question_id
int32
1
4k
article_id
int32
665
954k
context
stringlengths
158
87.3k
question
stringlengths
11
135
answers
sequence
164
933,649
<doc id="933649" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=933649" title="ปาเวล เนดเวต">ปาเวล เนดเวต ปาเวล เนดเวต (; เกิดวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1972) เป็นอดีตนักฟุตบอลอาชีพชาวเช็กเกียที่เคยเล่นในตำแหน่งกองกลาง และเป็นหนึ่งในนักฟุตบอลชาวเช็กเกียที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด เขาคว้าแชมป์ระดับประเทศและทวีปกับลาซีโอ ซึ่งชนะเลิศวินเนอร์สคัพสมัยสุดท้าย ส่วนในการเล่นกับยูเวนตุส เขาพาทีมเข้ารอบยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2003 เนดเวตเป็นผู้เล่นที่สำคัญคนหนึ่งของทีมชาติเช็กเกีย เขาเคยพาทีมชาติเข้าชิงชนะเลิศในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1996 และได้รับการแต่งตั้งเป็นกัปตันทีมในการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004 ที่เช็กเกียตกรอบรองชนะเลิศด้วยการแพ้กรีซ แต่เนดเวตก็ติดทีมยอดเยี่ยมประจำการแข่งขัน หลังจากนั้น เขาพาทีมชาติผ่านเข้าไปเล่นรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก 2006 นับเป็นครั้งแรกหลังจากที่เชโกสโลวะเกียแยกประเทศ ในการแข่งขัน เนดเวตมีการเล่นที่ว่องไวและกระปรี้กระเปร่า จนได้รับฉายาว่า "" ("Czech Fury") โดยแฟนชาวอิตาลี และฉายา "ปืนใหญ่ของเช็ก" โดยสื่อภาษาอังกฤษ ส่วนฉายาท้องถิ่นคือ Méďa ("หมีน้อย") เนื่องจากนามสกุลของเขาคล้ายคำว่า Medvěd ที่แปลว่าหมีในภาษาเช็ก เนดเวตได้รับรางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรปในปี ค.ศ. 2003 โดยเขาเป็นชาวเช็กคนแรกที่ได้รับรางวัลนี้ แต่เป็นครั้งแรกหลังจากการแยกประเทศของเชโกสโลวะเกีย ในช่วงการค้าแข้งของเขา เขาได้รางวัลส่วนตัวหลายรางวัล รวมไปถึงรางวัลเท้าทองคำสมัยที่สองในปี ค.ศ. 2004, นักฟุตบอลชาวเช็กยอดเยี่ยมแห่งปี (สี่สมัย) และลูกบอลทองคำ (หกสมัย) เขามีชื่อติดฟีฟ่า 100 โดยเปเล่ และติดทีมแห่งปีของยูฟ่าในปี ค.ศ. 2003, 2004 และ 2005 เขาเกษียณอาชีพหลังจบฤดูกาล 2008–09 สิ้นสุดการค้าแข้ง 19 ปี เขาลงเล่นเกมลีก 501 นัด (ยิงได้ 110 ประตู) และลงเล่นให้กับทีมชาติ 91 นัด (ยิงได้ 18 ประตู)สถิติอาชีพสโมสร สถิติอาชีพ. สโมสร. อ้างอิง: ลีก, โกปปาอีตาเลีย (ยูเวนตุส), การแข่งขันระดับทวีปยุโรป- หมายเหตุทีมชาติประตูในนามทีมชาติ ทีมชาติ. ประตูในนามทีมชาติ. อ้างอิง:เกียรติประวัติสโมสรเกียรติประวัติ. สโมสร. - สปาร์ตาปราก - เชโกสโลวักเฟิสต์ลีก: 1992–93 - เช็กเฟิสต์ลีก: 1993–94, 1994–95 - เช็กคัพ: 1996- ลาซีโอ - เซเรียอา: 1999–2000 - โกปปาอีตาเลีย: 1997–98, 1999–2000 - ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา: 1998, 2000 - ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ: 1998–99 - ยูฟ่าซูเปอร์คัพ: 1999 - ยูฟ่าคัพ: รองชนะเลิศ 1997–98- ยูเวนตุส - เซเรียอา: 2001–02, 2002–03 - ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา: 2002, 2003 - เซเรียบี: 2006–07 - ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก: รองชนะเลิศ 2002–03 - โกปปาอีตาเลีย: รองชนะเลิศ 2001–02, 2003–04ทีมชาติทีมชาติ. - เช็กเกีย - ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป:- รองชนะเลิศ: 1996 - รอบรองชนะเลิศ: 2004 - ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ:- อันดับที่สาม: 1997ส่วนตัวส่วนตัว. - ลูกบอลทองคำ: 1998, 2000, 2001, 2003, 2004, 2009 - Největší Čech (รายนามชาวเช็กที่ยิ่งใหญ่): อันดับที่ 41 - นักฟุตบอลชาวเช็กแห่งปี: 1998, 2000, 2003, 2004 - ทีมแห่งปีของสื่อกีฬายุโรป: 2000–01, 2002–03 - นักกีฬาแห่งปีของเช็กเกีย: 2003 - นักฟุตบอลแห่งปีของเซเรียอา: 2003 - นักฟุตบอลต่างประเทศแห่งปีเซเรียอา: 2003 - กองกลางแห่งปีของสโมสรยูฟ่า: 2002–03 - ผู้เล่นแห่งปีของเวิลด์ซอกเกอร์: 2003 - นักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรป: 2003 - ทีมแห่งปีของยูฟ่า: 2003, 2004, 2005 - ทีมยอดเยี่ยมของฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป: 2004 - เท้าทองคำ: 2004 - ฟีฟ่า 100: 2004 - รางวัลฟุตบอลระหว่างประเทศเอฟเอไอ – International Personality: 2012 - สุดยอดทีมแห่งปีของยูฟ่า (ตัวสำรอง; เผยแพร่ในปี ค.ศ. 2015)</doc>
ปาเวล เนดเวตได้รับการแต่งตั้งเป็นกัปตันทีมในการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปในปีใด
{ "answer": [ "2004" ], "answer_begin_position": [ 611 ], "answer_end_position": [ 615 ] }
2,316
933,649
<doc id="933649" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=933649" title="ปาเวล เนดเวต">ปาเวล เนดเวต ปาเวล เนดเวต (; เกิดวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1972) เป็นอดีตนักฟุตบอลอาชีพชาวเช็กเกียที่เคยเล่นในตำแหน่งกองกลาง และเป็นหนึ่งในนักฟุตบอลชาวเช็กเกียที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด เขาคว้าแชมป์ระดับประเทศและทวีปกับลาซีโอ ซึ่งชนะเลิศวินเนอร์สคัพสมัยสุดท้าย ส่วนในการเล่นกับยูเวนตุส เขาพาทีมเข้ารอบยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2003 เนดเวตเป็นผู้เล่นที่สำคัญคนหนึ่งของทีมชาติเช็กเกีย เขาเคยพาทีมชาติเข้าชิงชนะเลิศในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1996 และได้รับการแต่งตั้งเป็นกัปตันทีมในการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004 ที่เช็กเกียตกรอบรองชนะเลิศด้วยการแพ้กรีซ แต่เนดเวตก็ติดทีมยอดเยี่ยมประจำการแข่งขัน หลังจากนั้น เขาพาทีมชาติผ่านเข้าไปเล่นรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก 2006 นับเป็นครั้งแรกหลังจากที่เชโกสโลวะเกียแยกประเทศ ในการแข่งขัน เนดเวตมีการเล่นที่ว่องไวและกระปรี้กระเปร่า จนได้รับฉายาว่า "" ("Czech Fury") โดยแฟนชาวอิตาลี และฉายา "ปืนใหญ่ของเช็ก" โดยสื่อภาษาอังกฤษ ส่วนฉายาท้องถิ่นคือ Méďa ("หมีน้อย") เนื่องจากนามสกุลของเขาคล้ายคำว่า Medvěd ที่แปลว่าหมีในภาษาเช็ก เนดเวตได้รับรางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรปในปี ค.ศ. 2003 โดยเขาเป็นชาวเช็กคนแรกที่ได้รับรางวัลนี้ แต่เป็นครั้งแรกหลังจากการแยกประเทศของเชโกสโลวะเกีย ในช่วงการค้าแข้งของเขา เขาได้รางวัลส่วนตัวหลายรางวัล รวมไปถึงรางวัลเท้าทองคำสมัยที่สองในปี ค.ศ. 2004, นักฟุตบอลชาวเช็กยอดเยี่ยมแห่งปี (สี่สมัย) และลูกบอลทองคำ (หกสมัย) เขามีชื่อติดฟีฟ่า 100 โดยเปเล่ และติดทีมแห่งปีของยูฟ่าในปี ค.ศ. 2003, 2004 และ 2005 เขาเกษียณอาชีพหลังจบฤดูกาล 2008–09 สิ้นสุดการค้าแข้ง 19 ปี เขาลงเล่นเกมลีก 501 นัด (ยิงได้ 110 ประตู) และลงเล่นให้กับทีมชาติ 91 นัด (ยิงได้ 18 ประตู)สถิติอาชีพสโมสร สถิติอาชีพ. สโมสร. อ้างอิง: ลีก, โกปปาอีตาเลีย (ยูเวนตุส), การแข่งขันระดับทวีปยุโรป- หมายเหตุทีมชาติประตูในนามทีมชาติ ทีมชาติ. ประตูในนามทีมชาติ. อ้างอิง:เกียรติประวัติสโมสรเกียรติประวัติ. สโมสร. - สปาร์ตาปราก - เชโกสโลวักเฟิสต์ลีก: 1992–93 - เช็กเฟิสต์ลีก: 1993–94, 1994–95 - เช็กคัพ: 1996- ลาซีโอ - เซเรียอา: 1999–2000 - โกปปาอีตาเลีย: 1997–98, 1999–2000 - ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา: 1998, 2000 - ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ: 1998–99 - ยูฟ่าซูเปอร์คัพ: 1999 - ยูฟ่าคัพ: รองชนะเลิศ 1997–98- ยูเวนตุส - เซเรียอา: 2001–02, 2002–03 - ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา: 2002, 2003 - เซเรียบี: 2006–07 - ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก: รองชนะเลิศ 2002–03 - โกปปาอีตาเลีย: รองชนะเลิศ 2001–02, 2003–04ทีมชาติทีมชาติ. - เช็กเกีย - ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป:- รองชนะเลิศ: 1996 - รอบรองชนะเลิศ: 2004 - ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ:- อันดับที่สาม: 1997ส่วนตัวส่วนตัว. - ลูกบอลทองคำ: 1998, 2000, 2001, 2003, 2004, 2009 - Největší Čech (รายนามชาวเช็กที่ยิ่งใหญ่): อันดับที่ 41 - นักฟุตบอลชาวเช็กแห่งปี: 1998, 2000, 2003, 2004 - ทีมแห่งปีของสื่อกีฬายุโรป: 2000–01, 2002–03 - นักกีฬาแห่งปีของเช็กเกีย: 2003 - นักฟุตบอลแห่งปีของเซเรียอา: 2003 - นักฟุตบอลต่างประเทศแห่งปีเซเรียอา: 2003 - กองกลางแห่งปีของสโมสรยูฟ่า: 2002–03 - ผู้เล่นแห่งปีของเวิลด์ซอกเกอร์: 2003 - นักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรป: 2003 - ทีมแห่งปีของยูฟ่า: 2003, 2004, 2005 - ทีมยอดเยี่ยมของฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป: 2004 - เท้าทองคำ: 2004 - ฟีฟ่า 100: 2004 - รางวัลฟุตบอลระหว่างประเทศเอฟเอไอ – International Personality: 2012 - สุดยอดทีมแห่งปีของยูฟ่า (ตัวสำรอง; เผยแพร่ในปี ค.ศ. 2015)</doc>
ปาเวล เนดเวตนักฟุตบอลอาชีพชาวเช็กเกีย เกิดวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "30" ], "answer_begin_position": [ 127 ], "answer_end_position": [ 129 ] }
165
287,905
<doc id="287905" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=287905" title="ซานเตียโก กาลาตราบา">ซานเตียโก กาลาตราบา ซานเตียโก กาลาตราบา บัลส์ (บาเลนเซีย: Santiago Calatrava Valls) เป็นทั้งสถาปนิก วิศวกรโครงสร้าง และประติมากรชาวสเปน เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 ในเมืองเบนีมาเมต ประเทศสเปนการศึกษา การศึกษา. กาลาตราบาเรียนโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่บาเลนเซีย นอกจากนี้ยังเข้าเรียนในโรงเรียนวิจิตรศิลป์เพื่อเตรียมความรู้เกี่ยวกับการวาดรูปตั้งแต่อายุ 8 ปี จากนั้นจึงเข้าศึกษาปริญญาตรีในสาขาสถาปัตยกรรมที่สำนักวิชาสถาปัตยกรรมแห่งมหาวิทยาลัยสารพัดช่างบาเลนเซีย และศึกษาต่อในด้านการผังเมืองที่นี่ด้วย ต่อมาในปี ค.ศ. 1975 เขาก็เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกสาขาวิศวกรรมโยธาที่สถาบันเทคโนโลยีสวิสที่เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และในปี ค.ศ. 1981 หลังจากเสร็จจากการทำวิทยานิพนธ์ในหัวข้อโครงสร้างรับแรงแบบ Space Frames กาลาตราบาก็เริ่มอาชีพสถาปนิกพร้อมทั้งวิศวกรของเขาชีวิตการทำงาน ชีวิตการทำงาน. ชีวิตการทำงานเริ่มแรกของกาลาตราบามักจะเป็นงานเกี่ยวกับการสร้างสะพานและสถานีรถไฟเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งทำให้ตัวของกาลาตราบาเองสามารถพัฒนาความรู้และความสามารถทางวิศวกรรมโยธายิ่งขึ้นไปอีก งานสถาปัตยกรรมที่เป็นจุดเปลี่ยนแปลงในอาชีพของเขาคือ หอการสื่อสารมุนชูอิก (Montjuic Communications Tower) ปี ค.ศ. 1991 ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางมหกรรมกีฬาโอลิมปิก 1992 ที่บาร์เซโลนา ประเทศสเปน และนี่ทำให้เขาได้รับการยกย่องและสร้างชื่อเสียงให้กับตัวเอง อีกทั้งยังทำให้เขาได้รับการเสนอชื่อให้เป็นสถาปนิกออกแบบในโครงการอื่น ๆ อีกมากมาย ในปี ค.