที่วัดพุทธวิสัยยาราม (วัดท่าน้ำพอง) ปี พ.ศ. 2474 โดยมีพระครูแก้ว วัดพิชัยพัฒนา เป็นอุปัชฌาย์ พระครูสมุห์ค้ำ เป็นพระกรรมวาจารย์ พระครูบุญตา เป็นพระอนุสาวานาจารย์ สังกัดมหานิกาย ในปี พ.ศ. 2476 ท่านได้รับการญัตติใหม่เป็นธรรมยุติ โดยมี พระพรหมมุนี(ติสฺโส อ้วน) เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส เป็นพระอุปฌาย์ พระคุณธรรมฐิติญาณ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระญาณดิลก(พิมพ์) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า คุณวุฑฺโฒ และในปีนั้นเองท่านได้ตั้งใจศึกษาธรรมจนสอบได้ นักธรรมชั้นโท ในปีต่อมาท่าน สอบได้เปรียญธรรมประโยค 3 และได้ย้ายมาพำนักอยู่ที่วัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ และตั้งใจศึกษาธรรมจนในปี 2480 ท่านสอบได้เปรียญธรรม 5 เมื่อท่านสอบได้เปรียญธรรม 5 แล้ว จึงหันมาตั้งใจในแนวทางของการปฏิบัติ ท่านก็ได้ออกธุดงค์ไปกับหมู่สหธรรมิกเพื่อหาประสบการณ์ ในปี พ.ศ. 2482 ได้ไปจำวัดอยู่ที่วัดเจดีย์หลวง ทำหน้าที่เป็นครูสอนบาลีไวยากรณ์ ช่วยสนองงานท่านเจ้าคุณญาณดิลก ซึ่งในขณะนั้นท่านเจ้าคุณ ได้รับหน้าที่ดูแลคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตที่จังหวัด เชียงใหม่ และได้เป็นจังหวะดียิ่งที่ในช่วงเวลานั้น ท่านพระอาจารย์ มั่น ภูริทตฺโต ได้เดินทางผ่านมาพักที่วัดเจดีย์หลวง จึงได้มีโอกาส กราบนมัสการฟังธรรมและอบรมสมาธิกับพระอาจารย์มั่นบ้าง และเมื่อมีเวลาท่านก็จะท่องเที่ยวจาริกหาที่วิเวกปฏิบัติธรรม ตามป่าเขาทางภาคเหนือ เคยได้ไปพักอยู่กับ พระอาจารย์หนูและหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณวัดอโศกราม วัดอโศกราม. ในปี พ.ศ. 2485 คณะรัฐบาลของจอมพล ป พิบูลสงคราม มีความประสงค์จะให้ พระทั้งมหานิกายและธรรมยุติอยู่รวมกันเป็นคณะเดียวจึงได้สร้างวัดศรีมหาธาตุขึ้น โดยอาราธนา สมเด็จพระมหาวีรวงศ์(อ้วน ติสฺโส)ให้ไปเป็นเจ้าอาวาส ท่านจึงได้รับเลือกเป็นเลขานุการของสมเด็จรูปหนึ่ง และในปี 2505 ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการเจ้าอาวาสวัดอโศการาม จวบจนปี พ.ศ 2509 ท่านจึงได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดอโศการามมรณภาพ มรณภาพ. พระเทพโมลี (สำรอง คุณวุฑฺโฒ) ท่านได้ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ขณะอายุได้ 89 ปี พรรษาที่ 68สมณศักดิ์สมณศักดิ์. - พ.ศ 2494 ได้รับการแต่งตั้งเป็น "พระครูศรีมหาเจติยาภิมนต์" - พ.ศ 2497 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ “พระศรีวิศาลคุณ” - พ.ศ 2505 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ “พระราชวรคุณ” - พ.ศ 2528 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ “พระเทพโมลี”
| พระอุปัชฌาย์ของพระเทพโมลี หรือ สำรอง คุณวุฑฺโฒ มีนามว่าอะไร | {
"answer": [
"พระครูแก้ว"
],
"answer_begin_position": [
764
],
"answer_end_position": [
774
]
} |
260 | 313,257 | ทาทา มอเตอร์ส ทาทา มอเตอร์ส () บริษัทผู้ผลิตรถยนต์สัญชาติอินเดีย เป็นบริษัทย่อยของทาทา กรุ๊ป มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองมุมไบ ประเทศอินเดีย เดิมมีชื่อว่า TELCO (TATA Engineering and Locomotive Company) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1945 เป็นผู้ผลิตหัวรถจักร และเริ่มผลิตรถยนต์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1954 โดยเป็นผลงานร่วมทุนกับเดมเลอร์-เบนซ์ ในปี ค.ศ. 2008 ทาทา มอเตอร์ส ได้ซื้อกิจการรถยนต์จากัวร์ และแลนด์โรเวอร์ จากฟอร์ดมอเตอร์ส ทำให้บริษัทมียอดขายรวม 16 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และติดอันดับผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่อันดับที่ 19 ของโลก ก่อนหน้านั้นในปี ค.ศ. 2004 ทาทา มอเตอร์ส ได้ซื้อกิจการผลิตรถบรรทุกมาจากแดวู และดำเนินกิจการในชื่อ ทาทา แดวู ทาทา มอเตอร์ส มีโรงงานอยู่ที่เมือง Jamshedpur รัฐฌาร์ขัณฑ์, Pantnagar รัฐอุตตราขัณฑ์, Lucknow รัฐอุตตรประเทศ, Ahmedabad รัฐคุชราต และเมือง Pune รัฐมหาราษฏระ ในต่างประเทศมีโรงงานอยู่ที่อาร์เจนตินา แอฟริกาใต้ และโรงงานในประเทศไทยที่จังหวัดสมุทรปราการ ทาทา มอเตอร์ส เป็นผู้ออกแบบและผลิตรถรุ่น ทาทา นาโน เป็นรถยนต์ขนาดเล็กที่ตั้งเป้าหมายว่า จะให้เป็นรถยนต์ที่มีราคาจำหน่ายถูกที่สุดในโลก
| ทาทา มอเตอร์ส เป็นบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ของประเทศอะไร | {
"answer": [
"อินเดีย"
],
"answer_begin_position": [
145
],
"answer_end_position": [
152
]
} |
261 | 313,257 | ทาทา มอเตอร์ส ทาทา มอเตอร์ส () บริษัทผู้ผลิตรถยนต์สัญชาติอินเดีย เป็นบริษัทย่อยของทาทา กรุ๊ป มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองมุมไบ ประเทศอินเดีย เดิมมีชื่อว่า TELCO (TATA Engineering and Locomotive Company) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1945 เป็นผู้ผลิตหัวรถจักร และเริ่มผลิตรถยนต์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1954 โดยเป็นผลงานร่วมทุนกับเดมเลอร์-เบนซ์ ในปี ค.ศ. 2008 ทาทา มอเตอร์ส ได้ซื้อกิจการรถยนต์จากัวร์ และแลนด์โรเวอร์ จากฟอร์ดมอเตอร์ส ทำให้บริษัทมียอดขายรวม 16 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และติดอันดับผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่อันดับที่ 19 ของโลก ก่อนหน้านั้นในปี ค.ศ. 2004 ทาทา มอเตอร์ส ได้ซื้อกิจการผลิตรถบรรทุกมาจากแดวู และดำเนินกิจการในชื่อ ทาทา แดวู ทาทา มอเตอร์ส มีโรงงานอยู่ที่เมือง Jamshedpur รัฐฌาร์ขัณฑ์, Pantnagar รัฐอุตตราขัณฑ์, Lucknow รัฐอุตตรประเทศ, Ahmedabad รัฐคุชราต และเมือง Pune รัฐมหาราษฏระ ในต่างประเทศมีโรงงานอยู่ที่อาร์เจนตินา แอฟริกาใต้ และโรงงานในประเทศไทยที่จังหวัดสมุทรปราการ ทาทา มอเตอร์ส เป็นผู้ออกแบบและผลิตรถรุ่น ทาทา นาโน เป็นรถยนต์ขนาดเล็กที่ตั้งเป้าหมายว่า จะให้เป็นรถยนต์ที่มีราคาจำหน่ายถูกที่สุดในโลก
| โรงงานทาทา มอเตอร์สในประเทศไทยอยู่ที่จังหวัดอะไร | {
"answer": [
"จังหวัดสมุทรปราการ"
],
"answer_begin_position": [
936
],
"answer_end_position": [
954
]
} |
262 | 196,149 | บอลทิมอร์ บอลทิมอร์ () เป็นเมืองอิสระ และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐแมริแลนด์ สหรัฐอเมริกา โดยอยู่ห่างจากวอชิงตัน ดี.ซี. ประมาณ 64 กิโลเมตร ในตัวเมืองบอลทิมอร์มีประชากรประมาณ 630,000 คน บอลทิมอร์ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1729 โดยเป็นเมืองท่าที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาฝั่งตะวันออกแห่งหนึ่ง ในปัจจุบันสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงในบอลทิมอร์คือ มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ โดยภายนอกเมืองมีสนามบินนานาชาติ สนามบินบอลทิมอร์-วอชิงตัน เป็นสนามบินหลักในบริเวณ ในปี 2561 บอลทิมอร์ ติดใน 50 อันดับเมืองที่อันตรายที่สุดในโลก
| บอลทิมอร์ เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐแมริแลนด์ประเทศอะไร | {
"answer": [
"สหรัฐอเมริกา"
],
"answer_begin_position": [
162
],
"answer_end_position": [
174
]
} |
263 | 196,149 | บอลทิมอร์ บอลทิมอร์ () เป็นเมืองอิสระ และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐแมริแลนด์ สหรัฐอเมริกา โดยอยู่ห่างจากวอชิงตัน ดี.ซี. ประมาณ 64 กิโลเมตร ในตัวเมืองบอลทิมอร์มีประชากรประมาณ 630,000 คน บอลทิมอร์ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1729 โดยเป็นเมืองท่าที่สำคัญของสหรัฐอเมริกาฝั่งตะวันออกแห่งหนึ่ง ในปัจจุบันสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงในบอลทิมอร์คือ มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ โดยภายนอกเมืองมีสนามบินนานาชาติ สนามบินบอลทิมอร์-วอชิงตัน เป็นสนามบินหลักในบริเวณ ในปี 2561 บอลทิมอร์ ติดใน 50 อันดับเมืองที่อันตรายที่สุดในโลก
| มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของเมืองบอลทิมอร์ รัฐแมริแลนด์ ประเทศสหรัฐอเมริกา มีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์"
],
"answer_begin_position": [
409
],
"answer_end_position": [
433
]
} |
264 | 726,429 | นาคี นาคี เป็นละครโทรทัศน์ไทยในปี พ.ศ. 2559 จากบทประพันธ์ เรื่อง นาคี ของ ตรี อภิรุม สร้างโดย บริษัท ดู เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด ควบคุมการผลิตโดย ธัญญา วชิรบรรจง กำกับการแสดงโดย พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง และนำแสดงโดย ณฐพร เตมีรักษ์, ภูภูมิ พงศ์ภาณุ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทุกวันจันทร์-อังคาร เริ่มตอนแรกเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2559นักแสดงงานสร้าง งานสร้าง. นาคี ได้มีการถ่ายทำผ่านฉากบลูสกรีนโดยผ่านการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ กราฟิก (Computer Graphic) จากทีม Fatcat ที่สร้างผลงานด้านกราฟิกมาแล้วเรื่อง รากบุญ, มณีสวาท, บุรำปรัมปรา เข้ามาช่วยเสริมสร้างตัวงู, ตัวพญานาคหรือตัวงูเจ้าแม่นาคีรวมไปถึงสัตว์ประหลาดตัวอื่น ๆ ขึ้นมาให้เนียนและมีความสมจริงมากที่สุด รวมไปถึงละครเรื่องนี้ ได้ใช้สถานที่ท่องเที่ยวหรือแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมจากแต่ละภาคในประเทศไทยในการถ่ายทำละครอีกด้วย ซึ่งมีจังหวัดที่อยู่นอกเหนือจากกรุงเทพมหานครแล้วนั้นยังมีจังหวัดอื่น ๆ อีก จากภาคเหนือ, ภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาทิ จังหวัดนครราชสีมา, จังหวัดบุรัรัมย์, จังหวัดกาญจนบุรี, จังหวัดชัยภูมิ, จังหวัดราชบุรี, จังหวัดอุทัยธานี, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดนครนายก, จังหวัดสระบุรี, จังหวัดปทุมธานี เป็นต้น ด้านการแสดง ที่มีการเลือกใช้ภาษาอีสานทั้งเรื่องนั้น สรรัตน์ ผู้เขียนบท บอกถึงวัตถุประสงค์ว่า หวังจะให้คนดูกลับมาชื่นชมกับภูมิปัญญา และมองภาษาอีสานเป็นเรื่องทันสมัย ลบล้างทัศนคติเดิม ๆ ที่มองว่า พูดอีสานแล้วเป็นคนต่างจังหวัด ทำให้ใครก็ตามที่พูดอีสานแล้วไม่ฟังดูเชย ส่วนที่เลือกใช้ภาษาอีสานสำเนียงอุบล เนื่องจากมีคำกล่าวว่า สำเนียงนี้มีความอ่อนช้อย ไพเราะ ในกองถ่ายจะมีครูแปลภาษาอีสานโดยเฉพาะ เพื่อแปลบทที่เป็นภาษากลาง ให้เป็นภาษาอีสาน พูดออกเสียงแล้วอัดใส่ที่อัดเสียง ส่งให้นักแสดงแต่ละคนฟัง แล้วท่องจำสำเนียงจนคุ้นหูก่อนจะเอามาพูดในฉากที่ต้องแสดงการตอบรับคำวิจารณ์ การตอบรับ. คำวิจารณ์. ด้านคำวิจารณ์ มติชนชื่นชมในเรื่อง "การฝึกตัวละครให้ใช้ภาษาอีสานเดินเรื่อง ตามภูมิหลังของสถานที่ ตามมาด้วยการชมความงามของตัวละครนำ ณฐพร เตมีรักษ์ ทั้งในชุดโบราณ และการไม่แต่งหน้ามาก ซึ่งประการหลังดูจะควบคุมให้พอดีไปถึงตัวละครอื่น ๆ ด้วย จากนั้นจึงพูดกันถึงการใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพ ก็ได้เสียงชมที่สามารถทำให้กลมกลืนไปกับการแสดงของตัวละครได้ ไม่โดดเป็นการ์ตูนผสมหนังออกมา แล้วจึงเป็นการชมกระบวนงานสร้าง ซึ่งที่เด่นจนเห็นได้คือการพยายามใช้แสงจริงตามกาลเทศะ เช่นแสงตะเกียงตอนกลางคืนเป็นต้น นอกเหนือความตั้งใจให้สมจริงของสภาพแวดล้อมหมู่บ้านในเรื่อง" เรื่องบทบาทตัวละคร ได้รับคำวิจารณ์ว่า "ตัวละครที่สวมบทสาขาอาชีพใดอาชีพหนึ่งเหล่านั้น มักมีพฤติกรรมแบบละครไทยหนังไทยผิดมนุษย์มนาจริง ๆ ไปมาก"เรตติ้ง เรตติ้ง. การตอบรับของละครเรื่องนี้ทั้งหมดสิบเอ็ดตอนที่ได้ออกอากาศไป เมื่อวันที่ 26 กันยายน – 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559 นาคี ทำเรตติ้งต่อตอนสูงสุดและเรตติ้งเฉลี่ยสูงสุดของปี 2559ผลการสำรวจความนิยม ผลการสำรวจความนิยม. นาคี ถูกยกให้เป็นละครแห่งปีจากสื่อบันเทิง และโพลมหาชนสำนักต่าง ๆ ติดเทรนด์อันดับหนึ่งกระแสโซเชียลยอดนิยมของโลก คนในวงการบันเทิงยกย่องให้เป็นละครแห่งปี 2559 ณฐพร เตมีรักษ์ นักแสดงนำของละครเรื่องได้รับฉายาว่า "คำแก้ว ให้แต้วเกิด" จากสมาคมนักข่าวบันเทิง และถูกยกให้เป็น "นางเอกในดวงใจ" อันดับหนึ่ง ด้วยคะแนนร้อยละ 25.1% นอกจากนี้ยังได้รับรางวัล APOP ขวัญใจประชาชนจากอมรินทร์ทีวี สำนักงานวิจัยซูเปอร์โพล เปิดเผยผลสำรวจเรื่องที่สุดแห่งความบันเทิงปี 2559 กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนทุกสาขาอาชีพจำนวน 1,241 คน ดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 12-17 ธันวาคม 2559 นาคี ถูกจัดให้อยู่อันดับหนึ่งละครที่ประชาชนชอบมากที่สุดแห่งปี ซึ่งได้คะแนนร้อยละ 75.6 ในขณะที่ ณฐพรถูกจัดให้อยู่อันดับหนึ่งดาราหญิงที่ประชาชนชื่นชอบมากที่สุดแห่งปี ได้คะแนนร้อยละ 54.5% และ ภูภูมิ พงศ์ภาณุ ก็ถูกจัดอันดับหนึ่งดาราชายที่ประชาชนชื่นชอบมากที่สุดแห่งปีเช่นเดียวกัน ได้คะแนนร้อยละ 33.33% กรุงเทพโพลล์ โดยศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เผยผลสำรวจความคิดเห็นประชาชนเรื่อง “ที่สุดแห่งปี 2559” โดยเก็บข้อมูลจากประชาชนในกรุงเทพฯ และปริมณฑล จำนวน 1,160 คน ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ระหว่างวันที่ 16-20 ธันวาคม 2559 อันดับหนึ่งที่สุดของละครไทยที่ชื่นชอบ ได้แก่ นาคี ซึ่งได้คะแนนไป 71.6% อันดับหนึ่งดาราหญิงที่มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ชื่นชอบได้แก่ ณฐพร ร้อยละ 27.6% และอันดับสามดาราชายที่มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ชื่นชอบได้แก่ ภูภูมิ ร้อยละ 12.8% สวนดุสิตโพล โดยมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชน กรณี “ที่สุดแห่งปี” ได้สำรวจความคิดเห็นจากประชาชนทุกสาขาอาชีพทั่วประเทศ จำนวน 5,694 คน ระหว่างวันที่ 10-29 ธันวาคม 2559 ณฐพรถูกจัดอันดับสองดาราหญิงที่ชื่นชอบมากที่สุด ร้อยละ 26.10% อีสานโพล โดยศูนย์วิจัยธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เผยผลสำรวจเรื่อง "รางวัลแห่งปีของคนอีสาน ปี 2559" จากกลุ่มตัวอย่าง 2,530 คน นาคี ถูกจัดอันดับหนึ่งละครจอแก้วแห่งปี ได้คะแนนร้อยละ 23.7% ณฐพรถูกจัดอันดับหนึ่งนางเอกแห่งปี ร้อยละ 15.1% ภูภูมิอันดับสองพระเอกแห่งปี ร้อยละ 9.7% "คู่คอง" อันดับหนึ่งเพลงดังแห่งปี ร้อยละ 14.6% ก้อง ห้วยไร่ อันดับหนึ่งนักร้องชายแห่งปี ร้อยละ 12.7% ส่วนอีกเพลงที่ใช้ประกอบคือ เพลง "ขาดเธอขาดใจ" (เพลงปิดเรื่องตอนที่ 1-10) ขับร้องโดย นัท ชาติชายรางวัลและการเสนอชื่อ
| ผู้กำกับการแสดงละครเรื่อง นาคี ละครโทรทัศน์ไทยฉายในปี พ.ศ. 2559 คือใคร | {
"answer": [
"พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง"
],
"answer_begin_position": [
257
],
"answer_end_position": [
276
]
} |
1,897 | 726,429 | นาคี นาคี เป็นละครโทรทัศน์ไทยในปี พ.ศ. 2559 จากบทประพันธ์ เรื่อง นาคี ของ ตรี อภิรุม สร้างโดย บริษัท ดู เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด ควบคุมการผลิตโดย ธัญญา วชิรบรรจง กำกับการแสดงโดย พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง และนำแสดงโดย ณฐพร เตมีรักษ์, ภูภูมิ พงศ์ภาณุ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทุกวันจันทร์-อังคาร เริ่มตอนแรกเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2559นักแสดงงานสร้าง งานสร้าง. นาคี ได้มีการถ่ายทำผ่านฉากบลูสกรีนโดยผ่านการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ กราฟิก (Computer Graphic) จากทีม Fatcat ที่สร้างผลงานด้านกราฟิกมาแล้วเรื่อง รากบุญ, มณีสวาท, บุรำปรัมปรา เข้ามาช่วยเสริมสร้างตัวงู, ตัวพญานาคหรือตัวงูเจ้าแม่นาคีรวมไปถึงสัตว์ประหลาดตัวอื่น ๆ ขึ้นมาให้เนียนและมีความสมจริงมากที่สุด รวมไปถึงละครเรื่องนี้ ได้ใช้สถานที่ท่องเที่ยวหรือแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมจากแต่ละภาคในประเทศไทยในการถ่ายทำละครอีกด้วย ซึ่งมีจังหวัดที่อยู่นอกเหนือจากกรุงเทพมหานครแล้วนั้นยังมีจังหวัดอื่น ๆ อีก จากภาคเหนือ, ภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาทิ จังหวัดนครราชสีมา, จังหวัดบุรัรัมย์, จังหวัดกาญจนบุรี, จังหวัดชัยภูมิ, จังหวัดราชบุรี, จังหวัดอุทัยธานี, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดนครนายก, จังหวัดสระบุรี, จังหวัดปทุมธานี เป็นต้น ด้านการแสดง ที่มีการเลือกใช้ภาษาอีสานทั้งเรื่องนั้น สรรัตน์ ผู้เขียนบท บอกถึงวัตถุประสงค์ว่า หวังจะให้คนดูกลับมาชื่นชมกับภูมิปัญญา และมองภาษาอีสานเป็นเรื่องทันสมัย ลบล้างทัศนคติเดิม ๆ ที่มองว่า พูดอีสานแล้วเป็นคนต่างจังหวัด ทำให้ใครก็ตามที่พูดอีสานแล้วไม่ฟังดูเชย ส่วนที่เลือกใช้ภาษาอีสานสำเนียงอุบล เนื่องจากมีคำกล่าวว่า สำเนียงนี้มีความอ่อนช้อย ไพเราะ ในกองถ่ายจะมีครูแปลภาษาอีสานโดยเฉพาะ เพื่อแปลบทที่เป็นภาษากลาง ให้เป็นภาษาอีสาน พูดออกเสียงแล้วอัดใส่ที่อัดเสียง ส่งให้นักแสดงแต่ละคนฟัง แล้วท่องจำสำเนียงจนคุ้นหูก่อนจะเอามาพูดในฉากที่ต้องแสดงการตอบรับคำวิจารณ์ การตอบรับ. คำวิจารณ์. ด้านคำวิจารณ์ มติชนชื่นชมในเรื่อง "การฝึกตัวละครให้ใช้ภาษาอีสานเดินเรื่อง ตามภูมิหลังของสถานที่ ตามมาด้วยการชมความงามของตัวละครนำ ณฐพร เตมีรักษ์ ทั้งในชุดโบราณ และการไม่แต่งหน้ามาก ซึ่งประการหลังดูจะควบคุมให้พอดีไปถึงตัวละครอื่น ๆ ด้วย จากนั้นจึงพูดกันถึงการใช้คอมพิวเตอร์สร้างภาพ ก็ได้เสียงชมที่สามารถทำให้กลมกลืนไปกับการแสดงของตัวละครได้ ไม่โดดเป็นการ์ตูนผสมหนังออกมา แล้วจึงเป็นการชมกระบวนงานสร้าง ซึ่งที่เด่นจนเห็นได้คือการพยายามใช้แสงจริงตามกาลเทศะ เช่นแสงตะเกียงตอนกลางคืนเป็นต้น นอกเหนือความตั้งใจให้สมจริงของสภาพแวดล้อมหมู่บ้านในเรื่อง" เรื่องบทบาทตัวละคร ได้รับคำวิจารณ์ว่า "ตัวละครที่สวมบทสาขาอาชีพใดอาชีพหนึ่งเหล่านั้น มักมีพฤติกรรมแบบละครไทยหนังไทยผิดมนุษย์มนาจริง ๆ ไปมาก"เรตติ้ง เรตติ้ง. การตอบรับของละครเรื่องนี้ทั้งหมดสิบเอ็ดตอนที่ได้ออกอากาศไป เมื่อวันที่ 26 กันยายน – 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559 นาคี ทำเรตติ้งต่อตอนสูงสุดและเรตติ้งเฉลี่ยสูงสุดของปี 2559ผลการสำรวจความนิยม ผลการสำรวจความนิยม. นาคี ถูกยกให้เป็นละครแห่งปีจากสื่อบันเทิง และโพลมหาชนสำนักต่าง ๆ ติดเทรนด์อันดับหนึ่งกระแสโซเชียลยอดนิยมของโลก คนในวงการบันเทิงยกย่องให้เป็นละครแห่งปี 2559 ณฐพร เตมีรักษ์ นักแสดงนำของละครเรื่องได้รับฉายาว่า "คำแก้ว ให้แต้วเกิด" จากสมาคมนักข่าวบันเทิง และถูกยกให้เป็น "นางเอกในดวงใจ" อันดับหนึ่ง ด้วยคะแนนร้อยละ 25.1% นอกจากนี้ยังได้รับรางวัล APOP ขวัญใจประชาชนจากอมรินทร์ทีวี สำนักงานวิจัยซูเปอร์โพล เปิดเผยผลสำรวจเรื่องที่สุดแห่งความบันเทิงปี 2559 กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนทุกสาขาอาชีพจำนวน 1,241 คน ดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 12-17 ธันวาคม 2559 นาคี ถูกจัดให้อยู่อันดับหนึ่งละครที่ประชาชนชอบมากที่สุดแห่งปี ซึ่งได้คะแนนร้อยละ 75.6 ในขณะที่ ณฐพรถูกจัดให้อยู่อันดับหนึ่งดาราหญิงที่ประชาชนชื่นชอบมากที่สุดแห่งปี ได้คะแนนร้อยละ 54.5% และ ภูภูมิ พงศ์ภาณุ ก็ถูกจัดอันดับหนึ่งดาราชายที่ประชาชนชื่นชอบมากที่สุดแห่งปีเช่นเดียวกัน ได้คะแนนร้อยละ 33.33% กรุงเทพโพลล์ โดยศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เผยผลสำรวจความคิดเห็นประชาชนเรื่อง “ที่สุดแห่งปี 2559” โดยเก็บข้อมูลจากประชาชนในกรุงเทพฯ และปริมณฑล จำนวน 1,160 คน ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ระหว่างวันที่ 16-20 ธันวาคม 2559 อันดับหนึ่งที่สุดของละครไทยที่ชื่นชอบ ได้แก่ นาคี ซึ่งได้คะแนนไป 71.6% อันดับหนึ่งดาราหญิงที่มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ชื่นชอบได้แก่ ณฐพร ร้อยละ 27.6% และอันดับสามดาราชายที่มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ชื่นชอบได้แก่ ภูภูมิ ร้อยละ 12.8% สวนดุสิตโพล โดยมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชน กรณี “ที่สุดแห่งปี” ได้สำรวจความคิดเห็นจากประชาชนทุกสาขาอาชีพทั่วประเทศ จำนวน 5,694 คน ระหว่างวันที่ 10-29 ธันวาคม 2559 ณฐพรถูกจัดอันดับสองดาราหญิงที่ชื่นชอบมากที่สุด ร้อยละ 26.10% อีสานโพล โดยศูนย์วิจัยธุรกิจและเศรษฐกิจอีสาน คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เผยผลสำรวจเรื่อง "รางวัลแห่งปีของคนอีสาน ปี 2559" จากกลุ่มตัวอย่าง 2,530 คน นาคี ถูกจัดอันดับหนึ่งละครจอแก้วแห่งปี ได้คะแนนร้อยละ 23.7% ณฐพรถูกจัดอันดับหนึ่งนางเอกแห่งปี ร้อยละ 15.1% ภูภูมิอันดับสองพระเอกแห่งปี ร้อยละ 9.7% "คู่คอง" อันดับหนึ่งเพลงดังแห่งปี ร้อยละ 14.6% ก้อง ห้วยไร่ อันดับหนึ่งนักร้องชายแห่งปี ร้อยละ 12.7% ส่วนอีกเพลงที่ใช้ประกอบคือ เพลง "ขาดเธอขาดใจ" (เพลงปิดเรื่องตอนที่ 1-10) ขับร้องโดย นัท ชาติชายรางวัลและการเสนอชื่อ
| นาคี ละครโทรทัศน์ไทยปี พ.ศ. 2559 มีนักแสดงนำชาย คือใคร | {
"answer": [
"ภูภูมิ พงศ์ภาณุ"
],
"answer_begin_position": [
306
],
"answer_end_position": [
321
]
} |
265 | 485,468 | กรีนิช กรีนิช () เป็นเขตการปกครองของลอนดอน สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ เป็นที่ตั้งของหอดูดาวหลวงกรีนิชระหว่างปี ค.ศ. 1675-1950 เส้นเมริเดียนทีผ่านกรีนิชถือเป็นฐานของเวลามาตรฐานตลอดทั่วทั้งโลกและใช้ในการคำนวณลองจิจูดของสถานที่ต่าง ๆ กรีนิชเป็นที่ตั้งของพระราชวังพลาเซ็นเทียตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 ซึ่งเป็นสถานที่พระราชสมภพของเชื้อพระวงศ์ราชวงศ์ทิวดอร์ หลายพระองค์เช่น พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ เป็นต้น
| ตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 พระราชวังสำคัญที่ตั้งอยู่ในกรีนิชคือพระราชวังอะไร | {
"answer": [
"พระราชวังพลาเซ็นเทีย"
],
"answer_begin_position": [
356
],
"answer_end_position": [
376
]
} |
266 | 485,468 | กรีนิช กรีนิช () เป็นเขตการปกครองของลอนดอน สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ เป็นที่ตั้งของหอดูดาวหลวงกรีนิชระหว่างปี ค.ศ. 1675-1950 เส้นเมริเดียนทีผ่านกรีนิชถือเป็นฐานของเวลามาตรฐานตลอดทั่วทั้งโลกและใช้ในการคำนวณลองจิจูดของสถานที่ต่าง ๆ กรีนิชเป็นที่ตั้งของพระราชวังพลาเซ็นเทียตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 ซึ่งเป็นสถานที่พระราชสมภพของเชื้อพระวงศ์ราชวงศ์ทิวดอร์ หลายพระองค์เช่น พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ เป็นต้น
| สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ ทรงประสูติที่เมืองอะไร | {
"answer": [
"กรีนิช"
],
"answer_begin_position": [
88
],
"answer_end_position": [
94
]
} |
3,962 | 485,468 | กรีนิช กรีนิช () เป็นเขตการปกครองของลอนดอน สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ เป็นที่ตั้งของหอดูดาวหลวงกรีนิชระหว่างปี ค.ศ. 1675-1950 เส้นเมริเดียนทีผ่านกรีนิชถือเป็นฐานของเวลามาตรฐานตลอดทั่วทั้งโลกและใช้ในการคำนวณลองจิจูดของสถานที่ต่าง ๆ กรีนิชเป็นที่ตั้งของพระราชวังพลาเซ็นเทียตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 ซึ่งเป็นสถานที่พระราชสมภพของเชื้อพระวงศ์ราชวงศ์ทิวดอร์ หลายพระองค์เช่น พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ เป็นต้น
| เส้นเมริเดียนที่ถือเป็นฐานของเวลามาตรฐานทั้งโลกลากผ่านเมืองใดของอังกฤษ | {
"answer": [
"กรีนิช"
],
"answer_begin_position": [
250
],
"answer_end_position": [
256
]
} |
267 | 36,939 | ออราเคิลคอร์ปอเรชัน ออราเคิล คอร์ปอเรชั่น () เป็น บริษัทคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูล, เครื่องมือสำหรับพัฒนาฐานข้อมูล, ระบบวางแผนทรัพยากรองค์กร, ระบบลูกค้าสัมพันธ์, ระบบบริหารห่วงโซ่อุปทาน ออราเคิลก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2520 และมีสำนักงานอยู่ในมากกว่า 145 ประเทศ ในปี พ.ศ. 2548 บริษัทมีพนักงานมากกว่า 50,000 คนทั่วโลกคู่แข่ง คู่แข่ง. ในตลาดฐานข้อมูลออราเคิลมีคู่แข่งหลักคือ IBM DB2 และ Microsoft SQL Server คู่แข่งที่รองลงมาเช่น Sybase, Teradata, Informix และ MySQL ภายในตลาดโปรแกรมระบบมีคู่แข่งที่สำคัญคือ SAP
| บริษัทออราเคิลคอร์ปอเรชันก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ใด | {
"answer": [
"ปี พ.ศ. 2520"
],
"answer_begin_position": [
308
],
"answer_end_position": [
320
]
} |
1,735 | 36,939 | ออราเคิลคอร์ปอเรชัน ออราเคิล คอร์ปอเรชั่น () เป็น บริษัทคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูล, เครื่องมือสำหรับพัฒนาฐานข้อมูล, ระบบวางแผนทรัพยากรองค์กร, ระบบลูกค้าสัมพันธ์, ระบบบริหารห่วงโซ่อุปทาน ออราเคิลก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2520 และมีสำนักงานอยู่ในมากกว่า 145 ประเทศ ในปี พ.ศ. 2548 บริษัทมีพนักงานมากกว่า 50,000 คนทั่วโลกคู่แข่ง คู่แข่ง. ในตลาดฐานข้อมูลออราเคิลมีคู่แข่งหลักคือ IBM DB2 และ Microsoft SQL Server คู่แข่งที่รองลงมาเช่น Sybase, Teradata, Informix และ MySQL ภายในตลาดโปรแกรมระบบมีคู่แข่งที่สำคัญคือ SAP
| ในปี พ.ศ. 2548 บริษัทออราเคิล คอร์ปอเรชั่น มีสำนักงานอยู่ในประเทศต่างๆ มากกว่ากี่ประเทศ | {
"answer": [
"145 ประเทศ"
],
"answer_begin_position": [
348
],
"answer_end_position": [
358
]
} |
268 | 248,167 | มหาวิทยาลัยศิลปะเบรเมิน มหาวิทยาลัยศิลปะเบรเมิน (, ) เป็นมหาวิทยาลัยในเบรเมิน ประเทศเยอรมนี มีประวัติย้อนไปถึง ค.ศ. 1873 ประกอบด้วยคณะวิจิตรศิลป์และการออกแบบ และคณะดนตรี มีนักศึกษาประมาณ 900 คน ศาสตราจารย์ 65 คน และผู้ช่วยศาสตราจารย์ 180 คน
| มหาวิทยาลัยศิลปะเบรเมิน อยู่ในประเทศอะไร | {
"answer": [
"ประเทศเยอรมนี"
],
"answer_begin_position": [
176
],
"answer_end_position": [
189
]
} |
1,809 | 248,167 | มหาวิทยาลัยศิลปะเบรเมิน มหาวิทยาลัยศิลปะเบรเมิน (, ) เป็นมหาวิทยาลัยในเบรเมิน ประเทศเยอรมนี มีประวัติย้อนไปถึง ค.ศ. 1873 ประกอบด้วยคณะวิจิตรศิลป์และการออกแบบ และคณะดนตรี มีนักศึกษาประมาณ 900 คน ศาสตราจารย์ 65 คน และผู้ช่วยศาสตราจารย์ 180 คน
| ในช่วงค.ศ.1873 มหาวิทยาลัยศิลปะเบรเมิน มีศาสตราจารย์ทั้งหมดกี่คน | {
"answer": [
"65 คน"
],
"answer_begin_position": [
304
],
"answer_end_position": [
309
]
} |
269 | 678,560 | พรรคทาโย พรรคทาโย () เป็นพรรคการเมืองในประเทศโซมาเลีย ก่อตั้งขึ้นเมื่อตั้นปีพ.ศ. 2555 โดยโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โมฮัมเหม็ด อดีตนายกรัฐมนตรีโซมาเลีย ปัจจุบันพรรคทาโยมี มัรยัม กาซิมอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกิจการสตรีในรัฐบาลของโมฮัมเหม็ด เป็นประธานพรรค โดยมีโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โมฮัมเหม็ด เป็นเลขาธิการพรรค
| พรรคทาโย เป็นพรรคการเมืองในประเทศอะไร | {
"answer": [
"ประเทศโซมาเลีย"
],
"answer_begin_position": [
122
],
"answer_end_position": [
136
]
} |
270 | 678,560 | พรรคทาโย พรรคทาโย () เป็นพรรคการเมืองในประเทศโซมาเลีย ก่อตั้งขึ้นเมื่อตั้นปีพ.ศ. 2555 โดยโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โมฮัมเหม็ด อดีตนายกรัฐมนตรีโซมาเลีย ปัจจุบันพรรคทาโยมี มัรยัม กาซิมอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกิจการสตรีในรัฐบาลของโมฮัมเหม็ด เป็นประธานพรรค โดยมีโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โมฮัมเหม็ด เป็นเลขาธิการพรรค
| ประธานพรรคการเมืองทาโยของโซมาเลีย มีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"มัรยัม กาซิม"
],
"answer_begin_position": [
249
],
"answer_end_position": [
261
]
} |