ศ. 2001 กาลาตราบาได้ออกแบบอาคารในสหรัฐอเมริกาอาคารแรกของเขา ซึ่งก็คือ ศาลากวาดรัชชี (Quadracci Pavilion) ในพิพิธภัณฑ์ศิลปะมิลวอกีที่ทะเลสาบมิชิแกนในรัฐวิสคอนซิน กาลาตราบาได้แรงบันดาลใจมาจากการเคลื่อนไหวของสัตว์ เช่น นกและปลาวาฬ ซึ่งเป็นจุดเด่นที่ทำให้งานสถาปัตยกรรมของเค้านั้นโดดเด่น มีกลไกเคลื่อนไหวเข้ามาผสมผสาน เกิดเป็นประติมากรรมชิ้นเยี่ยม อีกทั้งตัวตึกยังมีโครงสร้างที่น่าตื่นตาที่เกิดจากการออกแบบอย่างแยบยล นำเทคโนโลยีการก่อสร้างชั้นสูง รวมทั้งงานก่อสร้างที่ต้องใช้ความพิถีพิถันจากช่างฝีมือมากประสบการณ์ กาลาตราบาเริ่มงานออกแบบตึกสูง ซึ่งก็คือตึกบิดที่มีชื่อว่า เทิร์นนิงทอร์โซ (Turning Torso) ตั้งอยู่ที่เมืองมัลเมอ ประเทศสวีเดน ซึ่งนับว่าเป็นอาคารที่สูงสุดในแถบสแกนดิเนเวีย ด้วยความสูง 190 เมตร 54 ชั้น และนับว่าเป็นอาคารพักอาศัยที่สูงเป็นอันดับสองในยุโรป เทิร์นนิงทอร์โซเปรียบได้กับงานประติมากรรมซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากการเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์ การบิดเอี้ยวแล้วจึงก่อนพัฒนาขึ้นมาเป็นรูปร่างซึ่งประกอบกันด้วยอาคารสำนักงานที่อยู่ส่วนล่างครอบคลุมชั้น 1-2 และชั้นที่ 3 ถึง 9 เป็นอพาร์ตเมนต์หรูจำนวน 147 ยูนิต 2 ชั้นบนสุด เป็นห้องประชุมสัมมนา งานสถาปัตยกรรมชิ้นล่าสุดที่กาลาตราบากำลังออกแบบอยู่คือสถานีขนส่งเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ที่กราวนด์ซีโร นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา กาลาตราบานับได้ว่าเป็นสถาปนิกคนหนึ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก สถาปัตยกรรมของเขาเกิดจากผสมผสานที่ลงตัวของเส้นสายสถาปัตยกรรมและโครงสร้างที่น่าทึ่งซึ่งเกิดจากพื้นฐานวิศวกรรมของเขา การศึกษารูปแบบของการเคลื่อนไหวในธรรมชาติ ทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ และนำมาใช้ประยุกต์ในสถาปัตยกรรม ผลงานของซานเตียโก กาลาตราบาเรียกได้ว่าเป็นงานที่มีรูปแบบที่แตกต่าง แปลกใหม่ และมีความเป็นตัวเองผลงานงานที่สร้างเสร็จแล้วผลงาน. งานที่สร้างเสร็จแล้ว. - ค.ศ. 1903 สะพานทรินิตี เป็นสะพานเดินข้ามแม่น้ำเนวา เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย - สะพานอาลาเมดาและสถานีรถไฟใต้ดิน, บาเลนเซีย ประเทศสเปน - ค.ศ. 1983-1984 โกดังเหล็กยาเคม, มึนช์วีเลิน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1983-1985 โกดังแอร์นสทิง, โคสเฟลด์ ประเทศเยอรมนี - ค.ศ. 1983-1988 โรงเรียนมัธยมโวเลิน, โวเลิน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1983-1990 สถานีรถไฟชตาเดลโฮเฟิน, ซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1983-1989 ลูเซิร์นสเตชันฮอลล์, ลูเซิร์น ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1984-1987 สะพานบักเดโรดา, บาร์เซโลนา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1984-1988 ศูนย์ชุมชนบาเรนมัทเทอ, ซูร์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1986-1987 โรงละคร Tabourettli, บาเซิล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1987-1992 ลานกลางอาคารบีซีอีเพลซ, โทรอนโต ประเทศแคนาดา - ค.ศ. 1989-1994 สถานีรถไฟลียง-แซงเตกซูเปรี, ลียง ประเทศฝรั่งเศส - ค.ศ. 1992 (สะพาน) ปูเอนเตเดลอาลามีโย, เซบียา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1992 (สะพาน) ปูเอนเดลูซีตาเนีย, เมรีดา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1992 หอการสื่อสารมุนชูอิกที่วงแหวนโอลิมปิก, บาร์เซโลนา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1992 ศาลาคูเวตในเวิลด์แฟร์, เซบียา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1994 (สะพาน) โอเบอร์เบาม์บรึคเคอ, เบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี (บูรณะใหม่) - ค.ศ. 1994-1997 สะพานกัมโปโบลันติน, บิลบาโอ ประเทศสเปน - ค.ศ. 1996-2009 นครศิลปะและวิทยาศาสตร์, เมืองนเซีย ประเทศสเปน - ค.ศ. 1996 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมนานาชาติเตเนรีเฟ, ซานตากรุซเดเตเนรีเฟ หมู่เกาะคะเนรี ประเทศสเปน - ค.ศ. 1998 (สถานีขนส่ง) การีดูโอรีเองตี, ลิสบอน ประเทศโปรตุเกส - ค.ศ. 1998 (สะพาน) ปูเอนเตเดลามูเคร์, บัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา - ค.ศ. 2000 อาคารผู้โดยสารแห่งใหม่ ท่าอากาศยานบิลบาโอ, บิลบาโอ ประเทศสเปน - ค.ศ. 2001 ศาลากวาดรัชชีในพิพิธภัณฑ์ศิลปะมิลวอกี, มิลวอกี สหรัฐอเมริกา - ค.ศ. 2003 สะพานเจมส์ จอยซ์, ดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ - ค.ศ. 2003 หอประชุมเตเนรีเฟ, ซานตากรุซเดเตเนรีเฟ ประเทศสเปน - ค.ศ. 2004 เอเธนส์โอลิมปิกสปอตส์คอมเพลกซ์, เอเธนส์ ประเทศกรีซ (ปรับรูปแบบ) - ค.ศ. 2004 สะพานซันเดียลที่อ่าวเทอร์เทิล, เรดดิง รัฐแคลิฟอร์เนีย ประสหรัฐอเมริกา - ค.ศ. 2004 สะพานข้ามคลอง 3 แห่งที่ฮาร์เลมเมอร์เมร์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ - ค.ศ. 2004 (ห้องสมุด) บีบลีโอเทคไซน์เบา มหาวิทยาลัยซูริก, ซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (ปรับรูปแบบ) - ค.ศ. 2005 สะพานเชื่อมศูนย์การค้าโอนาฟและศูนย์การแพทย์ราบิน, เปตะห์ติกวา ประเทศอิสราเอล - ค.ศ. 2005 เทิร์นนิงทอร์โซ, มัลเมอ ประเทศสวีเดน - ค.ศ. 2007 สะพาน 3 แห่งบนทางพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข A1 และทางรถไฟความเร็วสูง, เรจโจเอมีเลีย ประเทศอิตาลี - ค.ศ. 2008 เยรูซาเลมคอดส์บริดจ์ สะพานทางรถไฟก่อนเข้ากรุงเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล - ค.ศ. 2008 ปอนเตเดลลากอสตีตูซีโอเน สะพานเดินเท้าข้ามคลองใหญ่, เวนิส ประเทศอิตาลี - ค.ศ. 2009 สถานีรถไฟลีแยช-กีเยอแมง, ลีแยช ประเทศเบลเยียม - ค.ศ. 2009 สะพานซามูเอล เบกเคตต์, ดับลิน ประเทศไอร์แลนด์งานที่อยู่ในระหว่างการก่อสร้างงานที่อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง. - สถานีขนส่งเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา - แอตแลนตาซิมโฟนีเซนเตอร์, แอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา - ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม, โอเบียโด ประเทศสเปน - ชิคาโกสไปร์ ด้วยความสูง 2,000 ฟุต (610 เมตร) ซึ่งจะถือได้ว่าเป็นตึกที่สูงที่สุดในอเมริกาเหนือ คาดว่าจะสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 2012 - สะพานมาร์กาเรตฮันต์ฮิลล์, แดลลัส รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา - สถานีรถไฟเมดีโอปาดานา, เรจโจเอมีเลีย ประเทศอิตาลี - มหาวิทยาลัยมาสทริชท์ (วิทยาเขต), มาสทริชท์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ - โรงอุปรากรเมืองปัลมาเดมายอร์กา ประเทศสเปน - ตึกสูงกลางน้ำบนแม่น้ำลิฟฟีย์ ดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ - กาคามาดริดโอเบลิสก์, มาดริด ประเทศสเปน - สะพานสันติภาพ, แคลกะรี ประเทศแคนาดา - สถานีรถไฟแห่งใหม่ในเมืองมงส์ ประเทศเบลเยียม - สถานีรถไฟและสะพานอีก 2 แห่ง ท่าอากาศยานนานาชาติเดนเวอร์ สหรัฐอเมริกา - (พิพิธภัณฑ์) มูเซวดูอามันยัง, รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิลรางวัลและเกียรติคุณ รางวัลและเกียรติคุณ. ซานเตียโก กาลาตราบาถือได้ว่าเป็นสถาปนิกที่มีชื่อเสียงได้รับการยกย่องและกล่าวถึงอย่างแพร่หลายในวงการสถาปนิกระดับโลก เขาได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมายดังต่อไปนี้- ค.ศ. 1979 รางวัลออกูสต์ แปเร (Auguste Perret Award) - ค.ศ. 1990 รางวัล Médaille d´Argent de la Recherche et de la Technique ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส - ค.ศ. 1992 เหรียญทองเกียรติยศ จากสถาบันวิศวกรโครงสร้างแห่งลอนดอน (London Institution of Structural Engineers) - ค.ศ. 1993 รางวัลงานออกแบบชุมชนเมือง เทศบาลนครโทรอนโต - ค.ศ. 1996 เหรียญทองเกียรติยศสาขางานวิจิตรศิลป์ยอดเยี่ยม จากกระทรวงวัฒนธรรม ที่เมืองกรานาดา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1999 รางวัลเจ้าชายแห่งอัสตูเรียส (Prince of Asturias Award) สาขาศิลปกรรมศาสตร์ - ค.ศ. 2000 รางวัลแอลเกอร์ เอช. เมโดวส์ (Algur H. Meadows Award) จากสำนักวิชาศิลปศาสตร์เมโดวส์ มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นเมโทดิสต์ - ค.ศ. 2004 เหรียญทองเกียรติยศจากสถาบันสถาปนิกอเมริกัน - ค.ศ. 2005 เหรียญทองเกียรติยศจากสถาบันสถาปนิกอเมริกัน - ค.ศ. 2006 รางวัลยูจีน แมกเดอร์มอตต์ (Eugene McDermott Award) จากสภาศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ซึ่งถือว่าเป็นรางวัลที่ยิ่งใหญ่ในวงการศิลปะของสหรัฐอเมริกา - ค.ศ. 2006 ปริญญาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากสถาบันสารพัดช่างเรนส์เลียร์ - ค.ศ. 2006 ได้รับการแต่งตั้งเป็น Global Leader for Tomorrow จากเวิลด์อีโคโนมิกฟอรัมในเมืองดาวอส - ค.ศ. 2006 ปริญญาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย - ค.ศ. 2007 รางวัลสถาปัตยกรรมแห่งชาติสเปนเสียงวิพากษ์วิจารณ์ เสียงวิพากษ์วิจารณ์. งานของกาลาตราบาที่เมืองบิลบาโอ ประเทศสเปน ถูกวิจารณ์ว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่ไม่เหมาะสมสำหรับการใช้งานจริงเท่าที่ควร ตัว สนามบินขาดความสะดวกและพื้นที่เป็นกระเบื้องกระจกก็มีความลื่นเกินไปในสภาพอากาศของเมืองบิลบาโอ กาลาตราบายังเป็นผู้วางโครงการสร้างสะพานข้ามคลองใหญ่ () ที่เมืองเวนิส ประเทศอิตาลี ซึ่งเริ่มในปี ค.ศ. 1996 แต่ในปี ค.ศ. 2007 โครงการนี้ก็ยังไม่เสร็จเนื่องจากแบบของโครงสร้างได้ถูกเปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย ๆ เพื่อให้สะพานมีน้ำหนักไม่มากเกินไป เพราะจะทำให้ฝั่งคลองยุบลงได้ ในช่วง 10 ปีมานี้ได้มีการเปลี่ยนที่ปรึกษาทางวิศวกรรมถึง 8 บริษัท และจากการที่งานเสร็จล่าช้าทำให้งบประมาณของโครงการเพิ่มขึ้น 3 เท่าจากงบประมาณเดิม โครงการนี้สร้างเสร็จในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2008</doc>
บ้านเกิดของซานเตียโก กาลาตราบา บัลส์ อยู่ที่เมืองใดของประเทศสเปน
{ "answer": [ "เมืองเบนีมาเมต" ], "answer_begin_position": [ 269 ], "answer_end_position": [ 283 ] }
1,489
287,905