271 | 459,956 | พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้ายี่เข่ง พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้ายี่เข่ง มีพระนามแต่แรกประสูติว่า หม่อมเจ้ายี่เข่ง เป็นพระธิดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพชรหึง พระโอรสในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กับจอมมารดาชู พระองค์ทรงรับราชการฝ่ายในภายในพระบรมมหาราชวัง เริ่มแต่เป็นพนักงานนมัสการมาแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นทั้งพนักงานนมัสการ และโปรดฯ ให้รับราชการเป็นผู้ถือรับสั่งเข้านอกออกใน ต่อมาโปรดฯ ให้เป็นพนักงานในการพระโอสถ และการอื่น ๆ อันเป็นการที่จะรักษาพยาบาลให้ทรงสบาย ต่อมาเมื่อพระชนมายุสูง ทรงทำหน้าที่คล้าย ๆ แม่บ้าน ตลอดจนเป็นผู้รับพระบรมราชโองการพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ออกไปแจ้งยังเจ้านายหรือข้าราชการฝ่ายหน้า ว่ากันว่าพระองค์เป็นคนที่ดุและเข้มงวด แต่เมื่อทรงพระชราแล้ว มักจะทรงเป็นที่แอบขบขัน แอบล้อกันในหมู่เจ้านายแม้แต่พระองค์พระเจ้าแผ่นดินเอง ดังเรื่องเมื่อทรงเป็นพนักงานพระโอสถทรงมีหน้าที่ถวายยาแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ด้วยท่านเสวยพระโอสถยากก็ทรงรีรออยู่ พระองค์เจ้ายี่เข่งก็ทรงคว้าไม้บรรทัดบนโต๊ะทรงพระอักษร ขู่ว่าจะลงพระอาญาหากไม่รีบเสวยพระโอสถเสียโดยเร็ว เรื่องนี้ได้กลายเป็นที่ทรงขบขันพระราชหฤทัยในพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงมาก ทรงเล่าพระราชทานข้างในว่า "ฉันไม่กินยา เจ้าเข่งแกจะตีฉัน" พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้ายี่เข่ง ทรงมีพระสวามีคือ หม่อมเจ้าชายจักรจั่น ปาลกะวงศ์ พระโอรสในกรมหมื่นนราเทเวศร์ ทรงมีพระธิดาคือ หม่อมราชวงศ์หญิงปลีก ปาลกะวงศ์ ซึ่งทำราชการในพระบรมมหาราชวัง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงตั้ง หม่อมเจ้ายี่เข่ง เป็น พระวงษ์เธอ พระองคเจ้ายี่เข่ง ทรงศักดินา 2,000 ในวันศุกร์ เดือน 12 แรม 4 ค่ำ ปีกุน นพศก จ.ศ. 1249 ตรงกับวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2430 พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้ายี่เข่ง สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ เดือน 3 ขึ้น 14 ค่ำ ปีวอก อัฐศก จ.ศ. 1258 ตรงกับวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุวัดสระเกศ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2441
| พระราชบิดาของหม่อมเจ้ายี่เข่ง มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพชรหึง"
],
"answer_begin_position": [
219
],
"answer_end_position": [
257
]
} |
272 | 459,956 | พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้ายี่เข่ง พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้ายี่เข่ง มีพระนามแต่แรกประสูติว่า หม่อมเจ้ายี่เข่ง เป็นพระธิดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพชรหึง พระโอรสในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กับจอมมารดาชู พระองค์ทรงรับราชการฝ่ายในภายในพระบรมมหาราชวัง เริ่มแต่เป็นพนักงานนมัสการมาแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นทั้งพนักงานนมัสการ และโปรดฯ ให้รับราชการเป็นผู้ถือรับสั่งเข้านอกออกใน ต่อมาโปรดฯ ให้เป็นพนักงานในการพระโอสถ และการอื่น ๆ อันเป็นการที่จะรักษาพยาบาลให้ทรงสบาย ต่อมาเมื่อพระชนมายุสูง ทรงทำหน้าที่คล้าย ๆ แม่บ้าน ตลอดจนเป็นผู้รับพระบรมราชโองการพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ออกไปแจ้งยังเจ้านายหรือข้าราชการฝ่ายหน้า ว่ากันว่าพระองค์เป็นคนที่ดุและเข้มงวด แต่เมื่อทรงพระชราแล้ว มักจะทรงเป็นที่แอบขบขัน แอบล้อกันในหมู่เจ้านายแม้แต่พระองค์พระเจ้าแผ่นดินเอง ดังเรื่องเมื่อทรงเป็นพนักงานพระโอสถทรงมีหน้าที่ถวายยาแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ด้วยท่านเสวยพระโอสถยากก็ทรงรีรออยู่ พระองค์เจ้ายี่เข่งก็ทรงคว้าไม้บรรทัดบนโต๊ะทรงพระอักษร ขู่ว่าจะลงพระอาญาหากไม่รีบเสวยพระโอสถเสียโดยเร็ว เรื่องนี้ได้กลายเป็นที่ทรงขบขันพระราชหฤทัยในพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงมาก ทรงเล่าพระราชทานข้างในว่า "ฉันไม่กินยา เจ้าเข่งแกจะตีฉัน" พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้ายี่เข่ง ทรงมีพระสวามีคือ หม่อมเจ้าชายจักรจั่น ปาลกะวงศ์ พระโอรสในกรมหมื่นนราเทเวศร์ ทรงมีพระธิดาคือ หม่อมราชวงศ์หญิงปลีก ปาลกะวงศ์ ซึ่งทำราชการในพระบรมมหาราชวัง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงตั้ง หม่อมเจ้ายี่เข่ง เป็น พระวงษ์เธอ พระองคเจ้ายี่เข่ง ทรงศักดินา 2,000 ในวันศุกร์ เดือน 12 แรม 4 ค่ำ ปีกุน นพศก จ.ศ. 1249 ตรงกับวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2430 พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้ายี่เข่ง สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ เดือน 3 ขึ้น 14 ค่ำ ปีวอก อัฐศก จ.ศ. 1258 ตรงกับวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุวัดสระเกศ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2441
| พระสวามีของพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้ายี่เข่ง มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมเจ้าชายจักรจั่น ปาลกะวงศ์"
],
"answer_begin_position": [
1351
],
"answer_end_position": [
1381
]
} |
273 | 72,005 | พระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญฺจนิโก) พระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญจนิโก) (3 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) อดีตผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดประยุรวงศาวาส นักเขียนเรื่องสั้นชุด "หลวงตา" เจ้าของนามปากกา แพรเยื่อไม้ พระครูพิศาลธรรมโกศล เกิดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อเป็นฆราวาสใช้ชื่อว่า พจน์ คงเพียรธรรม เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายลำใย-นางสำริด คงเพียรธรรม บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อ พ.ศ. 2485 อายุ 17 ปี และ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อ พ.ศ. 2488 อายุ 20 ปี ณ วัดบ้านช้าง อำเภอวังน้อย พระนครศรีอยุธยา และย้ายมาจำพรรษาอยู่วัดประยุรวงศาวาส เมื่อ พ.ศ. 2489 พระครูพิศาลธรรมโกศล เริ่มงานเขียนหนังสือเมื่อประมาณ พ.ศ. 2500 เรื่องกงกรรมกงเกวียน และเรื่องบุษรา นำออกพิมพ์จำหน่ายเผยแพร่ ตามด้วยเรื่องอุเทนราช เขียนเป็นตอนๆ ลงในวารสารพุทธจักร ประมาณ พ.ศ. 2510 พระครูพิศาลธรรมโกศลเริ่มเขียน เรื่องสั้นชุดหลวงตา โดยเริ่มจากเรื่องสั้นเรื่องแรก ชื่อ บุญหลง เมื่อนำมารวมเล่มจำหน่ายครั้งแรก จึงใช้ชื่อหนังสือว่า หลวงตา ตามชื่อตัวเอก ต่อมาได้รับการติดต่อไปพิมพ์เผยแพร่ในนามของ ศูนย์การเผยแพร่พระพุทธศาสนา มูลนิธิอภิธรรม วัดมหาธาตุ และได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก พิมพ์ซ้ำหลายครั้ง และนามปากกา แพรเยื่อไม้ ก็เป็นที่รู้จักแพร่หลาย พระครูพิศาลธรรมโกศล มรณภาพเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 ด้วยโรคมะเร็งในหลอดอาหาร ที่โรงพยาบาลเปาโลผลงานเขียนผลงานเขียน. - กงกรรมกงเกวียน - บุษรา - อุเทนราช - เรื่องสั้นชุดหลวงตาเล่ม 1 - เรื่องสั้นชุดหลวงตาเล่ม 2 - เรื่องสั้นชุดหลวงตาเล่ม 3 - เรื่องสั้นชุดหลวงตาเล่ม 4 - กะโหลกหัวเราะ - ของฝากจากหลวงตา - เอียงตามโลก - เสียงปลุก
| พระครูพิศาลธรรมโกศลหรือสุพจน์ กญจนิโก พระวัดประยุรวงศาวาส มีนามปากกาว่าอะไร | {
"answer": [
"แพรเยื่อไม้"
],
"answer_begin_position": [
318
],
"answer_end_position": [
329
]
} |
274 | 72,005 | พระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญฺจนิโก) พระครูพิศาลธรรมโกศล (สุพจน์ กญจนิโก) (3 สิงหาคม พ.ศ. 2468 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) อดีตผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดประยุรวงศาวาส นักเขียนเรื่องสั้นชุด "หลวงตา" เจ้าของนามปากกา แพรเยื่อไม้ พระครูพิศาลธรรมโกศล เกิดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อเป็นฆราวาสใช้ชื่อว่า พจน์ คงเพียรธรรม เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายลำใย-นางสำริด คงเพียรธรรม บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อ พ.ศ. 2485 อายุ 17 ปี และ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อ พ.ศ. 2488 อายุ 20 ปี ณ วัดบ้านช้าง อำเภอวังน้อย พระนครศรีอยุธยา และย้ายมาจำพรรษาอยู่วัดประยุรวงศาวาส เมื่อ พ.ศ. 2489 พระครูพิศาลธรรมโกศล เริ่มงานเขียนหนังสือเมื่อประมาณ พ.ศ. 2500 เรื่องกงกรรมกงเกวียน และเรื่องบุษรา นำออกพิมพ์จำหน่ายเผยแพร่ ตามด้วยเรื่องอุเทนราช เขียนเป็นตอนๆ ลงในวารสารพุทธจักร ประมาณ พ.ศ. 2510 พระครูพิศาลธรรมโกศลเริ่มเขียน เรื่องสั้นชุดหลวงตา โดยเริ่มจากเรื่องสั้นเรื่องแรก ชื่อ บุญหลง เมื่อนำมารวมเล่มจำหน่ายครั้งแรก จึงใช้ชื่อหนังสือว่า หลวงตา ตามชื่อตัวเอก ต่อมาได้รับการติดต่อไปพิมพ์เผยแพร่ในนามของ ศูนย์การเผยแพร่พระพุทธศาสนา มูลนิธิอภิธรรม วัดมหาธาตุ และได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก พิมพ์ซ้ำหลายครั้ง และนามปากกา แพรเยื่อไม้ ก็เป็นที่รู้จักแพร่หลาย พระครูพิศาลธรรมโกศล มรณภาพเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 ด้วยโรคมะเร็งในหลอดอาหาร ที่โรงพยาบาลเปาโลผลงานเขียนผลงานเขียน. - กงกรรมกงเกวียน - บุษรา - อุเทนราช - เรื่องสั้นชุดหลวงตาเล่ม 1 - เรื่องสั้นชุดหลวงตาเล่ม 2 - เรื่องสั้นชุดหลวงตาเล่ม 3 - เรื่องสั้นชุดหลวงตาเล่ม 4 - กะโหลกหัวเราะ - ของฝากจากหลวงตา - เอียงตามโลก - เสียงปลุก
| พระครูพิศาลธรรมโกศลหรือสุพจน์ กญจนิโก พระวัดประยุรวงศาวาสมรณภาพด้วยโรคอะไร | {
"answer": [
"โรคมะเร็งในหลอดอาหาร"
],
"answer_begin_position": [
1283
],
"answer_end_position": [
1303
]
} |
275 | 269,767 | จักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ สมเด็จพระจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ () (18 กรกฎาคม ค.ศ. 1552 - 20 มกราคม ค.ศ. 1612) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ฮับส์บวร์ก ผู้ทรงครอจักรวรรดิระหว่างปี ค.ศ. 1576 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1612 พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ มาเรียแห่งสเปน รัชสมัยของพระองค์สรุปได้เป็นสามประการ ประการแรกทรงเป็นผู้นำผู้ไม่มีประสิทธิภาพที่ความพลาดพลั้งนำไปสู่สงครามสามสิบปี ประการที่สองทรงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในอุปถัมภ์ลัทธิแมนเนอริสม์เหนือ (Northern Mannerism) และประการสุดท้ายทรงเป็นผู้นิยมศิลปะการเล่นแร่แปรธาตุและการศึกษาที่ช่วยปูทางไปสู่การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ต่อมาพระอิสริยยศพระอิสริยยศ. - สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 1576 - ค.ศ. 1612) - พระมหากษัตริย์แห่งเยอรมนี (ค.ศ. 1575 - ค.ศ. 1612) - (ค.ศ. 1576 - ค.ศ. 1611) - พระมหากษัตริย์แห่งฮังการี (ค.ศ. 1576 - ค.ศ. 1608) - พระมหากษัตริย์แห่งออสเตรีย (ค.ศ. 1576 - ค.ศ. 1612) - เจ้าชายแห่งพิออมโบ (ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1611) - เจ้าชายทรานซิลเวเนีย (ค.ศ. 1598, ค.ศ. 1600 - ค.ศ. 1601 และ ค.ศ. 1601 - ค.ศ. 1605)
| พระมารดาของสมเด็จพระจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"มาเรียแห่งสเปน"
],
"answer_begin_position": [
542
],
"answer_end_position": [
556
]
} |
1,813 | 269,767 | จักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ สมเด็จพระจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ () (18 กรกฎาคม ค.ศ. 1552 - 20 มกราคม ค.ศ. 1612) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์แห่งราชวงศ์ฮับส์บวร์ก ผู้ทรงครอจักรวรรดิระหว่างปี ค.ศ. 1576 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1612 พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซิมิเลียนที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และ มาเรียแห่งสเปน รัชสมัยของพระองค์สรุปได้เป็นสามประการ ประการแรกทรงเป็นผู้นำผู้ไม่มีประสิทธิภาพที่ความพลาดพลั้งนำไปสู่สงครามสามสิบปี ประการที่สองทรงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในอุปถัมภ์ลัทธิแมนเนอริสม์เหนือ (Northern Mannerism) และประการสุดท้ายทรงเป็นผู้นิยมศิลปะการเล่นแร่แปรธาตุและการศึกษาที่ช่วยปูทางไปสู่การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ต่อมาพระอิสริยยศพระอิสริยยศ. - สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ค.ศ. 1576 - ค.ศ. 1612) - พระมหากษัตริย์แห่งเยอรมนี (ค.ศ. 1575 - ค.ศ. 1612) - (ค.ศ. 1576 - ค.ศ. 1611) - พระมหากษัตริย์แห่งฮังการี (ค.ศ. 1576 - ค.ศ. 1608) - พระมหากษัตริย์แห่งออสเตรีย (ค.ศ. 1576 - ค.ศ. 1612) - เจ้าชายแห่งพิออมโบ (ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1611) - เจ้าชายทรานซิลเวเนีย (ค.ศ. 1598, ค.ศ. 1600 - ค.ศ. 1601 และ ค.ศ. 1601 - ค.ศ. 1605)
| สมเด็จพระจักรพรรดิรูดอล์ฟที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ผู้ทรงครองจักรวรรดิในปี ค.ศ. 1576 ทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"20"
],
"answer_begin_position": [
433
],
"answer_end_position": [
435
]
} |
276 | 271,025 | ราชอาณาจักรทอเลมี ราชอาณาจักรทอเลมี (, ) ตั้งอยู่ในอียิปต์ปัจจุบัน เป็นอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นหลังจากที่อเล็กซานเดอร์มหาราชได้รับชัยชนะต่ออียิปต์ในปี 332 ก่อนคริสต์ศักราช และสิ้นสุดลงเมื่อคลีโอพัตราสิ้นพระชนม์ เมื่อโรมันได้รับชัยชนะต่ออียิปต์ในปี 30 ก่อนคริสต์ศักราช ราชอาณาจักรทอเลมีก่อตั้งขึ้นโดยทอเลมีที่ 1 โซเตอร์ผู้ประกาศตนเป็นฟาโรห์แห่งอียิปต์ ทอเลมีสร้างอียิปต์เป็นรัฐกรีกที่มีอาณาบริเวณตั้งแต่ทางใต้ของซีเรียซีเรียไปจนถึงไซรีนในลิเบีย และทางใต้ไปถึงนิวเบีย โดยมีอเล็กซานเดรียเป็นเมืองหลวงและเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมกรีกและการค้า เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของประชาชนในอียิปต์ทอเลมีก็ประกาศตนว่าเป็นผู้ครองต่อจากฟาโรห์ ผู้ครองราชย์ต่อมารับธรรมเนียมของอียิปต์โบราณในการเสกสมรสกับพี่น้องกันเอง ปฏิบัติตัวและแต่งตัวอย่าอียิปต์ วัฒนธรรมกรีกรุ่งเรืองในอียิปต์จนกระทั่งเมื่อถูกพิชิตโดยมุสลิม ราชวงศ์ทอเลมีต้องต่อสู้กับการปฏิวัติภายในประเทศและการสงครามกับภายนอกซึ่งนำมาซึ่งความเสื่อมโทรมของอำนาจจนกระทั่งมาถูกผนวกโดยราชอาณาจักรโรมันอเล็กซานเดอร์มหาราช อเล็กซานเดอร์มหาราช. ในปี 332 ก่อนคริสต์ศักราชอเล็กซานเดอร์มหาราชกษัตริย์ราชอาณาจักรมาซิโดเนียทรงพิชิตอียิปต์ได้โดยมิได้รับการต่อต้านเท่าใดนักจากฝ่ายเปอร์เชีย อเล็กซานเดอร์ทรงได้รับการต้อนรับโดยชาวอียิปต์ในฐานะผู้ปลดปล่อย พระองค์ทรงแสดงความนับถือวัฒนธรรมของอียิปต์แต่ทรงแต่งตั้งชาวกรีกเป็นผู้บริหารทั้งหมด และทรงก่อตั้งเมืองใหม่อเล็กซานเดรียให้เป็นเมืองหลวง เมื่ออเล็กซานเดอร์ออกจากอียิปต์อีกปีหนึ่งต่อมาพระองค์ก็ทรงทิ้งอียิปต์ให้อยู่ภายใต้การปกครองของข้าหลวงคลีโอเมนีสแห่งนอเครติส (Cleomenes of Naucratis)
| ราชอาณาจักรทอเลมี ตั้งอยู่ในประเทศอะไรในปัจจุบัน | {
"answer": [
"อียิปต์"
],
"answer_begin_position": [
143
],
"answer_end_position": [
150
]
} |
277 | 271,025 | ราชอาณาจักรทอเลมี ราชอาณาจักรทอเลมี (, ) ตั้งอยู่ในอียิปต์ปัจจุบัน เป็นอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นหลังจากที่อเล็กซานเดอร์มหาราชได้รับชัยชนะต่ออียิปต์ในปี 332 ก่อนคริสต์ศักราช และสิ้นสุดลงเมื่อคลีโอพัตราสิ้นพระชนม์ เมื่อโรมันได้รับชัยชนะต่ออียิปต์ในปี 30 ก่อนคริสต์ศักราช ราชอาณาจักรทอเลมีก่อตั้งขึ้นโดยทอเลมีที่ 1 โซเตอร์ผู้ประกาศตนเป็นฟาโรห์แห่งอียิปต์ ทอเลมีสร้างอียิปต์เป็นรัฐกรีกที่มีอาณาบริเวณตั้งแต่ทางใต้ของซีเรียซีเรียไปจนถึงไซรีนในลิเบีย และทางใต้ไปถึงนิวเบีย โดยมีอเล็กซานเดรียเป็นเมืองหลวงและเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมกรีกและการค้า เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของประชาชนในอียิปต์ทอเลมีก็ประกาศตนว่าเป็นผู้ครองต่อจากฟาโรห์ ผู้ครองราชย์ต่อมารับธรรมเนียมของอียิปต์โบราณในการเสกสมรสกับพี่น้องกันเอง ปฏิบัติตัวและแต่งตัวอย่าอียิปต์ วัฒนธรรมกรีกรุ่งเรืองในอียิปต์จนกระทั่งเมื่อถูกพิชิตโดยมุสลิม ราชวงศ์ทอเลมีต้องต่อสู้กับการปฏิวัติภายในประเทศและการสงครามกับภายนอกซึ่งนำมาซึ่งความเสื่อมโทรมของอำนาจจนกระทั่งมาถูกผนวกโดยราชอาณาจักรโรมันอเล็กซานเดอร์มหาราช อเล็กซานเดอร์มหาราช. ในปี 332 ก่อนคริสต์ศักราชอเล็กซานเดอร์มหาราชกษัตริย์ราชอาณาจักรมาซิโดเนียทรงพิชิตอียิปต์ได้โดยมิได้รับการต่อต้านเท่าใดนักจากฝ่ายเปอร์เชีย อเล็กซานเดอร์ทรงได้รับการต้อนรับโดยชาวอียิปต์ในฐานะผู้ปลดปล่อย พระองค์ทรงแสดงความนับถือวัฒนธรรมของอียิปต์แต่ทรงแต่งตั้งชาวกรีกเป็นผู้บริหารทั้งหมด และทรงก่อตั้งเมืองใหม่อเล็กซานเดรียให้เป็นเมืองหลวง เมื่ออเล็กซานเดอร์ออกจากอียิปต์อีกปีหนึ่งต่อมาพระองค์ก็ทรงทิ้งอียิปต์ให้อยู่ภายใต้การปกครองของข้าหลวงคลีโอเมนีสแห่งนอเครติส (Cleomenes of Naucratis)
| เมื่ออเล็กซานเดอร์มหาราชได้รับชัยชนะต่ออียิปต์ เมือปี 332 ก่อนคริสต์ศักราช ได้ก่อตั้งอาณาจักรอะไร | {
"answer": [
"ราชอาณาจักรทอเลมี"
],
"answer_begin_position": [
110
],
"answer_end_position": [
127
]
} |
278 | 70,252 | ท้าวคำถี่ ท้าวคำถี่ เป็นโอรสองค์ที่สามของสุขางฟ้า ได้รับการสถาปนาจากขุนนางให้เป็นกษัตริย์เมื่อปี พ.ศ. 1923 เพราะไม่สามารถหาบุคคลที่สมควรที่จะเป็นกษัตริย์ได้ประวัติการครองราชย์ประวัติการครองราชย์. - การแก้แค้นชุติยะ- ลอยแพพระมเหสีรอง- การสอบสวนใหม่- สิ้นพระชนม์พระบรมวงศานุวงศ์พระบรมวงศานุวงศ์. - พระราชบิดา : สุขางฟ้า - พระเชษฐา :- สุกรังฟ้า - สุทุฟ้า - พระอนุชา : เจ้าพูลาย(ต่างชนนี) - พระราชโอรส : สุดางฟ้า(เกิดจากพระมเหสีรองที่ถูกลอยแพ)
| พระราชบิดาของท้าวคำถี่ มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"สุขางฟ้า"
],
"answer_begin_position": [
123
],
"answer_end_position": [
131
]
} |
279 | 70,252 | ท้าวคำถี่ ท้าวคำถี่ เป็นโอรสองค์ที่สามของสุขางฟ้า ได้รับการสถาปนาจากขุนนางให้เป็นกษัตริย์เมื่อปี พ.ศ. 1923 เพราะไม่สามารถหาบุคคลที่สมควรที่จะเป็นกษัตริย์ได้ประวัติการครองราชย์ประวัติการครองราชย์. - การแก้แค้นชุติยะ- ลอยแพพระมเหสีรอง- การสอบสวนใหม่- สิ้นพระชนม์พระบรมวงศานุวงศ์พระบรมวงศานุวงศ์. - พระราชบิดา : สุขางฟ้า - พระเชษฐา :- สุกรังฟ้า - สุทุฟ้า - พระอนุชา : เจ้าพูลาย(ต่างชนนี) - พระราชโอรส : สุดางฟ้า(เกิดจากพระมเหสีรองที่ถูกลอยแพ)
| ท้าวคำถี่ขึ้นเป็นกษัตริย์เมื่อปี พ.ศ. 1923 มีพระโอรสพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"สุดางฟ้า"
],
"answer_begin_position": [
482
],
"answer_end_position": [
490
]
} |
280 | 54,601 | สมเด็จพระเพทราชา สมเด็จพระมหาบุรุษ หรือ สมเด็จพระเพทราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 28 ของอาณาจักรอยุธยา และเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์บ้านพลูหลวง ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2231-2246พระราชประวัติ พระราชประวัติ. สมเด็จพระเพทราชา เป็นชาวบ้านพลูหลวง แขวงเมืองสุพรรณบุรี (ปัจจุบันคือบ้านพลูหลวง ตั้งอยู่ใน ต.สนามชัย อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี) เป็นบุตรของพระนมเปรม และมีพระขนิษฐาคือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม) พระสนมเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ต่อมาได้รับราชการจนมีบรรดาศักดิ์เป็นพระเพทราชา ดำรงตำแหน่งเจ้ากรมพระคชบาล มีกำลังพลในสังกัดหลายพัน ในปี พ.ศ. 2231 เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชประทับ ณ พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ ทรงพระประชวรใกล้สวรรคต ทรงเห็นว่าพระเพทราชาเป็นผู้ใหญ่ จึงมอบหมายให้ว่าราชการแทน ระหว่างนั้นพระเพทราชาลวงพระอนุชาทั้งสองพระองค์ของสมเด็จพระนารายณ์ คือเจ้าฟ้าน้อยและเจ้าฟ้าอภัยทศว่ามีรับสั่งให้เข้าเฝ้า เมื่อทั้งสองพระองค์เสด็จถึงเมืองลพบุรีก็ถูกหลวงสรศักดิ์จับไปสำเร็จโทษที่วัดทราก ส่วนพระปีย์พระราชโอรสบุญธรรมถูกผลักตกจากชาลาพระที่นั่งสุทธาสวรรค์แล้วกุมตัวไปสำเร็จโทษ เมื่อสมเด็จพระนารายณ์สวรรคตแล้ว ได้สั่งให้เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) เข้ามาพบ เมื่อเจ้าพระยาวิชเยนทร์มาถึงศาลาลูกขุนก็ถูกกุมตัวไปประหารชีวิต เมื่อจัดการบ้านเมืองสงบแล้วจึงเชิญพระบรมศพสมเด็จพระนารายณ์มาประดิษฐานที่พระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ แล้วรับราชาภิเษก ณ พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท เมื่อปราบดาภิเษกนั้นสมเด็จพระเพทราชามีพระชนมายุได้ 51 พรรษา ทรงพระนามว่า "สมเด็จพระมหาบุรุษ วิสุทธิเดชอุดม บรมจักรพรรดิศร บรมนาถบพิตร สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัว" แล้วทรงตั้งคุณหญิงกันเป็นพระอัครมเหสีฝ่ายขวา (พระมเหสีเดิมในพระเพทราชา เป็นผู้อภิบาลพระเจ้าเสือตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ภายหลังได้ขึ้นเป็นที่ กรมพระเทพามาตย์ ในสมัยของพระเจ้าเสือ) ตั้งกรมหลวงโยธาเทพ (เจ้าฟ้าทอง) พระราชธิดาในสมเด็จพระนารายณ์เป็นพระมเหสีฝ่ายซ้าย ตั้งนางนิ่มเป็นพระสนมเอก ตั้งหลวงสรศักดิ์เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ตั้งหม่อมแก้วบุตรท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม) พระขนิษฐาของพระองค์เป็นกรมขุนเสนาบริรักษ์ เป็นต้น เมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์แล้ว ก็ได้ขับไล่กำลังทหารฝรั่งเศสออกไปจากกรุงศรีอยุธยา แต่ยังทรงอนุญาตให้บาทหลวง และพ่อค้าชาวฝรั่งเศสอาศัยอยู่ในกรุงศรีอยุธยาต่อไปได้ ได้มีการทำสนธิสัญญากับฝรั่งเศส เรื่องการขนย้ายทหาร และทรัพย์สินของฝรั่งเศสออกจากป้อมที่บางกอก โดยฝ่ายอาณาจักรอยุธยาเป็นผู้จัดเรือ กับต้องส่งคืนทรัพย์สิน ที่เป็นของกรุงศรีอยุธยาคืนทั้งหมด สำหรับข้าราชการและราษฎรไทย ที่ยังอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ทางฝรั่งเศสจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการเดินทางกลับกรุงศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติดังกล่าวทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับฝรั่งเศส สิ้นสุดลงตั้งแต่นั้นมา สมเด็จพระเพทราชาเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2246 พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียน ระบุว่าสวรรคต ณ พระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์ ขณะครองราชย์ได้ 15 ปี สิริพระชนมายุได้ 71 พรรษาพระราชกรณียกิจการปฏิรูปการปกครอง พระราชกรณียกิจ. การปฏิรูปการปกครอง. ในรัชสมัยของพระองค์ ได้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการปกครองใหม่ โดยกำหนดให้หัวเมืองฝ่ายเหนืออยู่ในความดูแลของสมุหนายก และหัวเมืองฝ่ายใต้อยู่ในความดูแลของสมุหพระกลาโหม โดยแบ่งให้แต่ละฝ่ายรับผิดชอบดูแลกิจการทั้งด้านทหารและพลเรือนในภูมิภาคนั้น ๆ นอกจากนี้พระองค์ยังได้เพิ่มจำนวนกำลังทหารให้แก่กรมพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้า เพื่อเป็นกำลังป้องกันวังหลวงอีกทางหนึ่งด้วยงานต่างประเทศ งานต่างประเทศ. พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ระบุว่าในรัชกาลนี้ประเทศใกล้เคียงเข้ามาอ่อนน้อมเจริญสัมพันธไมตรี กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2234 นักเสด็จเถ้าพระเจ้ากรุงกัมพูชาโปรดให้พระยาเขมร 3 คนนำช้างเผือกพังช้างหนึ่งมาถวาย สมเด็จพระเพทราชาพระราชทานชื่อว่าพระบรมรัตนากาศ ชาติคเชนทร์ วเรนทรมหันต์ อนันตคุณ วิบุลธรเลิดฟ้า และพระราชทานผ้าแพรจำนวนมากให้พระยาเขมรนำไปพระราชทานนักเสด็จเถ้า ต่อมาในปี พ.ศ. 2238 พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์) ได้ส่งราชทูตนำพระราชสาส์นมาทูลว่าจะถวายพระราชธิดา และขอกรุงศรีอยุธยาส่งกองทัพไปช่วยป้องกันกรุงศรีสัตนาคนหุตจากกองทัพหลวงพระบาง จึงโปรดให้พระยานครราชสีมานำพล 10,000 ไปกรุงเวียงจันทน์ หลวงพระบางทราบข่าวจึงยอมประนีประนอมกับเวียงจันทน์ เมื่อเรือพระที่นั่งของพระราชธิดาพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตมาถึงหน้าวัดกระโจม กรมพระราชวังบวรสถานมงคลก็มีพระบัณฑูรให้รับพระราชธิดานั้นไว้ที่วังหน้า แล้วเสด็จไปกราบทูลสมเด็จพระเพทราชา สมเด็จพระเพทราชาก็พระราชทานตามที่ขอพระมเหสี พระมเหสี. พระเพทราชาทรงมีมเหสีสำคัญๆอยู่ 4 พระองค์ ได้แก่1. กรมพระเทพามาตย์ (กัน) พระมเหสีเดิมในพระเพทราชาเป็นผู้อภิบาลพระเจ้าเสือตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ภายหลังได้ขึ้นเป็นที่กรมพระเทพามาตย์ 2. กรมหลวงโยธาเทพ หรือ มเหสีฝ่ายซ้าย - พระราชธิดาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีพระราชโอรสคือ เจ้าฟ้าตรัสน้อย ทรงสนใจทางด้านการศึกษาในหลายๆแขนงวิชา ช่วงหลังย้ายตามพระราชมารดาไปอยู่ ณ พระตำหนักใกล้วัดพุทไธศวรรย์ 3. กรมหลวงโยธาทิพ หรือ มเหสีฝ่ายขวา - พระขนิษฐาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีพระราชโอรสคือ เจ้าพระขวัญ (กรมพระราชวังบวรสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์) 4. นางกุสาวดี มเหสีพระราชทานจากพระนารายณ์มหาราช พระธิดาพญาแสนหลวง เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่
| พระปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์บ้านพลูหลวง มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"สมเด็จพระเพทราชา"
],
"answer_begin_position": [
129
],
"answer_end_position": [
145
]
} |
1,740 | 54,601 | สมเด็จพระเพทราชา สมเด็จพระมหาบุรุษ หรือ สมเด็จพระเพทราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 28 ของอาณาจักรอยุธยา และเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์บ้านพลูหลวง ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2231-2246พระราชประวัติ พระราชประวัติ. สมเด็จพระเพทราชา เป็นชาวบ้านพลูหลวง แขวงเมืองสุพรรณบุรี (ปัจจุบันคือบ้านพลูหลวง ตั้งอยู่ใน ต.สนามชัย อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี) เป็นบุตรของพระนมเปรม และมีพระขนิษฐาคือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม) พระสนมเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ต่อมาได้รับราชการจนมีบรรดาศักดิ์เป็นพระเพทราชา ดำรงตำแหน่งเจ้ากรมพระคชบาล มีกำลังพลในสังกัดหลายพัน ในปี พ.ศ. 2231 เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชประทับ ณ พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ ทรงพระประชวรใกล้สวรรคต ทรงเห็นว่าพระเพทราชาเป็นผู้ใหญ่ จึงมอบหมายให้ว่าราชการแทน ระหว่างนั้นพระเพทราชาลวงพระอนุชาทั้งสองพระองค์ของสมเด็จพระนารายณ์ คือเจ้าฟ้าน้อยและเจ้าฟ้าอภัยทศว่ามีรับสั่งให้เข้าเฝ้า เมื่อทั้งสองพระองค์เสด็จถึงเมืองลพบุรีก็ถูกหลวงสรศักดิ์จับไปสำเร็จโทษที่วัดทราก ส่วนพระปีย์พระราชโอรสบุญธรรมถูกผลักตกจากชาลาพระที่นั่งสุทธาสวรรค์แล้วกุมตัวไปสำเร็จโทษ เมื่อสมเด็จพระนารายณ์สวรรคตแล้ว ได้สั่งให้เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) เข้ามาพบ เมื่อเจ้าพระยาวิชเยนทร์มาถึงศาลาลูกขุนก็ถูกกุมตัวไปประหารชีวิต เมื่อจัดการบ้านเมืองสงบแล้วจึงเชิญพระบรมศพสมเด็จพระนารายณ์มาประดิษฐานที่พระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ แล้วรับราชาภิเษก ณ พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท เมื่อปราบดาภิเษกนั้นสมเด็จพระเพทราชามีพระชนมายุได้ 51 พรรษา ทรงพระนามว่า "สมเด็จพระมหาบุรุษ วิสุทธิเดชอุดม บรมจักรพรรดิศร บรมนาถบพิตร สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัว" แล้วทรงตั้งคุณหญิงกันเป็นพระอัครมเหสีฝ่ายขวา (พระมเหสีเดิมในพระเพทราชา เป็นผู้อภิบาลพระเจ้าเสือตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ภายหลังได้ขึ้นเป็นที่ กรมพระเทพามาตย์ ในสมัยของพระเจ้าเสือ) ตั้งกรมหลวงโยธาเทพ (เจ้าฟ้าทอง) พระราชธิดาในสมเด็จพระนารายณ์เป็นพระมเหสีฝ่ายซ้าย ตั้งนางนิ่มเป็นพระสนมเอก ตั้งหลวงสรศักดิ์เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ตั้งหม่อมแก้วบุตรท้าวศรีจุฬาลักษณ์ (แจ่ม) พระขนิษฐาของพระองค์เป็นกรมขุนเสนาบริรักษ์ เป็นต้น เมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์แล้ว ก็ได้ขับไล่กำลังทหารฝรั่งเศสออกไปจากกรุงศรีอยุธยา แต่ยังทรงอนุญาตให้บาทหลวง และพ่อค้าชาวฝรั่งเศสอาศัยอยู่ในกรุงศรีอยุธยาต่อไปได้ ได้มีการทำสนธิสัญญากับฝรั่งเศส เรื่องการขนย้ายทหาร และทรัพย์สินของฝรั่งเศสออกจากป้อมที่บางกอก โดยฝ่ายอาณาจักรอยุธยาเป็นผู้จัดเรือ กับต้องส่งคืนทรัพย์สิน ที่เป็นของกรุงศรีอยุธยาคืนทั้งหมด สำหรับข้าราชการและราษฎรไทย ที่ยังอยู่ในประเทศฝรั่งเศส ทางฝรั่งเศสจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการเดินทางกลับกรุงศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติดังกล่าวทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับฝรั่งเศส สิ้นสุดลงตั้งแต่นั้นมา สมเด็จพระเพทราชาเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2246 พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียน ระบุว่าสวรรคต ณ พระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์ ขณะครองราชย์ได้ 15 ปี สิริพระชนมายุได้ 71 พรรษาพระราชกรณียกิจการปฏิรูปการปกครอง พระราชกรณียกิจ. การปฏิรูปการปกครอง. ในรัชสมัยของพระองค์ ได้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการปกครองใหม่ โดยกำหนดให้หัวเมืองฝ่ายเหนืออยู่ในความดูแลของสมุหนายก และหัวเมืองฝ่ายใต้อยู่ในความดูแลของสมุหพระกลาโหม โดยแบ่งให้แต่ละฝ่ายรับผิดชอบดูแลกิจการทั้งด้านทหารและพลเรือนในภูมิภาคนั้น ๆ นอกจากนี้พระองค์ยังได้เพิ่มจำนวนกำลังทหารให้แก่กรมพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้า เพื่อเป็นกำลังป้องกันวังหลวงอีกทางหนึ่งด้วยงานต่างประเทศ งานต่างประเทศ. พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ระบุว่าในรัชกาลนี้ประเทศใกล้เคียงเข้ามาอ่อนน้อมเจริญสัมพันธไมตรี กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2234 นักเสด็จเถ้าพระเจ้ากรุงกัมพูชาโปรดให้พระยาเขมร 3 คนนำช้างเผือกพังช้างหนึ่งมาถวาย สมเด็จพระเพทราชาพระราชทานชื่อว่าพระบรมรัตนากาศ ชาติคเชนทร์ วเรนทรมหันต์ อนันตคุณ วิบุลธรเลิดฟ้า และพระราชทานผ้าแพรจำนวนมากให้พระยาเขมรนำไปพระราชทานนักเสด็จเถ้า ต่อมาในปี พ.ศ. 2238 พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์) ได้ส่งราชทูตนำพระราชสาส์นมาทูลว่าจะถวายพระราชธิดา และขอกรุงศรีอยุธยาส่งกองทัพไปช่วยป้องกันกรุงศรีสัตนาคนหุตจากกองทัพหลวงพระบาง จึงโปรดให้พระยานครราชสีมานำพล 10,000 ไปกรุงเวียงจันทน์ หลวงพระบางทราบข่าวจึงยอมประนีประนอมกับเวียงจันทน์ เมื่อเรือพระที่นั่งของพระราชธิดาพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตมาถึงหน้าวัดกระโจม กรมพระราชวังบวรสถานมงคลก็มีพระบัณฑูรให้รับพระราชธิดานั้นไว้ที่วังหน้า แล้วเสด็จไปกราบทูลสมเด็จพระเพทราชา สมเด็จพระเพทราชาก็พระราชทานตามที่ขอพระมเหสี พระมเหสี. พระเพทราชาทรงมีมเหสีสำคัญๆอยู่ 4 พระองค์ ได้แก่1. กรมพระเทพามาตย์ (กัน) พระมเหสีเดิมในพระเพทราชาเป็นผู้อภิบาลพระเจ้าเสือตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ภายหลังได้ขึ้นเป็นที่กรมพระเทพามาตย์ 2. กรมหลวงโยธาเทพ หรือ มเหสีฝ่ายซ้าย - พระราชธิดาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีพระราชโอรสคือ เจ้าฟ้าตรัสน้อย ทรงสนใจทางด้านการศึกษาในหลายๆแขนงวิชา ช่วงหลังย้ายตามพระราชมารดาไปอยู่ ณ พระตำหนักใกล้วัดพุทไธศวรรย์ 3. กรมหลวงโยธาทิพ หรือ มเหสีฝ่ายขวา - พระขนิษฐาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีพระราชโอรสคือ เจ้าพระขวัญ (กรมพระราชวังบวรสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์) 4. นางกุสาวดี มเหสีพระราชทานจากพระนารายณ์มหาราช พระธิดาพญาแสนหลวง เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่