<doc id="287905" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=287905" title="ซานเตียโก กาลาตราบา">ซานเตียโก กาลาตราบา ซานเตียโก กาลาตราบา บัลส์ (บาเลนเซีย: Santiago Calatrava Valls) เป็นทั้งสถาปนิก วิศวกรโครงสร้าง และประติมากรชาวสเปน เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 ในเมืองเบนีมาเมต ประเทศสเปนการศึกษา การศึกษา. กาลาตราบาเรียนโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่บาเลนเซีย นอกจากนี้ยังเข้าเรียนในโรงเรียนวิจิตรศิลป์เพื่อเตรียมความรู้เกี่ยวกับการวาดรูปตั้งแต่อายุ 8 ปี จากนั้นจึงเข้าศึกษาปริญญาตรีในสาขาสถาปัตยกรรมที่สำนักวิชาสถาปัตยกรรมแห่งมหาวิทยาลัยสารพัดช่างบาเลนเซีย และศึกษาต่อในด้านการผังเมืองที่นี่ด้วย ต่อมาในปี ค.ศ. 1975 เขาก็เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกสาขาวิศวกรรมโยธาที่สถาบันเทคโนโลยีสวิสที่เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และในปี ค.ศ. 1981 หลังจากเสร็จจากการทำวิทยานิพนธ์ในหัวข้อโครงสร้างรับแรงแบบ Space Frames กาลาตราบาก็เริ่มอาชีพสถาปนิกพร้อมทั้งวิศวกรของเขาชีวิตการทำงาน ชีวิตการทำงาน. ชีวิตการทำงานเริ่มแรกของกาลาตราบามักจะเป็นงานเกี่ยวกับการสร้างสะพานและสถานีรถไฟเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งทำให้ตัวของกาลาตราบาเองสามารถพัฒนาความรู้และความสามารถทางวิศวกรรมโยธายิ่งขึ้นไปอีก งานสถาปัตยกรรมที่เป็นจุดเปลี่ยนแปลงในอาชีพของเขาคือ หอการสื่อสารมุนชูอิก (Montjuic Communications Tower) ปี ค.ศ. 1991 ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางมหกรรมกีฬาโอลิมปิก 1992 ที่บาร์เซโลนา ประเทศสเปน และนี่ทำให้เขาได้รับการยกย่องและสร้างชื่อเสียงให้กับตัวเอง อีกทั้งยังทำให้เขาได้รับการเสนอชื่อให้เป็นสถาปนิกออกแบบในโครงการอื่น ๆ อีกมากมาย ในปี ค.ศ. 2001 กาลาตราบาได้ออกแบบอาคารในสหรัฐอเมริกาอาคารแรกของเขา ซึ่งก็คือ ศาลากวาดรัชชี (Quadracci Pavilion) ในพิพิธภัณฑ์ศิลปะมิลวอกีที่ทะเลสาบมิชิแกนในรัฐวิสคอนซิน กาลาตราบาได้แรงบันดาลใจมาจากการเคลื่อนไหวของสัตว์ เช่น นกและปลาวาฬ ซึ่งเป็นจุดเด่นที่ทำให้งานสถาปัตยกรรมของเค้านั้นโดดเด่น มีกลไกเคลื่อนไหวเข้ามาผสมผสาน เกิดเป็นประติมากรรมชิ้นเยี่ยม อีกทั้งตัวตึกยังมีโครงสร้างที่น่าตื่นตาที่เกิดจากการออกแบบอย่างแยบยล นำเทคโนโลยีการก่อสร้างชั้นสูง รวมทั้งงานก่อสร้างที่ต้องใช้ความพิถีพิถันจากช่างฝีมือมากประสบการณ์ กาลาตราบาเริ่มงานออกแบบตึกสูง ซึ่งก็คือตึกบิดที่มีชื่อว่า เทิร์นนิงทอร์โซ (Turning Torso) ตั้งอยู่ที่เมืองมัลเมอ ประเทศสวีเดน ซึ่งนับว่าเป็นอาคารที่สูงสุดในแถบสแกนดิเนเวีย ด้วยความสูง 190 เมตร 54 ชั้น และนับว่าเป็นอาคารพักอาศัยที่สูงเป็นอันดับสองในยุโรป เทิร์นนิงทอร์โซเปรียบได้กับงานประติมากรรมซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากการเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์ การบิดเอี้ยวแล้วจึงก่อนพัฒนาขึ้นมาเป็นรูปร่างซึ่งประกอบกันด้วยอาคารสำนักงานที่อยู่ส่วนล่างครอบคลุมชั้น 1-2 และชั้นที่ 3 ถึง 9 เป็นอพาร์ตเมนต์หรูจำนวน 147 ยูนิต 2 ชั้นบนสุด เป็นห้องประชุมสัมมนา งานสถาปัตยกรรมชิ้นล่าสุดที่กาลาตราบากำลังออกแบบอยู่คือสถานีขนส่งเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ที่กราวนด์ซีโร นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา กาลาตราบานับได้ว่าเป็นสถาปนิกคนหนึ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก สถาปัตยกรรมของเขาเกิดจากผสมผสานที่ลงตัวของเส้นสายสถาปัตยกรรมและโครงสร้างที่น่าทึ่งซึ่งเกิดจากพื้นฐานวิศวกรรมของเขา การศึกษารูปแบบของการเคลื่อนไหวในธรรมชาติ ทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ และนำมาใช้ประยุกต์ในสถาปัตยกรรม ผลงานของซานเตียโก กาลาตราบาเรียกได้ว่าเป็นงานที่มีรูปแบบที่แตกต่าง แปลกใหม่ และมีความเป็นตัวเองผลงานงานที่สร้างเสร็จแล้วผลงาน. งานที่สร้างเสร็จแล้ว. - ค.ศ. 1903 สะพานทรินิตี เป็นสะพานเดินข้ามแม่น้ำเนวา เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย - สะพานอาลาเมดาและสถานีรถไฟใต้ดิน, บาเลนเซีย ประเทศสเปน - ค.ศ. 1983-1984 โกดังเหล็กยาเคม, มึนช์วีเลิน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1983-1985 โกดังแอร์นสทิง, โคสเฟลด์ ประเทศเยอรมนี - ค.ศ. 1983-1988 โรงเรียนมัธยมโวเลิน, โวเลิน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1983-1990 สถานีรถไฟชตาเดลโฮเฟิน, ซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1983-1989 ลูเซิร์นสเตชันฮอลล์, ลูเซิร์น ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1984-1987 สะพานบักเดโรดา, บาร์เซโลนา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1984-1988 ศูนย์ชุมชนบาเรนมัทเทอ, ซูร์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1986-1987 โรงละคร Tabourettli, บาเซิล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ - ค.ศ. 1987-1992 ลานกลางอาคารบีซีอีเพลซ, โทรอนโต ประเทศแคนาดา - ค.ศ. 1989-1994 สถานีรถไฟลียง-แซงเตกซูเปรี, ลียง ประเทศฝรั่งเศส - ค.ศ. 1992 (สะพาน) ปูเอนเตเดลอาลามีโย, เซบียา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1992 (สะพาน) ปูเอนเดลูซีตาเนีย, เมรีดา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1992 หอการสื่อสารมุนชูอิกที่วงแหวนโอลิมปิก, บาร์เซโลนา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1992 ศาลาคูเวตในเวิลด์แฟร์, เซบียา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1994 (สะพาน) โอเบอร์เบาม์บรึคเคอ, เบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี (บูรณะใหม่) - ค.ศ. 1994-1997 สะพานกัมโปโบลันติน, บิลบาโอ ประเทศสเปน - ค.ศ. 1996-2009 นครศิลปะและวิทยาศาสตร์, เมืองนเซีย ประเทศสเปน - ค.ศ. 1996 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมนานาชาติเตเนรีเฟ, ซานตากรุซเดเตเนรีเฟ หมู่เกาะคะเนรี ประเทศสเปน - ค.ศ. 1998 (สถานีขนส่ง) การีดูโอรีเองตี, ลิสบอน ประเทศโปรตุเกส - ค.ศ. 1998 (สะพาน) ปูเอนเตเดลามูเคร์, บัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา - ค.ศ. 2000 อาคารผู้โดยสารแห่งใหม่ ท่าอากาศยานบิลบาโอ, บิลบาโอ ประเทศสเปน - ค.ศ. 2001 ศาลากวาดรัชชีในพิพิธภัณฑ์ศิลปะมิลวอกี, มิลวอกี สหรัฐอเมริกา - ค.ศ. 2003 สะพานเจมส์ จอยซ์, ดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ - ค.ศ. 2003 หอประชุมเตเนรีเฟ, ซานตากรุซเดเตเนรีเฟ ประเทศสเปน - ค.ศ. 2004 เอเธนส์โอลิมปิกสปอตส์คอมเพลกซ์, เอเธนส์ ประเทศกรีซ (ปรับรูปแบบ) - ค.ศ. 2004 สะพานซันเดียลที่อ่าวเทอร์เทิล, เรดดิง รัฐแคลิฟอร์เนีย ประสหรัฐอเมริกา - ค.ศ. 2004 สะพานข้ามคลอง 3 แห่งที่ฮาร์เลมเมอร์เมร์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ - ค.ศ. 2004 (ห้องสมุด) บีบลีโอเทคไซน์เบา มหาวิทยาลัยซูริก, ซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (ปรับรูปแบบ) - ค.ศ. 2005 สะพานเชื่อมศูนย์การค้าโอนาฟและศูนย์การแพทย์ราบิน, เปตะห์ติกวา ประเทศอิสราเอล - ค.ศ. 2005 เทิร์นนิงทอร์โซ, มัลเมอ ประเทศสวีเดน - ค.ศ. 2007 สะพาน 3 แห่งบนทางพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข A1 และทางรถไฟความเร็วสูง, เรจโจเอมีเลีย ประเทศอิตาลี - ค.ศ. 2008 เยรูซาเลมคอดส์บริดจ์ สะพานทางรถไฟก่อนเข้ากรุงเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล - ค.ศ. 2008 ปอนเตเดลลากอสตีตูซีโอเน สะพานเดินเท้าข้ามคลองใหญ่, เวนิส ประเทศอิตาลี - ค.ศ. 2009 สถานีรถไฟลีแยช-กีเยอแมง, ลีแยช ประเทศเบลเยียม - ค.ศ. 2009 สะพานซามูเอล เบกเคตต์, ดับลิน ประเทศไอร์แลนด์งานที่อยู่ในระหว่างการก่อสร้างงานที่อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง. - สถานีขนส่งเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา - แอตแลนตาซิมโฟนีเซนเตอร์, แอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา - ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม, โอเบียโด ประเทศสเปน - ชิคาโกสไปร์ ด้วยความสูง 2,000 ฟุต (610 เมตร) ซึ่งจะถือได้ว่าเป็นตึกที่สูงที่สุดในอเมริกาเหนือ คาดว่าจะสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 2012 - สะพานมาร์กาเรตฮันต์ฮิลล์, แดลลัส รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา - สถานีรถไฟเมดีโอปาดานา, เรจโจเอมีเลีย ประเทศอิตาลี - มหาวิทยาลัยมาสทริชท์ (วิทยาเขต), มาสทริชท์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ - โรงอุปรากรเมืองปัลมาเดมายอร์กา ประเทศสเปน - ตึกสูงกลางน้ำบนแม่น้ำลิฟฟีย์ ดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ - กาคามาดริดโอเบลิสก์, มาดริด ประเทศสเปน - สะพานสันติภาพ, แคลกะรี ประเทศแคนาดา - สถานีรถไฟแห่งใหม่ในเมืองมงส์ ประเทศเบลเยียม - สถานีรถไฟและสะพานอีก 2 แห่ง ท่าอากาศยานนานาชาติเดนเวอร์ สหรัฐอเมริกา - (พิพิธภัณฑ์) มูเซวดูอามันยัง, รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิลรางวัลและเกียรติคุณ รางวัลและเกียรติคุณ. ซานเตียโก กาลาตราบาถือได้ว่าเป็นสถาปนิกที่มีชื่อเสียงได้รับการยกย่องและกล่าวถึงอย่างแพร่หลายในวงการสถาปนิกระดับโลก เขาได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมายดังต่อไปนี้- ค.ศ. 1979 รางวัลออกูสต์ แปเร (Auguste Perret Award) - ค.ศ. 1990 รางวัล Médaille d´Argent de la Recherche et de la Technique ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส - ค.ศ. 1992 เหรียญทองเกียรติยศ จากสถาบันวิศวกรโครงสร้างแห่งลอนดอน (London Institution of Structural Engineers) - ค.ศ. 1993 รางวัลงานออกแบบชุมชนเมือง เทศบาลนครโทรอนโต - ค.ศ. 1996 เหรียญทองเกียรติยศสาขางานวิจิตรศิลป์ยอดเยี่ยม จากกระทรวงวัฒนธรรม ที่เมืองกรานาดา ประเทศสเปน - ค.ศ. 1999 รางวัลเจ้าชายแห่งอัสตูเรียส (Prince of Asturias Award) สาขาศิลปกรรมศาสตร์ - ค.ศ. 2000 รางวัลแอลเกอร์ เอช. เมโดวส์ (Algur H. Meadows Award) จากสำนักวิชาศิลปศาสตร์เมโดวส์ มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นเมโทดิสต์ - ค.ศ. 2004 เหรียญทองเกียรติยศจากสถาบันสถาปนิกอเมริกัน - ค.ศ. 2005 เหรียญทองเกียรติยศจากสถาบันสถาปนิกอเมริกัน - ค.ศ. 2006 รางวัลยูจีน แมกเดอร์มอตต์ (Eugene McDermott Award) จากสภาศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ซึ่งถือว่าเป็นรางวัลที่ยิ่งใหญ่ในวงการศิลปะของสหรัฐอเมริกา - ค.ศ. 2006 ปริญญาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากสถาบันสารพัดช่างเรนส์เลียร์ - ค.ศ. 2006 ได้รับการแต่งตั้งเป็น Global Leader for Tomorrow จากเวิลด์อีโคโนมิกฟอรัมในเมืองดาวอส - ค.ศ. 2006 ปริญญาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย - ค.ศ. 2007 รางวัลสถาปัตยกรรมแห่งชาติสเปนเสียงวิพากษ์วิจารณ์ เสียงวิพากษ์วิจารณ์. งานของกาลาตราบาที่เมืองบิลบาโอ ประเทศสเปน ถูกวิจารณ์ว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่ไม่เหมาะสมสำหรับการใช้งานจริงเท่าที่ควร ตัว สนามบินขาดความสะดวกและพื้นที่เป็นกระเบื้องกระจกก็มีความลื่นเกินไปในสภาพอากาศของเมืองบิลบาโอ กาลาตราบายังเป็นผู้วางโครงการสร้างสะพานข้ามคลองใหญ่ () ที่เมืองเวนิส ประเทศอิตาลี ซึ่งเริ่มในปี ค.ศ. 1996 แต่ในปี ค.ศ. 2007 โครงการนี้ก็ยังไม่เสร็จเนื่องจากแบบของโครงสร้างได้ถูกเปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย ๆ เพื่อให้สะพานมีน้ำหนักไม่มากเกินไป เพราะจะทำให้ฝั่งคลองยุบลงได้ ในช่วง 10 ปีมานี้ได้มีการเปลี่ยนที่ปรึกษาทางวิศวกรรมถึง 8 บริษัท และจากการที่งานเสร็จล่าช้าทำให้งบประมาณของโครงการเพิ่มขึ้น 3 เท่าจากงบประมาณเดิม โครงการนี้สร้างเสร็จในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2008</doc>
ซานเตียโก กาลาตราบา บัลส์ เป็นทั้งสถาปนิก วิศวกรโครงสร้าง และประติมากรชาวสเปน เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "28" ], "answer_begin_position": [ 246 ], "answer_end_position": [ 248 ] }
166
791,681
<doc id="791681" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=791681" title="พี่น้อง 2 เลือด">พี่น้อง 2 เลือด พี่น้อง 2 เลือด บทประพันธ์โดย ปาณรวัฐ กิตติกรเจริญ ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 โมเดิร์นไนน์ โดยค่าย บริษัท อาร์.เอส. จำกัด บทโทรทัศน์โดย กำกับการแสดงโดย กรัณย์ คุ้มอนุวงศ์เรื่องย่อรายชื่อนักแสดงและการสร้างเพลงประกอบละครเพลงประกอบละคร. - พ.ศ. 2548 - เพลง ปาฎิหาริย์ครั้งสุดท้าย - ขับร้องโดย แดน-บีม - เพลง คำเดียวกัน - ขับร้องโดย แดน-บีม</doc>
ใครเป็นผู้ประพันธ์เรื่อง พี่น้อง 2 เลือด ซึ่งได้นำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 โมเดิร์นไนน์
{ "answer": [ "ปาณรวัฐ กิตติกรเจริญ" ], "answer_begin_position": [ 136 ], "answer_end_position": [ 156 ] }
167
791,681
<doc id="791681" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=791681" title="พี่น้อง 2 เลือด">พี่น้อง 2 เลือด พี่น้อง 2 เลือด บทประพันธ์โดย ปาณรวัฐ กิตติกรเจริญ ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 โมเดิร์นไนน์ โดยค่าย บริษัท อาร์.เอส. จำกัด บทโทรทัศน์โดย กำกับการแสดงโดย กรัณย์ คุ้มอนุวงศ์เรื่องย่อรายชื่อนักแสดงและการสร้างเพลงประกอบละครเพลงประกอบละคร. - พ.ศ. 2548 - เพลง ปาฎิหาริย์ครั้งสุดท้าย - ขับร้องโดย แดน-บีม - เพลง คำเดียวกัน - ขับร้องโดย แดน-บีม</doc>
เพลงชื่อ คำเดียวกัน ซึ่งเป็นเพลงประกอบละครเรื่องพี่น้อง 2 เลือดเมื่อปีพ.ศ.2548 ขับร้องโดยใคร
{ "answer": [ "แดน-บีม" ], "answer_begin_position": [ 445 ], "answer_end_position": [ 452 ] }
168
158,959
<doc id="158959" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=158959" title="นีกีตา ครุชชอฟ">นีกีตา ครุชชอฟ นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (; 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานินประวัติ ประวัติ. นิกิต้า เซเกรเยวิช ครุชชอฟ เกิดเมื่อ 15 เมษายน ค.ศ. 1894 ในครอบครัวของแรงงานขุดเหมืองแร่ ในหมู่บ้าน คาลินอฟกา ในยุคจักรวรรดิรัสเซียใกล้กับพรมแดนยูเครนปัจจุบัน พ่อของเขาชื่อ เซอร์เกย์ ครุชชอฟ นิโกโนโรวิช และแม่ชื่อ เคสิเนีย อิวาโนว่า ครุชชอฟได้เรียนหนังสือแค่สี่ปี และต้องทำงานตั้งแต่อายุ 12 ปี เริ่มจากการทำงานเป็นคนเก็บผลไม้ ค.ศ. 1908 ตอนอายุได้ 14 ปี ครอบครัวย้ายไปทำเหมืองใกล้ๆ กับเมืองยุซอฟก้า (Yuzovka) มันเป็นเมืองอุตสาหกรรมที่เจริญแห่งหนึ่งของประเทศ ครุเซฟทำงานหลายแห่ง กอ่นที่จะได้ทำงานในโรงงานเหล็ก แต่ไม่นานก็ถูกไล่ออก และได้งานใหม่ที่เหมืองถ่านหินใกล้กับเมืองรุตเชนโกโว่ ค.ศ. 1914 ตอนเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาได้รับการยกเว้นไม่ต้องโดนเกณฑ์ทหาร เนื่องจากเป็นแรงงานที่เชี่ยวชาญเรื่องเหล็ก ทำให้มีโรงงานจ้างเขาเอาไว้ ซึ่งโรงงานดังกล่าวต้องทำงานส่งให้เหมืองหลายสิบแห่ง ค.ศ. 1918 เข้าเป็นสมาชิกของพรรคบอลเชวิค แต่ก็ยังคงทำงานในเหมืองถ่านหินต่อไป และก็เข้าเรียนหนังสือที่นิคมอุตสาหกรรมโดเนตส์ เขาทำงานให้กับพรรคในพื้นที่ของเมืองเคียฟและดอนบาส์ส ค.ศ. 1920 ครุชชอฟรู้จักกับหัวหน้าพรรคคอมมิวนิสต์ในยูเครนคือ ลาซาร์ คากาโนวิช นิสัยของครุชชอฟสร้างความประทับใจให้กับคากาโนวิชมาก ต่อมาเขาจึงเป็นผู้สนับสนุนให้ครุชชอฟมาเรียนหนังสือต่อในมอสโคว ครุชชอฟอยู่ในกองทัพแดงในแถบเมืองรุตเชนโกโว่ จนได้รับเลือกเป็นคณะกรรมการฝ่ายการเมืองของหน่วย 1974 ไรเฟิลที่ 9 ค.ศ. 1931 ครุชชอฟได้เข้าเป็นสมาชิกและทำงานกับพรรคคอมมิวนิสต์ในมอสโก จนกระทั่งปี 1938 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขาธิการที่หนึ่งแห่งพรรคคอมมิวนิสต์ยูเครน ค.ศ. 1943 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขามีบทบาทอย่างมากในฐานะนายทหารระดับสูง จนเมื่อสงครามโลกยุติ ก็มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลยูเครน จนธันวาคม 1949 ก็ได้ย้ายจากยูเครนกลับมายังมอสโกหลังการอสัญกรรมของสตาลิน หลังการอสัญกรรมของสตาลิน. ปี ค.ศ. 1953 หลังการถึงแก่อสัญกรรมของสตาลินในวันที่ 5 พฤษภาคม 1953 ลัฟเรนตีย์ เบรียา (Lavrenti Beria) หัวหน้าหน่วยตำรวจลับของสตาลิน ได้ขึ้นป็นรองประธานสภารัฐมนตรีดำดับที่หนึ่ง และรัฐมนตรีกิจการภายในในทันที ถือเป็นบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโซเวียต หลังจากนั้นหนึ่งวัน พันธมิตรของครุสซอฟ กอร์กี มาเลนคอฟ ได้กลายเป็นประธานสภารัฐมนตรีหุ่นเชิด และเบเรียครองอำนาจทุกอย่าง เบเรียมีนโยบายที่จะออกจากเยอรมันตะวันออกและหันไปญาติดีกับสหรัฐ ทำให้คณะกรรมการพรรคหลายคนไม่พอใจ และไม่ไว้ใจในตัวเบเรีย โดยเฉพาะครุชชอฟ เป็นคนที่ต่อต้านเบเรียอย่างเปิดเผย แต่ว่าไม่สามารถทำอะไรเบเรียได้ จนกระทั่งเมื่อเกิดการลุกฮือของประชาชนในเยอรมันตะวันออกในเดือนมิถุนายน สมาชิกพรรคหลายคนกังวลว่านั้นเป็นนโยบายที่ผิดพลาดและจะทำลายโซเวียต นั้นทำให้มาเลนคอฟหันไปช่วยเหลือครุชชอฟ ครุชชอฟทำการรัฐประหารยึดอำนาจจากเบเรียทำให้เบเรียถูกจับตัวได้วันที่ 26 มิถุนายน 1953หลังจากนั้น ในเดือนกันยายน 1953 ครุสซอฟจึงได้รับแต่งตั้ง ให้เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งโซเวียต และในปี 1958 ก็ได้ควบตำแหน่งประธานสภารัฐมนตรี ต่อมาครุฟชอฟก็ได้ทำให้โลกต้องตกตะลึงด้วยการผ่อนคลายความเข้มงวดในระบบสตาลินลง พร้อมทั้งประณามขุดคุ้ยความโหดร้ายของสตาลิน ผู้ซึ่งเป็นเจ้านายคนเก่าของเขา จนในที่สุดทุกๆ ที่ที่มีรูปปั้นสตาลินจะถูกทุบทิ้งจนหมด เพลงชาติที่มีชื่อสตาลินก็ถูกลบออก ศพของสตาลินก็ย้ายจากข้าง ๆ วลาดิมีร์ เลนิน ไปฝังอยู่ในกำแพงเครมลิน แต่ว่าการประณามสตาลินในครั้งนั้นทำให้ประธานเหมา เจ๋อตุงผู้นำของประเทศจีนเกิดไม่พอใจเป็นอย่างมาก เพราะเขาได้ยึดถือลัทธิการเชิดชูวีรบุรุษก็คือประธานเหมาได้เอาสตาลินมาเทียบเท่ากับตน ทำให้การประณามของครุฟชอฟนั้นมากระทบถึงประธานเหมาทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับสหภาพโซเวียตตกต่ำลงจนทำให้เกิดความขัดแย้งกันของทั้งสองประเทศในเวลาต่อมา จนกระทั่งทำให้เกิดการแบ่งแยกอุดมการณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์ขึ้นออกมาสองแบบคือ อุดมการณ์ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบผสมรวมกับระบบทุนนิยมของรัสเซียและอุดมการณ์ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบดั้งเดิม (คือรักษาระบบนารวมเอาไว้) ของจีน การแตกแยกครั้งนี้ส่งผลให้ แอลบาเนีย กัมพูชา และโซมาเลีย เลือกที่จะเป็นพันธมิตรกับจีนแทนโซเวียต แม้ครุชชอฟจะดำเนินนโยบายเน้นสันติภาพ และพยายามผ่อนคลายสงครามเย็น แต่เขาก็ดำเนินนโยบายทางการเมืองผิดพลาดหลายครั้ง อาทิ วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา ในปี ค.ศ. 1962 ได้ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโซเวียตกับสหรัฐอเมริกาตึงเครียดขึ้นอีกครั้ง นอกจากนี้เขายังส่งทหารเข้าไปยังโปแลนด์และในฮังการีเพื่อสนับสนุนการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ ในที่สุดเขาก็ถูกยึดอำนาจโดยคณะกรรมาธิการเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ (Committee for State Security หรือ KGB) นำโดย เลโอนิด เบรจเนฟ และ อะเลคเซย์ โคซีกิน ในวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1964 หลังจากนั้นครุชอฟได้ใช้ชีวิตอยู่อย่างสงบสุขในกรุงมอสโกด้วยเงินบำนาญและเสียชีวิตในวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1971 รวมอายุได้ทั้งหมด 77 ปี</doc>
บิดาของนิกิต้า เซเกรเยวิช ครุชชอฟ ซึ่งเป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตมีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "เซอร์เกย์ ครุชชอฟ นิโกโนโรวิช" ], "answer_begin_position": [ 546 ], "answer_end_position": [ 575 ] }
1,463
158,959
<doc id="158959" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=158959" title="นีกีตา ครุชชอฟ">นีกีตา ครุชชอฟ นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (; 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานินประวัติ ประวัติ. นิกิต้า เซเกรเยวิช ครุชชอฟ เกิดเมื่อ 15 เมษายน ค.ศ. 1894 ในครอบครัวของแรงงานขุดเหมืองแร่ ในหมู่บ้าน คาลินอฟกา ในยุคจักรวรรดิรัสเซียใกล้กับพรมแดนยูเครนปัจจุบัน พ่อของเขาชื่อ เซอร์เกย์ ครุชชอฟ นิโกโนโรวิช และแม่ชื่อ เคสิเนีย อิวาโนว่า ครุชชอฟได้เรียนหนังสือแค่สี่ปี และต้องทำงานตั้งแต่อายุ 12 ปี เริ่มจากการทำงานเป็นคนเก็บผลไม้ ค.ศ. 1908 ตอนอายุได้ 14 ปี ครอบครัวย้ายไปทำเหมืองใกล้ๆ กับเมืองยุซอฟก้า (Yuzovka) มันเป็นเมืองอุตสาหกรรมที่เจริญแห่งหนึ่งของประเทศ ครุเซฟทำงานหลายแห่ง กอ่นที่จะได้ทำงานในโรงงานเหล็ก แต่ไม่นานก็ถูกไล่ออก และได้งานใหม่ที่เหมืองถ่านหินใกล้กับเมืองรุตเชนโกโว่ ค.ศ. 1914 ตอนเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาได้รับการยกเว้นไม่ต้องโดนเกณฑ์ทหาร เนื่องจากเป็นแรงงานที่เชี่ยวชาญเรื่องเหล็ก ทำให้มีโรงงานจ้างเขาเอาไว้ ซึ่งโรงงานดังกล่าวต้องทำงานส่งให้เหมืองหลายสิบแห่ง ค.ศ. 1918 เข้าเป็นสมาชิกของพรรคบอลเชวิค แต่ก็ยังคงทำงานในเหมืองถ่านหินต่อไป และก็เข้าเรียนหนังสือที่นิคมอุตสาหกรรมโดเนตส์ เขาทำงานให้กับพรรคในพื้นที่ของเมืองเคียฟและดอนบาส์ส ค.ศ. 1920 ครุชชอฟรู้จักกับหัวหน้าพรรคคอมมิวนิสต์ในยูเครนคือ ลาซาร์ คากาโนวิช นิสัยของครุชชอฟสร้างความประทับใจให้กับคากาโนวิชมาก ต่อมาเขาจึงเป็นผู้สนับสนุนให้ครุชชอฟมาเรียนหนังสือต่อในมอสโคว ครุชชอฟอยู่ในกองทัพแดงในแถบเมืองรุตเชนโกโว่ จนได้รับเลือกเป็นคณะกรรมการฝ่ายการเมืองของหน่วย 1974 ไรเฟิลที่ 9 ค.ศ. 1931 ครุชชอฟได้เข้าเป็นสมาชิกและทำงานกับพรรคคอมมิวนิสต์ในมอสโก จนกระทั่งปี 1938 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขาธิการที่หนึ่งแห่งพรรคคอมมิวนิสต์ยูเครน ค.ศ. 1943 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขามีบทบาทอย่างมากในฐานะนายทหารระดับสูง จนเมื่อสงครามโลกยุติ ก็มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลยูเครน จนธันวาคม 1949 ก็ได้ย้ายจากยูเครนกลับมายังมอสโกหลังการอสัญกรรมของสตาลิน หลังการอสัญกรรมของสตาลิน. ปี ค.ศ. 1953 หลังการถึงแก่อสัญกรรมของสตาลินในวันที่ 5 พฤษภาคม 1953 ลัฟเรนตีย์ เบรียา (Lavrenti Beria) หัวหน้าหน่วยตำรวจลับของสตาลิน ได้ขึ้นป็นรองประธานสภารัฐมนตรีดำดับที่หนึ่ง และรัฐมนตรีกิจการภายในในทันที ถือเป็นบุคคลที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโซเวียต หลังจากนั้นหนึ่งวัน พันธมิตรของครุสซอฟ กอร์กี มาเลนคอฟ ได้กลายเป็นประธานสภารัฐมนตรีหุ่นเชิด และเบเรียครองอำนาจทุกอย่าง เบเรียมีนโยบายที่จะออกจากเยอรมันตะวันออกและหันไปญาติดีกับสหรัฐ ทำให้คณะกรรมการพรรคหลายคนไม่พอใจ และไม่ไว้ใจในตัวเบเรีย โดยเฉพาะครุชชอฟ เป็นคนที่ต่อต้านเบเรียอย่างเปิดเผย แต่ว่าไม่สามารถทำอะไรเบเรียได้ จนกระทั่งเมื่อเกิดการลุกฮือของประชาชนในเยอรมันตะวันออกในเดือนมิถุนายน สมาชิกพรรคหลายคนกังวลว่านั้นเป็นนโยบายที่ผิดพลาดและจะทำลายโซเวียต นั้นทำให้มาเลนคอฟหันไปช่วยเหลือครุชชอฟ ครุชชอฟทำการรัฐประหารยึดอำนาจจากเบเรียทำให้เบเรียถูกจับตัวได้วันที่ 26 มิถุนายน 1953หลังจากนั้น ในเดือนกันยายน 1953 ครุสซอฟจึงได้รับแต่งตั้ง ให้เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งโซเวียต และในปี 1958 ก็ได้ควบตำแหน่งประธานสภารัฐมนตรี ต่อมาครุฟชอฟก็ได้ทำให้โลกต้องตกตะลึงด้วยการผ่อนคลายความเข้มงวดในระบบสตาลินลง พร้อมทั้งประณามขุดคุ้ยความโหดร้ายของสตาลิน ผู้ซึ่งเป็นเจ้านายคนเก่าของเขา จนในที่สุดทุกๆ ที่ที่มีรูปปั้นสตาลินจะถูกทุบทิ้งจนหมด เพลงชาติที่มีชื่อสตาลินก็ถูกลบออก ศพของสตาลินก็ย้ายจากข้าง ๆ วลาดิมีร์ เลนิน ไปฝังอยู่ในกำแพงเครมลิน แต่ว่าการประณามสตาลินในครั้งนั้นทำให้ประธานเหมา เจ๋อตุงผู้นำของประเทศจีนเกิดไม่พอใจเป็นอย่างมาก เพราะเขาได้ยึดถือลัทธิการเชิดชูวีรบุรุษก็คือประธานเหมาได้เอาสตาลินมาเทียบเท่ากับตน ทำให้การประณามของครุฟชอฟนั้นมากระทบถึงประธานเหมาทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับสหภาพโซเวียตตกต่ำลงจนทำให้เกิดความขัดแย้งกันของทั้งสองประเทศในเวลาต่อมา จนกระทั่งทำให้เกิดการแบ่งแยกอุดมการณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์ขึ้นออกมาสองแบบคือ อุดมการณ์ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบผสมรวมกับระบบทุนนิยมของรัสเซียและอุดมการณ์ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบดั้งเดิม (คือรักษาระบบนารวมเอาไว้) ของจีน การแตกแยกครั้งนี้ส่งผลให้ แอลบาเนีย กัมพูชา และโซมาเลีย เลือกที่จะเป็นพันธมิตรกับจีนแทนโซเวียต แม้ครุชชอฟจะดำเนินนโยบายเน้นสันติภาพ และพยายามผ่อนคลายสงครามเย็น แต่เขาก็ดำเนินนโยบายทางการเมืองผิดพลาดหลายครั้ง อาทิ วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา ในปี ค.