| พระขนิษฐาของสมเด็จพระเพทราชา มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"ท้าวศรีจุฬาลักษณ์"
],
"answer_begin_position": [
462
],
"answer_end_position": [
479
]
} |
281 | 47,032 | ประมวนศักดิ์ โพธิ์สุวรรณ ประมวลศักดิ์ โพธิ์สุวรรณ หรือปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น ศิริชัย โพธิ์สุวรรณ เป็นนักมวยสากลชาวจังหวัดมหาสารคาม เคยเป็นนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทยมาก่อน ก่อนที่จะหันมาชกมวยสากลอาชีพ ได้เป็นแชมป์ WBO เอเชีย 2 สมัย และได้ขึ้นชิงแชมป์โลก 2 ครั้ง แต่ไม่สำเร็จประวัติ ประวัติ. ประมวลศักดิ์เป็นบุตรของนายบุญเหลือ นางทองอินทร์ โพธิ์สุวรรณ มารดาเสียชีวิตตั้งแต่อายุ 6 ปี เรียนจบชั้น ม.6 จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ขึ้นชกมวยครั้งแรกโดยเริ่มจากมวยไทย เมื่ออายุ 10 ปี ได้เข้าไปอยู่ในสังกัดของคณะ ส.ขอนแก่นอยู่ราว 7-8 ปี จึงเข้ากรุงเทพฯไปอยู่ค่ายห้าพลัง แต่การชกมวยไทยในกรุงเทพฯไม่ประสบความสำเร็จ ประมวลศักดิ์จึงกลับไปขอนแก่น ต่อมาประมวลศักดิ์เข้ามากรุงเทพฯอีกครั้งโดยเป็นเทรนเนอร์ให้กับพี่ชายคือ ปีใหม่ อ.ยุทธนากร จากนั้น ประมวนศักดิ์จึงไปสมัครชกมวยสากลสมัครเล่นจนได้ติดทีมชาติเข้าแข่งขันในกีฬาสำคัญ ๆ ทั้งซีเกมส์ เอเชียนเกมส์และโอลิมปิกเกมส์ โดยได้เหรียญทองทั้งซีเกมส์และเอเชียนเกมส์ ส่วนกีฬาโอลิมปิกนั้น ประมวนศักดิ์ติดทีมชาติไปแข่งกีฬาโอลิมปิก 2 ครั้ง คือ พ.ศ. 2535 ที่ บาร์เซโลนาร์ ในรุ่นไลท์ฟลายเวท รอบแรก ชนะอาร์เอสซี เซนต์ อาเบียน ไฮน์ จากจาเมกา ยก 2 เมื่อ 26 กรกฎาคม รอบสอง แพ้ ยาน ควาสต์ จากเยอรมัน ตกรอบ เมื่อ 1 สิงหาคม จากนั้น ติดทีมชาติไทยเข้าแข่งขันกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2539 ที่ แอตแลนตา สหรัฐ ในรุ่นฟลายเวท รอบแรก แพ้ คาเลด ฟาลาห์ จากซีเรีย เมื่อ 23 กรกฎาคม ตกรอบ จากนั้น ประมวนศักดิ์จึงหันมาชกมวยสากลอาชีพ โดยขึ้นชกครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2544 ที่โรงเรียนบ้านไร่(ทองคูณคุรุราษฎร์สามัคคี) ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ในรายการเดียวกับสด ปูนอินทรียิม ชิงแชมป์ องค์กรมวยโลก เอเชียแปซิฟิก โดยชนะ มานาฮัน พันซาริบู นักมวยชาวอินโดนิเซียไปแค่ยกแรกเท่านั้น ประมวลศักดิ์ในวัยถึง 40 ปี ได้ชิงแชมป์โลก 2 ครั้ง ครั้งล่าสุดชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท WBO กับ โฮเซ่ โลเปซ นักมวยชาวเปอร์โตริโก ประมวนศักดิ์ชกได้ดีที่สุดแล้วแต่ก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปอย่างเอกฉันท์ ปัจจุบัน ประมวนศักดิ์ทำหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านกีฬามวยที่โรงเรียนกีฬาจังหวัดอ่างทองเกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - เหรียญเงินกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 12 พ.ศ. 2537 ที่ ฮิโรชิมา รุ่นไลท์ฟลายเวท - เหรียญทองกีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2538 ที่ เชียงใหม่ รุ่นฟลายเวท - เหรียญทองกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2541 ที่ กรุงเทพฯ รุ่นฟลายเวท - แชมป์ WBO Asia Pacific รุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (2545 - 2551)- ชิงแชมป์ 17 มกราคม 2545 ชนะน็อคยก 8 จูเลียส ออคโคปรา (ฟิลิปปินส์) ที่เดอะมอลล์ ท่าพระ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 1, 10 พฤษภาคม 2545 ชนะคะแนน จูน แมกซีปอก (ฟิลิปปินส์) ที่ อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 2, 7 สิงหาคม 2545 ชนะน็อคยกที่ 1 อันท็อค โกเรส (อินโดนีเซีย) ที่ อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 3, 20 สิงหาคม 2545 ชนะน็อคยก 8 ฟาราโซนา ฟิเดล (อินโดนีเซีย) ที่ วิทยาลัยทองสุข - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 4, 3 ตุลาคม 2545 ชนะคะแนน ฮูลิโอ ดีลาบาเซส (อินโดนีเซีย) ที่ จ.นครราชสีมา - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 5, 25 ธันวาคม 2545 ชนะคะแนน เพียต เอนคาเต้ (แอฟริกาใต้) ที่ จ.นนทบุรี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 6, 21 กุมภาพันธ์ 2546 ชนะน็อคยก 2 เอ็มลินดี้ เอ็มคาลินปี (แอฟริกาใต้) ที่ จ.นนทบุรี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 7, 28 มีนาคม 2546 ชนะน็อคยก 6 อัลเบิร์ต ซีซา (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.นครสวรรค์ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 8, 3 ตุลาคม 2546 ชนะน็อคยก 8 รอสซาลิโต คัมปาน่า (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.นครราชสีมา - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 9, 14 มกราคม 2547 ชนะน็อคยก 1 บัคฮิตย์ ซูลพุกฮารอฟ (คาซัคสถาน) ที่ เดอะมอลล์ ท่าพระ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 10, 23 กรกฎาคม 2547 ชนะน็อคยก 1 ซูกุระ จามาซูดี้ (อินโดนีเซีย) ที่ จ.ระยอง - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 11, 26 สิงหาคม 2547 ชนะน็อคยก 4 จาเมส วาเนเน่ (เคนยา) ที่ จ.บุรีรัมย์ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 12, 20 กันยายน 2547 ชนะคะแนน อลัน รานาด้า (ฟิลิปปินส์) ที่ จ. สกลนคร - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 13, 28 ตุลาคม 2547 ชนะคะแนน เชอร์วิน ปาโร (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.อุตรดิตถ์ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 14, 27 ธันวาคม 2547 ชนะคะแนน อิซิโต โลโรน่า(ฟิลิปปินส์) ที่ วงเวียนใหญ่, กทม. - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 15, 28 กุมภาพันธ์ 2548 ชนะน็อคยก 12 รอลลี่ แมนด้าฮิน็อค (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.อุดรธานี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 16, 3 มิถุนายน 2548 ชนะคะแนน มาร์ก ซาเลส (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.มหาสารคาม - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 17, 9 กรกฎาคม 2548 ชนะน็อคยก 7 เฟอเตอริโก คาตูเปย์ (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.อุตรดิตถ์ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 18, 2 กันยายน 2548 ชนะน็อคยก 2 จูน พาเดอร์ (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.นนทบุรี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 19. 27 ธันวาคม 2548 ชนะคะแนน แอนโทนี่ มาร์เทียส (แทนซาเนีย) ที่ จ.ชุมพร - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 20, 28 กุมภาพันธ์ 2549 ชนะน็อคยก 3 ลูไอ แบนติเกอร์ (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.เชียงใหม่ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 21, 25 เมษายน 2549 ชนะคะแนน เอ็มบราน่า มาทุมล่าห์ (แทนซาเนีย) ที่ จ.ลำพูน - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 22, 31 มกราคม 2550 ชนะคะแนน ไรอัน มาลิเตง (ฟิลิปปินส์) ที่ เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 23, 11 พฤษภาคม 2550 ชนะน็อคยก 7 เจมมี่ โกเบล (อินโดนีเซีย) ที่ จ.ยโสธร - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 24, 3 กันยายน 2550 ชนะคะแนน โนอุลดี้ มานาคาเน่ (อินโดนีเซีย) ที่ จ.อุทัยธานี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 25, 25 ธันวาคม 2550 ชนะคะแนน อีริค บาร์เซโลนา (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.พังงา - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 26, 27 มิถุนายน 2551 ชนะน็อคยก 8 ฮาเวียร์ มาลูลัน (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.ราชบุรี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 27, 26 พฤศจิกายน 2551 ชนะคะแนน รอย โรดริเกวซ (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.มุกดาหาร - เคยชิงแชมป์ต่อไปนี้แต่ไม่สำเร็จ- ชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท WBO เมื่อ 31 ตุลาคม 2548 แพ้คะแนน เฟอร์นันโด มอนเทียล (เม็กซิโก) ที่สหรัฐ - ชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท WBO เมื่อ 29 มีนาคม 2552 แพ้คะแนน โฮเซ่ โลเปซ (เปอร์โตริโก) ที่บายามอน เปอร์โตริโกชื่อในการชกมวยสากลอาชีพชื่อในการชกมวยสากลอาชีพ. - ประมวลศักดิ์ ก่อเกียรติยิม - ประมวลศักดิ์ แรงเยอร์ยิม
| ศิริชัย โพธิ์สุวรรณ เป็นนักมวยสากลจากจังหวัดอะไร | {
"answer": [
"จังหวัดมหาสารคาม"
],
"answer_begin_position": [
212
],
"answer_end_position": [
228
]
} |
282 | 47,032 | ประมวนศักดิ์ โพธิ์สุวรรณ ประมวลศักดิ์ โพธิ์สุวรรณ หรือปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น ศิริชัย โพธิ์สุวรรณ เป็นนักมวยสากลชาวจังหวัดมหาสารคาม เคยเป็นนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทยมาก่อน ก่อนที่จะหันมาชกมวยสากลอาชีพ ได้เป็นแชมป์ WBO เอเชีย 2 สมัย และได้ขึ้นชิงแชมป์โลก 2 ครั้ง แต่ไม่สำเร็จประวัติ ประวัติ. ประมวลศักดิ์เป็นบุตรของนายบุญเหลือ นางทองอินทร์ โพธิ์สุวรรณ มารดาเสียชีวิตตั้งแต่อายุ 6 ปี เรียนจบชั้น ม.6 จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ขึ้นชกมวยครั้งแรกโดยเริ่มจากมวยไทย เมื่ออายุ 10 ปี ได้เข้าไปอยู่ในสังกัดของคณะ ส.ขอนแก่นอยู่ราว 7-8 ปี จึงเข้ากรุงเทพฯไปอยู่ค่ายห้าพลัง แต่การชกมวยไทยในกรุงเทพฯไม่ประสบความสำเร็จ ประมวลศักดิ์จึงกลับไปขอนแก่น ต่อมาประมวลศักดิ์เข้ามากรุงเทพฯอีกครั้งโดยเป็นเทรนเนอร์ให้กับพี่ชายคือ ปีใหม่ อ.ยุทธนากร จากนั้น ประมวนศักดิ์จึงไปสมัครชกมวยสากลสมัครเล่นจนได้ติดทีมชาติเข้าแข่งขันในกีฬาสำคัญ ๆ ทั้งซีเกมส์ เอเชียนเกมส์และโอลิมปิกเกมส์ โดยได้เหรียญทองทั้งซีเกมส์และเอเชียนเกมส์ ส่วนกีฬาโอลิมปิกนั้น ประมวนศักดิ์ติดทีมชาติไปแข่งกีฬาโอลิมปิก 2 ครั้ง คือ พ.ศ. 2535 ที่ บาร์เซโลนาร์ ในรุ่นไลท์ฟลายเวท รอบแรก ชนะอาร์เอสซี เซนต์ อาเบียน ไฮน์ จากจาเมกา ยก 2 เมื่อ 26 กรกฎาคม รอบสอง แพ้ ยาน ควาสต์ จากเยอรมัน ตกรอบ เมื่อ 1 สิงหาคม จากนั้น ติดทีมชาติไทยเข้าแข่งขันกีฬาโอลิมปิก พ.ศ. 2539 ที่ แอตแลนตา สหรัฐ ในรุ่นฟลายเวท รอบแรก แพ้ คาเลด ฟาลาห์ จากซีเรีย เมื่อ 23 กรกฎาคม ตกรอบ จากนั้น ประมวนศักดิ์จึงหันมาชกมวยสากลอาชีพ โดยขึ้นชกครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2544 ที่โรงเรียนบ้านไร่(ทองคูณคุรุราษฎร์สามัคคี) ตำบลกุดพิมาน อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ในรายการเดียวกับสด ปูนอินทรียิม ชิงแชมป์ องค์กรมวยโลก เอเชียแปซิฟิก โดยชนะ มานาฮัน พันซาริบู นักมวยชาวอินโดนิเซียไปแค่ยกแรกเท่านั้น ประมวลศักดิ์ในวัยถึง 40 ปี ได้ชิงแชมป์โลก 2 ครั้ง ครั้งล่าสุดชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท WBO กับ โฮเซ่ โลเปซ นักมวยชาวเปอร์โตริโก ประมวนศักดิ์ชกได้ดีที่สุดแล้วแต่ก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนนไปอย่างเอกฉันท์ ปัจจุบัน ประมวนศักดิ์ทำหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านกีฬามวยที่โรงเรียนกีฬาจังหวัดอ่างทองเกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - เหรียญเงินกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 12 พ.ศ. 2537 ที่ ฮิโรชิมา รุ่นไลท์ฟลายเวท - เหรียญทองกีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2538 ที่ เชียงใหม่ รุ่นฟลายเวท - เหรียญทองกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2541 ที่ กรุงเทพฯ รุ่นฟลายเวท - แชมป์ WBO Asia Pacific รุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (2545 - 2551)- ชิงแชมป์ 17 มกราคม 2545 ชนะน็อคยก 8 จูเลียส ออคโคปรา (ฟิลิปปินส์) ที่เดอะมอลล์ ท่าพระ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 1, 10 พฤษภาคม 2545 ชนะคะแนน จูน แมกซีปอก (ฟิลิปปินส์) ที่ อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 2, 7 สิงหาคม 2545 ชนะน็อคยกที่ 1 อันท็อค โกเรส (อินโดนีเซีย) ที่ อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 3, 20 สิงหาคม 2545 ชนะน็อคยก 8 ฟาราโซนา ฟิเดล (อินโดนีเซีย) ที่ วิทยาลัยทองสุข - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 4, 3 ตุลาคม 2545 ชนะคะแนน ฮูลิโอ ดีลาบาเซส (อินโดนีเซีย) ที่ จ.นครราชสีมา - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 5, 25 ธันวาคม 2545 ชนะคะแนน เพียต เอนคาเต้ (แอฟริกาใต้) ที่ จ.นนทบุรี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 6, 21 กุมภาพันธ์ 2546 ชนะน็อคยก 2 เอ็มลินดี้ เอ็มคาลินปี (แอฟริกาใต้) ที่ จ.นนทบุรี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 7, 28 มีนาคม 2546 ชนะน็อคยก 6 อัลเบิร์ต ซีซา (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.นครสวรรค์ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 8, 3 ตุลาคม 2546 ชนะน็อคยก 8 รอสซาลิโต คัมปาน่า (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.นครราชสีมา - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 9, 14 มกราคม 2547 ชนะน็อคยก 1 บัคฮิตย์ ซูลพุกฮารอฟ (คาซัคสถาน) ที่ เดอะมอลล์ ท่าพระ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 10, 23 กรกฎาคม 2547 ชนะน็อคยก 1 ซูกุระ จามาซูดี้ (อินโดนีเซีย) ที่ จ.ระยอง - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 11, 26 สิงหาคม 2547 ชนะน็อคยก 4 จาเมส วาเนเน่ (เคนยา) ที่ จ.บุรีรัมย์ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 12, 20 กันยายน 2547 ชนะคะแนน อลัน รานาด้า (ฟิลิปปินส์) ที่ จ. สกลนคร - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 13, 28 ตุลาคม 2547 ชนะคะแนน เชอร์วิน ปาโร (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.อุตรดิตถ์ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 14, 27 ธันวาคม 2547 ชนะคะแนน อิซิโต โลโรน่า(ฟิลิปปินส์) ที่ วงเวียนใหญ่, กทม. - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 15, 28 กุมภาพันธ์ 2548 ชนะน็อคยก 12 รอลลี่ แมนด้าฮิน็อค (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.อุดรธานี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 16, 3 มิถุนายน 2548 ชนะคะแนน มาร์ก ซาเลส (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.มหาสารคาม - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 17, 9 กรกฎาคม 2548 ชนะน็อคยก 7 เฟอเตอริโก คาตูเปย์ (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.อุตรดิตถ์ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 18, 2 กันยายน 2548 ชนะน็อคยก 2 จูน พาเดอร์ (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.นนทบุรี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 19. 27 ธันวาคม 2548 ชนะคะแนน แอนโทนี่ มาร์เทียส (แทนซาเนีย) ที่ จ.ชุมพร - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 20, 28 กุมภาพันธ์ 2549 ชนะน็อคยก 3 ลูไอ แบนติเกอร์ (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.เชียงใหม่ - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 21, 25 เมษายน 2549 ชนะคะแนน เอ็มบราน่า มาทุมล่าห์ (แทนซาเนีย) ที่ จ.ลำพูน - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 22, 31 มกราคม 2550 ชนะคะแนน ไรอัน มาลิเตง (ฟิลิปปินส์) ที่ เดอะมอลล์ งามวงศ์วาน - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 23, 11 พฤษภาคม 2550 ชนะน็อคยก 7 เจมมี่ โกเบล (อินโดนีเซีย) ที่ จ.ยโสธร - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 24, 3 กันยายน 2550 ชนะคะแนน โนอุลดี้ มานาคาเน่ (อินโดนีเซีย) ที่ จ.อุทัยธานี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 25, 25 ธันวาคม 2550 ชนะคะแนน อีริค บาร์เซโลนา (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.พังงา - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 26, 27 มิถุนายน 2551 ชนะน็อคยก 8 ฮาเวียร์ มาลูลัน (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.ราชบุรี - ป้องกันแชมป์ครั้งที่ 27, 26 พฤศจิกายน 2551 ชนะคะแนน รอย โรดริเกวซ (ฟิลิปปินส์) ที่ จ.มุกดาหาร - เคยชิงแชมป์ต่อไปนี้แต่ไม่สำเร็จ- ชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท WBO เมื่อ 31 ตุลาคม 2548 แพ้คะแนน เฟอร์นันโด มอนเทียล (เม็กซิโก) ที่สหรัฐ - ชิงแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท WBO เมื่อ 29 มีนาคม 2552 แพ้คะแนน โฮเซ่ โลเปซ (เปอร์โตริโก) ที่บายามอน เปอร์โตริโกชื่อในการชกมวยสากลอาชีพชื่อในการชกมวยสากลอาชีพ. - ประมวลศักดิ์ ก่อเกียรติยิม - ประมวลศักดิ์ แรงเยอร์ยิม
| มาดารของศิริชัย โพธิ์สุวรรณ เสียชีวิตตั้งแต่เขาอายุกี่ปี | {
"answer": [
"อายุ 6 ปี"
],
"answer_begin_position": [
472
],
"answer_end_position": [
481
]
} |
283 | 254,214 | การสมรสของพระนางพรหมจารี (ราฟาเอล) การแต่งงานของเวอร์จินแมรี () เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอล จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เบรราในเมืองมิลานในประเทศอิตาลี ราฟาเอลลงชื่อและวันที่บนภาพเขียน “การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” (ค.ศ. 1504) เป็นภาพที่ได้รับจ้างจากตระกูลอัลบิซซินีสำหรับชาเปลเซนต์โจเซฟภายในวัดซานฟรานเชสโคที่เมืองชิตตาดิคาลเตลโลในอุมเบรีย ในปี ค.ศ. 1798 ถูกบังคับให้อุทิศภาพเขียนให้แก่จุยเซ็ปปี เลคิ (Giuseppe Lechi) นายพลของกองทัพนโปเลียนผู้ขายต่อให้นักค้าขายศิลปะชาวมิลานซานนาซซาริๆ ยกภาพให้กับโรงพยาบาลในมิลานในปี ค.ศ. 1804 สองปีต่อมาสถาบันวิจิตรศิลป์ก็ซื้อต่อ นักวิพากษ์ศิลปะเชื่อกันว่าเป็นภาพที่ได้รับแรงบันดาลใจจากการวางองค์ประกอบของภาพสองภาพของเปียโตร เปรูจิโน: “พระเยซูมอบกุญแจให้นักบุญปีเตอร์” () ที่เขียนภายในชาเปลซิสติน และจิตรกรรมแผงชื่อเดียวกัน “การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” () ที่ปัจจุบันอยู่ในพิพิธภัณฑ์ที่เมืองแคนในประเทศฝรั่งเศส การลงชื่อและวันที่บนบัวเหนือซุ้มโค้งที่ตกแต่งด้านหน้าของวัดที่ไกลออกไปก็เท่ากับว่าได้ทิ้งความเป็นจิตรกรนิรนามและมีความเชื่อมั่นในตนเองพอที่จะลงชื่อว่าเป็นผู้สร้างภาพเขียน ตัวบุคคลหลักในภาพยืนอยู่ด้านหน้าของภาพก็มีโจเซฟผู้กำลังสวมแหวนให้กับเวอร์จินแมรี โจเซฟถือคทาในมือซ้ายที่เป็นไม้ที่มีใบงอกออกมาที่แสดงว่าเป็นผู้ที่ได้รับเลือก คทาของชายอีกสองคนที่ไม่ได้รับเลือกยังคงเป็นคทาไม้ที่แห้งอยู่ จนคนหนึ่งต้องหักคทาด้วยความผิดหวัง วัดหลายเหลี่ยมลักษณะของบรามันเตเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบของภาพที่เด่นและเป็นส่วนที่มีอิทธิพลต่อการวางภาพของกลุ่มคนที่ด้านหน้าของภาพ ลายพื้นที่ดึงเข้าไปยังตัวสิ่งก่อสร้างเป็นการเน้นให้เห็นถึงการใช้การเขียนแบบทัศนมิติที่แสดงความลึกของภาพ ตัวแบบต่างที่ไกลออกไปก็ค่อยเล็กลงตามลำดับ ตัววัดเป็นศูนย์กลางของเส้นรัศมีที่กระจายออกมาจากซุ้มระเบียง เสา และบันได ไปจนถึงพื้น จากประตูวัดที่สามารถมางทะลุได้เป็นนัยยะว่าเส้นรัศมีจากวัดยังคงยืดต่อออกไปจากผู้ดูยิ่งขึ้นไปอีก แม้แต่ในภาพกลุ่มคนด้านหน้าก็เป็นภาพที่แสดงทัศนมิติ ตัวแบบสามตัวหลักอยู่หน้าภาพ ล้อมรอบไปด้วยผู้เข้าร่วมพิธีที่ค่อยไกลออกไปจากศูนย์กลางจากแหวนที่โจเซฟกำลังจะสวมให้แมรี ที่แบ่งภาพออกเป็นสองข้างเท่ากัน โทนสีของภาพเป็นสีทองโดยมีสีอื่นประกอบที่รวมทั้งสีงาช้าง เหลือง เขียวน้ำเงิน น้ำตาลไหม้ และแดงจัด ภาพเขียนนี้เปรียบได้กับภาพเขียนของเปรูจิโนแต่เป็นภาพที่วิวัฒนาการเพิ่มขึ้นโดยใช้องค์ประกอบที่กลมเมื่อเทียบกับองค์ประกอบแนวนอนของเปรูจิโนซึ่งยังคงเป็นลักษณะของการเขียนแบบควัตโตรเชนโต การวางภาพกลุ่มคนและการเขียนสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ในฉากหลังเป็นสิ่งที่ทำให้งานของราฟาเอลแตกต่างจากงานของเปรูจิโน ช่องภายในภาพดูโปร่งกว่าของเปรูจิโนที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเขียนทัศนมิติที่เหนือกว่าเปรูจิโน
| ภาพเขียน การแต่งงานของเวอร์จินแมรี จิตกรชาวอิตาลีที่เขียนมีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"ราฟาเอล"
],
"answer_begin_position": [
316
],
"answer_end_position": [
323
]
} |
284 | 254,214 | การสมรสของพระนางพรหมจารี (ราฟาเอล) การแต่งงานของเวอร์จินแมรี () เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอล จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เบรราในเมืองมิลานในประเทศอิตาลี ราฟาเอลลงชื่อและวันที่บนภาพเขียน “การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” (ค.ศ. 1504) เป็นภาพที่ได้รับจ้างจากตระกูลอัลบิซซินีสำหรับชาเปลเซนต์โจเซฟภายในวัดซานฟรานเชสโคที่เมืองชิตตาดิคาลเตลโลในอุมเบรีย ในปี ค.ศ. 1798 ถูกบังคับให้อุทิศภาพเขียนให้แก่จุยเซ็ปปี เลคิ (Giuseppe Lechi) นายพลของกองทัพนโปเลียนผู้ขายต่อให้นักค้าขายศิลปะชาวมิลานซานนาซซาริๆ ยกภาพให้กับโรงพยาบาลในมิลานในปี ค.ศ. 1804 สองปีต่อมาสถาบันวิจิตรศิลป์ก็ซื้อต่อ นักวิพากษ์ศิลปะเชื่อกันว่าเป็นภาพที่ได้รับแรงบันดาลใจจากการวางองค์ประกอบของภาพสองภาพของเปียโตร เปรูจิโน: “พระเยซูมอบกุญแจให้นักบุญปีเตอร์” () ที่เขียนภายในชาเปลซิสติน และจิตรกรรมแผงชื่อเดียวกัน “การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” () ที่ปัจจุบันอยู่ในพิพิธภัณฑ์ที่เมืองแคนในประเทศฝรั่งเศส การลงชื่อและวันที่บนบัวเหนือซุ้มโค้งที่ตกแต่งด้านหน้าของวัดที่ไกลออกไปก็เท่ากับว่าได้ทิ้งความเป็นจิตรกรนิรนามและมีความเชื่อมั่นในตนเองพอที่จะลงชื่อว่าเป็นผู้สร้างภาพเขียน ตัวบุคคลหลักในภาพยืนอยู่ด้านหน้าของภาพก็มีโจเซฟผู้กำลังสวมแหวนให้กับเวอร์จินแมรี โจเซฟถือคทาในมือซ้ายที่เป็นไม้ที่มีใบงอกออกมาที่แสดงว่าเป็นผู้ที่ได้รับเลือก คทาของชายอีกสองคนที่ไม่ได้รับเลือกยังคงเป็นคทาไม้ที่แห้งอยู่ จนคนหนึ่งต้องหักคทาด้วยความผิดหวัง วัดหลายเหลี่ยมลักษณะของบรามันเตเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบของภาพที่เด่นและเป็นส่วนที่มีอิทธิพลต่อการวางภาพของกลุ่มคนที่ด้านหน้าของภาพ ลายพื้นที่ดึงเข้าไปยังตัวสิ่งก่อสร้างเป็นการเน้นให้เห็นถึงการใช้การเขียนแบบทัศนมิติที่แสดงความลึกของภาพ ตัวแบบต่างที่ไกลออกไปก็ค่อยเล็กลงตามลำดับ ตัววัดเป็นศูนย์กลางของเส้นรัศมีที่กระจายออกมาจากซุ้มระเบียง เสา และบันได ไปจนถึงพื้น จากประตูวัดที่สามารถมางทะลุได้เป็นนัยยะว่าเส้นรัศมีจากวัดยังคงยืดต่อออกไปจากผู้ดูยิ่งขึ้นไปอีก แม้แต่ในภาพกลุ่มคนด้านหน้าก็เป็นภาพที่แสดงทัศนมิติ ตัวแบบสามตัวหลักอยู่หน้าภาพ ล้อมรอบไปด้วยผู้เข้าร่วมพิธีที่ค่อยไกลออกไปจากศูนย์กลางจากแหวนที่โจเซฟกำลังจะสวมให้แมรี ที่แบ่งภาพออกเป็นสองข้างเท่ากัน โทนสีของภาพเป็นสีทองโดยมีสีอื่นประกอบที่รวมทั้งสีงาช้าง เหลือง เขียวน้ำเงิน น้ำตาลไหม้ และแดงจัด ภาพเขียนนี้เปรียบได้กับภาพเขียนของเปรูจิโนแต่เป็นภาพที่วิวัฒนาการเพิ่มขึ้นโดยใช้องค์ประกอบที่กลมเมื่อเทียบกับองค์ประกอบแนวนอนของเปรูจิโนซึ่งยังคงเป็นลักษณะของการเขียนแบบควัตโตรเชนโต การวางภาพกลุ่มคนและการเขียนสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ในฉากหลังเป็นสิ่งที่ทำให้งานของราฟาเอลแตกต่างจากงานของเปรูจิโน ช่องภายในภาพดูโปร่งกว่าของเปรูจิโนที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการเขียนทัศนมิติที่เหนือกว่าเปรูจิโน
| ราฟาเอลผู้เขียนภาพ การแต่งงานของเวอร์จินแมรี เป็นจิตรกรในสมัยใด | {
"answer": [
"สมัยเรอเนซองส์"
],
"answer_begin_position": [
218
],
"answer_end_position": [
232
]
} |