ศ. 1962 ได้ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโซเวียตกับสหรัฐอเมริกาตึงเครียดขึ้นอีกครั้ง นอกจากนี้เขายังส่งทหารเข้าไปยังโปแลนด์และในฮังการีเพื่อสนับสนุนการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ ในที่สุดเขาก็ถูกยึดอำนาจโดยคณะกรรมาธิการเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ (Committee for State Security หรือ KGB) นำโดย เลโอนิด เบรจเนฟ และ อะเลคเซย์ โคซีกิน ในวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1964 หลังจากนั้นครุชอฟได้ใช้ชีวิตอยู่อย่างสงบสุขในกรุงมอสโกด้วยเงินบำนาญและเสียชีวิตในวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1971 รวมอายุได้ทั้งหมด 77 ปี</doc>
นิกิต้า เซเกรเยวิช ครุชชอฟ เกิดวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "15" ], "answer_begin_position": [ 410 ], "answer_end_position": [ 412 ] }
169
550,527
<doc id="550527" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=550527" title="อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์">อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์ อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์ ชื่อเล่น ลูกศร เป็นนักแสดง และ นางแบบ ชาวไทย เข้าสู่วงการด้วยการประกวด มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ ปี 2544ประวัติ ประวัติ. อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์ (อ่านว่า: ออน-สะ-สิ-พัด) ชื่อเล่น ลูกศร (ชื่อเดิม : สุภัสสร มามีเกตุ, สุภัสรา มามีเกตุ ตามลำดับ) เกิดเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2524 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด เธอเป็นดาราและนางแบบชาวไทย และเป็นอดีตนักแสดง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ก่อนที่เธอจะเข้าวงการนักแสดงนั้น เธอเคยผ่านเวทีประกวด มิสมอเตอร์โชว์ เมื่อปี 2542 และเธอยังได้ตำแหน่งรองอันดับ 2 เข้ารอบ 12 คนสุดท้ายของเวทีมิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ปี 2544 อีกด้วย ผลงานโด่งดังของเธอคือละครเรื่อง "หมอผีไซเบอร์" รับบทเป็น นางตานี เธอเคยมีข่าวกับพระเอก "วี-วีรภาพ สุภาพไพบูลย์" และเธอเริ่มหายไปจากวงการ เพราะเธอไปเรียนต่อต่างประเทศนั้นเอง และเธอกลับมาเปิดธุรกิจลงทุนเปิดร้านกาแฟและร้านสปาเท้า ย่านเหม่งจ๋าย ปัจจุบันกลับมาแสดงละครแล้ว โดยมีผลงานล่าสุดคือละครจักรๆวงค์ๆเรื่อง แก้วหน้าม้า ทางช่อง 7 การศึกษา- ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ - ระดับปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย - สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ดผลงานละครโทรทัศน์ผลงาน. ละครโทรทัศน์. - ละครโทรทัศน์ทั้งหมดด้านล่างนี้ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7ละคร จักรๆวงศ์ๆการแสดงรับเซิญการแสดงรับเซิญ. - ละครชีวิตจริง 84,000 ตอน “คนส่งวิญญาณ” (ช่อง 5) - ฟ้ามีตา ตอน แม่ค้าปลาร้า รับบท สมร - ฟ้ามีตา ตอน ความในห้องเล็ก รับบท แพรว - ฟ้ามีตา ตอน เรื่องเล็กน้อยภาพยนตร์ภาพยนตร์. - ๔๐๐ นักรบ ขุนรองปลัดชู รับบทเป็น สายหยุด (พ.ศ. 2560)</doc>
อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์ หรือชื่อเล่น ลูกศร ศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยอะไร
{ "answer": [ "มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย" ], "answer_begin_position": [ 497 ], "answer_end_position": [ 519 ] }
170
550,527
<doc id="550527" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=550527" title="อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์">อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์ อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์ ชื่อเล่น ลูกศร เป็นนักแสดง และ นางแบบ ชาวไทย เข้าสู่วงการด้วยการประกวด มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ ปี 2544ประวัติ ประวัติ. อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์ (อ่านว่า: ออน-สะ-สิ-พัด) ชื่อเล่น ลูกศร (ชื่อเดิม : สุภัสสร มามีเกตุ, สุภัสรา มามีเกตุ ตามลำดับ) เกิดเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2524 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด เธอเป็นดาราและนางแบบชาวไทย และเป็นอดีตนักแสดง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ก่อนที่เธอจะเข้าวงการนักแสดงนั้น เธอเคยผ่านเวทีประกวด มิสมอเตอร์โชว์ เมื่อปี 2542 และเธอยังได้ตำแหน่งรองอันดับ 2 เข้ารอบ 12 คนสุดท้ายของเวทีมิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ปี 2544 อีกด้วย ผลงานโด่งดังของเธอคือละครเรื่อง "หมอผีไซเบอร์" รับบทเป็น นางตานี เธอเคยมีข่าวกับพระเอก "วี-วีรภาพ สุภาพไพบูลย์" และเธอเริ่มหายไปจากวงการ เพราะเธอไปเรียนต่อต่างประเทศนั้นเอง และเธอกลับมาเปิดธุรกิจลงทุนเปิดร้านกาแฟและร้านสปาเท้า ย่านเหม่งจ๋าย ปัจจุบันกลับมาแสดงละครแล้ว โดยมีผลงานล่าสุดคือละครจักรๆวงค์ๆเรื่อง แก้วหน้าม้า ทางช่อง 7 การศึกษา- ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ - ระดับปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย - สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ดผลงานละครโทรทัศน์ผลงาน. ละครโทรทัศน์. - ละครโทรทัศน์ทั้งหมดด้านล่างนี้ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7ละคร จักรๆวงศ์ๆการแสดงรับเซิญการแสดงรับเซิญ. - ละครชีวิตจริง 84,000 ตอน “คนส่งวิญญาณ” (ช่อง 5) - ฟ้ามีตา ตอน แม่ค้าปลาร้า รับบท สมร - ฟ้ามีตา ตอน ความในห้องเล็ก รับบท แพรว - ฟ้ามีตา ตอน เรื่องเล็กน้อยภาพยนตร์ภาพยนตร์. - ๔๐๐ นักรบ ขุนรองปลัดชู รับบทเป็น สายหยุด (พ.ศ. 2560)</doc>
อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์ แสดงบทอะไรในละครเรื่อง หมอผีไซเบอร์
{ "answer": [ "นางตานี" ], "answer_begin_position": [ 890 ], "answer_end_position": [ 897 ] }
171
445,190
<doc id="445190" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=445190" title="วงศ์ปลานกกระจอก">วงศ์ปลานกกระจอก ปลานกกระจอก หรือ ปลาบิน () เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Exocoetidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวยาวมาก ค่อนข้างกลม จะงอยปากสั้นทู่สั้นกว่าตา ปากเล็ก ไม่มีฟัน ไม่มีก้านครีบแข็งที่ทุกครีบ ครีบหูขยายใหญ่ยาวถึงครีบหลัง ครีบท้องขยายอยู่ในตำแหน่งท้อง ครีบหางมีแพนล่างยาวกว่าแพนบน ครีบหางเว้าลึกแบบส้อม เส้นข้างลำตัวอยู่ค่อนลงทางด้านล่างของลำตัว เกล็ดเป็นแบบขอบบางไม่มีขอบหยักหรือสาก หลุดร่วงง่าย จัดเป็นปลาทะเลขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก โดยพบในทะเลที่ห่างจากชายฝั่งพอสมควร ส่วนใหญ่มีลำตัวสีเขียว หรือสีน้ำเงินหม่น ข้างท้องสีขาวเงิน เป็นปลาที่มีลักษณะเด่น คือ นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูงและหากินบริเวณผิวน้ำ มีความคล่องแคล่วว่องไว มีจุดเด่น คือ เมื่อตกใจหรือหนีภัยจะกระโดดได้ไกลเหมือนกับร่อนหรือเหินไปในอากาศเหมือนนกบิน ซึ่งอาจไกลได้ถึง 30 เมตร ซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดของตัวปลาและจังหวะ อันเป็นที่มาของชื่อ โดยใช้ครีบอกหรือครีบหูที่มีขนาดใหญ่มากเป็นตัวพยุงช่วย ในขณะที่บางชนิดมีครีบก้นที่มีขนาดใหญ่ร่วมด้วย ปลานกกระจอกเมื่อกระโดดอาจกระโดดได้สูงถึง 7-10 เมตร ด้วยความเร็วประมาณ 65 กิโลเมตร/ชั่วโมง และสามารถอยู่บนกลางอากาศได้นานอย่างน้อย 10 วินาที วางไข่ไว้ใต้กอวัชพืชหรือขยะที่ลอยตามกระแสน้ำ เพื่อให้เป็นที่พำนักของลูกปลาเมื่อฟักแล้ว เนื่องจากไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ พบมากกว่า 50 ชนิดทั่วโลก แบ่งออกเป็น 8 สกุล (ดูในตาราง) เป็นปลาที่ขี้ตื่นตกใจ และตายง่ายมากเมื่อพ้นน้ำการนำมาเป็นอาหาร การนำมาเป็นอาหาร. ไข่ปลานกกระจอกมีลักษณะเม็ดเล็กจำนวนมากสีส้ม ชาวญี่ปุ่นนิยมนำมาเป็นอาหาร เช่น ซูชิหน้าไข่ปลา ด้วยไข่มีลักษณะเล็กและสีส้ม จึงมักมีความเข้าใจผิดกันว่าเป็นไข่กุ้ง ที่เกาะหลันหยู หรือ เกาะกล้วยไม้ ทางตอนใต้ของเกาะไต้หวัน ชาวเตาซึ่งเป็นชาวพื้นเมืองที่นั่นมีวิถีชีวิตผูกพันกับปลานกกระจอกอย่างมาก จนเกิดเป็นตำนานหรือเรื่องเล่าเกี่ยวกับปลานกกระจอกมากมาย และตามถนนหนทางจะพบประติมากรรมรูปปลานกกระจอกเสมอ ๆ ชาวเตาจะจับปลานกกระจอกด้วยวิธีการพายเรือออกจับในเวลากลางคืน โดยใช้แสงไฟเป็นตัวล่อ และจับด้วยสวิง ซึ่งต้องใช้ความชำนาญพอสมควร เมื่อได้มาแล้วจะนิยมนำมาทำเป็นปลาแห้ง โดยตากแดดนาน 3 วัน และเก็บไว้ในที่แห้งอีก 3 คืน เพื่อให้เนื้อปลาแห้งสนิท เมื่อปรุงนิยมนำไปต้ม</doc>
ปลานกกระจอกเป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่าอะไร
{ "answer": [ "Exocoetidae" ], "answer_begin_position": [ 189 ], "answer_end_position": [ 200 ] }
172
445,190
<doc id="445190" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=445190" title="วงศ์ปลานกกระจอก">วงศ์ปลานกกระจอก ปลานกกระจอก หรือ ปลาบิน () เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Exocoetidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวยาวมาก ค่อนข้างกลม จะงอยปากสั้นทู่สั้นกว่าตา ปากเล็ก ไม่มีฟัน ไม่มีก้านครีบแข็งที่ทุกครีบ ครีบหูขยายใหญ่ยาวถึงครีบหลัง ครีบท้องขยายอยู่ในตำแหน่งท้อง ครีบหางมีแพนล่างยาวกว่าแพนบน ครีบหางเว้าลึกแบบส้อม เส้นข้างลำตัวอยู่ค่อนลงทางด้านล่างของลำตัว เกล็ดเป็นแบบขอบบางไม่มีขอบหยักหรือสาก หลุดร่วงง่าย จัดเป็นปลาทะเลขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก โดยพบในทะเลที่ห่างจากชายฝั่งพอสมควร ส่วนใหญ่มีลำตัวสีเขียว หรือสีน้ำเงินหม่น ข้างท้องสีขาวเงิน เป็นปลาที่มีลักษณะเด่น คือ นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูงและหากินบริเวณผิวน้ำ มีความคล่องแคล่วว่องไว มีจุดเด่น คือ เมื่อตกใจหรือหนีภัยจะกระโดดได้ไกลเหมือนกับร่อนหรือเหินไปในอากาศเหมือนนกบิน ซึ่งอาจไกลได้ถึง 30 เมตร ซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดของตัวปลาและจังหวะ อันเป็นที่มาของชื่อ โดยใช้ครีบอกหรือครีบหูที่มีขนาดใหญ่มากเป็นตัวพยุงช่วย ในขณะที่บางชนิดมีครีบก้นที่มีขนาดใหญ่ร่วมด้วย ปลานกกระจอกเมื่อกระโดดอาจกระโดดได้สูงถึง 7-10 เมตร ด้วยความเร็วประมาณ 65 กิโลเมตร/ชั่วโมง และสามารถอยู่บนกลางอากาศได้นานอย่างน้อย 10 วินาที วางไข่ไว้ใต้กอวัชพืชหรือขยะที่ลอยตามกระแสน้ำ เพื่อให้เป็นที่พำนักของลูกปลาเมื่อฟักแล้ว เนื่องจากไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ พบมากกว่า 50 ชนิดทั่วโลก แบ่งออกเป็น 8 สกุล (ดูในตาราง) เป็นปลาที่ขี้ตื่นตกใจ และตายง่ายมากเมื่อพ้นน้ำการนำมาเป็นอาหาร การนำมาเป็นอาหาร. ไข่ปลานกกระจอกมีลักษณะเม็ดเล็กจำนวนมากสีส้ม ชาวญี่ปุ่นนิยมนำมาเป็นอาหาร เช่น ซูชิหน้าไข่ปลา ด้วยไข่มีลักษณะเล็กและสีส้ม จึงมักมีความเข้าใจผิดกันว่าเป็นไข่กุ้ง ที่เกาะหลันหยู หรือ เกาะกล้วยไม้ ทางตอนใต้ของเกาะไต้หวัน ชาวเตาซึ่งเป็นชาวพื้นเมืองที่นั่นมีวิถีชีวิตผูกพันกับปลานกกระจอกอย่างมาก จนเกิดเป็นตำนานหรือเรื่องเล่าเกี่ยวกับปลานกกระจอกมากมาย และตามถนนหนทางจะพบประติมากรรมรูปปลานกกระจอกเสมอ ๆ ชาวเตาจะจับปลานกกระจอกด้วยวิธีการพายเรือออกจับในเวลากลางคืน โดยใช้แสงไฟเป็นตัวล่อ และจับด้วยสวิง ซึ่งต้องใช้ความชำนาญพอสมควร เมื่อได้มาแล้วจะนิยมนำมาทำเป็นปลาแห้ง โดยตากแดดนาน 3 วัน และเก็บไว้ในที่แห้งอีก 3 คืน เพื่อให้เนื้อปลาแห้งสนิท เมื่อปรุงนิยมนำไปต้ม</doc>
ไข่ปลานกกระจอกมีลักษณะเป็นสีส้มเม็ดเล็ก ชาวญี่ปุ่นนิยมนำมาทำเป็นอาหารอะไร
{ "answer": [ "ซูชิหน้าไข่ปลา" ], "answer_begin_position": [ 1565 ], "answer_end_position": [ 1579 ] }
173
791,675
<doc id="791675" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=791675" title="สกุลลาบิโอบาร์บุส">สกุลลาบิโอบาร์บุส ลาบิโอบาร์บุส () เป็นสกุลของปลาสร้อยจำพวกหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) โยฮัน กุนราด ฟัน ฮัสเซิลต์ ได้ตั้งสกุลนี้ขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1823 โดยกำหนดเป็นชื่อสกุลของปลา 2 ชนิดจากเกาะชวา ต่อมาในปี ค.ศ. 1842 ฌอร์ฌ กูว์วีเย และอาชีล วาล็องเซียน ได้ตั้งสกุลดังกิลา (Dangila) ขึ้น โดยไม่ทราบว่าฟัน ฮัสเซิลต์ ได้ตั้งสกุลลาบิโอบาร์บุสไว้ก่อนแล้ว ดังกิลาจึงกลายเป็นชื่อพ้องไป ปลาในสกุลลาบิโอบาร์บุสเป็นปลาที่พบได้ชุกชุมในแหล่งน้ำจืดของประเทศไทยรวมถึงประเทศอื่นในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ มีลักษณะเด่นที่สังเกตได้ง่าย คือ ฐานครีบหลังยาว มีก้านครีบแขนง 21–27 ก้าน จะงอยปากมีติ่งเนื้อเล็ก ๆ เป็นกระจุก ริมปากบนและล่างติดต่อรวมกันที่มุมปาก มีหนวดยาว 2 คู่ โดยแบ่งออกเป็นปลายจะงอยปาก 1 คู่ และมุมปาก 1 คู่ มีเกล็ดเล็ก มีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 30 เซนติเมตร ในประเทศไทย อาจเรียกปลาบางชนิดในสกุลนี้ว่า "ปลาซ่า" เนื่องมาจากพฤติกรรมที่รวมตัวกันเป็นฝูง เมื่อตกใจจะกระโดดขึ้นเหนือน้ำพร้อม ๆ กันจนเกิดเสียงดังซ่า โดยชื่อปลาซ่ายังหมายรวมถึงปลาในวงศ์ปลาตะเพียนอื่น ๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันอีกด้วย เช่น ปลาในสกุลปลาสร้อยนกเขา (Osteochilus) เป็นต้นการจำแนกการจำแนก. - Labiobarbus cyanopareja - Labiobarbus fasciatus - Labiobarbus festivus - Labiobarbus lamellifer - Labiobarbus leptocheilus (ปลาสร้อยลูกนุ่น, ปลาหลาวทอง, ปลาซ่า) - Labiobarbus lineatus (ปลาสร้อยลูกกล้วยลาย, ปลาตาแดง, ปลาหลาวทอง, ปลาซ่า) - Labiobarbus ocellatus - Labiobarbus sabanus - Labiobarbus siamensis (ปลาสร้อยลูกกล้วย, ปลามะลิเลื้อย, ปลาซ่า, ปลาคุยลาม)</doc>
ผู้ที่ตั้งวงศ์ปลาตะเพียน หรือ Cyprinidae เมื่อปี ค.ศ. 1823 คือใคร
{ "answer": [ "โยฮัน กุนราด ฟัน ฮัสเซิลต์" ], "answer_begin_position": [ 186 ], "answer_end_position": [ 212 ] }
1,571
791,675
<doc id="791675" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=791675" title="สกุลลาบิโอบาร์บุส">สกุลลาบิโอบาร์บุส ลาบิโอบาร์บุส () เป็นสกุลของปลาสร้อยจำพวกหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) โยฮัน กุนราด ฟัน ฮัสเซิลต์ ได้ตั้งสกุลนี้ขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1823 โดยกำหนดเป็นชื่อสกุลของปลา 2 ชนิดจากเกาะชวา ต่อมาในปี ค.ศ. 1842 ฌอร์ฌ กูว์วีเย และอาชีล วาล็องเซียน ได้ตั้งสกุลดังกิลา (Dangila) ขึ้น โดยไม่ทราบว่าฟัน ฮัสเซิลต์ ได้ตั้งสกุลลาบิโอบาร์บุสไว้ก่อนแล้ว ดังกิลาจึงกลายเป็นชื่อพ้องไป ปลาในสกุลลาบิโอบาร์บุสเป็นปลาที่พบได้ชุกชุมในแหล่งน้ำจืดของประเทศไทยรวมถึงประเทศอื่นในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ มีลักษณะเด่นที่สังเกตได้ง่าย คือ ฐานครีบหลังยาว มีก้านครีบแขนง 21–27 ก้าน จะงอยปากมีติ่งเนื้อเล็ก ๆ เป็นกระจุก ริมปากบนและล่างติดต่อรวมกันที่มุมปาก มีหนวดยาว 2 คู่ โดยแบ่งออกเป็นปลายจะงอยปาก 1 คู่ และมุมปาก 1 คู่ มีเกล็ดเล็ก มีความยาวเต็มที่ไม่เกิน 30 เซนติเมตร ในประเทศไทย อาจเรียกปลาบางชนิดในสกุลนี้ว่า "ปลาซ่า" เนื่องมาจากพฤติกรรมที่รวมตัวกันเป็นฝูง เมื่อตกใจจะกระโดดขึ้นเหนือน้ำพร้อม ๆ กันจนเกิดเสียงดังซ่า โดยชื่อปลาซ่ายังหมายรวมถึงปลาในวงศ์ปลาตะเพียนอื่น ๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันอีกด้วย เช่น ปลาในสกุลปลาสร้อยนกเขา (Osteochilus) เป็นต้นการจำแนกการจำแนก. - Labiobarbus cyanopareja - Labiobarbus fasciatus - Labiobarbus festivus - Labiobarbus lamellifer - Labiobarbus leptocheilus (ปลาสร้อยลูกนุ่น, ปลาหลาวทอง, ปลาซ่า) - Labiobarbus lineatus (ปลาสร้อยลูกกล้วยลาย, ปลาตาแดง, ปลาหลาวทอง, ปลาซ่า) - Labiobarbus ocellatus - Labiobarbus sabanus - Labiobarbus siamensis (ปลาสร้อยลูกกล้วย, ปลามะลิเลื้อย, ปลาซ่า, ปลาคุยลาม)</doc>
ลาบิโอบาร์บุส เป็นสกุลหนึ่งของปลาสร้อยซึ่งอยู่ในวงศ์ปลาอะไร
{ "answer": [ "ปลาตะเพียน" ], "answer_begin_position": [ 162 ], "answer_end_position": [ 172 ] }
174
56,789
<doc id="56789" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=56789" title="เขื่อนปากมูล">เขื่อนปากมูล เขื่อนปากมูล เป็นเขื่อนในจังหวัดอุบลราชธานีกั้นแม่น้ำมูล อยู่ห่างจากลำน้ำมูลและน้ำโขงไปทางตะวันตกประมาณ 5.5 กิโลเมตร ก่อสร้างโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยได้รับการสนับสนุนจากธนาคารโลก โดยมีค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 240 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2537 ในเมื่อ 2510 สำนักงานพลังงานแห่งชาติ หรือปัจจุบันคือ กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน (พพ.) มีดำริที่จะพัฒนาแหล่งน้ำแหล่งนี้ โดยได้รับความร่วมจากรัฐบาลฝรั่งเศส ได้ทำการสำรวจและศึกษาโครงการพัฒนาลุ่มแม่น้ำมูลตอนล่าง และกำหนดที่ตั้งตัวเขื่อนไว้ที่บริเวณแก่งตะนะ ซึ่งห่างจากปากแม่น้ำขึ้นมา 4 กิโลเมตร เมื่อปี 2522 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก็ได้รับโครงการนี้ไปดำเนินการต่อ และได้ศึกษาเพิ่มเติมก็รู้ว่าประโยชน์ที่จะได้รับนั้นคุ้มค่า แต่ผลดระทบที่สำคัญของโครงการนี้คือ การโยกย้ายที่อยู่ของประชากรในแถบนั้นถึง 4,000 หลังคาเรือน ทำให้ต้องชะลอโครงการไว้ก่อน ในปี 2528 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้มีการทบทวนโครงการอีกครั้ง โดยย้ายที่ตั้งตัวเขื่อนมาทางเหนือน้ำประมาณ 1.5 กิโลเมตร และลดระดับการกักเก็บน้ำลง เพื่อให้ประชากรได้รับผลกระทบน้อยที่สุด และผลสรุปในปี 2532 มีประชากรได้รับผลกระทบรวม 903 ราย เป็นผลกระทบต่ออาคารบ้านเรือนรวม 248 หลังคาเรือน ซึ่งลดลงจากปี 2522 เป็นอย่างมาก ในภาคอีสานนั้นต้องรับไฟจากส่วนกลาง และต้องซื้อจากการไฟฟ้าของลาวด้วย ทำให้ระบบของภาคอีสานไม่มั่งคง และฟุ่มเฟือย จึงจำเป็นต้องเร่งสร้างแหล่งผลิตไฟฟ้าในภาคอีสานขึ้น เพื่อสร้างความมั่นคงให้กับโรงไฟฟ้าของภาค โครงการนี้จัดอยู่ในแผนการพัฒนาไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6 (2530-2340) ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนปากมูลที่จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2533 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้เริ่มดำเนินการก่อสร้างในเดือนมิถุนายน 2533 และเสร็จสมบูรณ์ในเดือนพฤศจิกายน 2537 ตามกำหนดการที่ตั้งไว้ผลกระทบการก่อสร้าง ผลกระทบการก่อสร้าง. โครงการสร้างเขื่อนปากมูลนี้ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากเนื่องจากมีผลกระทบต่อการทำประมงในแม่น้ำมูลเนื่องจากตัวเขื่อนขวางการเดินทางของปลาในฤดูวางไข่ เพราะตั้งปิดประตูเขื่อนไม่เช่นนั้นไม่สามารถให้กำลังการผลิตกระแสไฟฟ้าอย่างพอเพียง ได้แก้ไขคือ คือเปิดประตูเขื่อน "สุดบาน" ปีละ 4 เดือนในฤดูปลาวางไข่ ปี 2550 มีมติให้รักษาระดับน้ำในแม่น้ำมูลไว้ที่ 106-108 ม.รท จึงต้องปิดประตูเขื่อนและชาวบ้านได้เข้ามาประท้วงกดดัน ครม.พิจารณาเปิดเขื่อนปากมูล ทั้งนี้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้จ่ายเงินเป็นค่าเวนคืนมากกว่า 1,500 ล้านบาท รวมทั้งชดเชยค่าสูญเสียรายได้จากการประมงอีกกว่า 500 ล้านบาท แต่ยังมีปัญหาการจ่ายเงินชดเชยแก่ชาวบ้านไม่ครบถ้วน ผลกระทบอีกอย่างหนึ่งของเขื่อนนี้ก็คือ เกิดน้ำท่วมในพื้นที่กว้าง 117 ตารางกิโลเมตร และทำให้ประชาชนประมาณ 3,000 ครอบครัวต้องอพยพ ทั้งนี้มีผู้ได้รับผลกระทบทั้งสิ้นประมาณ 25,000 คน และด้วยเหตุนี้จึงเกิดการชุมนุมประท้วงที่ทำเนียบรัฐบาลอยู่เป็นระยะๆ</doc>
เขื่อนปากมูลในจังหวัดอุบลราชธานี ใช้งบประมาณในการก่อสร้างเท่าไร
{ "answer": [ "240 ล้านดอลลาร์สหรัฐ" ], "answer_begin_position": [ 314 ], "answer_end_position": [ 334 ] }
1,426
56,789
<doc id="56789" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=56789" title="เขื่อนปากมูล">เขื่อนปากมูล เขื่อนปากมูล เป็นเขื่อนในจังหวัดอุบลราชธานีกั้นแม่น้ำมูล อยู่ห่างจากลำน้ำมูลและน้ำโขงไปทางตะวันตกประมาณ 5.5 กิโลเมตร ก่อสร้างโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยได้รับการสนับสนุนจากธนาคารโลก โดยมีค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 240 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2537 ในเมื่อ 2510 สำนักงานพลังงานแห่งชาติ หรือปัจจุบันคือ กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน (พพ.) มีดำริที่จะพัฒนาแหล่งน้ำแหล่งนี้ โดยได้รับความร่วมจากรัฐบาลฝรั่งเศส ได้ทำการสำรวจและศึกษาโครงการพัฒนาลุ่มแม่น้ำมูลตอนล่าง และกำหนดที่ตั้งตัวเขื่อนไว้ที่บริเวณแก่งตะนะ ซึ่งห่างจากปากแม่น้ำขึ้นมา 4 กิโลเมตร เมื่อปี 2522 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก็ได้รับโครงการนี้ไปดำเนินการต่อ และได้ศึกษาเพิ่มเติมก็รู้ว่าประโยชน์ที่จะได้รับนั้นคุ้มค่า แต่ผลดระทบที่สำคัญของโครงการนี้คือ การโยกย้ายที่อยู่ของประชากรในแถบนั้นถึง 4,000 หลังคาเรือน ทำให้ต้องชะลอโครงการไว้ก่อน ในปี 2528 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้มีการทบทวนโครงการอีกครั้ง โดยย้ายที่ตั้งตัวเขื่อนมาทางเหนือน้ำประมาณ 1.5 กิโลเมตร และลดระดับการกักเก็บน้ำลง เพื่อให้ประชากรได้รับผลกระทบน้อยที่สุด และผลสรุปในปี 2532 มีประชากรได้รับผลกระทบรวม 903 ราย เป็นผลกระทบต่ออาคารบ้านเรือนรวม 248 หลังคาเรือน ซึ่งลดลงจากปี 2522 เป็นอย่างมาก ในภาคอีสานนั้นต้องรับไฟจากส่วนกลาง และต้องซื้อจากการไฟฟ้าของลาวด้วย ทำให้ระบบของภาคอีสานไม่มั่งคง และฟุ่มเฟือย จึงจำเป็นต้องเร่งสร้างแหล่งผลิตไฟฟ้าในภาคอีสานขึ้น เพื่อสร้างความมั่นคงให้กับโรงไฟฟ้าของภาค โครงการนี้จัดอยู่ในแผนการพัฒนาไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6 (2530-2340) ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนปากมูลที่จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2533 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้เริ่มดำเนินการก่อสร้างในเดือนมิถุนายน 2533 และเสร็จสมบูรณ์ในเดือนพฤศจิกายน 2537 ตามกำหนดการที่ตั้งไว้ผลกระทบการก่อสร้าง ผลกระทบการก่อสร้าง. โครงการสร้างเขื่อนปากมูลนี้ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากเนื่องจากมีผลกระทบต่อการทำประมงในแม่น้ำมูลเนื่องจากตัวเขื่อนขวางการเดินทางของปลาในฤดูวางไข่ เพราะตั้งปิดประตูเขื่อนไม่เช่นนั้นไม่สามารถให้กำลังการผลิตกระแสไฟฟ้าอย่างพอเพียง ได้แก้ไขคือ คือเปิดประตูเขื่อน "สุดบาน" ปีละ 4 เดือนในฤดูปลาวางไข่ ปี 2550 มีมติให้รักษาระดับน้ำในแม่น้ำมูลไว้ที่ 106-108 ม.รท จึงต้องปิดประตูเขื่อนและชาวบ้านได้เข้ามาประท้วงกดดัน ครม.พิจารณาเปิดเขื่อนปากมูล ทั้งนี้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้จ่ายเงินเป็นค่าเวนคืนมากกว่า 1,500 ล้านบาท รวมทั้งชดเชยค่าสูญเสียรายได้จากการประมงอีกกว่า 500 ล้านบาท แต่ยังมีปัญหาการจ่ายเงินชดเชยแก่ชาวบ้านไม่ครบถ้วน ผลกระทบอีกอย่างหนึ่งของเขื่อนนี้ก็คือ เกิดน้ำท่วมในพื้นที่กว้าง 117 ตารางกิโลเมตร และทำให้ประชาชนประมาณ 3,000 ครอบครัวต้องอพยพ ทั้งนี้มีผู้ได้รับผลกระทบทั้งสิ้นประมาณ 25,000 คน และด้วยเหตุนี้จึงเกิดการชุมนุมประท้วงที่ทำเนียบรัฐบาลอยู่เป็นระยะๆ</doc>