285 | 258,888 | นาธาน โอร์มาน นาธาน โอร์มาน หรือในบางครั้งอาจเขียนว่า นาธาน โอมาน (อักษรโรมัน: Nathan Oman) มีชื่อจริงว่า สุธัญ โอมานันท์ เคยใช้ชื่อจริงว่า นธัญ โอมานันท์ (ชื่อเกิด: ธัญญวัฒน์ หยุ่นตระกูล; เกิด: 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย มีผลงานอัลบั้มเพลงกับค่ายอาร์เอส 2 ชุดคือ Nathan และ สิ่งที่เรียกว่าหัวใจ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ศาลจังหวัดเลยได้ตัดสินให้นาธาน จำคุกเป็นเวลา 2 ปี แต่เจ้าตัวรับสารภาพ จึงลดโทษให้ครึ่งหนึ่ง เป็นจำคุก 1 ปี พร้อมทั้งให้ชดใช้เงินน้ามดทั้งหมด ต่อมาได้รับพระราชทานอภัยโทษ เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 7 รอบ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2553ประวัติ ประวัติ. นาธาน โอร์มาน เป็นบุตรของนายธัญญา และนางอุทัยวรรณ นาธานมีน้องสาวร่วมบิดามารดา 1 คน ชื่อเล่น น็อต นาธานมีชื่อโดยกำเนิดว่า ธัญญวัฒน์ หยุ่นตระกูล สำเร็จชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนดรุณศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช และเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนทุ่งสง ซึ่งอยู่ในจังหวัดเดียวกัน เมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 นาธานก็ได้หนีไปใช้ชีวิตในกรุงเทพมหานคร โดยศึกษาที่วิทยาลัยเพาะช่าง 2 ปี แล้วต่อปริญญาตรีศิลปศาสตร์ คณะครุศาสตร์ (เอกศิลปะ) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา บิดาและมารดาของนาธานเป็นคนเชื้อชาติไทย บิดาเกิดที่อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ส่วนมารดาเกิดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี บิดาและมารดาของนาธานไม่ได้แต่งงานกัน แต่อยู่กินด้วยกันสมัยเรียน และกลับมาตั้งหลักปักฐานที่บ้านเกิดของฝ่ายชาย ทั้งสองได้แยกทางกันตั้งแต่นาธานและน้องสาวยังเล็กๆ ทำให้นาธานต้องไปอาศัยอยู่กับป้าและย่า โดยมีบิดาเป็นผู้ส่งเสียเลี้ยงดู หลังจากนั้นบิดาของนาธานได้แต่งงานกับหญิงสาวที่จังหวัดเชียงใหม่ และทำงานเป็นช่างไฟฟ้า ส่วนมารดาของนาธานแต่งงานใหม่กับตำรวจ มีบุตรด้วยกัน 3 คน (ผู้หญิง 2 คน ผู้ชาย 1 คน) นาธานเข้าสู่วงการบันเทิง ด้วยการถ่ายแฟชั่นนิตยสารอย่างอิมเมจ ลิปส์ ป๊อบทีน จากนั้นก้าวมาเป็นศิลปินนักร้องค่ายอาร์เอส มีอัลบั้มแรกในสไตล์ป็อปร็อกที่ชื่อ Nathan ต่อมาเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นทั้งจากหนังสือพิมพ์และทางโทรทัศน์ที่เชิญไปสัมภาษณ์เหตุการณ์รอดชีวิตจากภัยพิบัติคลื่นยักษ์สึนามิ หลังจากนั้น 2 ปีออกผลงานอัลบั้มชุดที่ 2 คือ สิ่งที่เรียกว่าหัวใจ ที่มีแนวดนตรีได้กลิ่นอายของเนปาล รวมถึงในมิวสิกวิดีโอด้วยเช่นกัน จากนั้นได้เปิดบริษัททำทัวร์ไปเที่ยวประเทศเนปาล และออกผลงานเขียนหนังสือเรื่อง ผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย) และ โลกนี้ไม่เหงาแล้ว (Not A Lonely Planet) นาธาน โอร์มาน เริ่มสนใจด้านการเมือง โดยสมัครเข้าสังกัดพรรคพลังเครือข่ายประชาชนกรณีพิพาทการแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูด กรณีพิพาท. การแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูด. ในกลางปี พ.ศ. 2551 นาธานเริ่มให้สัมภาษณ์ว่า ได้แสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูดเรื่อง The Prince Of Red Shoe ของบริษัทบิกบลู ในเครือค่ายทเวนตี้ เซ็นจูรี ฟอกซ์ ซึ่งมี วูล์ฟกัง ปีเตอร์เซน และ มูฮำหมัดซูอัต เป็นผู้กำกับ โดยแสดงร่วมกับดาราดังอย่าง บรูซ วิลลิส และ คริสติน่า ริชชี่ ถ่ายทำในหลายที่ เช่น ประเทศจอร์แดน, อิหร่าน, โอมาน และหลาย ๆ เมืองในแถบตะวันออกกลาง ก่อนที่จะให้สัมภาษณ์เพิ่มเติมอีกครั้งในอีกราวหนึ่งปีต่อมาจนกลายเป็นข่าวโด่งดัง แต่เมื่อมีการสืบค้นข้อมูล ทั้งจากเว็บไซต์ IMDb ทวิตเตอร์ของนักแสดงที่นาธานอ้างถึง ตลอดจนหลักฐานอื่น ๆ กลับไม่มีสิ่งยืนยันว่านาธานแสดงภาพยนตร์ตามที่กล่าวอ้าง จึงได้กลายเป็นหัวข้อถกเถียงในอินเทอร์เน็ตว่านาธานพูดโกหกหรือไม่ และยังรวมถึงประวัติของนาธานที่เขาเคยให้สัมภาษณ์ไว้ด้วย หลังจากนั้นนาธานกับผู้จัดการส่วนตัวได้ออกมายืนยันว่าไปถ่ายหนังของฮอลลีวูดในหลายประเทศแถบตะวันออกกลางจริง แต่เมื่อนักข่าวขอดูพาสปอร์ตกลับบ่ายเบี่ยงอ้างว่าไม่ได้เป็นนักโทษทำไมต้องให้ดู อีกทั้งยังไม่ตอบคำถามเรื่องโกงอายุและเรื่องหลอกนักข่าวปลอมตัวเป็นอรัญ น้องชายของตัวเอง วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เปี๊ยก โมเดลลิ่ง ผู้ที่ถ่ายภาพของนาธาน โอร์มานที่ถูกนำมาเสนอว่าเป็นภาพถ่ายจากภาพยนตร์ The Prince Of Red Shoe ออกมาให้สัมภาษณ์ในรายการ เจาะข่าวเด่น ว่าภาพเหล่านั้นไม่ใช่ภาพจากกองถ่ายที่โอมาน แต่เป็นภาพที่เจ้าตัวเป็นผู้ถ่ายเองและกล่าวว่าถูกหลอกให้แต่งหน้าและถ่ายรูปที่ออกแบบโดยนาธาน จึงออกมาให้สัมภาษณ์เพื่อความบริสุทธิ์ใจ ต่อมา 2 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ในการบันทึกเทปสัมภาษณ์กับรายการ วู้ดดี้เกิดมาคุย เขายอมรับว่าเขากุเรื่องในการแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูดรวมถึงเรื่องราวทั้งหมดของตน โดยอ้างว่าที่ทำไปทั้งหมดนั้น ก็เพราะผู้สนับสนุนตนในวงการบันเทิง ต้องการสร้างตัวตนของตนให้เป็นแบบนั้น ให้มีชีวิตที่น่าทึ่ง เป็นเด็กอัจฉริยะสามารถพูดได้หลายภาษา เป็นต้นกรณีฉ้อโกงเงิน กรณีฉ้อโกงเงิน. ปลายเดือนกรกฎาคม 2552 จามจุรี จูลี่ แคสเชอร์ (เจเจ) ดีเจคลื่นอีซี เวอร์จิ้นเรดิโอ หุ้นส่วนร้าน Jamaree Yak Cafe Gallery เข้าแจ้งความดำเนินคดีกับนาธานในข้อหาฉ้อโกงเงินหุ้นส่วนร้านอาหาร และยังออกพูดถึงพฤติกรรมไม่ชอบมาพากล หลังถูกข้อกล่าวหาทั้ง 2 กรณีจึงออกมาแถลงข่าวว่า ได้จ่ายเงินไปแล้วพร้อมนำสลิปบัตรเครดิตมาโชว์เป็นหลักฐาน และกล่าวว่าจะฟ้องกลับ เดือนพฤศจิกายน 2552 อดีตแม่บ้านของนาธาน พร้อมด้วยอาทิตย์ กุลฝ้าย ลูกชาย ได้เข้าแจ้งความอดีตนักร้องหนุ่มในข้อหาฉ้อโกงเงินกว่า 3 แสนบาท ทั้งยังนำตรายาง ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, การท่องเที่ยวเนปาล โรงแรมชื่อดัง รวมถึงบริษัท ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ฟ็อกซ์ ที่เป็นของนาธานเพื่อตรวจสอบและใช้เป็นหลักฐาน ต่อมา "แหม่ม พิศมัย” แม่บุญธรรม ออกมาปฏิเสธถึงข้อกล่าวหาดังกล่าวผ่านทางรายการ "เรื่องเด่นเย็นนี้" ทั้งนี้ทางรายการยังได้ต่อสายโทรศัพท์ถึงนาธานเพื่อชี้แจงเรื่องต่าง ๆ นาธานปฏิเสธในทุกเรื่อง โดยระบุว่า รู้จักพี่เลี้ยงคนดังกล่าวเพียง 2 ปี ไม่ใช่ 10 ปี ส่วนเรื่องตรายางไม่ใช่ของตน มีเพียงบริษัททัวร์ของนาธานอันเดียว หลังจากนั้นทางฝ่ายอดีตแม่บ้านนาธานเข้าแจ้งความ และทางเจ้าหน้าที่ตำรวจ ได้ออกหมายเรียกนายนาธานแต่ไม่สามารถติดต่อได้ เจ้าหน้าที่ตำรวจได้ทราบว่านาธานหลบหนีมาพักอาศัยอยู่ที่ อ.เชียงคาน จ.เลย จึงเข้าจับกุมนายนาธาน แต่นาธานได้รับประกันตัวออกไปในวันรุ่งขึ้น นางฉลอง จันทร์นาค ยายของ น.ส. เสาวนีย์ ฤทธิโชติ อายุ 27 ปี หรือน้องอ้อม ผู้ป่วยเป็นโรคผิวหนังแห้งตกสะเก็ด หรือ “เด็กดักแด้” ซึ่งเสียชีวิตไปเมื่อเดือนมีนาคม 2552 ออกมาเปิดเผยว่านาธาน โอร์มานยืมเงินไปรวมกว่าแสนบาททั้งจากยายและน้องอ้อม พร้อมกล่าวสาเหตุการขอยืมเงินว่า "ถูกเพื่อนที่ร่วมทำกิจกรรมบริจาคช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยสึนามิโกงเงิน" และยังต่อว่าเรื่องที่นาธานไม่ยอมมาร่วมงานศพน้องอ้อมโดยอ้างว่าร่วมงานไม่ได้เพราะอยู่ต่างประเทศ ต่อมาสราวุธ มาตรทองออกมาชี้แจงหลังจากถูกพาดพิงว่า เงินทุกบาทที่รับบริจาคช่วยเหลือชาวมอแกนจากเหตุการณ์สึนามินั้นได้นำไปให้ชาวมอแกนหมดแล้ว ทั้งเงิน และเรือ กลางเดือนพฤศจิกายน ปุ๊กกี้ ปริศนา พรายแสง อดีตนักร้องสังกัดอาร์เอส ออกมาเปิดโปงว่านาธานหลอกลวงเงินนางนันทพร พรายแสง น้าแท้ ๆ ของตนไปร่วมสามแสนบาท ซึ่งนาธานก็บอกว่าเป็นเรื่องเข้าใจผิด ซึ่งไม่นานนางดำ จารุวรรณ พรายแสง แม่ของปุ๊กกี้ก็ออกมาเปิดเผยหลายเรื่องที่นาธานโกหก และสาเหตุที่น้องสาวแท้ ๆ เชื่อ เพราะนาธานอ้างว่าถ้าได้เงินจากการแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูดจะซื้อบ้านราคา 10 ล้าน และรถเบนซ์ให้ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2553 ที่ศาลจังหวัดอำนาจเจริญ นางสมาน สุขเสริม อดีตแม่บ้านนาธาน โอมาน กล่าวว่า การไกล่เกลี่ยคดีฉ้อโกงที่นาธานได้นำโฉนดที่ดินของตนไปจำนองได้สิ้นสุดลงแล้ว โดยนาธานได้ชำระหนี้ก้อนแรกเป็นเช็คจำนวน 3.4 แสนบาท ส่วนที่เหลือนาธานได้เจรจาขอลดหย่อน ซึ่งนางสมานยอมลดหนี้จาก 7.4 แสนเหลือแค่ 5.4 แสนบาท แต่นาธานขอต่อรองลดหย่อนอีก จนนางสมานยอมลดให้เหลือ 4.4 แสนบาท โดยที่เหลืออีก 1 แสนยินดีให้เวลานาธาน 1 ปีหามาชดใช้ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 รายการเรื่องเล่าเสาร์อาทิตย์ ได้นำเสนอกรณีนายนาธาน โอร์มาน ในขณะที่ พิศมัย ศรีกระบุตร หรือ ครูแหม่ม ทำการช่วยเหลือรับอุปการะนาธาน โอร์มาน ว่า นายนาธาน ได้ใช้ความสนิทสนมกับ นางสิทธิพร โคตรอุดมพร หรือ น้ามด ซึ่งมีศักดิ์เป็นน้าสะใภ้ของครูแหม่ม ให้นำที่ดินของน้ามด ไปจำนอง เพื่อให้ได้เงินมาใช้ในการซื้อรถ "เชฟโรเลต แคปติวา" โดยที่นาธานได้อ้างว่าเพื่อซื้อมาขับให้ชินมือ เพราะตนได้รับการคัดเลือกให้เป็นพรีเซนเตอร์ของรถยี่ห้อดังกล่าวด้วยค่าตัวจำนวน 9 แสนบาท และเมื่อได้เงินค่าตัวแล้วจะนำเงินมาใช้คืนให้ นอกจากนี้ นาธาน ยังได้เอาเงินจำนวน 3 หมื่นบาท จากแม่ของครูแหม่ม ด้วยคำอ้างที่ว่าจะใช้เป็นค่าเสื้อผ้าในการเป็นพรีเซนเตอร์ให้กับงานหนึ่ง โดยให้แม่ของครูแหม่ม นำวัวที่มีทั้งหมดไปขาย แต่ภายหลังทางผู้จัดได้โทรมายกเลิก เนื่องจากเหตุการณ์บ้านเมืองไม่สงบ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ศาลจังหวัดเลยได้พิจารณาคดีที่นางสิทธิพร โคตรอุดมพร หรือ น้ามด แจ้งความดำเนินคดีกับนาธาน โดยพนักงานอัยการเป็นโจทย์บรรยายคำฟ้องสรุปว่า จำเลยได้หลอกลวงผู้เสียหาย แต่จำเลยได้ปฏิเสธและจะหาทนายเอง ซึ่งศาลได้กำหนดนัดพร้อม ในวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2554 เวลา 08.00 นาฬิกา ต่อมาจำเลยได้ยื่นคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราวโดยไม่มีหลักประกัน ศาลจังหวัดเลยยกคำร้อง เนื่องจากเห็นว่ามูลค่าความเสียหายที่จำเลยหลอกลวงผู้เสียหายไป ป็นเงินจำนวนกว่า 7 แสนบาท หากจำเลยประสงค์จะยื่นคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราว ให้หาหลักประกันมายื่นต่อศาลต่อไป จากนั้นศาลได้นำตัวนาธานจำเลยกับนางสิทธิพรผู้เสียหาย เข้าห้องไกล่เกลี่ยคดี โดยมีผู้พิพากษาศาลหัวหน้าศาลจังหวัดเลยทำหน้าที่ผู้ไกล่เกลี่ย เบื้องต้นจำเลยประสงค์จะต่อสู้คดี ไม่ประสงค์จะไกล่เกลี่ยกับผู้เสียหาย ศาลเลยนำตัวจำเลยไปควบคุมเพื่อรอการยื่นขอประกันตัว หลังจากนาธานไม่ยอมไกล่เกลี่ยกับน้ามด และพยายามติดต่อกับคนรู้จัก เพื่อให้มาประกันตัว แต่ไม่สามารถติดต่อหรือหาใครมาประกันตัวได้ จนหมดเวลาทำการของศาล เจ้าหน้าที่เลยคุมตัวนาธานขึ้นรถ ไปควบคุมที่เรือนจำจังหวัดเลยต่อไป ศาลจังหวัดเลยได้ตัดสินให้นาธาน จำคุกเป็นเวลา 2 ปี แต่เจ้าตัวรับสารภาพ จึงลดโทษให้ครึ่งหนึ่ง เป็นจำคุก 1 ปี พร้อมทั้งให้ชดใช้เงินน้ามดทั้งหมด ต่อมาได้รับพระราชทานอภัยโทษ เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 7 รอบ จึงพ้นโทษเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2554ข้อสงสัยเรื่องชาติกำเนิด ข้อสงสัยเรื่องชาติกำเนิด. นาธานอ้างว่าตัวเองเป็นลูกครึ่งเนปาลกับไทย โดยมีพ่อเป็นนักธุรกิจค้าขายอัญมณีจำพวกหินสีชาวเนปาล แม่เป็นคนไทยเชื้อสายโอมาน เกิดที่เมืองปาฏัน มีฐานะทางครอบครัวในระดับที่มั่นคง โดยออกจากเนปาลมาใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่อายุ 15 ปี และมีความสามารถพูดได้ถึง 5 ภาษา คือ ภาษาไทย, เนปาล, อาหรับ, ฝรั่งเศส และรัสเซีย อีกทั้งยังเคยใช้ชีวิตมาหลากหลายรูปแบบ ทั้งเคยเป็นลูกเรือประมงที่จังหวัดภูเก็ต หรือเคยเผชิญหน้ากับขบวนการค้ามนุษย์ที่ชายแดนกัมพูชามาแล้ว ซึ่งรายการโต๊ะข่าวบันเทิง ของช่อง 3 รายงานว่า "นาธานมีเชื้อชาติไทย สัญชาติไทย นับถือศาสนาพุทธ ไม่ใช่อิสลามอย่างที่เคยกล่าว มีชื่อเดิมว่า ธัญวัฒน์ หยุ่นตระกูล เป็นบุตรชายของนายธัญญา หยุ่นตระกูล มีเชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ไม่ได้เป็นคนเนปาล อาศัยอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก" โดยทางทีมนักข่าวสอบถามกับนายธัญญา ที่เชื่อว่าเป็นบิดา แต่ปฏิเสธที่จะให้สัมภาษณ์ บอกแต่เพียงว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับนาธาน แต่เมื่อผู้สื่อข่าวสอบถามกับเพื่อนบ้าน ทุกคนในหมู่บ้านรู้ดีว่านายธัญญาเป็นพ่อของนาธาน ซึ่งนาธานเคยมาหาพ่อบ้างแต่ไม่บ่อย และต่อมาอดีตแม่บ้านของนาธานนำสำเนาบัตรประชาชนและทะเบียนบ้านของนาธานมาแสดงให้เห็นว่าเขามีสัญชาติไทยแท้ ไม่ใช่ลูกครึ่งเนปาลตามที่กล่าวอ้าง แต่เมื่อพิธีกรพยายามจี้ถามถึงเรื่องของสัญชาติ นาธานก็ได้ตัดสายโทรศัพท์ไปทันที ในการบันทึกเทปสัมภาษณ์รายการวู้ดดี้เกิดมาคุย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 นาธานเปิดเผยว่า พูด 5 ภาษาตามที่เคยกล่าวอ้างไม่ได้ และกล่าวว่า ตนเป็นคนโกหกลวงโลกตั้งแต่เข้าวงการมา โดยมีผู้มีพระคุณ 5-6 คน คอยบอกให้เป็นแบบนั้น จัดวางว่าจะต้องเป็นลูกครึ่งที่พูดได้ 5 ภาษา และวิเคราะห์ตนเองว่า ตัวเองเป็น คนที่ต้องการความรัก ต้องการความอบอุ่น กลัวว่าคนจะไม่รัก เลยต้องจำใจโกหกตามที่ผู้มีพระคุณได้วางหมากเอาไว้ และเข้าใจว่า คนทั่วไปชอบเรื่องโกหก เวลาที่พูดความจริงจะไม่เคยเชื่อ แต่พอโกหกทุกคนเชื่อกัน จึงกลายเป็นเรื่องราวใหญ่โตเรื่อยมาผลงานอัลบั้มเพลงผลงาน. อัลบั้มเพลง. - Nathan (2546) - สิ่งที่เรียกว่าหัวใจ - MV ถอนตัว Byrd&Heartหนังสือผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย)โลกนี้ไม่เหงาแล้ว (Not A Lonely Planet) หนังสือ. โลกนี้ไม่เหงาแล้ว (Not A Lonely Planet). โลกนี้ไม่เหงาแล้ว (Not A Lonely Planet) เป็นพ็อกเก็ตบุ๊คเล่มที่ 2 ของนาธาน โอร์มาน ซึ่งต่อจาก "ผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย) " พ็อกเก็ตบุ๊คเล่มนี้เป็นผู้เขียนอ้างว่าเป็นบันทึกเดินทางในประเทศเนปาลของตนเอง ไม่ว่าจะเป็น หมู่บ้านเก่าในนาคากต ร้านขนมในปาตัน และยังมีประสบการณ์เฉียดตายจากการเดินทางไปผจญภัยในดินแดนแคชเมียร์ อียิปต์ ตุรกี เหตุการณ์คลื่นสึนามิพัดถล่มในหมู่เกาะสุรินทร์ นอกจากนี้ยังกล่าวถึง การตกแต่งบ้านสไตล์เนปาล และพลังลึกลับของหิน นาธานกล่าวอ้างว่า แรงบันดาลใจในการเขียนหนังสือเล่มนี้ เพราะต้องการบอกให้ทุกคนรู้ว่า ตอนนี้เขาไม่เหงาอีกต่อไปแล้ว เพราะการเดินทางทำให้ได้เจอเพื่อนๆมากมายจากทั่วทุกมุมโลก และที่สำคัญนาธานอยากให้แฟนเพลงทุกคนได้รู้จักประเทศเนปาลมากขึ้น อยากให้หลายๆ คนได้รับรู้ทุกซอกทุกมุมของเนปาล ซึ่งถือเป็นดินแดนแห่งอารยธรรมแห่งหนึ่งของโลก จากข้อกรณีพิพาทที่นาธานได้มีดังนั้นจึงสรุปได้ว่าหนังสือ ทั้ง 2 เล่ม คือ ผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย) และ โลกนี้ไม่เหงาแล้ว (Not A Lonely Planet) นั่นเป็นเรื่องแต่งมาทั้งสิ้น โดยได้แรงบันดาลใจจากผู้ใหญ่ที่รู้จักกันและเคยเล่าประสบการณ์ใช้ชีวิตที่เนปาลให้นาธานฟังนาธานจึงใช้ประสบการณ์ของคนอื่นมาปรุงแต่งเขียนใหม่เป็นหนังสือของตนเอง
| ชื่อเดิมของนาธาน โอร์มาน มีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"ธัญญวัฒน์ หยุ่นตระกูล"
],
"answer_begin_position": [
254
],
"answer_end_position": [
275
]
} |
286 | 258,888 | นาธาน โอร์มาน นาธาน โอร์มาน หรือในบางครั้งอาจเขียนว่า นาธาน โอมาน (อักษรโรมัน: Nathan Oman) มีชื่อจริงว่า สุธัญ โอมานันท์ เคยใช้ชื่อจริงว่า นธัญ โอมานันท์ (ชื่อเกิด: ธัญญวัฒน์ หยุ่นตระกูล; เกิด: 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย มีผลงานอัลบั้มเพลงกับค่ายอาร์เอส 2 ชุดคือ Nathan และ สิ่งที่เรียกว่าหัวใจ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ศาลจังหวัดเลยได้ตัดสินให้นาธาน จำคุกเป็นเวลา 2 ปี แต่เจ้าตัวรับสารภาพ จึงลดโทษให้ครึ่งหนึ่ง เป็นจำคุก 1 ปี พร้อมทั้งให้ชดใช้เงินน้ามดทั้งหมด ต่อมาได้รับพระราชทานอภัยโทษ เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 7 รอบ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2553ประวัติ ประวัติ. นาธาน โอร์มาน เป็นบุตรของนายธัญญา และนางอุทัยวรรณ นาธานมีน้องสาวร่วมบิดามารดา 1 คน ชื่อเล่น น็อต นาธานมีชื่อโดยกำเนิดว่า ธัญญวัฒน์ หยุ่นตระกูล สำเร็จชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนดรุณศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช และเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนทุ่งสง ซึ่งอยู่ในจังหวัดเดียวกัน เมื่อสำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 นาธานก็ได้หนีไปใช้ชีวิตในกรุงเทพมหานคร โดยศึกษาที่วิทยาลัยเพาะช่าง 2 ปี แล้วต่อปริญญาตรีศิลปศาสตร์ คณะครุศาสตร์ (เอกศิลปะ) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา บิดาและมารดาของนาธานเป็นคนเชื้อชาติไทย บิดาเกิดที่อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ส่วนมารดาเกิดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี บิดาและมารดาของนาธานไม่ได้แต่งงานกัน แต่อยู่กินด้วยกันสมัยเรียน และกลับมาตั้งหลักปักฐานที่บ้านเกิดของฝ่ายชาย ทั้งสองได้แยกทางกันตั้งแต่นาธานและน้องสาวยังเล็กๆ ทำให้นาธานต้องไปอาศัยอยู่กับป้าและย่า โดยมีบิดาเป็นผู้ส่งเสียเลี้ยงดู หลังจากนั้นบิดาของนาธานได้แต่งงานกับหญิงสาวที่จังหวัดเชียงใหม่ และทำงานเป็นช่างไฟฟ้า ส่วนมารดาของนาธานแต่งงานใหม่กับตำรวจ มีบุตรด้วยกัน 3 คน (ผู้หญิง 2 คน ผู้ชาย 1 คน) นาธานเข้าสู่วงการบันเทิง ด้วยการถ่ายแฟชั่นนิตยสารอย่างอิมเมจ ลิปส์ ป๊อบทีน จากนั้นก้าวมาเป็นศิลปินนักร้องค่ายอาร์เอส มีอัลบั้มแรกในสไตล์ป็อปร็อกที่ชื่อ Nathan ต่อมาเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นทั้งจากหนังสือพิมพ์และทางโทรทัศน์ที่เชิญไปสัมภาษณ์เหตุการณ์รอดชีวิตจากภัยพิบัติคลื่นยักษ์สึนามิ หลังจากนั้น 2 ปีออกผลงานอัลบั้มชุดที่ 2 คือ สิ่งที่เรียกว่าหัวใจ ที่มีแนวดนตรีได้กลิ่นอายของเนปาล รวมถึงในมิวสิกวิดีโอด้วยเช่นกัน จากนั้นได้เปิดบริษัททำทัวร์ไปเที่ยวประเทศเนปาล และออกผลงานเขียนหนังสือเรื่อง ผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย) และ โลกนี้ไม่เหงาแล้ว (Not A Lonely Planet) นาธาน โอร์มาน เริ่มสนใจด้านการเมือง โดยสมัครเข้าสังกัดพรรคพลังเครือข่ายประชาชนกรณีพิพาทการแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูด กรณีพิพาท. การแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูด. ในกลางปี พ.ศ. 2551 นาธานเริ่มให้สัมภาษณ์ว่า ได้แสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูดเรื่อง The Prince Of Red Shoe ของบริษัทบิกบลู ในเครือค่ายทเวนตี้ เซ็นจูรี ฟอกซ์ ซึ่งมี วูล์ฟกัง ปีเตอร์เซน และ มูฮำหมัดซูอัต เป็นผู้กำกับ โดยแสดงร่วมกับดาราดังอย่าง บรูซ วิลลิส และ คริสติน่า ริชชี่ ถ่ายทำในหลายที่ เช่น ประเทศจอร์แดน, อิหร่าน, โอมาน และหลาย ๆ เมืองในแถบตะวันออกกลาง ก่อนที่จะให้สัมภาษณ์เพิ่มเติมอีกครั้งในอีกราวหนึ่งปีต่อมาจนกลายเป็นข่าวโด่งดัง แต่เมื่อมีการสืบค้นข้อมูล ทั้งจากเว็บไซต์ IMDb ทวิตเตอร์ของนักแสดงที่นาธานอ้างถึง ตลอดจนหลักฐานอื่น ๆ กลับไม่มีสิ่งยืนยันว่านาธานแสดงภาพยนตร์ตามที่กล่าวอ้าง จึงได้กลายเป็นหัวข้อถกเถียงในอินเทอร์เน็ตว่านาธานพูดโกหกหรือไม่ และยังรวมถึงประวัติของนาธานที่เขาเคยให้สัมภาษณ์ไว้ด้วย หลังจากนั้นนาธานกับผู้จัดการส่วนตัวได้ออกมายืนยันว่าไปถ่ายหนังของฮอลลีวูดในหลายประเทศแถบตะวันออกกลางจริง แต่เมื่อนักข่าวขอดูพาสปอร์ตกลับบ่ายเบี่ยงอ้างว่าไม่ได้เป็นนักโทษทำไมต้องให้ดู อีกทั้งยังไม่ตอบคำถามเรื่องโกงอายุและเรื่องหลอกนักข่าวปลอมตัวเป็นอรัญ น้องชายของตัวเอง วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เปี๊ยก โมเดลลิ่ง ผู้ที่ถ่ายภาพของนาธาน โอร์มานที่ถูกนำมาเสนอว่าเป็นภาพถ่ายจากภาพยนตร์ The Prince Of Red Shoe ออกมาให้สัมภาษณ์ในรายการ เจาะข่าวเด่น ว่าภาพเหล่านั้นไม่ใช่ภาพจากกองถ่ายที่โอมาน แต่เป็นภาพที่เจ้าตัวเป็นผู้ถ่ายเองและกล่าวว่าถูกหลอกให้แต่งหน้าและถ่ายรูปที่ออกแบบโดยนาธาน จึงออกมาให้สัมภาษณ์เพื่อความบริสุทธิ์ใจ ต่อมา 2 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ในการบันทึกเทปสัมภาษณ์กับรายการ วู้ดดี้เกิดมาคุย เขายอมรับว่าเขากุเรื่องในการแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูดรวมถึงเรื่องราวทั้งหมดของตน โดยอ้างว่าที่ทำไปทั้งหมดนั้น ก็เพราะผู้สนับสนุนตนในวงการบันเทิง ต้องการสร้างตัวตนของตนให้เป็นแบบนั้น ให้มีชีวิตที่น่าทึ่ง เป็นเด็กอัจฉริยะสามารถพูดได้หลายภาษา เป็นต้นกรณีฉ้อโกงเงิน กรณีฉ้อโกงเงิน. ปลายเดือนกรกฎาคม 2552 จามจุรี จูลี่ แคสเชอร์ (เจเจ) ดีเจคลื่นอีซี เวอร์จิ้นเรดิโอ หุ้นส่วนร้าน Jamaree Yak Cafe Gallery เข้าแจ้งความดำเนินคดีกับนาธานในข้อหาฉ้อโกงเงินหุ้นส่วนร้านอาหาร และยังออกพูดถึงพฤติกรรมไม่ชอบมาพากล หลังถูกข้อกล่าวหาทั้ง 2 กรณีจึงออกมาแถลงข่าวว่า ได้จ่ายเงินไปแล้วพร้อมนำสลิปบัตรเครดิตมาโชว์เป็นหลักฐาน และกล่าวว่าจะฟ้องกลับ เดือนพฤศจิกายน 2552 อดีตแม่บ้านของนาธาน พร้อมด้วยอาทิตย์ กุลฝ้าย ลูกชาย ได้เข้าแจ้งความอดีตนักร้องหนุ่มในข้อหาฉ้อโกงเงินกว่า 3 แสนบาท ทั้งยังนำตรายาง ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, การท่องเที่ยวเนปาล โรงแรมชื่อดัง รวมถึงบริษัท ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ฟ็อกซ์ ที่เป็นของนาธานเพื่อตรวจสอบและใช้เป็นหลักฐาน ต่อมา "แหม่ม พิศมัย” แม่บุญธรรม ออกมาปฏิเสธถึงข้อกล่าวหาดังกล่าวผ่านทางรายการ "เรื่องเด่นเย็นนี้" ทั้งนี้ทางรายการยังได้ต่อสายโทรศัพท์ถึงนาธานเพื่อชี้แจงเรื่องต่าง ๆ นาธานปฏิเสธในทุกเรื่อง โดยระบุว่า รู้จักพี่เลี้ยงคนดังกล่าวเพียง 2 ปี ไม่ใช่ 10 ปี ส่วนเรื่องตรายางไม่ใช่ของตน มีเพียงบริษัททัวร์ของนาธานอันเดียว หลังจากนั้นทางฝ่ายอดีตแม่บ้านนาธานเข้าแจ้งความ และทางเจ้าหน้าที่ตำรวจ ได้ออกหมายเรียกนายนาธานแต่ไม่สามารถติดต่อได้ เจ้าหน้าที่ตำรวจได้ทราบว่านาธานหลบหนีมาพักอาศัยอยู่ที่ อ.เชียงคาน จ.เลย จึงเข้าจับกุมนายนาธาน แต่นาธานได้รับประกันตัวออกไปในวันรุ่งขึ้น นางฉลอง จันทร์นาค ยายของ น.ส. เสาวนีย์ ฤทธิโชติ อายุ 27 ปี หรือน้องอ้อม ผู้ป่วยเป็นโรคผิวหนังแห้งตกสะเก็ด หรือ “เด็กดักแด้” ซึ่งเสียชีวิตไปเมื่อเดือนมีนาคม 2552 ออกมาเปิดเผยว่านาธาน โอร์มานยืมเงินไปรวมกว่าแสนบาททั้งจากยายและน้องอ้อม พร้อมกล่าวสาเหตุการขอยืมเงินว่า "ถูกเพื่อนที่ร่วมทำกิจกรรมบริจาคช่วยเหลือผู้ที่ประสบภัยสึนามิโกงเงิน" และยังต่อว่าเรื่องที่นาธานไม่ยอมมาร่วมงานศพน้องอ้อมโดยอ้างว่าร่วมงานไม่ได้เพราะอยู่ต่างประเทศ ต่อมาสราวุธ มาตรทองออกมาชี้แจงหลังจากถูกพาดพิงว่า เงินทุกบาทที่รับบริจาคช่วยเหลือชาวมอแกนจากเหตุการณ์สึนามินั้นได้นำไปให้ชาวมอแกนหมดแล้ว ทั้งเงิน และเรือ กลางเดือนพฤศจิกายน ปุ๊กกี้ ปริศนา พรายแสง อดีตนักร้องสังกัดอาร์เอส ออกมาเปิดโปงว่านาธานหลอกลวงเงินนางนันทพร พรายแสง น้าแท้ ๆ ของตนไปร่วมสามแสนบาท ซึ่งนาธานก็บอกว่าเป็นเรื่องเข้าใจผิด ซึ่งไม่นานนางดำ จารุวรรณ พรายแสง แม่ของปุ๊กกี้ก็ออกมาเปิดเผยหลายเรื่องที่นาธานโกหก และสาเหตุที่น้องสาวแท้ ๆ เชื่อ เพราะนาธานอ้างว่าถ้าได้เงินจากการแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูดจะซื้อบ้านราคา 10 ล้าน และรถเบนซ์ให้ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2553 ที่ศาลจังหวัดอำนาจเจริญ นางสมาน สุขเสริม อดีตแม่บ้านนาธาน โอมาน กล่าวว่า การไกล่เกลี่ยคดีฉ้อโกงที่นาธานได้นำโฉนดที่ดินของตนไปจำนองได้สิ้นสุดลงแล้ว โดยนาธานได้ชำระหนี้ก้อนแรกเป็นเช็คจำนวน 3.4 แสนบาท ส่วนที่เหลือนาธานได้เจรจาขอลดหย่อน ซึ่งนางสมานยอมลดหนี้จาก 7.4 แสนเหลือแค่ 5.4 แสนบาท แต่นาธานขอต่อรองลดหย่อนอีก จนนางสมานยอมลดให้เหลือ 4.4 แสนบาท โดยที่เหลืออีก 1 แสนยินดีให้เวลานาธาน 1 ปีหามาชดใช้ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 รายการเรื่องเล่าเสาร์อาทิตย์ ได้นำเสนอกรณีนายนาธาน โอร์มาน ในขณะที่ พิศมัย ศรีกระบุตร หรือ ครูแหม่ม ทำการช่วยเหลือรับอุปการะนาธาน โอร์มาน ว่า นายนาธาน ได้ใช้ความสนิทสนมกับ นางสิทธิพร โคตรอุดมพร หรือ น้ามด ซึ่งมีศักดิ์เป็นน้าสะใภ้ของครูแหม่ม ให้นำที่ดินของน้ามด ไปจำนอง เพื่อให้ได้เงินมาใช้ในการซื้อรถ "เชฟโรเลต แคปติวา" โดยที่นาธานได้อ้างว่าเพื่อซื้อมาขับให้ชินมือ เพราะตนได้รับการคัดเลือกให้เป็นพรีเซนเตอร์ของรถยี่ห้อดังกล่าวด้วยค่าตัวจำนวน 9 แสนบาท และเมื่อได้เงินค่าตัวแล้วจะนำเงินมาใช้คืนให้ นอกจากนี้ นาธาน ยังได้เอาเงินจำนวน 3 หมื่นบาท จากแม่ของครูแหม่ม ด้วยคำอ้างที่ว่าจะใช้เป็นค่าเสื้อผ้าในการเป็นพรีเซนเตอร์ให้กับงานหนึ่ง โดยให้แม่ของครูแหม่ม นำวัวที่มีทั้งหมดไปขาย แต่ภายหลังทางผู้จัดได้โทรมายกเลิก เนื่องจากเหตุการณ์บ้านเมืองไม่สงบ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ศาลจังหวัดเลยได้พิจารณาคดีที่นางสิทธิพร โคตรอุดมพร หรือ น้ามด แจ้งความดำเนินคดีกับนาธาน โดยพนักงานอัยการเป็นโจทย์บรรยายคำฟ้องสรุปว่า จำเลยได้หลอกลวงผู้เสียหาย แต่จำเลยได้ปฏิเสธและจะหาทนายเอง ซึ่งศาลได้กำหนดนัดพร้อม ในวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2554 เวลา 08.00 นาฬิกา ต่อมาจำเลยได้ยื่นคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราวโดยไม่มีหลักประกัน ศาลจังหวัดเลยยกคำร้อง เนื่องจากเห็นว่ามูลค่าความเสียหายที่จำเลยหลอกลวงผู้เสียหายไป ป็นเงินจำนวนกว่า 7 แสนบาท หากจำเลยประสงค์จะยื่นคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราว ให้หาหลักประกันมายื่นต่อศาลต่อไป จากนั้นศาลได้นำตัวนาธานจำเลยกับนางสิทธิพรผู้เสียหาย เข้าห้องไกล่เกลี่ยคดี โดยมีผู้พิพากษาศาลหัวหน้าศาลจังหวัดเลยทำหน้าที่ผู้ไกล่เกลี่ย เบื้องต้นจำเลยประสงค์จะต่อสู้คดี ไม่ประสงค์จะไกล่เกลี่ยกับผู้เสียหาย ศาลเลยนำตัวจำเลยไปควบคุมเพื่อรอการยื่นขอประกันตัว หลังจากนาธานไม่ยอมไกล่เกลี่ยกับน้ามด และพยายามติดต่อกับคนรู้จัก เพื่อให้มาประกันตัว แต่ไม่สามารถติดต่อหรือหาใครมาประกันตัวได้ จนหมดเวลาทำการของศาล เจ้าหน้าที่เลยคุมตัวนาธานขึ้นรถ ไปควบคุมที่เรือนจำจังหวัดเลยต่อไป ศาลจังหวัดเลยได้ตัดสินให้นาธาน จำคุกเป็นเวลา 2 ปี แต่เจ้าตัวรับสารภาพ จึงลดโทษให้ครึ่งหนึ่ง เป็นจำคุก 1 ปี พร้อมทั้งให้ชดใช้เงินน้ามดทั้งหมด ต่อมาได้รับพระราชทานอภัยโทษ เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 7 รอบ จึงพ้นโทษเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2554ข้อสงสัยเรื่องชาติกำเนิด ข้อสงสัยเรื่องชาติกำเนิด. นาธานอ้างว่าตัวเองเป็นลูกครึ่งเนปาลกับไทย โดยมีพ่อเป็นนักธุรกิจค้าขายอัญมณีจำพวกหินสีชาวเนปาล แม่เป็นคนไทยเชื้อสายโอมาน เกิดที่เมืองปาฏัน มีฐานะทางครอบครัวในระดับที่มั่นคง โดยออกจากเนปาลมาใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทยตั้งแต่อายุ 15 ปี และมีความสามารถพูดได้ถึง 5 ภาษา คือ ภาษาไทย, เนปาล, อาหรับ, ฝรั่งเศส และรัสเซีย อีกทั้งยังเคยใช้ชีวิตมาหลากหลายรูปแบบ ทั้งเคยเป็นลูกเรือประมงที่จังหวัดภูเก็ต หรือเคยเผชิญหน้ากับขบวนการค้ามนุษย์ที่ชายแดนกัมพูชามาแล้ว ซึ่งรายการโต๊ะข่าวบันเทิง ของช่อง 3 รายงานว่า "นาธานมีเชื้อชาติไทย สัญชาติไทย นับถือศาสนาพุทธ ไม่ใช่อิสลามอย่างที่เคยกล่าว มีชื่อเดิมว่า ธัญวัฒน์ หยุ่นตระกูล เป็นบุตรชายของนายธัญญา หยุ่นตระกูล มีเชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ไม่ได้เป็นคนเนปาล อาศัยอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก" โดยทางทีมนักข่าวสอบถามกับนายธัญญา ที่เชื่อว่าเป็นบิดา แต่ปฏิเสธที่จะให้สัมภาษณ์ บอกแต่เพียงว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับนาธาน แต่เมื่อผู้สื่อข่าวสอบถามกับเพื่อนบ้าน ทุกคนในหมู่บ้านรู้ดีว่านายธัญญาเป็นพ่อของนาธาน ซึ่งนาธานเคยมาหาพ่อบ้างแต่ไม่บ่อย และต่อมาอดีตแม่บ้านของนาธานนำสำเนาบัตรประชาชนและทะเบียนบ้านของนาธานมาแสดงให้เห็นว่าเขามีสัญชาติไทยแท้ ไม่ใช่ลูกครึ่งเนปาลตามที่กล่าวอ้าง แต่เมื่อพิธีกรพยายามจี้ถามถึงเรื่องของสัญชาติ นาธานก็ได้ตัดสายโทรศัพท์ไปทันที ในการบันทึกเทปสัมภาษณ์รายการวู้ดดี้เกิดมาคุย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 นาธานเปิดเผยว่า พูด 5 ภาษาตามที่เคยกล่าวอ้างไม่ได้ และกล่าวว่า ตนเป็นคนโกหกลวงโลกตั้งแต่เข้าวงการมา โดยมีผู้มีพระคุณ 5-6 คน คอยบอกให้เป็นแบบนั้น จัดวางว่าจะต้องเป็นลูกครึ่งที่พูดได้ 5 ภาษา และวิเคราะห์ตนเองว่า ตัวเองเป็น คนที่ต้องการความรัก ต้องการความอบอุ่น กลัวว่าคนจะไม่รัก เลยต้องจำใจโกหกตามที่ผู้มีพระคุณได้วางหมากเอาไว้ และเข้าใจว่า คนทั่วไปชอบเรื่องโกหก เวลาที่พูดความจริงจะไม่เคยเชื่อ แต่พอโกหกทุกคนเชื่อกัน จึงกลายเป็นเรื่องราวใหญ่โตเรื่อยมาผลงานอัลบั้มเพลงผลงาน. อัลบั้มเพลง. - Nathan (2546) - สิ่งที่เรียกว่าหัวใจ - MV ถอนตัว Byrd&Heartหนังสือผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย)โลกนี้ไม่เหงาแล้ว (Not A Lonely Planet) หนังสือ. โลกนี้ไม่เหงาแล้ว (Not A Lonely Planet). โลกนี้ไม่เหงาแล้ว (Not A Lonely Planet) เป็นพ็อกเก็ตบุ๊คเล่มที่ 2 ของนาธาน โอร์มาน ซึ่งต่อจาก "ผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย) " พ็อกเก็ตบุ๊คเล่มนี้เป็นผู้เขียนอ้างว่าเป็นบันทึกเดินทางในประเทศเนปาลของตนเอง ไม่ว่าจะเป็น หมู่บ้านเก่าในนาคากต ร้านขนมในปาตัน และยังมีประสบการณ์เฉียดตายจากการเดินทางไปผจญภัยในดินแดนแคชเมียร์ อียิปต์ ตุรกี เหตุการณ์คลื่นสึนามิพัดถล่มในหมู่เกาะสุรินทร์ นอกจากนี้ยังกล่าวถึง การตกแต่งบ้านสไตล์เนปาล และพลังลึกลับของหิน นาธานกล่าวอ้างว่า แรงบันดาลใจในการเขียนหนังสือเล่มนี้ เพราะต้องการบอกให้ทุกคนรู้ว่า ตอนนี้เขาไม่เหงาอีกต่อไปแล้ว เพราะการเดินทางทำให้ได้เจอเพื่อนๆมากมายจากทั่วทุกมุมโลก และที่สำคัญนาธานอยากให้แฟนเพลงทุกคนได้รู้จักประเทศเนปาลมากขึ้น อยากให้หลายๆ คนได้รับรู้ทุกซอกทุกมุมของเนปาล ซึ่งถือเป็นดินแดนแห่งอารยธรรมแห่งหนึ่งของโลก จากข้อกรณีพิพาทที่นาธานได้มีดังนั้นจึงสรุปได้ว่าหนังสือ ทั้ง 2 เล่ม คือ ผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย) และ โลกนี้ไม่เหงาแล้ว (Not A Lonely Planet) นั่นเป็นเรื่องแต่งมาทั้งสิ้น โดยได้แรงบันดาลใจจากผู้ใหญ่ที่รู้จักกันและเคยเล่าประสบการณ์ใช้ชีวิตที่เนปาลให้นาธานฟังนาธานจึงใช้ประสบการณ์ของคนอื่นมาปรุงแต่งเขียนใหม่เป็นหนังสือของตนเอง