เขื่อนปากมูล เป็นเขื่อนในจังหวัดอะไร
{ "answer": [ "อุบลราชธานี" ], "answer_begin_position": [ 130 ], "answer_end_position": [ 141 ] }
175
214,660
<doc id="214660" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=214660" title="โมโนไซต์">โมโนไซต์ โมโนไซต์ () เป็นเม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่ง และเป็นส่วนหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมนุษย์ โมโนไซต์ปกติจะมีประมาณ 3 - 5 % มีอายุ 5 - 6 วัน ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมด้วยวิธีฟาโกไซโตซิส มีความสามารถสูงพอๆกับ neutrophil และสร้าง antibody ต่อต้านเชื้อโรค หน้าที่ของโมโนไซต์ () โมโนไซท์ มีหน้าที่ป้องร่างกายเช่นเดียวกับนิวโตรฟิล สามารถกินเชื้อจุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ หรือแม้แต่เม็ดเลือดแดง โดยที่โมโนไซท์สามารถกินของใหญ่ ๆ ได้ บางทีจึงเรียกกันว่า มัค โครเฟจ (macrophage) เทียบกับนิวโตรฟิล ซึ่งเรียกว่า ไมโครเฟจ(microphage) โมโนไซท์มีชีวิตในกระแสโลหิตที่หมุนเวียนเพียงระยะสั้นเท่านั้น ก่อนที่จะเคลื่อนย้ายเข้าสู่เนื้อเยื่อ แล้วเปลี่ยนรูปร่างกลายเป็น ฮิสติโอไซท์ (Histiocyte)</doc>
โมโนไซต์เป็นเม็ดเลือดชนิดใด
{ "answer": [ "เม็ดเลือดขาว" ], "answer_begin_position": [ 108 ], "answer_end_position": [ 120 ] }
176
214,660
<doc id="214660" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=214660" title="โมโนไซต์">โมโนไซต์ โมโนไซต์ () เป็นเม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่ง และเป็นส่วนหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมนุษย์ โมโนไซต์ปกติจะมีประมาณ 3 - 5 % มีอายุ 5 - 6 วัน ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมด้วยวิธีฟาโกไซโตซิส มีความสามารถสูงพอๆกับ neutrophil และสร้าง antibody ต่อต้านเชื้อโรค หน้าที่ของโมโนไซต์ () โมโนไซท์ มีหน้าที่ป้องร่างกายเช่นเดียวกับนิวโตรฟิล สามารถกินเชื้อจุลินทรีย์ เช่น บัคเตรี เชื้อรา ยีสต์ หรือแม้แต่เม็ดเลือดแดง โดยที่โมโนไซท์สามารถกินของใหญ่ ๆ ได้ บางทีจึงเรียกกันว่า มัค โครเฟจ (macrophage) เทียบกับนิวโตรฟิล ซึ่งเรียกว่า ไมโครเฟจ(microphage) โมโนไซท์มีชีวิตในกระแสโลหิตที่หมุนเวียนเพียงระยะสั้นเท่านั้น ก่อนที่จะเคลื่อนย้ายเข้าสู่เนื้อเยื่อ แล้วเปลี่ยนรูปร่างกลายเป็น ฮิสติโอไซท์ (Histiocyte)</doc>
โมโนไซต์ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมในร่างกายด้วยวิธีที่เรียกว่าอะไร
{ "answer": [ "วิธีฟาโกไซโตซิส" ], "answer_begin_position": [ 259 ], "answer_end_position": [ 274 ] }
177
227,140
<doc id="227140" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=227140" title="เฮนรี ริช เอิร์ลที่ 1 แห่งฮอลแลนด์">เฮนรี ริช เอิร์ลที่ 1 แห่งฮอลแลนด์ เฮนรี ริช เอิร์ลแห่งฮอลแลนด์ที่ 1 (ภาษาอังกฤษ: Henry Rich, 1st Earl of Holland) (19 สิงหาคม ค.ศ. 1590 - 9 มีนาคม ค.ศ. 1649) เฮนรี ริชเป็นขุนนางและนักการทหารชาวอังกฤษ เฮนรี ริชเกิดเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1590 เป็นบุตรของโรเบิร์ต ริช เอิร์ลแห่งวอริคที่ 1และเพ็นนิโลพี เดเวอโรซ์ และป็นน้องชายของ โรเบิร์ต ริช เอิร์ลแห่งวอริคที่ 2 และเริ่มรับราชการเป็นนายทหาร ในปี ค.ศ. 1610 ในราชสำนักและไม่นานก็ได้เป็นคนโปรดของพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แต่ในที่สุดก็สิ้นสุดลงเมื่อพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ขึ้นครองราชย์ เฮนรี ริชได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “เอิร์ลแห่งฮอลแลนด์” ในปี ค.ศ. 1624 และในที่สุดก็ได้เป็นนายทัพฝ่ายนิยมกษัตริย์ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ แต่ต่อมาถูกจับได้และถูกประหารชีวิตเมื่อวันที่ 9 มีนาคม ค.ศ. 1649 ในข้อหากบฏต่อแผ่นดิน</doc>
เฮนรี ริช เอิร์ลแห่งฮอลแลนด์ที่ 1 ถูกประหารชีวิตในข้อหาอะไร
{ "answer": [ "ข้อหากบฏต่อแผ่นดิน" ], "answer_begin_position": [ 844 ], "answer_end_position": [ 862 ] }
1,477
227,140
<doc id="227140" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=227140" title="เฮนรี ริช เอิร์ลที่ 1 แห่งฮอลแลนด์">เฮนรี ริช เอิร์ลที่ 1 แห่งฮอลแลนด์ เฮนรี ริช เอิร์ลแห่งฮอลแลนด์ที่ 1 (ภาษาอังกฤษ: Henry Rich, 1st Earl of Holland) (19 สิงหาคม ค.ศ. 1590 - 9 มีนาคม ค.ศ. 1649) เฮนรี ริชเป็นขุนนางและนักการทหารชาวอังกฤษ เฮนรี ริชเกิดเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1590 เป็นบุตรของโรเบิร์ต ริช เอิร์ลแห่งวอริคที่ 1และเพ็นนิโลพี เดเวอโรซ์ และป็นน้องชายของ โรเบิร์ต ริช เอิร์ลแห่งวอริคที่ 2 และเริ่มรับราชการเป็นนายทหาร ในปี ค.ศ. 1610 ในราชสำนักและไม่นานก็ได้เป็นคนโปรดของพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แต่ในที่สุดก็สิ้นสุดลงเมื่อพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ขึ้นครองราชย์ เฮนรี ริชได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “เอิร์ลแห่งฮอลแลนด์” ในปี ค.ศ. 1624 และในที่สุดก็ได้เป็นนายทัพฝ่ายนิยมกษัตริย์ในสงครามกลางเมืองอังกฤษ แต่ต่อมาถูกจับได้และถูกประหารชีวิตเมื่อวันที่ 9 มีนาคม ค.ศ. 1649 ในข้อหากบฏต่อแผ่นดิน</doc>
เฮนรี ริช เอิร์ลแห่งฮอลแลนด์ที่ 1 เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "19" ], "answer_begin_position": [ 335 ], "answer_end_position": [ 337 ] }
178
299,739
<doc id="299739" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=299739" title="จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์">จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เป็นนักร้องชาวไทย มีพี่สาว 1 คน ศึกษาที่โรงเรียนฮาร์โรว์อินเตอร์เนชันนอลสคูล ได้เล่นละครเวทีเรื่อง "บัลลังก์เมฆ" ของถกลเกียรติ วีรวรรณ ซึ่งก็ได้ชักชวนให้ออกอัลบั้มเพลง ได้ไปทดสอบที่บริษัทอาราทิสต์แล้วผ่าน จึงได้ออกอัลบั้ม มีผลงานอัลบั้มแรกชุด พลับ (พ.ศ. 2545) มีเพลงดังอย่าง "คุณครูครับ" นอกจากนั้นในอัลบั้มนี้ยังมีเพลงฮิตในอดีตที่นำมาทำใหม่ โดยปรับเนื้อร้อง ดนตรีให้เหมาะกับเด็ก และทำให้สนุกสนาน มีสีสัน อย่างเช่น "ใครใครก็ไม่รักผม" "ก็เลยเล่าสู่กันฟัง" "เหนื่อยไหมคนดี" "คนไม่สำคัญ""คุณครูครับ" "ลูกชิ้นของฉัน" "สงสัยจัง" พอเสร็จจากอัลบั้มชุดแรก ก็ได้ไปเล่นละครเรื่อง หน้าต่างสีชมพู-ประตูสีฟ้า และทำผลงานอัลบั้มชุดที่ 2 มีชื่ออัลบั้มว่า จุฑาภัทร ภาค 2 (พ.ศ. 2546) โดยมีแขกรับเชิญในอัลบั้มอย่าง ไวพจน์ เพชรสุพรรณ มาร่วมร้องในเพลง "แหล่กล่อมหลาน", จิระศักดิ์ ปิ่นสุวรรณ มาช่วยร้องในเพลง "Teddy Bear" ,สีหนุ่ม เชิญยิ้ม มาร้องในเพลง ลาวดวงเดือน, พี สะเดิด ในเพลง เด๊อน้องเด้อ และคนสุดท้าย จิระศักดิ์ ปานพุ่ม ร้องกับพลับในเพลง แมงมุมลาย - Oh Yeah! นอกจากนั้นยังได้รับเป็นพรีเซนเตอร์ให้นมพร่องมันเนย ตราซูเปอร์จิ๋ว รวมถึง โฆษณาโอวัลติน หลังจากนั้นห่างหายจากวงการบันเทิง เข้าศึกษาต่อที่สถาบันฟิลลิปส์เอกซ์เซเตอร์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์ สหรัฐอเมริกาจนจบชั้นมัธยมปลาย และได้เป็นแขกรับเชิญในรายการตีสิบ ทางช่อง 3 (ออกอากาศ 27 กรกฎาคม 2553) และในปี พ.ศ. 2554 ได้หวนกลับมาจับไมค์อีกครั้งในรอบ 10 ปี กับเพลง "ช่างโชคดีที่โลกนี้มีเธอ" ในอัลบั้ม Love Status ร่วมกับศิลปินอื่นๆอีกมากมาย ก่อนที่จะกลับไปศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาที่สหรัฐอเมริกา ได้จบการศึกษาสาขาคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย รัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกาและตอนนี้ทำงานเป็นที่ปรึกษาที่บริษัท The Boston Consulting Group จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ เป็นหลานของ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อดีตหัวหน้าพรรคมหาชนผลงานอัลบั้มผลงาน. อัลบั้ม. - พลับ (พ.ศ. 2545) - จุฑาภัทร ภาค 2 (พ.ศ. 2546) - อัลบั้มรวมศิลปิน Love Status (พ.ศ. 2554)การแสดงการแสดง. - ละครเวที บัลลังก์เมฆ เดอะมิวสิคัล รับบท ปรก,ปกรณ์ (ตอนเด็ก) - ละคร หน้าต่างสีชมพู ประตูสีฟ้า รับบท ฟ้าสว่าง - ละครซิทคอม เฮง เฮง เฮง (รับเชิญ)โฆษณาโฆษณา. - นมพร่องไขมันเนย ตราซูเปอร์จิ๋ว - โอวัลติน เจเล่พิธีกรพิธีกร. - English Minute คู่กับ แคลร์ ปัจฉิมานนท์</doc>
ละครเวทีของถกลเกียรติ วีรวรรณ ที่จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ได้เล่นมีชื่อเรื่องว่าอะไร
{ "answer": [ "บัลลังก์เมฆ" ], "answer_begin_position": [ 283 ], "answer_end_position": [ 294 ] }
1,497
299,739