| ในสมัยประถมนาธาน โอร์มาน เรียนอยู่ที่ไหน | {
"answer": [
"โรงเรียนดรุณศึกษา"
],
"answer_begin_position": [
878
],
"answer_end_position": [
895
]
} |
287 | 282,234 | เดอะไทมส์ เดอะไทมส์ () เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ที่ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ ค.ศ. 1785 เดิมใช้ชื่อว่า The Daily Universal Register ก่อตั้งโดยจอห์น วอลเทอร์ ตีพิมพ์ฉบับแรกวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1785 และเปลี่ยนชื่อเป็น The Times ตั้งแต่ฉบับที่ 941 วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1788 ในปี ค.ศ. 1931 เดอะไทมส์ได้มอบหมายให้สแตนลีย์ มอร์ริสัน นักออกแบบตัวอักษรชาวอังกฤษ เป็นผู้ออกแบบไทป์เฟซชื่อ ไทมส์นิวโรมัน (Times New Roman) ร่วมกับบริษัทโมโนไทพ์ เพื่อใช้กับหนังสือพิมพ์มาจนถึงปัจจุบัน เดอะไทมส์ตีพิมพ์ด้วยกระดาษขนาดบรอดชีต เป็นเวลา 219 ปี และเปลี่ยนเป็นขนาดคอมแพค ตั้งแต่ ค.ศ. 2004 เพื่อดึงดูดผู้อ่านที่มีอายุน้อย และผู้โดยสารระบบขนส่งสาธารณะ ปัจจุบันตีพิมพ์ขนาดคอมแพคเฉพาะฉบับวันจันทร์-เสาร์ และขนาดบรอดชีตเฉพาะฉบับวันอาทิตย์ เดอะไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์ในเครือเดียวกับ เดอะซันเดย์ไทมส์ จัดพิมพ์โดย Times Newspapers Limited บริษัทลูกของบริษัทนิวส์คอร์ปอเรชัน ของรูเพิร์ต เมอร์ด็อก ที่ซื้อหัวหนังสือพิมพ์ทั้งสองฉบับมาจากรอย ทอมสัน ตั้งแต่ ค.ศ. 1981 มียอดตีพิมพ์ฉบับละประมาณ 600,000 - 700,000 ฉบับ เป็นหนังสือพิมพ์แนวเป็นกลาง และอนุรักษนิยม เว็บไซต์ออนไลน์ของเดอะไทมส์ ใช้ชื่อว่า ไทมส์ออนไลน์
| ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์เดอะไทมส์ หรือ The Times คือใคร | {
"answer": [
"จอห์น วอลเทอร์"
],
"answer_begin_position": [
237
],
"answer_end_position": [
251
]
} |
288 | 282,234 | เดอะไทมส์ เดอะไทมส์ () เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ที่ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ ค.ศ. 1785 เดิมใช้ชื่อว่า The Daily Universal Register ก่อตั้งโดยจอห์น วอลเทอร์ ตีพิมพ์ฉบับแรกวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1785 และเปลี่ยนชื่อเป็น The Times ตั้งแต่ฉบับที่ 941 วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1788 ในปี ค.ศ. 1931 เดอะไทมส์ได้มอบหมายให้สแตนลีย์ มอร์ริสัน นักออกแบบตัวอักษรชาวอังกฤษ เป็นผู้ออกแบบไทป์เฟซชื่อ ไทมส์นิวโรมัน (Times New Roman) ร่วมกับบริษัทโมโนไทพ์ เพื่อใช้กับหนังสือพิมพ์มาจนถึงปัจจุบัน เดอะไทมส์ตีพิมพ์ด้วยกระดาษขนาดบรอดชีต เป็นเวลา 219 ปี และเปลี่ยนเป็นขนาดคอมแพค ตั้งแต่ ค.ศ. 2004 เพื่อดึงดูดผู้อ่านที่มีอายุน้อย และผู้โดยสารระบบขนส่งสาธารณะ ปัจจุบันตีพิมพ์ขนาดคอมแพคเฉพาะฉบับวันจันทร์-เสาร์ และขนาดบรอดชีตเฉพาะฉบับวันอาทิตย์ เดอะไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์ในเครือเดียวกับ เดอะซันเดย์ไทมส์ จัดพิมพ์โดย Times Newspapers Limited บริษัทลูกของบริษัทนิวส์คอร์ปอเรชัน ของรูเพิร์ต เมอร์ด็อก ที่ซื้อหัวหนังสือพิมพ์ทั้งสองฉบับมาจากรอย ทอมสัน ตั้งแต่ ค.ศ. 1981 มียอดตีพิมพ์ฉบับละประมาณ 600,000 - 700,000 ฉบับ เป็นหนังสือพิมพ์แนวเป็นกลาง และอนุรักษนิยม เว็บไซต์ออนไลน์ของเดอะไทมส์ ใช้ชื่อว่า ไทมส์ออนไลน์
| หนังสือพิมพ์ The Daily Universal Register ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น The Times ในฉบับตีพิมพ์ที่เท่าไร | {
"answer": [
"ฉบับที่ 941"
],
"answer_begin_position": [
328
],
"answer_end_position": [
339
]
} |
289 | 711,534 | โรงเรียนตะโหมด โรงเรียนตะโหมด (อังกฤษ: Tamode School) (อักษรย่อ: ต.ม. TM) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ในจังหวัดพัทลุง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 (นครศรีธรรมราช-พัทลุง) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 578 หมู่ 1 ถนนสมพรอุทิศ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง 93160 ขนาดเนื้อที่ 44 ไร่ ประกอบด้วยตึกขนาดใหญ่ 4 หลัง และอาคารเรียนชั้นเดียว 5 หลัง มีห้องเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 27 ห้องเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 18 ห้องเรียน รวมทั้งหมด 45 ห้องเรียน อาคารเรียน -อาคารเรียน 1 ราษฎร์รักสามัคคี ( 3 ชั้น ) ชั้น 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ -อาคารเรียน 2 ทวีปัญญา ( 3 ชั้น ) ชั้น 1 ห้องกิจการ , ห้องคณะกรรมการนักเรียน , กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาฯ , ห้องแนะแนว ชั้น 2 ห้องสมุด , ห้องศาสนาอิสลาม , ห้องคอมพิวเตอร์ 1-2 ชั้น 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย , ห้องคอมพิวเตอร์ 3 -อาคารเรียน 3 แสงเทียน ( 4 ชั้น ) ชั้น 1 ใต้ถุนอาคาร ชั้น 2 ห้องวิชาการ , ห้องประชุมลานขรี , ห้องศูนย์สื่อศรีตะโหมด ชั้น 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา -อาคารเรียน 4 ( เปิดทำการเรียนการสอน ปี 2561 ) -หอประชุมโรงเรียนตะโหมด -ศูนย์อาหาร โครงการในอนาคต *หอประชุม 2 ชั้น *ศูนย์อาหารแห่งใหม่ประวัติ ประวัติ. โรงเรียนตะโหมด เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตั้งขึ้นมาตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยคณะกรรมการผู้ริเริ่มจัดตั้งคณะหนึ่งเป็นคณะกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อซื้อที่ดินและวัสดุก่อสร้างดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราว 1 หลัง และที่ดินจำนวนเนื้อที่ 44 ไร่ เปิดทำการสอนวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2519 เปิดรับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2 ห้องเรียน มีนักเรียน จำนวน 105 คน โดยมีนายสวัสดิ์ วัตรุจีกฤต รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่ ปัจจุบันเปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (่ช่วงชั้นที่ 3) ชั้นละ 9 ห้องเรียน ประกอบด้วย แผนการเรียนคณิต-วิทย์-อังกฤษ แผนการเรียนคอมฯ-คณิต-อังกฤษ แผนการเรียนอังกฤษ-ไทย-สังคม และแผนการเรียนทั่วไป (เลือกรายวิชาเพิ่มเติม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (่ช่วงชั้นที่ 4) ชั้นละ 6 ห้องเรียน ประกอบด้วย แผนการเรียนวิทย์คณิต แผนการเรียนศิลป์-คณิต และแผนการเรียนศิลป์-ทั่วไปสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน. - คติพจน์ ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต (ปัญญา เป็นแสงสว่างในโลก)- คำขวัญ ความรู้ดี ทักษะเด่น เน้นคุณธรรม นำชุมชน- สีประจำโรงเรียน คือ สีเทา - เหลือง - สีเทา หมายถึง ความเข้มแข็ง , มันสมอง- ปรัชญา การศึกษาแก้ปัญหาสังคม- อัตลักษณ์ แต่งกายดี มีวินัย ร่าเริงแจ่มใส น้ำใจงาม- ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนตะโหมด อักษรย่อ ต.ม. ล้อมด้วยก้านขรี 2 ข้าง อยู่บนหนังสือ ความหมาย โรงเรียนตะโหมด (ต.ม.) ภายใต้แสงสว่าง (รัศมี) บ่งบอกถึงความสว่างไสว เจริญรุ่งเรือง ซึ่งล้อมด้วยความฉลาดและหลักแหลม โดยมีปัญญา (หนังสือ) เป็นเครื่องชี้ทาง- พระพุทธรูปประจำโรงเรียน พระพุทธรุ่งโรจน์ผู้บริหารโรงเรียนตะโหมด ปัจจุบัน
| สีประจำโรงเรียนตะโหมด จังหวัดพัทลุง คือสีอะไร | {
"answer": [
"สีเทา"
],
"answer_begin_position": [
2415
],
"answer_end_position": [
2420
]
} |
1,896 | 711,534 | โรงเรียนตะโหมด โรงเรียนตะโหมด (อังกฤษ: Tamode School) (อักษรย่อ: ต.ม. TM) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ในจังหวัดพัทลุง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 (นครศรีธรรมราช-พัทลุง) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 578 หมู่ 1 ถนนสมพรอุทิศ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง 93160 ขนาดเนื้อที่ 44 ไร่ ประกอบด้วยตึกขนาดใหญ่ 4 หลัง และอาคารเรียนชั้นเดียว 5 หลัง มีห้องเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 27 ห้องเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 18 ห้องเรียน รวมทั้งหมด 45 ห้องเรียน อาคารเรียน -อาคารเรียน 1 ราษฎร์รักสามัคคี ( 3 ชั้น ) ชั้น 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้น 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ -อาคารเรียน 2 ทวีปัญญา ( 3 ชั้น ) ชั้น 1 ห้องกิจการ , ห้องคณะกรรมการนักเรียน , กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาฯ , ห้องแนะแนว ชั้น 2 ห้องสมุด , ห้องศาสนาอิสลาม , ห้องคอมพิวเตอร์ 1-2 ชั้น 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย , ห้องคอมพิวเตอร์ 3 -อาคารเรียน 3 แสงเทียน ( 4 ชั้น ) ชั้น 1 ใต้ถุนอาคาร ชั้น 2 ห้องวิชาการ , ห้องประชุมลานขรี , ห้องศูนย์สื่อศรีตะโหมด ชั้น 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา -อาคารเรียน 4 ( เปิดทำการเรียนการสอน ปี 2561 ) -หอประชุมโรงเรียนตะโหมด -ศูนย์อาหาร โครงการในอนาคต *หอประชุม 2 ชั้น *ศูนย์อาหารแห่งใหม่ประวัติ ประวัติ. โรงเรียนตะโหมด เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตั้งขึ้นมาตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยคณะกรรมการผู้ริเริ่มจัดตั้งคณะหนึ่งเป็นคณะกรรมการจัดหาเงินทุนเพื่อซื้อที่ดินและวัสดุก่อสร้างดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราว 1 หลัง และที่ดินจำนวนเนื้อที่ 44 ไร่ เปิดทำการสอนวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2519 เปิดรับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2 ห้องเรียน มีนักเรียน จำนวน 105 คน โดยมีนายสวัสดิ์ วัตรุจีกฤต รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่ ปัจจุบันเปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (่ช่วงชั้นที่ 3) ชั้นละ 9 ห้องเรียน ประกอบด้วย แผนการเรียนคณิต-วิทย์-อังกฤษ แผนการเรียนคอมฯ-คณิต-อังกฤษ แผนการเรียนอังกฤษ-ไทย-สังคม และแผนการเรียนทั่วไป (เลือกรายวิชาเพิ่มเติม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (่ช่วงชั้นที่ 4) ชั้นละ 6 ห้องเรียน ประกอบด้วย แผนการเรียนวิทย์คณิต แผนการเรียนศิลป์-คณิต และแผนการเรียนศิลป์-ทั่วไปสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน. - คติพจน์ ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต (ปัญญา เป็นแสงสว่างในโลก)- คำขวัญ ความรู้ดี ทักษะเด่น เน้นคุณธรรม นำชุมชน- สีประจำโรงเรียน คือ สีเทา - เหลือง - สีเทา หมายถึง ความเข้มแข็ง , มันสมอง- ปรัชญา การศึกษาแก้ปัญหาสังคม- อัตลักษณ์ แต่งกายดี มีวินัย ร่าเริงแจ่มใส น้ำใจงาม- ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนตะโหมด อักษรย่อ ต.ม. ล้อมด้วยก้านขรี 2 ข้าง อยู่บนหนังสือ ความหมาย โรงเรียนตะโหมด (ต.ม.) ภายใต้แสงสว่าง (รัศมี) บ่งบอกถึงความสว่างไสว เจริญรุ่งเรือง ซึ่งล้อมด้วยความฉลาดและหลักแหลม โดยมีปัญญา (หนังสือ) เป็นเครื่องชี้ทาง- พระพุทธรูปประจำโรงเรียน พระพุทธรุ่งโรจน์ผู้บริหารโรงเรียนตะโหมด ปัจจุบัน
| โรงเรียนตะโหมดเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ในจังหวัดพัทลุ มีขนาดพื้นที่โรงเรียนกี่ไร่ | {
"answer": [
"44 ไร่"
],
"answer_begin_position": [
433
],
"answer_end_position": [
439
]
} |
290 | 589,517 | ศิลป์ชนก คล้ายแต้ ศิลป์ชนก คล้ายแต้ เป็นนักร้องเชื้อชาติลาว สัญชาติไทย ในสังกัดกามิกาเซ่ ในเครืออาร์เอส คนมักรู้จักในชื่อ Thank you kamikaze เข้าสู่วงการบันเทิงจากการออดิชันเป็นศิลปินฝึกหัดที่อาร์เอสมาประมาณ 2 ปี จนได้เป็นนักร้องในภายหลัง ชีวิตส่วนตัว คบหาดูใจกับ แจ็ค จารุพงศ์ กล้วยไม้งาม หรือแบล็กแจ็คการศึกษาการศึกษา. - Niva International School - ปัจจุบันกำลังศึกษาที่ มหาวิทยาลัยนานาชาติสแตมฟอร์ด เนื่องจากเรียนไม่จบผลงานโฆษณา ผลงานโฆษณา. *โฆษณา นมตรามะลิ ลูกอมคูก้า กระเบื้องโอฬารผลงานเพลงอัลบั้มปกติผลงานการแสดงละครโทรทัศน์มิวสิกวีดีโอพิธีกรคอนเสิร์ต
| ศิลป์ชนก คล้ายแต้ เป็นนักร้องสังกัดวงอะไร | {
"answer": [
"สังกัดกามิกาเซ่"
],
"answer_begin_position": [
165
],
"answer_end_position": [
180
]
} |
1,724 | 589,517 | ศิลป์ชนก คล้ายแต้ ศิลป์ชนก คล้ายแต้ เป็นนักร้องเชื้อชาติลาว สัญชาติไทย ในสังกัดกามิกาเซ่ ในเครืออาร์เอส คนมักรู้จักในชื่อ Thank you kamikaze เข้าสู่วงการบันเทิงจากการออดิชันเป็นศิลปินฝึกหัดที่อาร์เอสมาประมาณ 2 ปี จนได้เป็นนักร้องในภายหลัง ชีวิตส่วนตัว คบหาดูใจกับ แจ็ค จารุพงศ์ กล้วยไม้งาม หรือแบล็กแจ็คการศึกษาการศึกษา. - Niva International School - ปัจจุบันกำลังศึกษาที่ มหาวิทยาลัยนานาชาติสแตมฟอร์ด เนื่องจากเรียนไม่จบผลงานโฆษณา ผลงานโฆษณา. *โฆษณา นมตรามะลิ ลูกอมคูก้า กระเบื้องโอฬารผลงานเพลงอัลบั้มปกติผลงานการแสดงละครโทรทัศน์มิวสิกวีดีโอพิธีกรคอนเสิร์ต
| ศิลป์ชนก คล้ายแต้ เป็นนักร้องสัญชาติไทย เชื้อชาติอะไร | {
"answer": [
"เชื้อชาติลาว"
],
"answer_begin_position": [
139
],
"answer_end_position": [
151
]
} |
291 | 268,897 | มายบลัดดีวาเลนไทน์ (เพลงทาทา ยัง) "มายบลัดดีวาเลนไทน์" () คือซิงเกิลที่ 2 ของทาทา ยัง จากอัลบั้ม เรดีฟอร์เลิฟ เริ่มเผยแพร่เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยออกจำหน่ายผ่านทางดิจิตอลดาวน์โหลดและเผยแพร่ทางวิทยุในประเทศไทย เมื่อกลางเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ทาทา ยัง ได้ออกเผยแพร่เพลง "มายบลัดดีวาเลนไทน์" ในฉบับภาษาไทย ออกมาทุกคลื่นวิทยุ เนื่องในโอกาสเดือนแห่งความรักชาร์ต
| เพลง มายบลัดดีวาเลนไทน์ ของทาทา ยัง เริ่มเผยแพร่ในปี 2552 อยู่ในอัลบั้มชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"เรดีฟอร์เลิฟ"
],
"answer_begin_position": [
205
],
"answer_end_position": [
217
]
} |
1,812 | 268,897 | มายบลัดดีวาเลนไทน์ (เพลงทาทา ยัง) "มายบลัดดีวาเลนไทน์" () คือซิงเกิลที่ 2 ของทาทา ยัง จากอัลบั้ม เรดีฟอร์เลิฟ เริ่มเผยแพร่เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยออกจำหน่ายผ่านทางดิจิตอลดาวน์โหลดและเผยแพร่ทางวิทยุในประเทศไทย เมื่อกลางเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ทาทา ยัง ได้ออกเผยแพร่เพลง "มายบลัดดีวาเลนไทน์" ในฉบับภาษาไทย ออกมาทุกคลื่นวิทยุ เนื่องในโอกาสเดือนแห่งความรักชาร์ต
| เพลง มายบลัดดีวาเลนไทน์ ของนักร้องทาทา ยัง เริ่มเผยแพร่เมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"25"
],
"answer_begin_position": [
242
],
"answer_end_position": [
244
]
} |
292 | 93,268 | จังหวัดโอกินาวะ จังหวัดโอกินาวะ ( Okinawa-ken) เป็นจังหวัดใต้สุดของญี่ปุ่น พื้นที่ยาวกว่า 1,000 กิโลเมตร กินสองในสามของเกาะรีวกีวซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของคีวชูไปทางไต้หวัน เมืองเอกคือนาฮะซึ่งอยู่ภาคใต้ของเกาะโอกินาวะ แม้จังหวัดโอกินาวะจะเป็นพื้นที่เพียงร้อยละ 0.6 ของดินแดนญี่ปุ่นทั้งหมด แต่ร้อยละ 75 ของทหารสหรัฐที่ประจำในญี่ปุ่นก็ตั้งอยู่ในจังหวัดนี้ ปัจจุบัน มีกองกำลังสหรัฐราว 26,000 กองตั้งอยู่ในจังหวัดโอกินาวะประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. หลักฐานที่เก่าที่สุดที่แสดงว่ามีมนุษย์บนหมู่เกาะรีวกีว ค้นพบที่เมืองนะฮะ (那覇市 Naha-shi) และเมืองยะเอะเสะ (八重瀬町 Yaese-chō) มีการค้นพบชิ้นส่วนกระดูกมนุษย์จากยุคหินเก่า แต่ก็ไม่เป็นหลักฐานที่แน่ชัด นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบเครื่องปั้นดินเผาอันเป็นร่องรอยอิทธิพลของญี่ปุ่นในยุคโจมง (縄文時代 Jōmon jidai) (14,000-400 ปีก่อนคริสต์ศักราช) บนหมู่เกาะซะกิชิมะ (先島諸島 Sakishima shotō") อันเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะรีวกีว อย่างไรก็ตาม เครื่องปั้นดินเผานี้ มีลักษณะคล้ายกับเครื่องปั้นดินเผาที่พบได้ทั่วไปบนเกาะไต้หวัน คำว่า รีวกีว กล่าวขึ้นครั้งแรกในพงศาวดารราชวงศ์สุย () ของจีน แต่คำว่า รีวกีว ในที่นี้อาจหมายถึงเกาะไต้หวัน ไม่ใช่หมู่เกาะรีวกีวในปัจจุบัน ซึ่งกำลังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ คำว่า โอกินาวะ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นใช้เรียกหมู่เกาะนี้ ปรากฏขึ้นครั้งแรกในบันทึกของภิกษุเจียนเจียงหรือกันจิง (鑒真 หรือ 鑑真) ภิกษุชาวจีนผู้เดินทางมาญี่ปุ่นเพื่อเผยแพร่พุทธศาสนา และเขียนไว้ใน ค.ศ. 779 ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 เริ่มมีสังคมเกษตรกรรมและเติบโตอย่างช้า ๆ จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 เนื่องจากหมู่เกาะตั้งอยู่ใจกลางทะเลจีนตะวันออก ใกล้กับญี่ปุ่น จีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาณาจักรรีวกีวจึงกลายเป็นศูนย์กลางการค้าแห่งหนึ่งในภูมิภาค ในยุคนี้จะมีการสร้างกุสุคุ (御城 Gusuku) หรือปราสาทแบบโอกินาวะขึ้นมากมาย และในคริสต์ศตวรรษที่ 15 อาณาจักรรีวกีวได้กลายเป็นรัฐบรรณาการแห่งหนึ่งของจักรวรรดิจีน ใน ค.ศ. 1609 ไดเมียว (เจ้าเมือง) แคว้นซัตสึมะ (薩摩 Satsuma) ดินแดนซึ่งในปัจจุบันคือจังหวัดคะโงะชิมะ (鹿児島県 Kagoshima-ken) ได้เข้ารุกรานอาณาจักรรีวกีว ส่งผลให้อาณาจักรรีวกีวต้องยอมจำนนและเป็นรัฐบรรณาการของแคว้นซัตสึมะและรัฐบาลโชกุนโทะคุงะวะ (徳川幕府 Tokugawa bakufu) หรือรัฐบาลเอะโดะ (江戸幕府 Edo bakufu) อย่างไรก็ตาม การยึดอาณาจักรรีวกีวไว้อาจสร้างความบาดหมางกับจักรวรรดิจีนได้ ดังนั้น สิทธิเสรีภาพของชาวรีวกีวจึงยังคงไว้เหมือนเดิม แคว้นซัตสึมะได้รับผลประโยชน์อย่างมหาศาลจากการค้ากับจักรวรรดิจีนในยุคเอะโดะที่รัฐบาลโชกุนโทะคุงะวะสั่งให้ญี่ปุ่นปิดประเทศและห้ามการค้าใด ๆ กับชาวต่างชาติ แม้ว่าแคว้นซัตสึมะจะมีอิทธิพลเหนือหมู่เกาะรีวกีวอย่างมาก แต่อาณาจักรรีวกีวก็ยังมีเสรีภาพทางการเมืองภายในอย่างไม่น้อยมาตลอดสองร้อยปี สี่ปีหลังการปฏิรูปสมัยเมจิ (明治王政復辟 Meiji Ishin) ใน ค.ศ. 1868 รัฐบาลญี่ปุ่นในสมัยนั้นได้บุกยึกอาณาจักรรีวกีวอย่างถาวรโดยการหนุนหลังของกองทัพ และเปลี่ยนชื่อเป็นแคว้นรีวกีว หรือรีวกีวฮัน (琉球藩 Ryūkyū han) ซึ่งเป็นเขตปกครองโดยไดเมียวหรือเจ้าเมือง แต่ขึ้นตรงกับรัฐบาลกลาง ในขณะเดียวกัน รัฐบาลราชวงศ์ชิงของจักรวรรดิจีนก็อ้างสิทธิบนหมู่เกาะของอาณาจักรรีวกีวเช่นเดียวกัน โดยอ้างว่าอาณาจักรรีวกีว เคยเป็นรัฐบรรณาการของจีนมาก่อน ใน ค.ค. 1879 แคว้นรีวกีวก็กลายเป็นจังหวัดโอกินาวะของญี่ปุ่น เป็นแคว้นสุดท้ายหลักจากกาแคว้นทั้งหมดถูกยกฐานะเป็นจังหวัดใน ค.ศ. 1872 หลักจากยุทธการโอกินาวะในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โอกินาวะอยู่ภายใต้อารักขาของสหรัฐอเมริกาถึง 27 ปี ในระหว่างที่โอกินาวะอยู่ภายใต้ภาวะทรัสตีนั้น กองทัพอากาศสหรัฐฯ ได้ตั้งฐานทัพทหารบนมากมายบนหลายเกาะของโอกินาวะ ใน ค.ศ. 1972 รัฐบาลสหรัฐฯ ได้คืนโอกินาวะคืนให้แก่รัฐบาลญี่ปุ่นภายใต้สนธิสัญญาความร่วมมือและความปลอดภัยระดับทวิภาคีระหว่างสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น (ภาษาอังกฤษ: Treaty of Mutual Cooperation and Security between the United States and Japan; ภาษาญี่ปุ่น: 日本国とアメリカ合衆国との間の相互協力及び安全保障条約 Nippon-koku to Amerika-gasshūkoku to no Aida no Sōgo Kyōryoku oyobi Anzen Hoshō Jōyaku) ในปัจจุบัน กองกำลังสหรัฐอเมริกาในญี่ปุ่น (ภาษาอังกฤษ: United States Forces in Japan (USFJ) ; ภาษาญี่ปุ่น: 在日米軍 Zainichi Beigun) มีขนาดใหญ่ถึง 27,000 นาย รวมถึงนาวิกโยธิน 15,000 นาย ซึ่งมีทั้งกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ นอกจากนี้ยังมีสมาชิกครอบครัวอีก 22,000 คนอาศัยอยู่ในโอกินาวะ เนื้อที่ 18% ของเกาะโอกินาวะอันเป็นเกาะหลักเป็นพื้นที่ของฐานทัพสหรัฐฯ และ 75% ของ USFJ ของในจังหวัดโอกินาวะ จำนวนอุบัติเหตุและอาชญากรรมที่คนของสหรัฐฯ เป็นผู้ก่อนั้น ได้ทำให้ชาวโอกินาวะสนับสนุนการตั้งฐานทัพน้อยลงทุกที ๆ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลสหรัฐฯและญี่ปุ่นต่างเห็นพ้องกันว่าการมีฐานทัพทหารบนเกาะโอกินาวะนั้นจำเป็นอย่างยิ่ง เหตุการณ์คนของสหรัฐฯข่มขืนเด็กหญิงอายุ 12 ขวบบนเกาะโอกินาวะในค.ศ. 1995 ได้ก่อให้เกิดกระแสต่อต้านฐานทัพสหรัฐฯเป็นอย่างมาก ส่งผลให้รัฐบาลสหรัฐฯและญี่ปุ่นต้องย้ายฐานทัพอากาศนาวิกโยธินฟุเตนมะ (Marine Corps Air Station Futenma หรือ MCAS Futenma) และฐานทัพเล็กอื่น ๆ ออกไปห่างไกลชุมชน อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน การปิดฐานทัพถูกเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนด ประเด็นนี้ได้ก่อให้เกิดความรู้สึกต่อต้านญี่ปุ่นและกลุ่มเรียกร้องอิสรภาพรีวกีว (琉球独立運動 Ryūkyū Dokuritsu Undō) ขึ้นมาไม่นานมานี้เองภูมิศาสตร์เกาะหลัก ภูมิศาสตร์. เกาะหลัก. เกาะต่าง ๆ ซึ่งประกอบกันเป็นจังหวัดโอกินาวะนั้นเป็นสองในสามของเกาะรีวกีว เกาะที่มีอยู่คนของโอกินาวะนั้นปรกติแล้วแบ่งออกเป็นกลุ่มเกาะสามกลุ่ม เรียงจากตะวันออกเฉียงเหนือไปตะวันตกเฉียงใต้ได้ดังนี้- โอกินาวะ- อิเอจิมะ - คูเมจิมะ - โอกินาวะ - เครามะ - มิยาโกะ- มิยาโกะจิมะ - ยาเอยามะ- อิริโอโมเตจิมะ - อิชิงากิ - โยนางูนินคร นคร. จังหวัดโอกินาวะประกอบด้วยนคร 11 แห่งดังนี้- กิโนวัง - โทมิงูซูกุ - นันโจ - นาโงะ - นาฮะ (เมืองเอก) - มิยาโกจิมะ - อิชิงากิ - อิโตมัง - อูราโซเอะ - อูรูมะ - โอกินาวะภาษาและวัฒนธรรม ภาษาและวัฒนธรรม. เนื่องจากในอดีต โอกินาวะ เคยมีเอกราชของตัวเองมาก่อน ภาษาและวัฒนธรรมของโอกินาวะจึงค่อนข้างแตกต่างจากญี่ปุ่นภาษา ภาษา. ยังคงมีผู้พูดภาษารีวกีวอยู่บ้าง ซึ่งผู้พูดภาษาญี่ปุ่นจะเข้าใจได้ยาก ภาษารีวกีวอันนี้ไม่เป็นที่ยอมรับในญี่ปุ่นแผ่นดินใหญ่ คนรุ่นใหม่ละเลยภาษาพื้นเมืองดั้งเดิมของตัวเองมากขึ้นทุกที ๆ นักภาษาศาสตร์ที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นส่วนมากจัดให้ภาษารีวกีวอันมีความแตกต่างจากภาษาญี่ปุ่น แต่ในชาวญี่ปุ่นและชาวท้องถิ่นจัดให้เป็นภาษาท้องถิ่นหนึ่งของญี่ปุ่น โดยปัจจุบัน ภาษาญี่ปุ่นมาตรฐานถูกใช้เป็นภาษาทางการ ในความเป็นจริงแล้ว ภาษาที่ชาวโอกินาวะอายุต่ำกว่า 60 ปีใช้กันทั่วไปเป็นภาษาญี่ปุ่นสำเนียงโอกินะวะที่เรียกว่า ภาษาปากโอะกินะวัน (ウチナーヤマトグチ, 沖縄大和口 Uchinā Yamatoguchi) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาษารีวกีวอัน และภาษาอังกฤษสำเนียงอเมริกัน และมักสับสนกับภาษาโอกินะวันดั้งเดิม (ウチナーグチ Uchinaaguchi) ที่มักใช้ในการการแสดงและการละเลนพื้นเมือง เช่น เพลงพื้นเมือง ระบำพื้นเมือง เป็นต้น นอกจากนี้ ข่าวท้องถิ่นยังใช้ภาษาโอกินะวันดั้งเดิมเช่นกันศาสนา ศาสนา. ชาวโอกินาวะ มีความเชื่อของตัวเอง โดยจะบูชาบรรพบุรุษ และเคารพความสัมพันธ์ระหว่างชีวิต ความตาย เทพเจ้า และวิญญาณต่าง ๆ ที่สถิตในธรรมชาติอิทธิพลทางวัฒนธรรม อิทธิพลทางวัฒนธรรม. วัฒนธรรมโอกินาวะได้รับอิทธิพลจากชาติต่าง ๆ ที่เคยทำการค้าด้วยกันมาแต่ในอดีต แม้ในปัจจุบัน เราอาจพบสินค้าและวัฒนธรรมจากประเทศต่าง ๆ เช่น จีน ไทย และออสโตรเนเชียน (ชวา มลายู) ในย่านการค้าของโอกินาวะ เราอาจพูดได้ว่าวัฒนธรรมที่โอกินาวะส่งออกไปทั่วโลกคือ คาราเต้ (空手 Karate) ซึ่งเป็นการผสมผสานกันอย่างลงตัวของศิลปะการต่อสู้ของจีนนั่นคือ กังฟู (功夫, gōngfū) และศิลปะการต่อสู้ดั้งเดิมของโอกินาวะ ศิลปะการต่อสู้นี้พัฒนาอย่างต่อเนื่องถึงสองสมัย คือในระหว่างการสั่งห้ามใช้อาวุธหลังการยึดครองของญี่ปุ่นจนถึงรัฐบาลเมจิ สินค้าท้องถิ่นที่มีชื่อเสียงของโอกินาวะอีกอย่างคือ อะวะโมะริ (泡盛 Awamori) ซึ่งเป็นสุรากลั่น ทำจากข้าวเจ้านำเข้าจากประเทศไทยแผนที่อื่น
| จังหวัดใต้สุดของญี่ปุ่นคือจังหวัดอะไร | {
"answer": [
"จังหวัดโอกินาวะ"
],
"answer_begin_position": [
104
],
"answer_end_position": [
119
]
} |
293 | 93,268 | จังหวัดโอกินาวะ จังหวัดโอกินาวะ ( Okinawa-ken) เป็นจังหวัดใต้สุดของญี่ปุ่น พื้นที่ยาวกว่า 1,000 กิโลเมตร กินสองในสามของเกาะรีวกีวซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของคีวชูไปทางไต้หวัน เมืองเอกคือนาฮะซึ่งอยู่ภาคใต้ของเกาะโอกินาวะ แม้จังหวัดโอกินาวะจะเป็นพื้นที่เพียงร้อยละ 0.6 ของดินแดนญี่ปุ่นทั้งหมด แต่ร้อยละ 75 ของทหารสหรัฐที่ประจำในญี่ปุ่นก็ตั้งอยู่ในจังหวัดนี้ ปัจจุบัน มีกองกำลังสหรัฐราว 26,000 กองตั้งอยู่ในจังหวัดโอกินาวะประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. หลักฐานที่เก่าที่สุดที่แสดงว่ามีมนุษย์บนหมู่เกาะรีวกีว ค้นพบที่เมืองนะฮะ (那覇市 Naha-shi) และเมืองยะเอะเสะ (八重瀬町 Yaese-chō) มีการค้นพบชิ้นส่วนกระดูกมนุษย์จากยุคหินเก่า แต่ก็ไม่เป็นหลักฐานที่แน่ชัด นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบเครื่องปั้นดินเผาอันเป็นร่องรอยอิทธิพลของญี่ปุ่นในยุคโจมง (縄文時代 Jōmon jidai) (14,000-400 ปีก่อนคริสต์ศักราช) บนหมู่เกาะซะกิชิมะ (先島諸島 Sakishima shotō") อันเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะรีวกีว อย่างไรก็ตาม เครื่องปั้นดินเผานี้ มีลักษณะคล้ายกับเครื่องปั้นดินเผาที่พบได้ทั่วไปบนเกาะไต้หวัน คำว่า รีวกีว กล่าวขึ้นครั้งแรกในพงศาวดารราชวงศ์สุย () ของจีน แต่คำว่า รีวกีว ในที่นี้อาจหมายถึงเกาะไต้หวัน ไม่ใช่หมู่เกาะรีวกีวในปัจจุบัน ซึ่งกำลังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ คำว่า โอกินาวะ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นใช้เรียกหมู่เกาะนี้ ปรากฏขึ้นครั้งแรกในบันทึกของภิกษุเจียนเจียงหรือกันจิง (鑒真 หรือ 鑑真) ภิกษุชาวจีนผู้เดินทางมาญี่ปุ่นเพื่อเผยแพร่พุทธศาสนา และเขียนไว้ใน ค.ศ. 779 ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 เริ่มมีสังคมเกษตรกรรมและเติบโตอย่างช้า ๆ จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 เนื่องจากหมู่เกาะตั้งอยู่ใจกลางทะเลจีนตะวันออก ใกล้กับญี่ปุ่น จีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาณาจักรรีวกีวจึงกลายเป็นศูนย์กลางการค้าแห่งหนึ่งในภูมิภาค ในยุคนี้จะมีการสร้างกุสุคุ (御城 Gusuku) หรือปราสาทแบบโอกินาวะขึ้นมากมาย และในคริสต์ศตวรรษที่ 15 อาณาจักรรีวกีวได้กลายเป็นรัฐบรรณาการแห่งหนึ่งของจักรวรรดิจีน ใน ค.ศ. 1609 ไดเมียว (เจ้าเมือง) แคว้นซัตสึมะ (薩摩 Satsuma) ดินแดนซึ่งในปัจจุบันคือจังหวัดคะโงะชิมะ (鹿児島県 Kagoshima-ken) ได้เข้ารุกรานอาณาจักรรีวกีว ส่งผลให้อาณาจักรรีวกีวต้องยอมจำนนและเป็นรัฐบรรณาการของแคว้นซัตสึมะและรัฐบาลโชกุนโทะคุงะวะ (徳川幕府 Tokugawa bakufu) หรือรัฐบาลเอะโดะ (江戸幕府 Edo bakufu) อย่างไรก็ตาม การยึดอาณาจักรรีวกีวไว้อาจสร้างความบาดหมางกับจักรวรรดิจีนได้ ดังนั้น สิทธิเสรีภาพของชาวรีวกีวจึงยังคงไว้เหมือนเดิม แคว้นซัตสึมะได้รับผลประโยชน์อย่างมหาศาลจากการค้ากับจักรวรรดิจีนในยุคเอะโดะที่รัฐบาลโชกุนโทะคุงะวะสั่งให้ญี่ปุ่นปิดประเทศและห้ามการค้าใด ๆ กับชาวต่างชาติ แม้ว่าแคว้นซัตสึมะจะมีอิทธิพลเหนือหมู่เกาะรีวกีวอย่างมาก แต่อาณาจักรรีวกีวก็ยังมีเสรีภาพทางการเมืองภายในอย่างไม่น้อยมาตลอดสองร้อยปี สี่ปีหลังการปฏิรูปสมัยเมจิ (明治王政復辟 Meiji Ishin) ใน ค.ศ. 1868 รัฐบาลญี่ปุ่นในสมัยนั้นได้บุกยึกอาณาจักรรีวกีวอย่างถาวรโดยการหนุนหลังของกองทัพ และเปลี่ยนชื่อเป็นแคว้นรีวกีว หรือรีวกีวฮัน (琉球藩 Ryūkyū han) ซึ่งเป็นเขตปกครองโดยไดเมียวหรือเจ้าเมือง แต่ขึ้นตรงกับรัฐบาลกลาง ในขณะเดียวกัน รัฐบาลราชวงศ์ชิงของจักรวรรดิจีนก็อ้างสิทธิบนหมู่เกาะของอาณาจักรรีวกีวเช่นเดียวกัน โดยอ้างว่าอาณาจักรรีวกีว เคยเป็นรัฐบรรณาการของจีนมาก่อน ใน ค.ค. 1879 แคว้นรีวกีวก็กลายเป็นจังหวัดโอกินาวะของญี่ปุ่น เป็นแคว้นสุดท้ายหลักจากกาแคว้นทั้งหมดถูกยกฐานะเป็นจังหวัดใน ค.ศ. 1872 หลักจากยุทธการโอกินาวะในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โอกินาวะอยู่ภายใต้อารักขาของสหรัฐอเมริกาถึง 27 ปี ในระหว่างที่โอกินาวะอยู่ภายใต้ภาวะทรัสตีนั้น กองทัพอากาศสหรัฐฯ ได้ตั้งฐานทัพทหารบนมากมายบนหลายเกาะของโอกินาวะ ใน ค.ศ. 1972 รัฐบาลสหรัฐฯ ได้คืนโอกินาวะคืนให้แก่รัฐบาลญี่ปุ่นภายใต้สนธิสัญญาความร่วมมือและความปลอดภัยระดับทวิภาคีระหว่างสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น (ภาษาอังกฤษ: Treaty of Mutual Cooperation and Security between the United States and Japan; ภาษาญี่ปุ่น: 日本国とアメリカ合衆国との間の相互協力及び安全保障条約 Nippon-koku to Amerika-gasshūkoku to no Aida no Sōgo Kyōryoku oyobi Anzen Hoshō Jōyaku) ในปัจจุบัน กองกำลังสหรัฐอเมริกาในญี่ปุ่น (ภาษาอังกฤษ: United States Forces in Japan (USFJ) ; ภาษาญี่ปุ่น: 在日米軍 Zainichi Beigun) มีขนาดใหญ่ถึง 27,000 นาย รวมถึงนาวิกโยธิน 15,000 นาย ซึ่งมีทั้งกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ นอกจากนี้ยังมีสมาชิกครอบครัวอีก 22,000 คนอาศัยอยู่ในโอกินาวะ เนื้อที่ 18% ของเกาะโอกินาวะอันเป็นเกาะหลักเป็นพื้นที่ของฐานทัพสหรัฐฯ และ 75% ของ USFJ ของในจังหวัดโอกินาวะ จำนวนอุบัติเหตุและอาชญากรรมที่คนของสหรัฐฯ เป็นผู้ก่อนั้น ได้ทำให้ชาวโอกินาวะสนับสนุนการตั้งฐานทัพน้อยลงทุกที ๆ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลสหรัฐฯและญี่ปุ่นต่างเห็นพ้องกันว่าการมีฐานทัพทหารบนเกาะโอกินาวะนั้นจำเป็นอย่างยิ่ง เหตุการณ์คนของสหรัฐฯข่มขืนเด็กหญิงอายุ 12 ขวบบนเกาะโอกินาวะในค.ศ. 1995 ได้ก่อให้เกิดกระแสต่อต้านฐานทัพสหรัฐฯเป็นอย่างมาก ส่งผลให้รัฐบาลสหรัฐฯและญี่ปุ่นต้องย้ายฐานทัพอากาศนาวิกโยธินฟุเตนมะ (Marine Corps Air Station Futenma หรือ MCAS Futenma) และฐานทัพเล็กอื่น ๆ ออกไปห่างไกลชุมชน อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน การปิดฐานทัพถูกเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนด ประเด็นนี้ได้ก่อให้เกิดความรู้สึกต่อต้านญี่ปุ่นและกลุ่มเรียกร้องอิสรภาพรีวกีว (琉球独立運動 Ryūkyū Dokuritsu Undō) ขึ้นมาไม่นานมานี้เองภูมิศาสตร์เกาะหลัก ภูมิศาสตร์. เกาะหลัก. เกาะต่าง ๆ ซึ่งประกอบกันเป็นจังหวัดโอกินาวะนั้นเป็นสองในสามของเกาะรีวกีว เกาะที่มีอยู่คนของโอกินาวะนั้นปรกติแล้วแบ่งออกเป็นกลุ่มเกาะสามกลุ่ม เรียงจากตะวันออกเฉียงเหนือไปตะวันตกเฉียงใต้ได้ดังนี้- โอกินาวะ- อิเอจิมะ - คูเมจิมะ - โอกินาวะ - เครามะ - มิยาโกะ- มิยาโกะจิมะ - ยาเอยามะ- อิริโอโมเตจิมะ - อิชิงากิ - โยนางูนินคร นคร. จังหวัดโอกินาวะประกอบด้วยนคร 11 แห่งดังนี้- กิโนวัง - โทมิงูซูกุ - นันโจ - นาโงะ - นาฮะ (เมืองเอก) - มิยาโกจิมะ - อิชิงากิ - อิโตมัง - อูราโซเอะ - อูรูมะ - โอกินาวะภาษาและวัฒนธรรม ภาษาและวัฒนธรรม. เนื่องจากในอดีต โอกินาวะ เคยมีเอกราชของตัวเองมาก่อน ภาษาและวัฒนธรรมของโอกินาวะจึงค่อนข้างแตกต่างจากญี่ปุ่นภาษา ภาษา. ยังคงมีผู้พูดภาษารีวกีวอยู่บ้าง ซึ่งผู้พูดภาษาญี่ปุ่นจะเข้าใจได้ยาก ภาษารีวกีวอันนี้ไม่เป็นที่ยอมรับในญี่ปุ่นแผ่นดินใหญ่ คนรุ่นใหม่ละเลยภาษาพื้นเมืองดั้งเดิมของตัวเองมากขึ้นทุกที ๆ นักภาษาศาสตร์ที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นส่วนมากจัดให้ภาษารีวกีวอันมีความแตกต่างจากภาษาญี่ปุ่น แต่ในชาวญี่ปุ่นและชาวท้องถิ่นจัดให้เป็นภาษาท้องถิ่นหนึ่งของญี่ปุ่น โดยปัจจุบัน ภาษาญี่ปุ่นมาตรฐานถูกใช้เป็นภาษาทางการ ในความเป็นจริงแล้ว ภาษาที่ชาวโอกินาวะอายุต่ำกว่า 60 ปีใช้กันทั่วไปเป็นภาษาญี่ปุ่นสำเนียงโอกินะวะที่เรียกว่า ภาษาปากโอะกินะวัน (ウチナーヤマトグチ, 沖縄大和口 Uchinā Yamatoguchi) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากภาษารีวกีวอัน และภาษาอังกฤษสำเนียงอเมริกัน และมักสับสนกับภาษาโอกินะวันดั้งเดิม (ウチナーグチ Uchinaaguchi) ที่มักใช้ในการการแสดงและการละเลนพื้นเมือง เช่น เพลงพื้นเมือง ระบำพื้นเมือง เป็นต้น นอกจากนี้ ข่าวท้องถิ่นยังใช้ภาษาโอกินะวันดั้งเดิมเช่นกันศาสนา ศาสนา. ชาวโอกินาวะ มีความเชื่อของตัวเอง โดยจะบูชาบรรพบุรุษ และเคารพความสัมพันธ์ระหว่างชีวิต ความตาย เทพเจ้า และวิญญาณต่าง ๆ ที่สถิตในธรรมชาติอิทธิพลทางวัฒนธรรม อิทธิพลทางวัฒนธรรม. วัฒนธรรมโอกินาวะได้รับอิทธิพลจากชาติต่าง ๆ ที่เคยทำการค้าด้วยกันมาแต่ในอดีต แม้ในปัจจุบัน เราอาจพบสินค้าและวัฒนธรรมจากประเทศต่าง ๆ เช่น จีน ไทย และออสโตรเนเชียน (ชวา มลายู) ในย่านการค้าของโอกินาวะ เราอาจพูดได้ว่าวัฒนธรรมที่โอกินาวะส่งออกไปทั่วโลกคือ คาราเต้ (空手 Karate) ซึ่งเป็นการผสมผสานกันอย่างลงตัวของศิลปะการต่อสู้ของจีนนั่นคือ กังฟู (功夫, gōngfū) และศิลปะการต่อสู้ดั้งเดิมของโอกินาวะ ศิลปะการต่อสู้นี้พัฒนาอย่างต่อเนื่องถึงสองสมัย คือในระหว่างการสั่งห้ามใช้อาวุธหลังการยึดครองของญี่ปุ่นจนถึงรัฐบาลเมจิ สินค้าท้องถิ่นที่มีชื่อเสียงของโอกินาวะอีกอย่างคือ อะวะโมะริ (泡盛 Awamori) ซึ่งเป็นสุรากลั่น ทำจากข้าวเจ้านำเข้าจากประเทศไทยแผนที่อื่น
| นครนาฮะ เป็นเมืองเอกของจังหวัดอะไรในประเทศญี่ปุ่น | {
"answer": [
"จังหวัดโอกินาวะ"
],
"answer_begin_position": [
5070
],
"answer_end_position": [
5085
]
} |
294 | 70,081 | พระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนางเธอลักษมีลาวัณ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมหลวงตาด วรวรรณ (สกุลเดิม มนตรีกุล) ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระขนิษฐาต่างชนนีของอดีตพระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี พระองค์เป็นผู้ริเริ่มรื้อฟื้น คณะละครปรีดาลัย ของพระบิดาขึ้นมาอีกครั้ง ทรงปลีกพระองค์ประทับอยู่เพียงลำพัง ทรงใช้เวลาที่มีอยู่ในการประพันธ์นวนิยาย ร้อยกรอง และบทละครจำนวนมาก โดยใช้นามปากกาว่า ปัทมะ, วรรณพิมล และพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนางเธอลักษมีลาวัณ ถูกลอบปลงพระชนม์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 สิริพระชนมายุ 62 พรรษา ซึ่งผู้ก่อคดีฆาตกรรมคืออดีตคนสวนที่พระองค์ไล่ออก และก่อคดีดังกล่าวด้วยประสงค์ในทรัพย์สินส่วนพระองค์พระประวัติพระประวัติตอนต้น พระประวัติ. พระประวัติตอนต้น. พระนางเธอลักษมีลาวัณประสูติเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 ณ วังวรวรรณ ตำบลแพร่งนรา จังหวัดพระนคร พระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมหลวงตาด มนตรีกุล มีพระนามเรียกกันในหมู่พระญาติว่า ท่านหญิงติ๋ว ทั้งนี้พระองค์ได้รับการเลี้ยงดูและอบรมจากเจ้าจอมมารดาเขียน ผู้เป็นย่ามาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ต่อมาได้เสด็จไปประทับอยู่กับสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี พระองค์ได้รับการศึกษาและมีวิถีชีวิตเยี่ยงสตรีสมัยใหม่ ทรงมีความคิดอ่านอิสระเสรี ซึ่งพระบิดา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ เป็นผู้ที่มีความสามารถ มีความรู้และความคิดที่กว้างไกลทันสมัย แม้กระทั่งการอบรมเลี้ยงดูพระโอรส-ธิดา ก็ทรงให้ได้รับการศึกษาสมัยใหม่ ไม่เข้มงวดดังการประพฤติปฏิบัติอย่างกุลสตรีโบราณ ทำให้เหล่าพระธิดาในกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์มีความคิดเห็นกว้างขวาง และกล้าที่จะแสดงออกในวัตรปฏิบัติผิดแผกแตกต่างไปสตรีส่วนใหญ่ในสมัยนั้นที่อยู่ในกรอบของม่านประเพณีโบราณ หม่อมเจ้าวรรณพิมลทรงเปิดพระองค์อยู่ในสังคมชั้นสูงที่มีกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสังคมและความบันเทิง ทำให้หลายคนต่างมองเห็นภาพความสนุกสดใสของบรรดาพระธิดาในกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ได้ไม่ยากนัก ซึ่งในเรื่องนี้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงศ์ ทรงเล่าไว้ใน เกิดวังปารุสก์ ตอนหนึ่งว่า "... ไม่มีผู้หญิงคนไทยครอบครัวใดที่จะช่างคุยสนุกสนานเท่าองค์หญิงตระกูลวรวรรณ เท่าที่ข้าพเจ้าเคยรู้จักพบมา..."การหมั้นหมาย การหมั้นหมาย. หม่อมเจ้าหญิงวรรณพิมล ทรงเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นครั้งแรกที่ห้องทรงไพ่บริดจ์ในงานประกวดภาพเขียน ณ โรงละครวังพญาไท ซึ่งนับเป็นงานชุมนุมของพระบรมวงศานุวงศ์ทั้งผู้ใหญ่และหนุ่มสาว ในงานนี้บรรดาท่านหญิงทั้งหลายของราชสกุลวรวรรณจึงเสด็จมาในงานนี้ด้วยหลายองค์ซึ่งรวมไปถึงพระภคินีคือ หม่อมเจ้าวรรณวิมล ซึ่งต่อมาได้ต้องพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นอันมาก ในวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2463 หลังจากที่ทรงพบปะกับเหล่าท่านหญิงจากตระกูลวรวรรณไม่กี่วัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ให้พระธิดาทั้งหลายของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ดังนี้- หม่อมเจ้าวรรณวิมล เป็น หม่อมเจ้าวัลลภาเทวี - หม่อมเจ้าวิมลวรรณ เป็น หม่อมเจ้าวรรณีศรีสมร - หม่อมเจ้าพิมลวรรณ เป็น หม่อมเจ้านันทนามารศรี - หม่อมเจ้าวรรณพิมล เป็น หม่อมเจ้าลักษมีลาวัณ - หม่อมเจ้าวัลลีวรินทร์ เป็น หม่อมเจ้าศรีสอางค์นฤมล ในกาลต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสถาปนา หม่อมเจ้าวัลลภาเทวี ขึ้นเป็น พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี ในฐานะพระคู่หมั้นในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน แต่กระนั้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าก็ทรงคบหากับหม่อมเจ้าลักษมีลาวัณ พระขนิษฐาของพระวรกัญญาปทานอย่างเปิดเผย ทั้ง ๆ ที่อยู่ระหว่างที่ทรงหมั้นอยู่ และพบว่าทรงติดต่อกันทางจดหมายเพื่อระบายความทุกข์ส่วนพระองค์ และหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงถอนหมั้นกับพระวรกัญญาปทาน ได้ทรงมีพระราชนิพนธ์ถึงหม่อมเจ้าลักษมีลาวัณอยู่เสมอ เช่น และ และหลังจากการถอดถอนหมั้นเพียงไม่กี่เดือน ก็ทรงสถาปนาหม่อมเจ้าลักษมีลาวัณ ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณ เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2464 ขณะพระชันษาได้ 22 ปี และในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2464 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณ พร้อมกับทรงหมั้น และมีพระราชวินิจฉัยว่า จะได้ทรงทำการราชาภิเษกสมรส กระนั้นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ได้ประทานกลอนเตือนพระสติ ความว่าทรงแยกกันอยู่ ทรงแยกกันอยู่. หลังจากการเฉลิมพระยศได้เพียงหนึ่งเดือนสิบเก้าวัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงอภิเษกสมรสกับ พระสุจริตสุดา ธิดาของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2464 และทรงตัดสินพระราชหฤทัย "แยกกันอยู่" กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณซึ่งยังมิได้อภิเษกสมรสกัน ต่อมาพระองค์เจ้าลักษมีลาวัณก็ได้รับโปรดเกล้าสถาปนาขึ้นเป็น พระนางเธอลักษมีลาวัณ เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2465 เสมือนรางวัลปลอบพระทัย การนี้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ พระบิดา ได้ประทานบทกลอนปลอบพระทัยพระนางเธอลักษมีลาวัณ ความว่า หลังจากนั้นพระนางเธอลักษมีลาวัณก็ทรงพอพระทัยที่จะแยกพระตำหนักไปประทับอยู่ห่างจากเจ้าพี่เจ้าน้อง ทรงประทับอยู่อย่างสันโดษ และเพื่อเลี่ยงความเงียบเหงาพระนางจึงทุ่มเทไปกับงานพระนิพนธ์ และการเขียนบทละครร้องและการรื้อฟื้นคณะละครปรีดาลัยของพระบิดา ทั้งนี้หลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้รับส่วนแบ่งจากพระราชมรดก อาทิ เพชร, ทอง, สังวาล, กระโถนทอง และพานทองสิ้นพระชนม์ สิ้นพระชนม์. วันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 นายแสง หรือ เสงี่ยม หอมจันทร์ กับนายวิรัช หรือเจริญ กาญจนาภัย อดีตคนสวนที่ถูกพระนางเธอลักษมีลาวัณไล่ออกไปเห็นว่าพระนางเธอทรงเป็นเพียงเจ้านายสตรีทั้งยังชรา และอาศัยเพียงลำพัง กับทั้งเคยสังเกตว่าในตู้ชั้นล่างพระตำหนักลักษมีวิลาศมีเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เข้าใจว่าเป็นของมีราคาทั้งสองจึงกลับเข้ามายังพระตำหนักลักษมีวิลาศ ซึ่งคนร้ายได้ลอบทำร้ายพระนางเธอด้วยย่องเข้ามาทางข้างหลังขณะทรงปลูกต้นมะละกอเล็กๆ ที่ข้างพระตำหนัก แล้วใช้ชะแลงทำร้ายพระเศียร 3 ครั้ง จากนั้นใช้สันขวานทุบพระศออีก 1 ครั้งจนสิ้นพระชนม์ทันที โดยเมื่อตรวจสอบพระวรกายบริเวณพระอุระ (หน้าอก) พบบาดแผลฉกรรจ์คล้ายถูกแทงอย่างโหดเหี้ยม 4 แผล ที่พระศอ (คอ) อีกแผลหนึ่ง ที่พระเศียร (ศีรษะ) ด้านหลังนั้นถูกตีจนน่วมมีพระโลหิตไหล ทั้งสองได้ลากพระศพไปไว้ในโรงจอดรถหลังพระตำหนัก ห่างจากจุดเกิดเหตุประมาณ 800 เมตร เพื่ออำพราง แล้วค้นทรัพย์สินเท่าที่หาได้หนีไป ได้ไปแต่เครื่องราชอิสริยาภรณ์ พระราชทรัพย์ส่วนหนึ่ง และเงินพระราชสมบัติทั้งหมดไม่เหลือแม้แต่บาทเดียว ขณะที่ตู้เซฟที่เก็บฉลองพระองค์และเครื่องประดับของราชวงศ์จักรีมูลค่านับล้านบาทยังอยู่ในสภาพปกติ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ พระเชษฐาต่างพระมารดา ได้รับโทรศัพท์จาก นางสาวแน่งน้อย แย้มศิริ นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เวลา 15.30 น. ของวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2504 ว่าเธอไปกดออดและโทรศัพท์เข้าไปยังวังลักษมีวิลาศ แต่ไม่มีใครตอบหรือรับสาย อาจจะมีเหตุร้าย พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ เสด็จไปยังวังลักษมีวิลาศ พบว่าเครื่องฉลองพระองค์และพระราชทรัพย์ในห้องพระบรรทมถูกรื้อกระจาย และทรงพบพระศพอยู่บริเวณข้างโรงรถสิ้นพระชนม์มาไม่ต่ำกว่าสามวัน ภายหลังผู้ต้องหาทั้งสองถูกจับได้ และถูกพิพากษาให้ประหารชีวิต แต่ทั้งสองได้รับสารภาพ จึงได้รับการหย่อนโทษหนึ่งในสามคือให้จำคุกตลอดชีวิต เพื่อมิให้เป็นเยี่ยงอย่างต่อไปด้วยพระนางเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าพระจริยวัตร พระจริยวัตร. พระนางเธอลักษมีลาวัณทรงมีพระสิริโฉมงดงาม ดังปรากฏในพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งพรรณนาไว้ว่า ส่วนพระกิริยาอัธยาศัย ก็งดงามนัก ดังพระราชนิพนธ์ ความว่า แต่ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ทรงปลีกพระองค์ประทับอยู่เพียงผู้เดียว แม้เจ้าพี่เจ้าน้องจะคอยมาสนใจความเป็นอยู่แต่พระองค์ก็มิได้นำพา โดยรับสั่งด้วยสำนวนติดพระโอษฐ์ว่า "I don't care" พระองค์มักมีปัญหากับเหล่าคนใช้และจบด้วยการไล่คนใช้ออก ท่ามกลางความเงียบเหงาพระองค์จึงทุ่มเทกับงานพระนิพนธ์มากขึ้น และเมื่อยิ่งมีพระชนมายุที่สูงขึ้นก็ทรงพอพระทัยในความวิเวกสันโดษ ทรงเก็บพระองค์ในพระตำหนักลักษมีวิลาศไม่มีพระประสงค์จะพบปะสังสรรค์กับผู้ใดความสนพระทัย ความสนพระทัย. พระนางเธอลักษมีลาวัณ ทรงแยกจากเจ้าพี่เจ้าน้องอยู่ตามลำพัง ณ พระตำหนักในซอยพร้อมพงศ์ริมคลองแสนแสบ ทรงใช้ชีวิตอย่างสงบ และทรงใช้เวลาว่างในการทรงพระนิพนธ์ร้อยกรอง บทละคร และนวนิยายไว้เป็นจำนวนมาก โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า "ปัทมะ" "วรรณพิมล" และ "พระนางเธอลักษมีลาวัณ" ทรงดำเนินกิจการคณะละครปรีดาลัยที่พระบิดาได้ทรงริเริ่มไว้ และรับคณะละครปรีดาลัยในพระอุปถัมภ์ ได้สร้างศิลปินนักแสดงที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก เช่น มารุต, ทัต เอกทัต และจอก ดอกจันทน์ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ทรงย้ายไปประทับที่ พระตำหนักลักษมีวิลาศ ถนนศรีอยุธยา และทรงพระนิพนธ์บทกวี และนวนิยาย เช่น ชีวิตหวาม เรือนใจที่ไร้ค่า ยั่วรัก โชคเชื่อมชีวิต ภัยรักของจันจลา และเสื่อมเสียงสาปผลงานด้านงานประพันธ์ ผลงาน. ด้านงานประพันธ์. พระนางเธอลักษมีลาวัณทรงใช้ชีวิตเพียงลำพัง ต่อมาโดยใช้เวลาว่างให้หมดไปกับการทรงพระอักษรและนิพนธ์ไว้หลายเรื่องโดยใช้นามปากกาว่า ปัทมะ และ วรรณพิมล โดยมีผลงานพระนิพนธ์ดังนี้ด้านศิลปะการแสดง ด้านศิลปะการแสดง. ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง การมหรสพต่างๆ หยุดชะงักลงมีแต่ความเงียบเหงา จึงทรงรื้อฟื้นคณะละครปรีดาลัยของพระบิดา เรียกว่า ละครเฉลิมกรุง ทรงสร้างมิติใหม่ให้วงการละครไทยด้วยการใช้วงดนตรีสากล กับนำท่าระบำฝรั่งผสมกับท่าระบำไทยครั้งแรก ดูงามแปลกตากว่าคณะอื่น แต่ยังคงใช้ผู้แสดงนำและส่วนใหญ่เป็นหญิง ทั้งนี้ทรงซักซ้อมนักแสดงด้วยพระองค์เอง ส่วนการแสดงระบำก็ทรงประดิษฐ์ท่าระบำบางชุดให้สอดคล้องกับเพลงสากลตั้งแต่ พ.ศ. 2477-89 เรื่องหนึ่งที่ได้รับความนิยมและยังกลับมาแสดงอีกหลายครั้งในเวลาต่อมา เช่น ศรอนงค์ จากบทละครของขุนวิจิตรมาตรา เป็นละครประทับใจผู้ชมที่มีทั้งเพลงร้องเพลงระบำเบิกโรงและระบำประกอบเรื่องที่มีทำนองแพรวพราวตระการตา บรรเลงด้วยวงดนตรีเครื่องฝรั่งวงใหญ่อย่างอุปรากรตั้งแต่ต้นจนจบ เปิดการแสดงเรื่องแรกเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 คือเรื่อง "พระอาลัสะนัม" ที่ศาลาเฉลิมกรุง ต่อมาในปี พ.ศ. 2478 ได้แสดงที่โรงมหรสพนาครเขษม ต่อมาในปี พ.ศ. 2486 ได้ร่วมกับบริษัทสหศินิมาจำกัดแสดงที่ศาลาเฉลิมกรุง และครั้งท้ายที่สุดที่ศาลาเฉลิมนครช่วงปี พ.ศ. 2488-89 นอกจากนั้นยังทรงจัดละครการกุศลเช่นเก็บเงินให้กองทัพเรือ งานฉลองรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งสิ้นสุดสงคราม จึงทรงยุบเลิกคณะละครเนื่องจากพระชนมายุเริ่มเข้าสู่วัยชรา และทรงพักผ่อนอิริยาบถเสด็จประพาสยุโรป ละครปรีดาลัยจึงสิ้นสุดเพียงเท่านี้พระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ (10 มิถุนายน พ.ศ. 2442 – 21 ตุลาคม พ.ศ. 2463) - หม่อมเจ้าลักษมีลาวัณ วรวรรณ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2463 – 4 เมษายน พ.ศ. 2464) - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณ (4 เมษายน พ.ศ. 2464 – 8 กันยายน พ.ศ. 2464) - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณ (8 กันยายน พ.ศ. 2464 – 27 สิงหาคม พ.ศ. 2465) - พระนางเธอลักษมีลาวัณ (27 สิงหาคม พ.ศ. 2465 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า - เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ (ว.ภ.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 1 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 (ป.ป.ร.) ชั้นที่ 2พงศาวลี
| สกุลเดิมของหม่อมหลวงตาด วรวรรณ มีสกุลเรียกว่าอะไร | {
"answer": [
"มนตรีกุล"
],
"answer_begin_position": [
331
],
"answer_end_position": [
339
]
} |
1,742 | 70,081 | พระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนางเธอลักษมีลาวัณ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมหลวงตาด วรวรรณ (สกุลเดิม มนตรีกุล) ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระขนิษฐาต่างชนนีของอดีตพระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี พระองค์เป็นผู้ริเริ่มรื้อฟื้น คณะละครปรีดาลัย ของพระบิดาขึ้นมาอีกครั้ง ทรงปลีกพระองค์ประทับอยู่เพียงลำพัง ทรงใช้เวลาที่มีอยู่ในการประพันธ์นวนิยาย ร้อยกรอง และบทละครจำนวนมาก โดยใช้นามปากกาว่า ปัทมะ, วรรณพิมล และพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนางเธอลักษมีลาวัณ ถูกลอบปลงพระชนม์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 สิริพระชนมายุ 62 พรรษา ซึ่งผู้ก่อคดีฆาตกรรมคืออดีตคนสวนที่พระองค์ไล่ออก และก่อคดีดังกล่าวด้วยประสงค์ในทรัพย์สินส่วนพระองค์พระประวัติพระประวัติตอนต้น พระประวัติ. พระประวัติตอนต้น. พระนางเธอลักษมีลาวัณประสูติเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 ณ วังวรวรรณ ตำบลแพร่งนรา จังหวัดพระนคร พระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมหลวงตาด มนตรีกุล มีพระนามเรียกกันในหมู่พระญาติว่า ท่านหญิงติ๋ว ทั้งนี้พระองค์ได้รับการเลี้ยงดูและอบรมจากเจ้าจอมมารดาเขียน ผู้เป็นย่ามาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ต่อมาได้เสด็จไปประทับอยู่กับสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี พระองค์ได้รับการศึกษาและมีวิถีชีวิตเยี่ยงสตรีสมัยใหม่ ทรงมีความคิดอ่านอิสระเสรี ซึ่งพระบิดา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ เป็นผู้ที่มีความสามารถ มีความรู้และความคิดที่กว้างไกลทันสมัย แม้กระทั่งการอบรมเลี้ยงดูพระโอรส-ธิดา ก็ทรงให้ได้รับการศึกษาสมัยใหม่ ไม่เข้มงวดดังการประพฤติปฏิบัติอย่างกุลสตรีโบราณ ทำให้เหล่าพระธิดาในกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์มีความคิดเห็นกว้างขวาง และกล้าที่จะแสดงออกในวัตรปฏิบัติผิดแผกแตกต่างไปสตรีส่วนใหญ่ในสมัยนั้นที่อยู่ในกรอบของม่านประเพณีโบราณ หม่อมเจ้าวรรณพิมลทรงเปิดพระองค์อยู่ในสังคมชั้นสูงที่มีกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อสังคมและความบันเทิง ทำให้หลายคนต่างมองเห็นภาพความสนุกสดใสของบรรดาพระธิดาในกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ได้ไม่ยากนัก ซึ่งในเรื่องนี้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงศ์ ทรงเล่าไว้ใน เกิดวังปารุสก์ ตอนหนึ่งว่า "... ไม่มีผู้หญิงคนไทยครอบครัวใดที่จะช่างคุยสนุกสนานเท่าองค์หญิงตระกูลวรวรรณ เท่าที่ข้าพเจ้าเคยรู้จักพบมา..."การหมั้นหมาย การหมั้นหมาย. หม่อมเจ้าหญิงวรรณพิมล ทรงเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นครั้งแรกที่ห้องทรงไพ่บริดจ์ในงานประกวดภาพเขียน ณ โรงละครวังพญาไท ซึ่งนับเป็นงานชุมนุมของพระบรมวงศานุวงศ์ทั้งผู้ใหญ่และหนุ่มสาว ในงานนี้บรรดาท่านหญิงทั้งหลายของราชสกุลวรวรรณจึงเสด็จมาในงานนี้ด้วยหลายองค์ซึ่งรวมไปถึงพระภคินีคือ หม่อมเจ้าวรรณวิมล ซึ่งต่อมาได้ต้องพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นอันมาก ในวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2463 หลังจากที่ทรงพบปะกับเหล่าท่านหญิงจากตระกูลวรวรรณไม่กี่วัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ให้พระธิดาทั้งหลายของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ดังนี้- หม่อมเจ้าวรรณวิมล เป็น หม่อมเจ้าวัลลภาเทวี - หม่อมเจ้าวิมลวรรณ เป็น หม่อมเจ้าวรรณีศรีสมร - หม่อมเจ้าพิมลวรรณ เป็น หม่อมเจ้านันทนามารศรี - หม่อมเจ้าวรรณพิมล เป็น หม่อมเจ้าลักษมีลาวัณ - หม่อมเจ้าวัลลีวรินทร์ เป็น หม่อมเจ้าศรีสอางค์นฤมล ในกาลต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสถาปนา หม่อมเจ้าวัลลภาเทวี ขึ้นเป็น พระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี ในฐานะพระคู่หมั้นในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน แต่กระนั้นพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าก็ทรงคบหากับหม่อมเจ้าลักษมีลาวัณ พระขนิษฐาของพระวรกัญญาปทานอย่างเปิดเผย ทั้ง ๆ ที่อยู่ระหว่างที่ทรงหมั้นอยู่ และพบว่าทรงติดต่อกันทางจดหมายเพื่อระบายความทุกข์ส่วนพระองค์ และหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงถอนหมั้นกับพระวรกัญญาปทาน ได้ทรงมีพระราชนิพนธ์ถึงหม่อมเจ้าลักษมีลาวัณอยู่เสมอ เช่น และ และหลังจากการถอดถอนหมั้นเพียงไม่กี่เดือน ก็ทรงสถาปนาหม่อมเจ้าลักษมีลาวัณ ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณ เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2464 ขณะพระชันษาได้ 22 ปี และในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2464 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณ พร้อมกับทรงหมั้น และมีพระราชวินิจฉัยว่า จะได้ทรงทำการราชาภิเษกสมรส กระนั้นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ได้ประทานกลอนเตือนพระสติ ความว่าทรงแยกกันอยู่ ทรงแยกกันอยู่. หลังจากการเฉลิมพระยศได้เพียงหนึ่งเดือนสิบเก้าวัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงอภิเษกสมรสกับ พระสุจริตสุดา ธิดาของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2464 และทรงตัดสินพระราชหฤทัย "แยกกันอยู่" กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณซึ่งยังมิได้อภิเษกสมรสกัน ต่อมาพระองค์เจ้าลักษมีลาวัณก็ได้รับโปรดเกล้าสถาปนาขึ้นเป็น พระนางเธอลักษมีลาวัณ เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2465 เสมือนรางวัลปลอบพระทัย การนี้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ พระบิดา ได้ประทานบทกลอนปลอบพระทัยพระนางเธอลักษมีลาวัณ ความว่า หลังจากนั้นพระนางเธอลักษมีลาวัณก็ทรงพอพระทัยที่จะแยกพระตำหนักไปประทับอยู่ห่างจากเจ้าพี่เจ้าน้อง ทรงประทับอยู่อย่างสันโดษ และเพื่อเลี่ยงความเงียบเหงาพระนางจึงทุ่มเทไปกับงานพระนิพนธ์ และการเขียนบทละครร้องและการรื้อฟื้นคณะละครปรีดาลัยของพระบิดา ทั้งนี้หลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้รับส่วนแบ่งจากพระราชมรดก อาทิ เพชร, ทอง, สังวาล, กระโถนทอง และพานทองสิ้นพระชนม์ สิ้นพระชนม์. วันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504 นายแสง หรือ เสงี่ยม หอมจันทร์ กับนายวิรัช หรือเจริญ กาญจนาภัย อดีตคนสวนที่ถูกพระนางเธอลักษมีลาวัณไล่ออกไปเห็นว่าพระนางเธอทรงเป็นเพียงเจ้านายสตรีทั้งยังชรา และอาศัยเพียงลำพัง กับทั้งเคยสังเกตว่าในตู้ชั้นล่างพระตำหนักลักษมีวิลาศมีเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เข้าใจว่าเป็นของมีราคาทั้งสองจึงกลับเข้ามายังพระตำหนักลักษมีวิลาศ ซึ่งคนร้ายได้ลอบทำร้ายพระนางเธอด้วยย่องเข้ามาทางข้างหลังขณะทรงปลูกต้นมะละกอเล็กๆ ที่ข้างพระตำหนัก แล้วใช้ชะแลงทำร้ายพระเศียร 3 ครั้ง จากนั้นใช้สันขวานทุบพระศออีก 1 ครั้งจนสิ้นพระชนม์ทันที โดยเมื่อตรวจสอบพระวรกายบริเวณพระอุระ (หน้าอก) พบบาดแผลฉกรรจ์คล้ายถูกแทงอย่างโหดเหี้ยม 4 แผล ที่พระศอ (คอ) อีกแผลหนึ่ง ที่พระเศียร (ศีรษะ) ด้านหลังนั้นถูกตีจนน่วมมีพระโลหิตไหล ทั้งสองได้ลากพระศพไปไว้ในโรงจอดรถหลังพระตำหนัก ห่างจากจุดเกิดเหตุประมาณ 800 เมตร เพื่ออำพราง แล้วค้นทรัพย์สินเท่าที่หาได้หนีไป ได้ไปแต่เครื่องราชอิสริยาภรณ์ พระราชทรัพย์ส่วนหนึ่ง และเงินพระราชสมบัติทั้งหมดไม่เหลือแม้แต่บาทเดียว ขณะที่ตู้เซฟที่เก็บฉลองพระองค์และเครื่องประดับของราชวงศ์จักรีมูลค่านับล้านบาทยังอยู่ในสภาพปกติ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ พระเชษฐาต่างพระมารดา ได้รับโทรศัพท์จาก นางสาวแน่งน้อย แย้มศิริ นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เวลา 15.30 น. ของวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2504 ว่าเธอไปกดออดและโทรศัพท์เข้าไปยังวังลักษมีวิลาศ แต่ไม่มีใครตอบหรือรับสาย อาจจะมีเหตุร้าย พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ เสด็จไปยังวังลักษมีวิลาศ พบว่าเครื่องฉลองพระองค์และพระราชทรัพย์ในห้องพระบรรทมถูกรื้อกระจาย และทรงพบพระศพอยู่บริเวณข้างโรงรถสิ้นพระชนม์มาไม่ต่ำกว่าสามวัน ภายหลังผู้ต้องหาทั้งสองถูกจับได้ และถูกพิพากษาให้ประหารชีวิต แต่ทั้งสองได้รับสารภาพ จึงได้รับการหย่อนโทษหนึ่งในสามคือให้จำคุกตลอดชีวิต เพื่อมิให้เป็นเยี่ยงอย่างต่อไปด้วยพระนางเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าพระจริยวัตร พระจริยวัตร. พระนางเธอลักษมีลาวัณทรงมีพระสิริโฉมงดงาม ดังปรากฏในพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งพรรณนาไว้ว่า ส่วนพระกิริยาอัธยาศัย ก็งดงามนัก ดังพระราชนิพนธ์ ความว่า แต่ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ทรงปลีกพระองค์ประทับอยู่เพียงผู้เดียว แม้เจ้าพี่เจ้าน้องจะคอยมาสนใจความเป็นอยู่แต่พระองค์ก็มิได้นำพา โดยรับสั่งด้วยสำนวนติดพระโอษฐ์ว่า "I don't care" พระองค์มักมีปัญหากับเหล่าคนใช้และจบด้วยการไล่คนใช้ออก ท่ามกลางความเงียบเหงาพระองค์จึงทุ่มเทกับงานพระนิพนธ์มากขึ้น และเมื่อยิ่งมีพระชนมายุที่สูงขึ้นก็ทรงพอพระทัยในความวิเวกสันโดษ ทรงเก็บพระองค์ในพระตำหนักลักษมีวิลาศไม่มีพระประสงค์จะพบปะสังสรรค์กับผู้ใดความสนพระทัย ความสนพระทัย. พระนางเธอลักษมีลาวัณ ทรงแยกจากเจ้าพี่เจ้าน้องอยู่ตามลำพัง ณ พระตำหนักในซอยพร้อมพงศ์ริมคลองแสนแสบ ทรงใช้ชีวิตอย่างสงบ และทรงใช้เวลาว่างในการทรงพระนิพนธ์ร้อยกรอง บทละคร และนวนิยายไว้เป็นจำนวนมาก โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า "ปัทมะ" "วรรณพิมล" และ "พระนางเธอลักษมีลาวัณ" ทรงดำเนินกิจการคณะละครปรีดาลัยที่พระบิดาได้ทรงริเริ่มไว้ และรับคณะละครปรีดาลัยในพระอุปถัมภ์ ได้สร้างศิลปินนักแสดงที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก เช่น มารุต, ทัต เอกทัต และจอก ดอกจันทน์ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ทรงย้ายไปประทับที่ พระตำหนักลักษมีวิลาศ ถนนศรีอยุธยา และทรงพระนิพนธ์บทกวี และนวนิยาย เช่น ชีวิตหวาม เรือนใจที่ไร้ค่า ยั่วรัก โชคเชื่อมชีวิต ภัยรักของจันจลา และเสื่อมเสียงสาปผลงานด้านงานประพันธ์ ผลงาน. ด้านงานประพันธ์. พระนางเธอลักษมีลาวัณทรงใช้ชีวิตเพียงลำพัง ต่อมาโดยใช้เวลาว่างให้หมดไปกับการทรงพระอักษรและนิพนธ์ไว้หลายเรื่องโดยใช้นามปากกาว่า ปัทมะ และ วรรณพิมล โดยมีผลงานพระนิพนธ์ดังนี้ด้านศิลปะการแสดง ด้านศิลปะการแสดง. ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง การมหรสพต่างๆ หยุดชะงักลงมีแต่ความเงียบเหงา จึงทรงรื้อฟื้นคณะละครปรีดาลัยของพระบิดา เรียกว่า ละครเฉลิมกรุง ทรงสร้างมิติใหม่ให้วงการละครไทยด้วยการใช้วงดนตรีสากล กับนำท่าระบำฝรั่งผสมกับท่าระบำไทยครั้งแรก ดูงามแปลกตากว่าคณะอื่น แต่ยังคงใช้ผู้แสดงนำและส่วนใหญ่เป็นหญิง ทั้งนี้ทรงซักซ้อมนักแสดงด้วยพระองค์เอง ส่วนการแสดงระบำก็ทรงประดิษฐ์ท่าระบำบางชุดให้สอดคล้องกับเพลงสากลตั้งแต่ พ.ศ. 2477-89 เรื่องหนึ่งที่ได้รับความนิยมและยังกลับมาแสดงอีกหลายครั้งในเวลาต่อมา เช่น ศรอนงค์ จากบทละครของขุนวิจิตรมาตรา เป็นละครประทับใจผู้ชมที่มีทั้งเพลงร้องเพลงระบำเบิกโรงและระบำประกอบเรื่องที่มีทำนองแพรวพราวตระการตา บรรเลงด้วยวงดนตรีเครื่องฝรั่งวงใหญ่อย่างอุปรากรตั้งแต่ต้นจนจบ เปิดการแสดงเรื่องแรกเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 คือเรื่อง "พระอาลัสะนัม" ที่ศาลาเฉลิมกรุง ต่อมาในปี พ.ศ. 2478 ได้แสดงที่โรงมหรสพนาครเขษม ต่อมาในปี พ.ศ. 2486 ได้ร่วมกับบริษัทสหศินิมาจำกัดแสดงที่ศาลาเฉลิมกรุง และครั้งท้ายที่สุดที่ศาลาเฉลิมนครช่วงปี พ.ศ. 2488-89 นอกจากนั้นยังทรงจัดละครการกุศลเช่นเก็บเงินให้กองทัพเรือ งานฉลองรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งสิ้นสุดสงคราม จึงทรงยุบเลิกคณะละครเนื่องจากพระชนมายุเริ่มเข้าสู่วัยชรา และทรงพักผ่อนอิริยาบถเสด็จประพาสยุโรป ละครปรีดาลัยจึงสิ้นสุดเพียงเท่านี้พระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ (10 มิถุนายน พ.ศ. 2442 – 21 ตุลาคม พ.ศ. 2463) - หม่อมเจ้าลักษมีลาวัณ วรวรรณ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2463 – 4 เมษายน พ.ศ. 2464) - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณ (4 เมษายน พ.ศ. 2464 – 8 กันยายน พ.ศ. 2464) - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักษมีลาวัณ (8 กันยายน พ.ศ. 2464 – 27 สิงหาคม พ.ศ. 2465) - พระนางเธอลักษมีลาวัณ (27 สิงหาคม พ.ศ. 2465 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า - เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ (ว.ภ.) - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชั้นที่ 1 - เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 (ป.ป.ร.) ชั้นที่ 2พงศาวลี
| พระนางเธอลักษมีลาวัณ ถูกลอบปลงพระชนม์เมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"29"
],
"answer_begin_position": [
754
],
"answer_end_position": [
756
]
} |
295 | 498,474 | เอลบรัส เทเดเยฟ เอลบรัส เทเดเยฟ (; ) เกิดวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1974 ที่เขตปรีกรอดนี ดินแดนอิสระนอร์ทออสซีเชียแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต สหภาพโซเวียต เป็นนักมวยปล้ำชาวยูเครนและเป็นแชมป์โอลิมปิก เขาได้กลายเป็นพลเมืองของประเทศยูเครนใน ค.ศ. 1993 และได้รับรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่กรุงเอเธนส์ รวมถึงเป็นแชมป์มวยปล้ำชิงแชมป์โลกสามสมัย เทเดเยฟกลายเป็นสมาชิกสภาสมัญผู้แทนราษฎรแห่งประเทศยูเครนใน ค.ศ. 2006 ในฐานะนักการเมืองอิสระของบัญชีรายชื่อของพรรคแห่งภูมิภาค เขาได้รับการเลือกตั้งอีกครั้งในช่วงก่อนการเลือกรัฐสภาใน ค.ศ. 2007 และอีกครั้งใน ค.ศ. 2012
| เอลบรัส เทเดเยฟ ได้รับรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่ไหน | {
"answer": [
"กรุงเอเธนส์"
],
"answer_begin_position": [
396
],
"answer_end_position": [
407
]
} |
296 | 498,474 | เอลบรัส เทเดเยฟ เอลบรัส เทเดเยฟ (; ) เกิดวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1974 ที่เขตปรีกรอดนี ดินแดนอิสระนอร์ทออสซีเชียแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต สหภาพโซเวียต เป็นนักมวยปล้ำชาวยูเครนและเป็นแชมป์โอลิมปิก เขาได้กลายเป็นพลเมืองของประเทศยูเครนใน ค.ศ. 1993 และได้รับรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่กรุงเอเธนส์ รวมถึงเป็นแชมป์มวยปล้ำชิงแชมป์โลกสามสมัย เทเดเยฟกลายเป็นสมาชิกสภาสมัญผู้แทนราษฎรแห่งประเทศยูเครนใน ค.ศ. 2006 ในฐานะนักการเมืองอิสระของบัญชีรายชื่อของพรรคแห่งภูมิภาค เขาได้รับการเลือกตั้งอีกครั้งในช่วงก่อนการเลือกรัฐสภาใน ค.ศ. 2007 และอีกครั้งใน ค.ศ. 2012
| เอลบรัส เทเดเยฟเป็นนักมวยปล้ำและได้เป็นพลเมืองของประเทศยูเครนในปีใด | {
"answer": [
"ค.ศ. 1993"
],
"answer_begin_position": [
325
],
"answer_end_position": [
334
]
} |
297 | 473,609 | ซูโซ (นักฟุตบอล) ซูโซ () มีชื่อเต็มว่า เฆซุส โฆอากิน เฟร์นันเดซ ซาเอนซ์ เด ลา ตอร์เร () เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 ที่เมืองกาดิซ ประเทศสเปน เป็นนักฟุตบอลของทีมชาติสเปนชุดเยาวชน และเอซีมิลาน ในตำแหน่งกองกลาง ซูโซไม่ประสบความสำเร็จในการเล่นกับลิเวอร์พูล ในพรีเมียร์ลีก อังกฤษ จึงโดนยืมตัวไปเล่นให้กับอูเด อัลเมริอา ในลาลิกา สเปน จนกระทั่งในต้นปี ค.ศ. 2015 จึงได้ย้ายไปสังกัดเอซีมิลาน ในเซเรียอา อิตาลี อย่างถาวร
| นักฟุตบอลนามว่า ซูโซ มีชื่อเต็มว่า เฆซุส โฆอากิน เฟร์นันเดซ ซาเอนซ์ เด ลา ตอร์เร เกิดที่เมืองอะไร | {
"answer": [
"เมืองกาดิซ"
],
"answer_begin_position": [
221
],
"answer_end_position": [
231
]
} |
298 | 473,609 | ซูโซ (นักฟุตบอล) ซูโซ () มีชื่อเต็มว่า เฆซุส โฆอากิน เฟร์นันเดซ ซาเอนซ์ เด ลา ตอร์เร () เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 ที่เมืองกาดิซ ประเทศสเปน เป็นนักฟุตบอลของทีมชาติสเปนชุดเยาวชน และเอซีมิลาน ในตำแหน่งกองกลาง ซูโซไม่ประสบความสำเร็จในการเล่นกับลิเวอร์พูล ในพรีเมียร์ลีก อังกฤษ จึงโดนยืมตัวไปเล่นให้กับอูเด อัลเมริอา ในลาลิกา สเปน จนกระทั่งในต้นปี ค.ศ. 2015 จึงได้ย้ายไปสังกัดเอซีมิลาน ในเซเรียอา อิตาลี อย่างถาวร
| เฆซุส โฆอากิน เฟร์นันเดซ ซาเอนซ์ เด ลา ตอร์เร สังกัดเอซีมิลานในเซเรียอาประเทศอะไร | {
"answer": [
"อิตาลี"
],
"answer_begin_position": [
496
],
"answer_end_position": [
502
]
} |
299 | 678,253 | ริชาร์ด ลินเคลเตอร์ ริชาร์ด สจ๊วต ลินเคลเตอร์ (; 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1960) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในภาพยนตร์แนวคัมมิงออฟเอจ (coming of age) แบบตลก เรื่อง Dazed and Confused (1993) ภาพยนตร์โรแมนติกดรามาไตรภาคเรื่อง Before Sunrise (1995), Before Sunset (2004) และ Before Midnight (2013) และภาพยนตร์แอนิเมชันเทคนิคโรโตสโคป เรื่อง Waking Life (2001) ภาพยนตร์ดนตรีแนวตลกเรื่อง School of Rock (2003), ภาพยนตร์แอนิเมชันเทคนิคโรโตสโคป เรื่อง A Scanner Darkly (2006) และภาพยนตร์คัมมิงออฟเอจ แนวดรามาเรื่อง Boyhood (2014) ที่ได้รับรางวัลลูกโลกทองคำสาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ในปี ค.ศ. 2014 ภาพยนตร์ของเขาอย่างภาพยนตร์ไตรภาค Before... และภาพยนตร์ Boyhood ที่ใช้ทีมนักแสดงเดิมและใช้เวลาการถ่ายทำอันยาวนานหลายปี
| ภาพยนตร์เรื่อง Boyhood ในปี 2014 ที่ได้รับรางวัลลูกโลกทองคำสาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม กำกับโดยใคร | {
"answer": [
"ริชาร์ด สจ๊วต ลินเคลเตอร์"
],
"answer_begin_position": [
114
],
"answer_end_position": [
139
]
} |
300 | 678,253 | ริชาร์ด ลินเคลเตอร์ ริชาร์ด สจ๊วต ลินเคลเตอร์ (; 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1960) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในภาพยนตร์แนวคัมมิงออฟเอจ (coming of age) แบบตลก เรื่อง Dazed and Confused (1993) ภาพยนตร์โรแมนติกดรามาไตรภาคเรื่อง Before Sunrise (1995), Before Sunset (2004) และ Before Midnight (2013) และภาพยนตร์แอนิเมชันเทคนิคโรโตสโคป เรื่อง Waking Life (2001) ภาพยนตร์ดนตรีแนวตลกเรื่อง School of Rock (2003), ภาพยนตร์แอนิเมชันเทคนิคโรโตสโคป เรื่อง A Scanner Darkly (2006) และภาพยนตร์คัมมิงออฟเอจ แนวดรามาเรื่อง Boyhood (2014) ที่ได้รับรางวัลลูกโลกทองคำสาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ในปี ค.ศ. 2014 ภาพยนตร์ของเขาอย่างภาพยนตร์ไตรภาค Before... และภาพยนตร์ Boyhood ที่ใช้ทีมนักแสดงเดิมและใช้เวลาการถ่ายทำอันยาวนานหลายปี
| ภาพยนตร์แนวตลกที่สร้างโดยริชาร์ด สจ๊วต ลินเคลเตอร์ ในปี 1993 คือเรื่องอะไร | {
"answer": [
"เรื่อง Dazed and Confused (1993)"
],
"answer_begin_position": [
272
],
"answer_end_position": [
304
]
} |
301 | 150,251 | แกรี่ เลวิน แกรี่ เลวิน เป็นหัวหน้าทีมกายภาพบำบัดของสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลและเป็นนักกายภาพบำบัดของทีมชาติอังกฤษอีกด้วยประวัติ ประวัติ. แกรี่ เลวิน เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1964 ที่อีสต์แฮม(East Ham) กรุงลอนดอน ได้มาอยู่กับอาร์เซนอลด้วยการเป็นผู้รักษาประตูทีมเยาวชนตั้งแต่อายุแค่ 16 ปี และผัดตัวเองมาเป็นนักกายภาพบำบัดของทีมสำรองด้วยอายุที่น้อยมากเพียง 19 ปีเท่านั้น หลังจากนั้นหนึ่งปี ก็ไปเป็นนักเตะของสโมสรฟุตบอลบาร์เน็ต ต่อมาในปี 1986 แกรี่ มีอายุเพียง 22 ปี แต่ก็ได้ทำงานเต็มเวลาในตำแหน่งนักกายภาพบำบัดของทีมชุดใหญ่ในที่สุด เขามีประสบการณ์ด้านงานนี้มาแล้วว่า 1,000 เกม (ครบเกมที่ 1,000 เมื่อธันวาคม ปี 2004) ส่วนการได้รับอนุญาตให้เป็นนักกายภาพบำบัดนั้น เนื่องจากว่าเขาเรียนมาจากโรงพยาบาลกาย วิทยาลัยแห่งวิชากายภาพบำบัดในช่วงปี 1983 ถึง 1986 เขาจบปริญญาตรี (hons) ในสาขาชีววิทยาและอนุปริญญาสาขากายภาพบำบัด เขาเป็นสามาชิกของวิทยาลัยแห่งกายภาพบำบัดการกีฬา และเป็นสมาชิกของสมาคมนักกายภาพบำบัดอาชีพแห่งรัฐอีกด้วย เขามีความเชี่ยวชาญด้านเอ็นร้อยหวายอย่างมาก เนื่องจากว่าเคยมีประสบการณ์กับโทนี อดัมส์ หรือแม้แต่เคยเป็นที่ปรึกษาให้กับนักกายภาพบำบัดของสโมสรฟุตบอลเบอร์มิงแฮมในช่วงที่เดวิด ดันน์ได้รับบาดเจ็บอยู่บ่อย ๆ ด้วย ในเกมลีกคัพรอบชิงชนะเลิศเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007 นั้น เลวินเป็นผู้ที่อยู่ใกล้เหตุการณ์ที่จอห์น เทอร์รี กองหลังของเชลซีโดนอาบู ดิยาบี้เตะเข้าที่ปลายคางในบริเวณกรอบเขตโทษของอาร์เซนอลซึ่งเป็นจังหวะที่เชลซีได้ลูกเตะมุม เทอร์รี่กลืนลิ้นตัวเองเข้าไปและเลวินก็เป็นนักกายภาพบำบัดคนแรกที่มาถึงก่อนและได้ช่วยเหลือเทอร์รี่และสามารถช่วยชีวิตเทอร์รี่ได้ทันท่วงที แต่นี่ไม่ใช่ประสบการณ์เพียงครั้งเดียวที่เขาเคยทำหน้าที่ในกรณีแบบนี้ ในปี 1989 นั้น เขาก็เกือบจะต้องหักขากรรไกรของเดวิด โรคาสเซิล อดีตนักเตะของอาร์เซนอลเพื่อปฐมพยาบาลด้วยวิธีที่คล้าย ๆ กับกรณีช่วยชีวิตเทอร์รี่มาแล้วเหมือนกัน เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008 แกรี่ เลวินก็ได้ปฏิบัติหน้าที่สำคัญอีกครั้งหนึ่ง นั่นคือการช่วยชีวิตเอดูอาร์โด ดา ซิลวา ศูนย์หน้าอาร์เซนอล ที่ได้รับบาดเจ็บขาซ้ายหักและข้อเท้าเคลื่อนจากจังหวะที่โดนมาร์ติน เทย์เลอร์พุ่งเข้าสะกัดผิดจังหวะ แกรี่ เลวินเข้ามาปฐมพยาบาลทันเวลา มิฉะนั้นแล้ว เอดูอาร์โด ดา ซิลวา อาจจะต้องเสียขาซ้ายจนยุติอาชีพการค้าแข้งไปเลยทีเดียว
| แกรี่ เลวิน เกิดที่เมืองอะไรในประเทศอังกฤษ | {
"answer": [
"กรุงลอนดอน"
],
"answer_begin_position": [
290
],
"answer_end_position": [
300
]
} |
302 | 150,251 | แกรี่ เลวิน แกรี่ เลวิน เป็นหัวหน้าทีมกายภาพบำบัดของสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลและเป็นนักกายภาพบำบัดของทีมชาติอังกฤษอีกด้วยประวัติ ประวัติ. แกรี่ เลวิน เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1964 ที่อีสต์แฮม(East Ham) กรุงลอนดอน ได้มาอยู่กับอาร์เซนอลด้วยการเป็นผู้รักษาประตูทีมเยาวชนตั้งแต่อายุแค่ 16 ปี และผัดตัวเองมาเป็นนักกายภาพบำบัดของทีมสำรองด้วยอายุที่น้อยมากเพียง 19 ปีเท่านั้น หลังจากนั้นหนึ่งปี ก็ไปเป็นนักเตะของสโมสรฟุตบอลบาร์เน็ต ต่อมาในปี 1986 แกรี่ มีอายุเพียง 22 ปี แต่ก็ได้ทำงานเต็มเวลาในตำแหน่งนักกายภาพบำบัดของทีมชุดใหญ่ในที่สุด เขามีประสบการณ์ด้านงานนี้มาแล้วว่า 1,000 เกม (ครบเกมที่ 1,000 เมื่อธันวาคม ปี 2004) ส่วนการได้รับอนุญาตให้เป็นนักกายภาพบำบัดนั้น เนื่องจากว่าเขาเรียนมาจากโรงพยาบาลกาย วิทยาลัยแห่งวิชากายภาพบำบัดในช่วงปี 1983 ถึง 1986 เขาจบปริญญาตรี (hons) ในสาขาชีววิทยาและอนุปริญญาสาขากายภาพบำบัด เขาเป็นสามาชิกของวิทยาลัยแห่งกายภาพบำบัดการกีฬา และเป็นสมาชิกของสมาคมนักกายภาพบำบัดอาชีพแห่งรัฐอีกด้วย เขามีความเชี่ยวชาญด้านเอ็นร้อยหวายอย่างมาก เนื่องจากว่าเคยมีประสบการณ์กับโทนี อดัมส์ หรือแม้แต่เคยเป็นที่ปรึกษาให้กับนักกายภาพบำบัดของสโมสรฟุตบอลเบอร์มิงแฮมในช่วงที่เดวิด ดันน์ได้รับบาดเจ็บอยู่บ่อย ๆ ด้วย ในเกมลีกคัพรอบชิงชนะเลิศเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007 นั้น เลวินเป็นผู้ที่อยู่ใกล้เหตุการณ์ที่จอห์น เทอร์รี กองหลังของเชลซีโดนอาบู ดิยาบี้เตะเข้าที่ปลายคางในบริเวณกรอบเขตโทษของอาร์เซนอลซึ่งเป็นจังหวะที่เชลซีได้ลูกเตะมุม เทอร์รี่กลืนลิ้นตัวเองเข้าไปและเลวินก็เป็นนักกายภาพบำบัดคนแรกที่มาถึงก่อนและได้ช่วยเหลือเทอร์รี่และสามารถช่วยชีวิตเทอร์รี่ได้ทันท่วงที แต่นี่ไม่ใช่ประสบการณ์เพียงครั้งเดียวที่เขาเคยทำหน้าที่ในกรณีแบบนี้ ในปี 1989 นั้น เขาก็เกือบจะต้องหักขากรรไกรของเดวิด โรคาสเซิล อดีตนักเตะของอาร์เซนอลเพื่อปฐมพยาบาลด้วยวิธีที่คล้าย ๆ กับกรณีช่วยชีวิตเทอร์รี่มาแล้วเหมือนกัน เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2008 แกรี่ เลวินก็ได้ปฏิบัติหน้าที่สำคัญอีกครั้งหนึ่ง นั่นคือการช่วยชีวิตเอดูอาร์โด ดา ซิลวา ศูนย์หน้าอาร์เซนอล ที่ได้รับบาดเจ็บขาซ้ายหักและข้อเท้าเคลื่อนจากจังหวะที่โดนมาร์ติน เทย์เลอร์พุ่งเข้าสะกัดผิดจังหวะ แกรี่ เลวินเข้ามาปฐมพยาบาลทันเวลา มิฉะนั้นแล้ว เอดูอาร์โด ดา ซิลวา อาจจะต้องเสียขาซ้ายจนยุติอาชีพการค้าแข้งไปเลยทีเดียว
| แกรี่ เลวิน จบปริญญาตรี ในสาขาอะไร | {
"answer": [
"สาขาชีววิทยา"
],
"answer_begin_position": [
859
],
"answer_end_position": [
871
]
} |
303 | 887,035 | พระเจ้าไมดาส ไมดาส เป็นชื่อของกษัตริย์ที่ปกครองนครไฟร์เกีย พระองค์เป็นพระโอรสของพระเจ้ากลอดิอุส โดยไมดาสสืบทอดพระราชสมบัติต่อจากพระบิดา ซึ่งในเวลานั้นนครไฟร์เกียเป็นหนึ่งในนครที่มั่งคั่งและรุ่งเรืองที่สุดนครหนึ่งด้วยพระปรีชาสามารถในการบริหารปกครองของพระเจ้ากลอดิอุสตำนานที่เกี่ยวข้องผู้สัมผัสเป็นทองคำ ตำนานที่เกี่ยวข้อง. ผู้สัมผัสเป็นทองคำ. วันหนี่ง คิงไมดาสเสด็จประพาสยังริมฝั่งแม่น้ำซานการิอัสและได้พบ ไซเลนนัส พระอาจารย์ของเทพไดโอนีซุส เทพเจ้าแห่งไวน์และการเฉลิมฉลอง ผู้ซึ่งปลอมตัวเป็นชายชราขี้เมาผู้หนึ่งถูกมัดนอนกลิ้งอยู่กับพื้น พระองค์จึงเข้าไปช่วยแก้มัดให้แก้ท่านโดยในวันนั้น ไซเลนนัสที่กำลังเมาไวน์ได้ที่ เกิดพลัดกับขบวนของเทพไดโอนีซุสและได้ไปพบกับพวกชาวนาเข้า พวกชาวนามีความเชื่อว่า หากเจอไซเลนนัสตอนกำลังเมาให้จับตัวเขามัดไว้ โดยในขณะที่ถูกมัดนั้น จะสามารถถามเรื่องในอนาคตจากไซเลนนัสได้ หลังจากคิงไมดาสทรงช่วยไซเลนนัสเอาไว้ เทพไดโอนีซุสก็เสด็จมาถึง พระองค์ทรงโปรดปรานไมดาสเป็นอันมากที่ช่วยพระอาจารย์ของพระองค์ จึงทรงออกปากว่าจะให้พรแก่ไมดาสหนึ่งข้อตามแต่จะขอ ซึ่งเมื่อได้ยินดังนั้น คิงไมดาสก็ลืมองค์ปล่อยให้ความโลภเข้าครอบงำ จึงทรงขอพรแก่เทพไดโอนีซุสว่า ขอให้ทุกสิ่งที่ตนสัมผัสนั้นกลายเป็นทองคำทั้งหมด แม้เทพไดโอนีซุสจะทรงแปลกพระทัย แต่ก็ได้ประทานพรให้ตามที่คิงไมดาสได้ขอพรไว้ จากนั้นพระองค์และไซเลนนัสก็เสด็จจากไป ส่วนคิงไมดาสนั้นเมื่อได้พรแล้วก็ทรงทดลองด้วยการแตะของต่าง ๆ ในวังของพระองค์จนกลายเป็นทองคำไปหมด ยังความปรีดาให้แก่พระองค์เป็นอันมาก ทว่า เมื่อถึงเวลาที่จะเสวย คิงไมดาสก็ทรงพบว่า ทั้งอาหารและน้ำที่พระองค์สัมผัสกลายเป็นทองคำจนหมดสิ้น ทำให้พระองค์ไม่สามารถเสวยสิ่งใดได้เลย และที่เลวร้ายกว่านั้นก็คือ พระองค์เผลอไปโอบกอดพระธิดาของพระองค์ ทำให้พระธิดากลายเป็นรูปปั้นทองคำไป พระองค์ทรงเสียพระทัยเป็นอันมาก และได้สวดอ้อนวอนขอให้เทพไดโอนีซุสทรงเมตตาลบล้างพรที่ทรงประทานให้ ในที่สุด เทพเจ้าไดโอนีซุสทรงเกิดความสงสารจึงทรงให้บอกให้คิงไมดาสไปชำระล้างพรที่แม่น้ำแพคโตลัส พระองค์ทรงทำตามที่เทพเจ้าตรัสบอก และพรวิเศษก็หายไป พร้อมกับทุกสิ่งกลับคืนดังเดิม อย่างไรก็ตาม พรของไดโอนีซุสที่ถูกชำระล้าง ก็ได้ทำให้แม่น้ำทั้งสายกลายเป็นผงทองคำผู้มีหูเป็นลา ผู้มีหูเป็นลา. คิงไมดาส ได้ตัดสินให้เพื่อนตนเองคือมาร์มาสเป็นฝ่ายชนะเทพอพอลโลในการบรรเลงดนตรีแข่งกัน ประมาณว่าเพื่อนของตนเล่นเพราะกว่า เทพอพอลโลจึงได้ทรงจับพิณกลับหัวลงและบรรเลงเป็นเสียงดนตรีให้คิงไมดาสฟังว่าขนาดพระองค์เอาพิณกลับหัวเล่นยังเพราะกว่ามาร์มาส และมาร์มาสก็ไม่สามารถทำอย่างเทพอพอลโลได้ นั่นทำให้เทพอพอลลโลกริ้ว และได้สาปให้คิงไมดาสที่ตัดสินไม่ได้พระทัย โดยให้คิงไมดาสมีหูเป็นลาซะเลย ซึ่งทำให้คิงไมดาสอับอายมากจึงได้สวมหมวกทรงสูงตลอดเวลา มีเพียงช่างตัดผมส่วนพระองค์ของคิงไมดาสเองเท่านั้นที่รู้ว่าหูของคิงไมดาสเป็นหูลา แต่เขาเก็บความลับไม่ได้ จึงได้ไปตะโกนว่า “พระราชาไมดาสมีหูเป็นลา” ต้นอ้อบริเวณนั้นได้ยินจึงโอนเอนกระซิบบอกต่อกันไปเรื่อย ๆ จนข่าวกระจายทุกคนรู้กันไปทั่ว คิงไมดาสนั้นอับอายเป็นอันมากจึงได้สละบัลลังก์แล้วหนีไปซ่อนตัวในป่าไม่ให้ใครเห็นอีกเลย
| พระบิดาของไมดาส มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"พระเจ้ากลอดิอุส"
],
"answer_begin_position": [
167
],
"answer_end_position": [
182
]
} |
304 | 887,035 | พระเจ้าไมดาส ไมดาส เป็นชื่อของกษัตริย์ที่ปกครองนครไฟร์เกีย พระองค์เป็นพระโอรสของพระเจ้ากลอดิอุส โดยไมดาสสืบทอดพระราชสมบัติต่อจากพระบิดา ซึ่งในเวลานั้นนครไฟร์เกียเป็นหนึ่งในนครที่มั่งคั่งและรุ่งเรืองที่สุดนครหนึ่งด้วยพระปรีชาสามารถในการบริหารปกครองของพระเจ้ากลอดิอุสตำนานที่เกี่ยวข้องผู้สัมผัสเป็นทองคำ ตำนานที่เกี่ยวข้อง. ผู้สัมผัสเป็นทองคำ. วันหนี่ง คิงไมดาสเสด็จประพาสยังริมฝั่งแม่น้ำซานการิอัสและได้พบ ไซเลนนัส พระอาจารย์ของเทพไดโอนีซุส เทพเจ้าแห่งไวน์และการเฉลิมฉลอง ผู้ซึ่งปลอมตัวเป็นชายชราขี้เมาผู้หนึ่งถูกมัดนอนกลิ้งอยู่กับพื้น พระองค์จึงเข้าไปช่วยแก้มัดให้แก้ท่านโดยในวันนั้น ไซเลนนัสที่กำลังเมาไวน์ได้ที่ เกิดพลัดกับขบวนของเทพไดโอนีซุสและได้ไปพบกับพวกชาวนาเข้า พวกชาวนามีความเชื่อว่า หากเจอไซเลนนัสตอนกำลังเมาให้จับตัวเขามัดไว้ โดยในขณะที่ถูกมัดนั้น จะสามารถถามเรื่องในอนาคตจากไซเลนนัสได้ หลังจากคิงไมดาสทรงช่วยไซเลนนัสเอาไว้ เทพไดโอนีซุสก็เสด็จมาถึง พระองค์ทรงโปรดปรานไมดาสเป็นอันมากที่ช่วยพระอาจารย์ของพระองค์ จึงทรงออกปากว่าจะให้พรแก่ไมดาสหนึ่งข้อตามแต่จะขอ ซึ่งเมื่อได้ยินดังนั้น คิงไมดาสก็ลืมองค์ปล่อยให้ความโลภเข้าครอบงำ จึงทรงขอพรแก่เทพไดโอนีซุสว่า ขอให้ทุกสิ่งที่ตนสัมผัสนั้นกลายเป็นทองคำทั้งหมด แม้เทพไดโอนีซุสจะทรงแปลกพระทัย แต่ก็ได้ประทานพรให้ตามที่คิงไมดาสได้ขอพรไว้ จากนั้นพระองค์และไซเลนนัสก็เสด็จจากไป ส่วนคิงไมดาสนั้นเมื่อได้พรแล้วก็ทรงทดลองด้วยการแตะของต่าง ๆ ในวังของพระองค์จนกลายเป็นทองคำไปหมด ยังความปรีดาให้แก่พระองค์เป็นอันมาก ทว่า เมื่อถึงเวลาที่จะเสวย คิงไมดาสก็ทรงพบว่า ทั้งอาหารและน้ำที่พระองค์สัมผัสกลายเป็นทองคำจนหมดสิ้น ทำให้พระองค์ไม่สามารถเสวยสิ่งใดได้เลย และที่เลวร้ายกว่านั้นก็คือ พระองค์เผลอไปโอบกอดพระธิดาของพระองค์ ทำให้พระธิดากลายเป็นรูปปั้นทองคำไป พระองค์ทรงเสียพระทัยเป็นอันมาก และได้สวดอ้อนวอนขอให้เทพไดโอนีซุสทรงเมตตาลบล้างพรที่ทรงประทานให้ ในที่สุด เทพเจ้าไดโอนีซุสทรงเกิดความสงสารจึงทรงให้บอกให้คิงไมดาสไปชำระล้างพรที่แม่น้ำแพคโตลัส พระองค์ทรงทำตามที่เทพเจ้าตรัสบอก และพรวิเศษก็หายไป พร้อมกับทุกสิ่งกลับคืนดังเดิม อย่างไรก็ตาม พรของไดโอนีซุสที่ถูกชำระล้าง ก็ได้ทำให้แม่น้ำทั้งสายกลายเป็นผงทองคำผู้มีหูเป็นลา ผู้มีหูเป็นลา. คิงไมดาส ได้ตัดสินให้เพื่อนตนเองคือมาร์มาสเป็นฝ่ายชนะเทพอพอลโลในการบรรเลงดนตรีแข่งกัน ประมาณว่าเพื่อนของตนเล่นเพราะกว่า เทพอพอลโลจึงได้ทรงจับพิณกลับหัวลงและบรรเลงเป็นเสียงดนตรีให้คิงไมดาสฟังว่าขนาดพระองค์เอาพิณกลับหัวเล่นยังเพราะกว่ามาร์มาส และมาร์มาสก็ไม่สามารถทำอย่างเทพอพอลโลได้ นั่นทำให้เทพอพอลลโลกริ้ว และได้สาปให้คิงไมดาสที่ตัดสินไม่ได้พระทัย โดยให้คิงไมดาสมีหูเป็นลาซะเลย ซึ่งทำให้คิงไมดาสอับอายมากจึงได้สวมหมวกทรงสูงตลอดเวลา มีเพียงช่างตัดผมส่วนพระองค์ของคิงไมดาสเองเท่านั้นที่รู้ว่าหูของคิงไมดาสเป็นหูลา แต่เขาเก็บความลับไม่ได้ จึงได้ไปตะโกนว่า “พระราชาไมดาสมีหูเป็นลา” ต้นอ้อบริเวณนั้นได้ยินจึงโอนเอนกระซิบบอกต่อกันไปเรื่อย ๆ จนข่าวกระจายทุกคนรู้กันไปทั่ว คิงไมดาสนั้นอับอายเป็นอันมากจึงได้สละบัลลังก์แล้วหนีไปซ่อนตัวในป่าไม่ให้ใครเห็นอีกเลย
| พระเจ้าไมดาส ทรงปกครองนครที่มีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"นครไฟร์เกีย"
],
"answer_begin_position": [
134
],
"answer_end_position": [
145
]
} |
305 | 150,197 | นริศ อารีย์ นริศ อารีย์ (31 ธันวาคม พ.ศ. 2473 - 30 กันยายน พ.ศ. 2554) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุงรุ่นใหญ่ ที่ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในสามขุนพลเพลงลูกกรุง ร่วมกับ สุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร นริศ อารีย์ เป็นน้องชายแท้ๆของ วรนุช อารีย์ นักร้องนำวงสุนทราภรณ์ ชอบร้องเพลงประกวดตามงานวัด หลังจากชนะเลิศการประกวดร้องเพลงที่วิทยาลัยบพิตรพิมุขจึงได้เข้าสู่วงการ แสดงละครวิทยุและร้องเพลงกับคณะละครพันตรีศิลปะ และร้องเพลงสลับฉากที่ศาลาเฉลิมไทย และศาลาเฉลิมกรุง รุ่นเดียวกับสุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร เพลงของนริศ อารีย์ ที่มีชื่อเสียง คือเพลง "ชัวนิจนิรันดร" (พยงค์ มุกดา) "คอย" และ "สักวันหนึ่ง" (ป. ชื่นประโยชน์) "ผู้ครองรัก" และ "ผู้แพ้" (รัก รักษ์พงษ์ หรือ สมณะโพธิรักษ์) "เปียจ๋า" และ "ม่วยจ๋า" (สุรพล โทณะวณิก) "กลิ่นเกล้า" และ "แม้พี่นี้จะขี้เมา" (ไพบูลย์ บุตรขัน) นริศ อารีย์ เสียชีวิตในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ด้วยโรคพาร์กินสัน และโรคเบาหวาน ซึ่งตรงกับช่วงที่ กาเหว่า เสียงทอง ผู้เป็นนักร้องชาวไทย ได้เสียชีวิตในช่วงเดียวกัน
| พี่สาวแท้ๆ ของนริศ อารีย์ มีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"วรนุช อารีย์"
],
"answer_begin_position": [
311
],
"answer_end_position": [
323
]
} |
1,783 | 150,197 | นริศ อารีย์ นริศ อารีย์ (31 ธันวาคม พ.ศ. 2473 - 30 กันยายน พ.ศ. 2554) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุงรุ่นใหญ่ ที่ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในสามขุนพลเพลงลูกกรุง ร่วมกับ สุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร นริศ อารีย์ เป็นน้องชายแท้ๆของ วรนุช อารีย์ นักร้องนำวงสุนทราภรณ์ ชอบร้องเพลงประกวดตามงานวัด หลังจากชนะเลิศการประกวดร้องเพลงที่วิทยาลัยบพิตรพิมุขจึงได้เข้าสู่วงการ แสดงละครวิทยุและร้องเพลงกับคณะละครพันตรีศิลปะ และร้องเพลงสลับฉากที่ศาลาเฉลิมไทย และศาลาเฉลิมกรุง รุ่นเดียวกับสุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร เพลงของนริศ อารีย์ ที่มีชื่อเสียง คือเพลง "ชัวนิจนิรันดร" (พยงค์ มุกดา) "คอย" และ "สักวันหนึ่ง" (ป. ชื่นประโยชน์) "ผู้ครองรัก" และ "ผู้แพ้" (รัก รักษ์พงษ์ หรือ สมณะโพธิรักษ์) "เปียจ๋า" และ "ม่วยจ๋า" (สุรพล โทณะวณิก) "กลิ่นเกล้า" และ "แม้พี่นี้จะขี้เมา" (ไพบูลย์ บุตรขัน) นริศ อารีย์ เสียชีวิตในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 ด้วยโรคพาร์กินสัน และโรคเบาหวาน ซึ่งตรงกับช่วงที่ กาเหว่า เสียงทอง ผู้เป็นนักร้องชาวไทย ได้เสียชีวิตในช่วงเดียวกัน
| นริศ อารีย์ นักร้องเพลงลูกกรุงรุ่นใหญ่ เสียชีวิตลงเมื่อวันที่เท่าไร | {
"answer": [
"30"
],
"answer_begin_position": [
890
],
"answer_end_position": [
892
]
} |
306 | 751,974 | สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต) สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ นามเดิม ยัง ฉายา เขมาภิรโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดโสมนัสราชวรวิหาร เจ้าคณะใหญ่ผู้ช่วยคณะธรรมยุติกนิกาย และเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายเหนือประวัติกำเนิด ประวัติ. กำเนิด. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ มีนามเดิม ยัง เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2394 ตรงกับวันขึ้น 13 ค่ำ เดือน 12 ปีกุน บิดาเป็นชาวจีนชื่อยี่ มารดาเป็นชาวไทยชื่อขำเป็นข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อคลอดท่านแน่นิ่งไปจนมารดาบิดาเข้าใจว่าเสียชีวิต เกือบจะนำลงหม้ออยู่แล้ว ป้าของท่านมาดูเห็นว่ายังมีชีวิตอยู่จึงร้องขึ้นว่า "ยังไม่ตาย" ท่านจึงได้ชื่อว่ายัง เมื่อโตขึ้น ท่านเรียนหนังสือกับมารดา จนกระทั่งมารดาเสียชีวิตขณะท่านอายุได้ 11 ปี บิดาส่งท่านขึ้นเรือให้ไปเรียนที่ประเทศจีน แต่ท่านกระโดดหนีลงจากเรือแล้วไปอยู่กับน้าชายชื่อสิงห์โต ปีต่อมาบิดามารับท่านไปเรียนภาษาจีนที่ศาลเจ้าข้างวัดราชผาติการามวรวิหาร พออายุได้ 14 ปี บิดาให้ทำงานเป็นเสมียนกับพระเสนางควิจารณ์ (ยิ้ม) เมื่อายุได้ 15 ปี น้าที่เคยอุปการะท่านได้พาท่านไปเรียนกับพระครูเขมาภิมุข (อิ่ม) ที่วัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร ต่อมาย้ายไปศึกษากับพระอริยกระวี (ทิง) สมัยยังเป็นพระครูปลัด ฐานานุกรมในพระพรหมมุนี (ทับ พุทฺธสิริ)อุปสมบทและสอบปริยัติธรรม อุปสมบทและสอบปริยัติธรรม. ปีเถาะ พ.ศ. 2410 ได้บรรพชาเป็นสามเณร และเข้าสอบพระปริยัติธรรมที่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทเมื่อปีมะเมีย พ.ศ. 2413 ได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ถึงปีวอก พ.ศ. 2415 ได้อุปสมบทที่วัดโสมนัสวิหาร โดยมีพระพรหมมุนี (ทับ พุทฺธสิริ) เป็นพระอุปัชฌาย์ ศึกษาต่อแล้วเข้าสอบในปีชวด พ.ศ. 2419 ที่พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ได้อีก 2 ประโยคเป็นเปรียญธรรม 5 ประโยค และเข้าสอบครั้งสุดท้ายในปีมะเมีย พ.ศ. 2425 ที่พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ได้อีก 3 ประโยคเป็นเปรียญธรรม 8 ประโยคศาสนกิจ ศาสนกิจ. เมื่อตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสว่างลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์จะเลือกพระมหาเปรียญจากวัดโสมนัสวิหารมาเป็นเจ้าอาวาส ซึ่งขณะนั้นมีพระมหาเดช ฐานจาโร กับพระมหายัง เขมาภิรโต ได้ทูลปรึกษาสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) ทราบว่าพระมหายังเชี่ยวชาญเทศนาจึงเป็นที่นิยมของคฤหัสถ์ แต่พระมหาเดชเป็นที่รักใคร่นับถือของเพื่อนบรรพชิตมากกว่า ที่สุดทรงตัดสินพระทัยตั้งพระมหาเดชเป็นพระราชาคณะไปครองวัดเทพศิรินทราวาสตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2427 พระมหายังจึงอยู่วัดโสมนัสวิหารต่อมา จนได้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดโสมนัสวิหารตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2445 ตราบจนมรณภาพ ในสมัยของท่านวัดโสมนัสวิหารเจริญรุ่งเรืองมากเพราะท่านเชี่ยวชาญในการแสดงธรรมและการปฏิสังขรณ์ ด้านการศึกษา ในวันที่ 8 มกราคม ร.ศ. 114 ท่านได้รับพระราชทานตราตั้งเป็นกรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัยฝ่ายบรรพชิต และได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้สอบไล่พระปริยัติธรรมในกองเหนือใน ร.ศ. 120 ร.ศ. 121 ร.ศ. 122 เป็นต้น ถึงปี ร.ศ. 129 ท่านจึงได้เป็นแม่กองขวา ท่านเห็นชอบให้พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) สร้างอาคารเรียนขึ้นในวัดเพื่ออุทิศแก่คุณหญิงพึ่ง อาคารนี้ได้รับพระราชทานนามว่า "สาลักษณาลัย" ทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2460 และมอบให้กระทรวงศึกษาธิการใช้เป็นสถานศึกษาตั้งแต่วันนั้นสมณศักดิ์สมณศักดิ์. - 2 ตุลาคม พ.ศ. 2428 ตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระอมรโมฬี - 20 มีนาคม พ.ศ. 2434 พระราชทานเพิ่มนิตยภัตเป็นเดือนละสี่ตำลึงกึ่ง (เสมอพระราชาคณะชั้นเทพ) - 20 ธันวาคม พ.ศ. 2437 เลื่อนเป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพโมลี ตรีปิฎกธรา มหาธรรมกถึกคณฤศร บวรสังฆารามคามวาสี - 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2441 เลื่อนเป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมโกษาจารย์ สุนทรญาณนายก ตรีปิฎกมุนี มหาธิบดีศร บวรสังฆารามคามวาสี - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (นับแบบปัจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2444) ได้รับสถาปนาเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายเหนือที่ พระพิมลธรรมมหันตคุณ วิบุลยปรีชาญาณนายก ตรีปิฎกคุณาลังการภูสิต อุดรทิศคณะฤศร บวรสังฆารามคามวาสี - 25 มกราคม พ.ศ. 2453 (นับแบบปัจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2454) เลื่อนเป็นสมเด็จพระราชาคณะชั้นเจ้าคณะใหญ่ผู้ช่วยคณะธรรมยุติกนิกายที่ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ จาตุรงคประธานวิสุต พุทธสิริมธุรธรรมวาที คัมภีรญาณปริยัติโกศล วิมลศีลาจารวัตร์ เขมาภิรัตบริษัทประสาทกร ธรรมยุกติกคณิศรมหาสังฆนายก - 2 มกราคม พ.ศ. 2456 เลื่อนเป็นเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายเหนือ (ต่อมาวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2458 จึงโปรดให้พระธรรมวโรดม (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) บัญชาคณะสงฆ์ฝ่ายเหนือแทน)มรณภาพ มรณภาพ. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์เริ่มอาพาธด้วยโรคอัมพาตมาตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2459 จนถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2474 เวลา 20.20 น. สิริอายุได้ ในวันต่อมา เวลา 17.20 น. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสด็จแทนพระองค์ไปสรงน้ำศพ ได้รับพระราชทานโกศไม้สิบสองฉัตรเบญจา 1 สำรับ และโปรดให้มีพระสวดอภิธรรมเวลากลางคืนมีกำหนด 15 วัน วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2475 เจ้าภาพบำเพ็ญกุศลศพ วันต่อมา เวลา 15.00 น. พนักงานเชิญโกศศพขึ้นรถจตุรมุข ไปสมทบกับขบวนศพพระพรหมมุนี (แย้ม อุปวิกาโส) เข้าประตูสุสานหลวง วัดเทพศิรินทราวาส เวียนศพรอบเมรุแล้วยกขึ้นตั้งบนเชิงตะกอน ถึงเวลา 17.30 น. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานเพลิงศพแล้วเสด็จกลับ วันที่ 6 เมษายน เวลา 7:00 น. เจ้าภาพเก็บอัฐิ
| สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ มีพระนามเดิมว่าอะไร | {
"answer": [
"ยัง"
],
"answer_begin_position": [
174
],
"answer_end_position": [
177
]
} |
307 | 751,974 | สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ยัง เขมาภิรโต) สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ นามเดิม ยัง ฉายา เขมาภิรโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดโสมนัสราชวรวิหาร เจ้าคณะใหญ่ผู้ช่วยคณะธรรมยุติกนิกาย และเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายเหนือประวัติกำเนิด ประวัติ. กำเนิด. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ มีนามเดิม ยัง เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2394 ตรงกับวันขึ้น 13 ค่ำ เดือน 12 ปีกุน บิดาเป็นชาวจีนชื่อยี่ มารดาเป็นชาวไทยชื่อขำเป็นข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อคลอดท่านแน่นิ่งไปจนมารดาบิดาเข้าใจว่าเสียชีวิต เกือบจะนำลงหม้ออยู่แล้ว ป้าของท่านมาดูเห็นว่ายังมีชีวิตอยู่จึงร้องขึ้นว่า "ยังไม่ตาย" ท่านจึงได้ชื่อว่ายัง เมื่อโตขึ้น ท่านเรียนหนังสือกับมารดา จนกระทั่งมารดาเสียชีวิตขณะท่านอายุได้ 11 ปี บิดาส่งท่านขึ้นเรือให้ไปเรียนที่ประเทศจีน แต่ท่านกระโดดหนีลงจากเรือแล้วไปอยู่กับน้าชายชื่อสิงห์โต ปีต่อมาบิดามารับท่านไปเรียนภาษาจีนที่ศาลเจ้าข้างวัดราชผาติการามวรวิหาร พออายุได้ 14 ปี บิดาให้ทำงานเป็นเสมียนกับพระเสนางควิจารณ์ (ยิ้ม) เมื่อายุได้ 15 ปี น้าที่เคยอุปการะท่านได้พาท่านไปเรียนกับพระครูเขมาภิมุข (อิ่ม) ที่วัดเขมาภิรตารามราชวรวิหาร ต่อมาย้ายไปศึกษากับพระอริยกระวี (ทิง) สมัยยังเป็นพระครูปลัด ฐานานุกรมในพระพรหมมุนี (ทับ พุทฺธสิริ)อุปสมบทและสอบปริยัติธรรม อุปสมบทและสอบปริยัติธรรม. ปีเถาะ พ.ศ. 2410 ได้บรรพชาเป็นสามเณร และเข้าสอบพระปริยัติธรรมที่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทเมื่อปีมะเมีย พ.ศ. 2413 ได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ถึงปีวอก พ.ศ. 2415 ได้อุปสมบทที่วัดโสมนัสวิหาร โดยมีพระพรหมมุนี (ทับ พุทฺธสิริ) เป็นพระอุปัชฌาย์ ศึกษาต่อแล้วเข้าสอบในปีชวด พ.ศ. 2419 ที่พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ได้อีก 2 ประโยคเป็นเปรียญธรรม 5 ประโยค และเข้าสอบครั้งสุดท้ายในปีมะเมีย พ.ศ. 2425 ที่พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ได้อีก 3 ประโยคเป็นเปรียญธรรม 8 ประโยคศาสนกิจ ศาสนกิจ. เมื่อตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสว่างลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์จะเลือกพระมหาเปรียญจากวัดโสมนัสวิหารมาเป็นเจ้าอาวาส ซึ่งขณะนั้นมีพระมหาเดช ฐานจาโร กับพระมหายัง เขมาภิรโต ได้ทูลปรึกษาสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) ทราบว่าพระมหายังเชี่ยวชาญเทศนาจึงเป็นที่นิยมของคฤหัสถ์ แต่พระมหาเดชเป็นที่รักใคร่นับถือของเพื่อนบรรพชิตมากกว่า ที่สุดทรงตัดสินพระทัยตั้งพระมหาเดชเป็นพระราชาคณะไปครองวัดเทพศิรินทราวาสตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2427 พระมหายังจึงอยู่วัดโสมนัสวิหารต่อมา จนได้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดโสมนัสวิหารตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2445 ตราบจนมรณภาพ ในสมัยของท่านวัดโสมนัสวิหารเจริญรุ่งเรืองมากเพราะท่านเชี่ยวชาญในการแสดงธรรมและการปฏิสังขรณ์ ด้านการศึกษา ในวันที่ 8 มกราคม ร.ศ. 114 ท่านได้รับพระราชทานตราตั้งเป็นกรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัยฝ่ายบรรพชิต และได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้สอบไล่พระปริยัติธรรมในกองเหนือใน ร.ศ. 120 ร.ศ. 121 ร.ศ. 122 เป็นต้น ถึงปี ร.ศ. 129 ท่านจึงได้เป็นแม่กองขวา ท่านเห็นชอบให้พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) สร้างอาคารเรียนขึ้นในวัดเพื่ออุทิศแก่คุณหญิงพึ่ง อาคารนี้ได้รับพระราชทานนามว่า "สาลักษณาลัย" ทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2460 และมอบให้กระทรวงศึกษาธิการใช้เป็นสถานศึกษาตั้งแต่วันนั้นสมณศักดิ์สมณศักดิ์. - 2 ตุลาคม พ.ศ. 2428 ตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระอมรโมฬี - 20 มีนาคม พ.ศ. 2434 พระราชทานเพิ่มนิตยภัตเป็นเดือนละสี่ตำลึงกึ่ง (เสมอพระราชาคณะชั้นเทพ) - 20 ธันวาคม พ.ศ. 2437 เลื่อนเป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพโมลี ตรีปิฎกธรา มหาธรรมกถึกคณฤศร บวรสังฆารามคามวาสี - 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2441 เลื่อนเป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมโกษาจารย์ สุนทรญาณนายก ตรีปิฎกมุนี มหาธิบดีศร บวรสังฆารามคามวาสี - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (นับแบบปัจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2444) ได้รับสถาปนาเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายเหนือที่ พระพิมลธรรมมหันตคุณ วิบุลยปรีชาญาณนายก ตรีปิฎกคุณาลังการภูสิต อุดรทิศคณะฤศร บวรสังฆารามคามวาสี - 25 มกราคม พ.ศ. 2453 (นับแบบปัจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2454) เลื่อนเป็นสมเด็จพระราชาคณะชั้นเจ้าคณะใหญ่ผู้ช่วยคณะธรรมยุติกนิกายที่ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ จาตุรงคประธานวิสุต พุทธสิริมธุรธรรมวาที คัมภีรญาณปริยัติโกศล วิมลศีลาจารวัตร์ เขมาภิรัตบริษัทประสาทกร ธรรมยุกติกคณิศรมหาสังฆนายก - 2 มกราคม พ.ศ. 2456 เลื่อนเป็นเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายเหนือ (ต่อมาวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2458 จึงโปรดให้พระธรรมวโรดม (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) บัญชาคณะสงฆ์ฝ่ายเหนือแทน)มรณภาพ มรณภาพ. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์เริ่มอาพาธด้วยโรคอัมพาตมาตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2459 จนถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2474 เวลา 20.20 น. สิริอายุได้ ในวันต่อมา เวลา 17.20 น. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสด็จแทนพระองค์ไปสรงน้ำศพ ได้รับพระราชทานโกศไม้สิบสองฉัตรเบญจา 1 สำรับ และโปรดให้มีพระสวดอภิธรรมเวลากลางคืนมีกำหนด 15 วัน วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2475 เจ้าภาพบำเพ็ญกุศลศพ วันต่อมา เวลา 15.00 น. พนักงานเชิญโกศศพขึ้นรถจตุรมุข ไปสมทบกับขบวนศพพระพรหมมุนี (แย้ม อุปวิกาโส) เข้าประตูสุสานหลวง วัดเทพศิรินทราวาส เวียนศพรอบเมรุแล้วยกขึ้นตั้งบนเชิงตะกอน ถึงเวลา 17.30 น. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานเพลิงศพแล้วเสด็จกลับ วันที่ 6 เมษายน เวลา 7:00 น. เจ้าภาพเก็บอัฐิ
| สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ หนีการไปเรียนที่จีนโดยไปอยู่กับน้าชายมีชื่อว่าอะไร | {
"answer": [
"สิงห์โต"
],
"answer_begin_position": [
878
],
"answer_end_position": [
885
]
} |
308 | 574,011 | หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร นาวาตรี หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร (30 เมษายน พ.ศ. 2467) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 12 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ประสูติเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2467 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา (บุญยมาลิก) และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ทรงมีอนุชาและขนิษฐา ร่วมอุทร 2 องค์ คือ- หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง ชยางกูร (1 มิถุนายน พ.ศ. 2473) - หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร (10 มกราคม พ.ศ. 2476)กรณียกิจ กรณียกิจ. หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ได้ทรงปฏิบัติกรณียกิจในฐานะที่ทรงเป็นส่วนหนึ่งของราชสกุลชยางกูร อาทิ- เมื่อวันอาทิตย์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2558 หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา และสมาชิกราชสกุลชยางกูร เป็นเจ้าภาพในการสวดพระอภิธรรมพระศพสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) ณ ตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร - เมื่อวันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สมาชิกราชสกุลชยางกูร โดยมี หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช และหม่อมจรุงใจ ชยางกูร ณ อยุธยา ร่วมเป็นเจ้าภาพในการบำเพ็ญกุศลถวายพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวังชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา เสกสมรสกับชมชื่น โกมารกุล ณ นคร มีโอรส 1 คน คือ- หม่อมราชวงศ์พงษ์ไชยา ชยางกูร สมรสกับศรีรัตนา กัณหะยูวะ มีบุตร 2 คน คือ- หม่อมหลวงรัตนพงษ์ ชยางกูร - หม่อมหลวงอธิพรพงศ์ ชยางกูรเกียรติยศเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| พระมารดาของหม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา"
],
"answer_begin_position": [
264
],
"answer_end_position": [
294
]
} |
309 | 574,011 | หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร นาวาตรี หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร (30 เมษายน พ.ศ. 2467) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 12 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไทยพระประวัติ พระประวัติ. หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ประสูติเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2467 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป กับหม่อมแหวนศุลี ชยางกูร ณ อยุธยา (บุญยมาลิก) และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ทรงมีอนุชาและขนิษฐา ร่วมอุทร 2 องค์ คือ- หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง ชยางกูร (1 มิถุนายน พ.ศ. 2473) - หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช ชยางกูร (10 มกราคม พ.ศ. 2476)กรณียกิจ กรณียกิจ. หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ได้ทรงปฏิบัติกรณียกิจในฐานะที่ทรงเป็นส่วนหนึ่งของราชสกุลชยางกูร อาทิ- เมื่อวันอาทิตย์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2558 หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา และสมาชิกราชสกุลชยางกูร เป็นเจ้าภาพในการสวดพระอภิธรรมพระศพสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) ณ ตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร - เมื่อวันศุกร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สมาชิกราชสกุลชยางกูร โดยมี หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา หม่อมเจ้าอุทัยเที่ยง หม่อมเจ้าจรูญฤทธิเดช และหม่อมจรุงใจ ชยางกูร ณ อยุธยา ร่วมเป็นเจ้าภาพในการบำเพ็ญกุศลถวายพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวังชีวิตส่วนองค์ ชีวิตส่วนองค์. หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา เสกสมรสกับชมชื่น โกมารกุล ณ นคร มีโอรส 1 คน คือ- หม่อมราชวงศ์พงษ์ไชยา ชยางกูร สมรสกับศรีรัตนา กัณหะยูวะ มีบุตร 2 คน คือ- หม่อมหลวงรัตนพงษ์ ชยางกูร - หม่อมหลวงอธิพรพงศ์ ชยางกูรเกียรติยศเครื่องราชอิสริยาภรณ์
| โอรสของหม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมราชวงศ์พงษ์ไชยา ชยางกูร"
],
"answer_begin_position": [
1585
],
"answer_end_position": [
1613
]
} |
310 | 93,844 | เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) (21 เมษายน พ.ศ. 2410 - 1 มีนาคม พ.ศ. 2504) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม ระหว่าง 1 เมษายน พ.ศ. 2465 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469 รับตำแหน่งสืบต่อจากเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)ประวัติ ประวัติ. เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2410 ณ จวนเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี ซึ่งเดิมเป็นวังเจ้านคร จังหวัดนครศรีธรรมราช (ปัจจุบันเป็นศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช ) เป็นบุตรคนที่ 5 ของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนู ณ นคร) และเป็นบุตรคนเดียว ที่เกิดกับหม่อมนิ่ม ณ นคร พี่น้องต่างมารดา ของท่านเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต มีจำนวน 18 คน ดังนี้- คุณหญิงนุ้ยใหญ่ ณ ถลาง (ภรรยาพระยาสุนทราทรธุรกิจปรีชา หมี ณ ถลาง) - พระยานครกุลเชษฐ์มเหศรภักดี (เอียด ณ นคร) - นายชื่น ณ นคร - คุณนิล ณ นคร - เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต - นายแดง ณ นคร - คุณตลับ ณ นคร - คุณลิ้นจี่ ณ นคร ภรรยา พระพิสัยฯ - คุณขาว ณ นคร - คุณนุ่ม ณ นคร - คุณพริ้ง เภกะนันทน์ ภรรยา อำมาตย์โท พระวุฒิศาสตร์วินิจฉัย (ชิต เภกะนันทน์) - พระยาสุรเทพภักดี (พร้อม ณ นคร) - ขุนบริรักษ์ภูเบศร์ (แกะ ณ นคร) - คุณแห้ว ณ นคร - นายกลั่น ณ นคร - คุณผ่อง ณ นคร - คุณลวาด ณ นคร - คุณจำเริญ ณ นคร - นายไข่ ณ นคร ในวัยเยาว์ ได้ศึกษาหนังสือไทยและขอม ในสำนักเรียนครูคง เมืองนครศรีธรรมราช กับเรียนวิชาเลขไทย ในสำนักขุนกำจัดไพริน (เอี่ยม) จนถึงอายุ 13 ปี เมื่อได้ตัดจุกแล้ว ก็บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดพระธาตุเมืองนครศรีธรรมราช ต่อมาย้ายไปอยู่วัดใหม่กาแก้ว มีพระครูเทพมุนี (แก้ว) เป็นอุปัชฌาย์ ถึงปี พ.ศ. 2423 สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ได้ออกไปเมืองนครศรีธรรมราช จึงขอตัวท่านให้เข้ามารับราชการกับท่านที่กรุงเทพฯ ต่อมาก็ได้อยู่กับเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) และได้ถวายตัวเข้าเป็นนักเรียนนายร้อยทหารบก (ปัจจุบันคือโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า) เมื่อ พ.ศ. 2431 เป็นนักเรียนนายร้อย เลขประจำตัว 3 ของประเทศไทย ได้ศึกษา ณ พระราชวังสราญรมย์ จนสำเร็จการศึกษา และเลื่อนยศเป็นร้อยตรี ในปีถัดมา หลังจากนั้นจึงรับราชการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และความสามารถ จนมีความเจริญในราชการเป็นลำดับ คือ เป็นปลัดทัพบก ในปี พ.ศ. 2446 , เป็นปลัดทูลฉลองกระทรวงกลาโหม ใน พ.ศ. 2453 , เป็นผู้รั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม ใน พ.ศ. 2464 จนได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งเป็นเสนาบดีกระทรวงกลาโหมในที่สุด เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2465 ในระหว่างรับราชการ ได้เคยรับพระบรมราชโองการให้เป็นหัวหน้า ออกไปตรวจการที่ภาคพายัพ เพื่อจัดตั้งกองทหารในภาคนี้ และทำการปราบเงี้ยว ครั้งหนึ่ง เมื่อ พ.ศ. 2445 ต่อมาในปี พ.ศ. 2450 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เดินทางออกไปดูการประลองยุทธใหญ่ ที่ประเทศญี่ปุ่น และเมือ พ.ศ. 2453 ก็โปรดฯให้เป็นผู้ไปไต่สวนพวกจีน ที่จังหวัดแพร่ ซึ่งรวมตัวจะไปช่วยพวกกบฏที่ประเทศจีนกบฏ ร.ศ. 130 นอกจากนี้ ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง องคมนตรี ทั้งในรัชกาลที่ 6 และสืบมาถึงรัชกาลที่ 7 ด้วย ท่านเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2469 เพราะป่วย หลังจากนั้นก็ได้ใช้ชีวิตอย่างสงบ ณ บ้านของท่านซึ่งได้รับพระราชทาน ชื่อ "บ้านมหาโยธิน" ที่ถนนวิทยุ กรุงเทพฯ และบริจาคเงินบำรุงศาสนวัตถุ เช่นสร้างโบสถ์, ศาลาการเปรียญ, หล่อพระประธาน ไว้ประดิษฐานยังวัดทั้งในกรุงเทพฯ และบ้านเดิม นครศรีธรรมราช หลายคราว อนึ่ง เมื่อมีการพระราชทานนามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว นั้น ท่านเมื่อครั้งเป็น พลโท พระยาวรเดชศักดาวุธ ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานนามสกุลด้วยผู้หนึ่ง ทรงพิจารณาเห็นว่า วงศ์สกุลของท่าน ล้วนแต่ได้ดีมีชื่อเสียงกันจากนครศรีธรรมราชแทบทั้งนั้น จึงพระราชทานให้นามสกุลว่า "ณ นคร" (na Nagara) โดยมีคำว่า "ณ" เทียบกับคำว่า "De" ของสกุลขุนนางฝรั่ง สกุลนี้ได้รับพระราชทานเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2456 ด้านครอบครัว เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต สมรสกับท่านผู้หญิงเลียบ ธิดาหลวงสุนทรสินธพ (จอ ปัจฉิม) มีบุตร-ธิดารวม 4 คน คือ- คุณลาภ ณ นคร - นายหยิบ ณ นคร สมรสกับ คุณประนอม สุขุม - คุณพยุง ณ นคร สมรสกับ นายเสน่ห์ ณ นคร - ท่านผู้หญิงโพยม เสนีณรงค์ฤทธิ์ สมรสกับ พลตรี พระยาเสนีณรงค์ฤทธิ์ (หม่อมหลวงเล็ก สนิทวงศ์) เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) ถึงอสัญกรรมเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2504ยศ/บรรดาศักดิ์ยศ/บรรดาศักดิ์. - ยศ - วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2432 เป็นร้อยตรี - วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2435 เป็นร้อยเอก - วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2446 เป็นพันเอก - วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2462 เป็นพลเอก - บรรดาศักดิ์ - วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2440 เป็น หลวงรวบรัดสปัตรพล - วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2444 เป็น พระสุรเดชรณชิต - วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 เป็น พระยาวรเดชศักดาวุธ - วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2456 เป็น พระยาสีหราชเดโชไชย อภัยพิริยบรากรมพาหุ เจ้ากรมอาษาใหญ่ขวา ถือศักดินา 10000 - วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยา มีสมญาจารึกในหิรัญบัฏ ว่า เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต อดิศรมหาสวามิภักดิ์ อุดมศักดิ์เสนาบดี ศรีธรรมราชกุลพงศ์ ดำรงราชวรฤทธิ์ สัตยสถิตย์อาชวาศัย พุทธาทิไตรย์สรณธาดา อภัยพิริยบรากรมพาหุ ดำรงศักดินา 10000
| พระมารดาของเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต มีพระนามว่าอะไร | {
"answer": [
"หม่อมนิ่ม ณ นคร"
],
"answer_begin_position": [
652
],
"answer_end_position": [
667
]
} |
1,761 | 93,844 | เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) (21 เมษายน พ.ศ. 2410 - 1 มีนาคม พ.ศ. 2504) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม ระหว่าง 1 เมษายน พ.ศ. 2465 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469 รับตำแหน่งสืบต่อจากเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)ประวัติ ประวัติ. เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2410 ณ จวนเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี ซึ่งเดิมเป็นวังเจ้านคร จังหวัดนครศรีธรรมราช (ปัจจุบันเป็นศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช ) เป็นบุตรคนที่ 5 ของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนู ณ นคร) และเป็นบุตรคนเดียว ที่เกิดกับหม่อมนิ่ม ณ นคร พี่น้องต่างมารดา ของท่านเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต มีจำนวน 18 คน ดังนี้- คุณหญิงนุ้ยใหญ่ ณ ถลาง (ภรรยาพระยาสุนทราทรธุรกิจปรีชา หมี ณ ถลาง) - พระยานครกุลเชษฐ์มเหศรภักดี (เอียด ณ นคร) - นายชื่น ณ นคร - คุณนิล ณ นคร - เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต - นายแดง ณ นคร - คุณตลับ ณ นคร - คุณลิ้นจี่ ณ นคร ภรรยา พระพิสัยฯ - คุณขาว ณ นคร - คุณนุ่ม ณ นคร - คุณพริ้ง เภกะนันทน์ ภรรยา อำมาตย์โท พระวุฒิศาสตร์วินิจฉัย (ชิต เภกะนันทน์) - พระยาสุรเทพภักดี (พร้อม ณ นคร) - ขุนบริรักษ์ภูเบศร์ (แกะ ณ นคร) - คุณแห้ว ณ นคร - นายกลั่น ณ นคร - คุณผ่อง ณ นคร - คุณลวาด ณ นคร - คุณจำเริญ ณ นคร - นายไข่ ณ นคร ในวัยเยาว์ ได้ศึกษาหนังสือไทยและขอม ในสำนักเรียนครูคง เมืองนครศรีธรรมราช กับเรียนวิชาเลขไทย ในสำนักขุนกำจัดไพริน (เอี่ยม) จนถึงอายุ 13 ปี เมื่อได้ตัดจุกแล้ว ก็บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดพระธาตุเมืองนครศรีธรรมราช ต่อมาย้ายไปอยู่วัดใหม่กาแก้ว มีพระครูเทพมุนี (แก้ว) เป็นอุปัชฌาย์ ถึงปี พ.ศ. 2423 สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ได้ออกไปเมืองนครศรีธรรมราช จึงขอตัวท่านให้เข้ามารับราชการกับท่านที่กรุงเทพฯ ต่อมาก็ได้อยู่กับเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) และได้ถวายตัวเข้าเป็นนักเรียนนายร้อยทหารบก (ปัจจุบันคือโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า) เมื่อ พ.ศ. 2431 เป็นนักเรียนนายร้อย เลขประจำตัว 3 ของประเทศไทย ได้ศึกษา ณ พระราชวังสราญรมย์ จนสำเร็จการศึกษา และเลื่อนยศเป็นร้อยตรี ในปีถัดมา หลังจากนั้นจึงรับราชการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และความสามารถ จนมีความเจริญในราชการเป็นลำดับ คือ เป็นปลัดทัพบก ในปี พ.ศ. 2446 , เป็นปลัดทูลฉลองกระทรวงกลาโหม ใน พ.ศ. 2453 , เป็นผู้รั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม ใน พ.ศ. 2464 จนได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งเป็นเสนาบดีกระทรวงกลาโหมในที่สุด เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2465 ในระหว่างรับราชการ ได้เคยรับพระบรมราชโองการให้เป็นหัวหน้า ออกไปตรวจการที่ภาคพายัพ เพื่อจัดตั้งกองทหารในภาคนี้ และทำการปราบเงี้ยว ครั้งหนึ่ง เมื่อ พ.ศ. 2445 ต่อมาในปี พ.ศ. 2450 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เดินทางออกไปดูการประลองยุทธใหญ่ ที่ประเทศญี่ปุ่น และเมือ พ.ศ. 2453 ก็โปรดฯให้เป็นผู้ไปไต่สวนพวกจีน ที่จังหวัดแพร่ ซึ่งรวมตัวจะไปช่วยพวกกบฏที่ประเทศจีนกบฏ ร.ศ. 130 นอกจากนี้ ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง องคมนตรี ทั้งในรัชกาลที่ 6 และสืบมาถึงรัชกาลที่ 7 ด้วย ท่านเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2469 เพราะป่วย หลังจากนั้นก็ได้ใช้ชีวิตอย่างสงบ ณ บ้านของท่านซึ่งได้รับพระราชทาน ชื่อ "บ้านมหาโยธิน" ที่ถนนวิทยุ กรุงเทพฯ และบริจาคเงินบำรุงศาสนวัตถุ เช่นสร้างโบสถ์, ศาลาการเปรียญ, หล่อพระประธาน ไว้ประดิษฐานยังวัดทั้งในกรุงเทพฯ และบ้านเดิม นครศรีธรรมราช หลายคราว อนึ่ง เมื่อมีการพระราชทานนามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว นั้น ท่านเมื่อครั้งเป็น พลโท พระยาวรเดชศักดาวุธ ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานนามสกุลด้วยผู้หนึ่ง ทรงพิจารณาเห็นว่า วงศ์สกุลของท่าน ล้วนแต่ได้ดีมีชื่อเสียงกันจากนครศรีธรรมราชแทบทั้งนั้น จึงพระราชทานให้นามสกุลว่า "ณ นคร" (na Nagara) โดยมีคำว่า "ณ" เทียบกับคำว่า "De" ของสกุลขุนนางฝรั่ง สกุลนี้ได้รับพระราชทานเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2456 ด้านครอบครัว เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต สมรสกับท่านผู้หญิงเลียบ ธิดาหลวงสุนทรสินธพ (จอ ปัจฉิม) มีบุตร-ธิดารวม 4 คน คือ- คุณลาภ ณ นคร - นายหยิบ ณ นคร สมรสกับ คุณประนอม สุขุม - คุณพยุง ณ นคร สมรสกับ นายเสน่ห์ ณ นคร - ท่านผู้หญิงโพยม เสนีณรงค์ฤทธิ์ สมรสกับ พลตรี พระยาเสนีณรงค์ฤทธิ์ (หม่อมหลวงเล็ก สนิทวงศ์) เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) ถึงอสัญกรรมเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2504ยศ/บรรดาศักดิ์ยศ/บรรดาศักดิ์. - ยศ - วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2432 เป็นร้อยตรี - วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2435 เป็นร้อยเอก - วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2446 เป็นพันเอก - วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2462 เป็นพลเอก - บรรดาศักดิ์ - วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2440 เป็น หลวงรวบรัดสปัตรพล - วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2444 เป็น พระสุรเดชรณชิต - วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 เป็น พระยาวรเดชศักดาวุธ - วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2456 เป็น พระยาสีหราชเดโชไชย อภัยพิริยบรากรมพาหุ เจ้ากรมอาษาใหญ่ขวา ถือศักดินา 10000 - วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยา มีสมญาจารึกในหิรัญบัฏ ว่า เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต อดิศรมหาสวามิภักดิ์ อุดมศักดิ์เสนาบดี ศรีธรรมราชกุลพงศ์ ดำรงราชวรฤทธิ์ สัตยสถิตย์อาชวาศัย พุทธาทิไตรย์สรณธาดา อภัยพิริยบรากรมพาหุ ดำรงศักดินา 10000
| ท่านผู้หญิงเลียบคู่สมรสของเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต เป็นธิดาของใคร | {
"answer": [
"หลวงสุนทรสินธพ"
],
"answer_begin_position": [
3569
],
"answer_end_position": [
3583
]
} |
311 | 74,364 | ดัซโซลท์ มิราจ เอฟ1 ดัซโซลท์ มิราจ เอฟ1 () เป็นเครื่องบินขับไล่ที่มีชื่อเสียงและประสบความสำเร็จแบบหนึ่งของตระกูลมิราจ เริ่มทำการบินครั้งแรกในวันที่ 23 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1966 และประจำกองทัพฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1973รายละเอียด ดัซโซลท์ มิราจ เอฟ1 รายละเอียด ดัซโซลท์ มิราจ เอฟ1. ข้อมูลจำเพาะ- ผู้สร้าง :บริษัทดัซโซลท์-เบร์เกต์(ฝรั่งเศส) - ประเภท:เครื่องบินเจ็ตขับไล่เอนกประสงค์ที่นั่งเดียว - เครื่องยนต์:เทอร์โบเจ๊ต สเนคม่า(Snecma) เอต้า 9 เค-50 ให้แรงขับ 5000 กิโลกรัม และ 7200 กิโลกรัม เมื่อใช้สันดาปท้าย 1 เครื่อง - กางปีก: 8.40 เมตร - ยาว: 15 เมตร - สูง: 4.5 เมตร - พื้นที่ปีก: 25 ตารางเมตร - น้ำหนักเปล่า: 7400 กิโลกรัม - น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด: 14,900 กิโลกรัม - อัตราเร็ว: 2.2 มัค ที่ระยะสูง 12000 เมตร และ 1.2 มัค ที่ระยะสูง ระดับน้ำทะเล - อัตราไต่: 12,780 เมตร/นาที ที่ระดับน้ำทะเล - เพดานบินใช้งาน: 20,000 เมตร - พิสัยบิน: 3,300 กิโลเมตร เมื่อติดถังน้ำมันเชื้อเพลิงภายนอก และ 900 กิโลเมตร เมื่อติดอาวุธเต็มที่ - บินทน: 3 ชั่วโมง 45 นาที - อาวุธ:ปืนใหญ่อากาศ เดฟา ขนาด 30 มม. 2 กระบอก- อาวุธปล่อยอากาศสู่อากาศ มาทรา 530 แมจิค 1-3 นัด และ ไซด์ไวด์เดอร์ 2 นัดที่ปลายปีก
| เครื่องบินขับไล่ ดัซโซลท์ มิราจ เอฟ1 ของตระกูลมิราจ ได้ประจำกองทัพฝรั่งเศสในปีใด | {
"answer": [
"ปี ค.ศ. 1973"
],
"answer_begin_position": [
288
],
"answer_end_position": [
300
]
} |