<doc id="299739" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=299739" title="จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์">จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เป็นนักร้องชาวไทย มีพี่สาว 1 คน ศึกษาที่โรงเรียนฮาร์โรว์อินเตอร์เนชันนอลสคูล ได้เล่นละครเวทีเรื่อง "บัลลังก์เมฆ" ของถกลเกียรติ วีรวรรณ ซึ่งก็ได้ชักชวนให้ออกอัลบั้มเพลง ได้ไปทดสอบที่บริษัทอาราทิสต์แล้วผ่าน จึงได้ออกอัลบั้ม มีผลงานอัลบั้มแรกชุด พลับ (พ.ศ. 2545) มีเพลงดังอย่าง "คุณครูครับ" นอกจากนั้นในอัลบั้มนี้ยังมีเพลงฮิตในอดีตที่นำมาทำใหม่ โดยปรับเนื้อร้อง ดนตรีให้เหมาะกับเด็ก และทำให้สนุกสนาน มีสีสัน อย่างเช่น "ใครใครก็ไม่รักผม" "ก็เลยเล่าสู่กันฟัง" "เหนื่อยไหมคนดี" "คนไม่สำคัญ""คุณครูครับ" "ลูกชิ้นของฉัน" "สงสัยจัง" พอเสร็จจากอัลบั้มชุดแรก ก็ได้ไปเล่นละครเรื่อง หน้าต่างสีชมพู-ประตูสีฟ้า และทำผลงานอัลบั้มชุดที่ 2 มีชื่ออัลบั้มว่า จุฑาภัทร ภาค 2 (พ.ศ. 2546) โดยมีแขกรับเชิญในอัลบั้มอย่าง ไวพจน์ เพชรสุพรรณ มาร่วมร้องในเพลง "แหล่กล่อมหลาน", จิระศักดิ์ ปิ่นสุวรรณ มาช่วยร้องในเพลง "Teddy Bear" ,สีหนุ่ม เชิญยิ้ม มาร้องในเพลง ลาวดวงเดือน, พี สะเดิด ในเพลง เด๊อน้องเด้อ และคนสุดท้าย จิระศักดิ์ ปานพุ่ม ร้องกับพลับในเพลง แมงมุมลาย - Oh Yeah! นอกจากนั้นยังได้รับเป็นพรีเซนเตอร์ให้นมพร่องมันเนย ตราซูเปอร์จิ๋ว รวมถึง โฆษณาโอวัลติน หลังจากนั้นห่างหายจากวงการบันเทิง เข้าศึกษาต่อที่สถาบันฟิลลิปส์เอกซ์เซเตอร์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์ สหรัฐอเมริกาจนจบชั้นมัธยมปลาย และได้เป็นแขกรับเชิญในรายการตีสิบ ทางช่อง 3 (ออกอากาศ 27 กรกฎาคม 2553) และในปี พ.ศ. 2554 ได้หวนกลับมาจับไมค์อีกครั้งในรอบ 10 ปี กับเพลง "ช่างโชคดีที่โลกนี้มีเธอ" ในอัลบั้ม Love Status ร่วมกับศิลปินอื่นๆอีกมากมาย ก่อนที่จะกลับไปศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาที่สหรัฐอเมริกา ได้จบการศึกษาสาขาคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย รัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกาและตอนนี้ทำงานเป็นที่ปรึกษาที่บริษัท The Boston Consulting Group จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ เป็นหลานของ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อดีตหัวหน้าพรรคมหาชนผลงานอัลบั้มผลงาน. อัลบั้ม. - พลับ (พ.ศ. 2545) - จุฑาภัทร ภาค 2 (พ.ศ. 2546) - อัลบั้มรวมศิลปิน Love Status (พ.ศ. 2554)การแสดงการแสดง. - ละครเวที บัลลังก์เมฆ เดอะมิวสิคัล รับบท ปรก,ปกรณ์ (ตอนเด็ก) - ละคร หน้าต่างสีชมพู ประตูสีฟ้า รับบท ฟ้าสว่าง - ละครซิทคอม เฮง เฮง เฮง (รับเชิญ)โฆษณาโฆษณา. - นมพร่องไขมันเนย ตราซูเปอร์จิ๋ว - โอวัลติน เจเล่พิธีกรพิธีกร. - English Minute คู่กับ แคลร์ ปัจฉิมานนท์</doc>
จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ นักร้องชาวไทย เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "9" ], "answer_begin_position": [ 162 ], "answer_end_position": [ 163 ] }
3,248
299,739
<doc id="299739" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=299739" title="จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์">จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เป็นนักร้องชาวไทย มีพี่สาว 1 คน ศึกษาที่โรงเรียนฮาร์โรว์อินเตอร์เนชันนอลสคูล ได้เล่นละครเวทีเรื่อง "บัลลังก์เมฆ" ของถกลเกียรติ วีรวรรณ ซึ่งก็ได้ชักชวนให้ออกอัลบั้มเพลง ได้ไปทดสอบที่บริษัทอาราทิสต์แล้วผ่าน จึงได้ออกอัลบั้ม มีผลงานอัลบั้มแรกชุด พลับ (พ.ศ. 2545) มีเพลงดังอย่าง "คุณครูครับ" นอกจากนั้นในอัลบั้มนี้ยังมีเพลงฮิตในอดีตที่นำมาทำใหม่ โดยปรับเนื้อร้อง ดนตรีให้เหมาะกับเด็ก และทำให้สนุกสนาน มีสีสัน อย่างเช่น "ใครใครก็ไม่รักผม" "ก็เลยเล่าสู่กันฟัง" "เหนื่อยไหมคนดี" "คนไม่สำคัญ""คุณครูครับ" "ลูกชิ้นของฉัน" "สงสัยจัง" พอเสร็จจากอัลบั้มชุดแรก ก็ได้ไปเล่นละครเรื่อง หน้าต่างสีชมพู-ประตูสีฟ้า และทำผลงานอัลบั้มชุดที่ 2 มีชื่ออัลบั้มว่า จุฑาภัทร ภาค 2 (พ.ศ. 2546) โดยมีแขกรับเชิญในอัลบั้มอย่าง ไวพจน์ เพชรสุพรรณ มาร่วมร้องในเพลง "แหล่กล่อมหลาน", จิระศักดิ์ ปิ่นสุวรรณ มาช่วยร้องในเพลง "Teddy Bear" ,สีหนุ่ม เชิญยิ้ม มาร้องในเพลง ลาวดวงเดือน, พี สะเดิด ในเพลง เด๊อน้องเด้อ และคนสุดท้าย จิระศักดิ์ ปานพุ่ม ร้องกับพลับในเพลง แมงมุมลาย - Oh Yeah! นอกจากนั้นยังได้รับเป็นพรีเซนเตอร์ให้นมพร่องมันเนย ตราซูเปอร์จิ๋ว รวมถึง โฆษณาโอวัลติน หลังจากนั้นห่างหายจากวงการบันเทิง เข้าศึกษาต่อที่สถาบันฟิลลิปส์เอกซ์เซเตอร์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์ สหรัฐอเมริกาจนจบชั้นมัธยมปลาย และได้เป็นแขกรับเชิญในรายการตีสิบ ทางช่อง 3 (ออกอากาศ 27 กรกฎาคม 2553) และในปี พ.ศ. 2554 ได้หวนกลับมาจับไมค์อีกครั้งในรอบ 10 ปี กับเพลง "ช่างโชคดีที่โลกนี้มีเธอ" ในอัลบั้ม Love Status ร่วมกับศิลปินอื่นๆอีกมากมาย ก่อนที่จะกลับไปศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาที่สหรัฐอเมริกา ได้จบการศึกษาสาขาคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย รัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกาและตอนนี้ทำงานเป็นที่ปรึกษาที่บริษัท The Boston Consulting Group จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ เป็นหลานของ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อดีตหัวหน้าพรรคมหาชนผลงานอัลบั้มผลงาน. อัลบั้ม. - พลับ (พ.ศ. 2545) - จุฑาภัทร ภาค 2 (พ.ศ. 2546) - อัลบั้มรวมศิลปิน Love Status (พ.ศ. 2554)การแสดงการแสดง. - ละครเวที บัลลังก์เมฆ เดอะมิวสิคัล รับบท ปรก,ปกรณ์ (ตอนเด็ก) - ละคร หน้าต่างสีชมพู ประตูสีฟ้า รับบท ฟ้าสว่าง - ละครซิทคอม เฮง เฮง เฮง (รับเชิญ)โฆษณาโฆษณา. - นมพร่องไขมันเนย ตราซูเปอร์จิ๋ว - โอวัลติน เจเล่พิธีกรพิธีกร. - English Minute คู่กับ แคลร์ ปัจฉิมานนท์</doc>
ผลงานเพลงชุดแรกของ จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ มีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "พลับ" ], "answer_begin_position": [ 426 ], "answer_end_position": [ 430 ] }
3,249
299,739
<doc id="299739" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=299739" title="จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์">จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เป็นนักร้องชาวไทย มีพี่สาว 1 คน ศึกษาที่โรงเรียนฮาร์โรว์อินเตอร์เนชันนอลสคูล ได้เล่นละครเวทีเรื่อง "บัลลังก์เมฆ" ของถกลเกียรติ วีรวรรณ ซึ่งก็ได้ชักชวนให้ออกอัลบั้มเพลง ได้ไปทดสอบที่บริษัทอาราทิสต์แล้วผ่าน จึงได้ออกอัลบั้ม มีผลงานอัลบั้มแรกชุด พลับ (พ.ศ. 2545) มีเพลงดังอย่าง "คุณครูครับ" นอกจากนั้นในอัลบั้มนี้ยังมีเพลงฮิตในอดีตที่นำมาทำใหม่ โดยปรับเนื้อร้อง ดนตรีให้เหมาะกับเด็ก และทำให้สนุกสนาน มีสีสัน อย่างเช่น "ใครใครก็ไม่รักผม" "ก็เลยเล่าสู่กันฟัง" "เหนื่อยไหมคนดี" "คนไม่สำคัญ""คุณครูครับ" "ลูกชิ้นของฉัน" "สงสัยจัง" พอเสร็จจากอัลบั้มชุดแรก ก็ได้ไปเล่นละครเรื่อง หน้าต่างสีชมพู-ประตูสีฟ้า และทำผลงานอัลบั้มชุดที่ 2 มีชื่ออัลบั้มว่า จุฑาภัทร ภาค 2 (พ.ศ. 2546) โดยมีแขกรับเชิญในอัลบั้มอย่าง ไวพจน์ เพชรสุพรรณ มาร่วมร้องในเพลง "แหล่กล่อมหลาน", จิระศักดิ์ ปิ่นสุวรรณ มาช่วยร้องในเพลง "Teddy Bear" ,สีหนุ่ม เชิญยิ้ม มาร้องในเพลง ลาวดวงเดือน, พี สะเดิด ในเพลง เด๊อน้องเด้อ และคนสุดท้าย จิระศักดิ์ ปานพุ่ม ร้องกับพลับในเพลง แมงมุมลาย - Oh Yeah! นอกจากนั้นยังได้รับเป็นพรีเซนเตอร์ให้นมพร่องมันเนย ตราซูเปอร์จิ๋ว รวมถึง โฆษณาโอวัลติน หลังจากนั้นห่างหายจากวงการบันเทิง เข้าศึกษาต่อที่สถาบันฟิลลิปส์เอกซ์เซเตอร์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์ สหรัฐอเมริกาจนจบชั้นมัธยมปลาย และได้เป็นแขกรับเชิญในรายการตีสิบ ทางช่อง 3 (ออกอากาศ 27 กรกฎาคม 2553) และในปี พ.ศ. 2554 ได้หวนกลับมาจับไมค์อีกครั้งในรอบ 10 ปี กับเพลง "ช่างโชคดีที่โลกนี้มีเธอ" ในอัลบั้ม Love Status ร่วมกับศิลปินอื่นๆอีกมากมาย ก่อนที่จะกลับไปศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาที่สหรัฐอเมริกา ได้จบการศึกษาสาขาคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย รัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกาและตอนนี้ทำงานเป็นที่ปรึกษาที่บริษัท The Boston Consulting Group จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ เป็นหลานของ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ อดีตหัวหน้าพรรคมหาชนผลงานอัลบั้มผลงาน. อัลบั้ม. - พลับ (พ.ศ. 2545) - จุฑาภัทร ภาค 2 (พ.ศ. 2546) - อัลบั้มรวมศิลปิน Love Status (พ.ศ. 2554)การแสดงการแสดง. - ละครเวที บัลลังก์เมฆ เดอะมิวสิคัล รับบท ปรก,ปกรณ์ (ตอนเด็ก) - ละคร หน้าต่างสีชมพู ประตูสีฟ้า รับบท ฟ้าสว่าง - ละครซิทคอม เฮง เฮง เฮง (รับเชิญ)โฆษณาโฆษณา. - นมพร่องไขมันเนย ตราซูเปอร์จิ๋ว - โอวัลติน เจเล่พิธีกรพิธีกร. - English Minute คู่กับ แคลร์ ปัจฉิมานนท์</doc>
จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ หรือน้องพลับ เคยเล่นละครเวทีเรื่องใด
{ "answer": [ "บัลลังก์เมฆ" ], "answer_begin_position": [ 283 ], "answer_end_position": [ 294 ] }
179
761,382
<doc id="761382" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=761382" title="Kiss Me รักล้นใจนายแกล้งจุ๊บ">Kiss Me รักล้นใจนายแกล้งจุ๊บ Kiss Me รักล้นใจนายแกล้งจุ๊บ เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนว โรแมนติก-คอมเมดี นำแสดงโดย พิรัชต์ นิธิไพศาลกุล, สุชาร์ มานะยิ่ง, เศรษฐพงศ์ เพียงพอ, พิม บิวแบร์, เตชินท์ ชยุติ, พิมพ์พัชร์ วัชรเสวี และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มออกอากาศตอนแรกวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558 ทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 19.00 - 20.00 น. ในวันจันทร์ที่ 7 ธ.ค. 2558 เลื่อนเวลาเป็น 20.00 - 21.00 เวลาเดิมในวันอังคาร เวลา 19.00 น. ทางช่อง ทรูโฟร์ยู ผลิตโดย บริษัท เฮโล โปรดักส์ชั่น จำกัด โดยผู้จัด สรัสวดี วงศ์สมเพ็ชร บทประพันธ์โดย เนปาลี (วรรธนา วีรยวรรธน) บทโทรทัศน์โดย เนปาลี (วรรธนา วีรยวรรธน) กำกับการแสดงโดย สรัสวดี วงศ์สมเพ็ชรเรื่องย่อรายชื่อนักแสดงนำรายชื่อนักแสดงนำ. - พิรัชต์ นิธิไพศาลกุล รับบทเป็น เท็นเท็น - สุชาร์ มานะยิ่ง รับบทเป็น ตะหลิว - เศรษฐพงศ์ เพียงพอ รับบทเป็น คิง - พิม บิวแบร์ รับบทเป็น น้ำค้าง - เตชินท์ ชยุติ รับบทเป็น แดน - พิมพ์พัชร วัชรเสวี รับบทเป็น นานา - ธิติวัฒน์ ลิ้มพิมพ์เพราะ รับบทเป็น เท็นเท็นตอนเด็ก - ณัฐธยาน์ องค์ศรีตระกูล รับบทเป็น ตะหลิวตอนเด็ก - ชินารดี อนุพงษ์ภิชาติ รับบทเป็น จูน - ยู วาทานาเบ รับบทเป็น เทอร์โบ - ปวีณา โรจน์จินดางาม รับบทเป็น แป่ว - สุธาดา จงใจพระ รับบทเป็น ยูยี่ - วรท มรรคดวงแก้ว รับบทเป็น อาร์มนักแสดงรับเชิญนักแสดงรับเชิญ. - ลีโอ พุฒ รับบทเป็น ไท - สุเชาว์ พงษ์วิไล รับบทเป็น หมอยา - พฒิพงศ์ พรหมสาขา ณ สกลนคร รับบทเป็น บอมบ์ - อินทิรา ยืนยง รับบทเป็น แก้ว - จิราวัฒน์ วชิรศรัณย์ภัทร รับบทเป็น สง่า มะยุระ (ห่าน) - มุกมาดา โรจนาธนบุญ รับบทเป็น นวลเพลงประกอบละครเพลงประกอบละคร. 1. เพลง Kiss Me - ขับร้องโดย สุชาร์ มานะยิ่ง และ พิรัชต์ นิธิไพศาลกุล 2. เพลง รักให้ได้ - ขับร้องโดย ฉัตรตรา โบ๊ด 3. เพลง รักล้นใจ - ขับร้องโดย พุฒิพงศ์ ศรีวัฒน์ 4. เพลง โคตรเหงา - ขับร้องโดย เศรษฐพงศ์ เพียงพอ</doc>
ละครโทรทัศน์เรื่อง Kiss Me รักล้นใจนายแกล้งจุ๊บ ที่ออกอากาศตอนแรกวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558 นักแสดงนำชายมีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "พิรัชต์ นิธิไพศาลกุล" ], "answer_begin_position": [ 211 ], "answer_end_position": [ 231 ] }
180
761,382
<doc id="761382" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=761382" title="Kiss Me รักล้นใจนายแกล้งจุ๊บ">Kiss Me รักล้นใจนายแกล้งจุ๊บ Kiss Me รักล้นใจนายแกล้งจุ๊บ เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนว โรแมนติก-คอมเมดี นำแสดงโดย พิรัชต์ นิธิไพศาลกุล, สุชาร์ มานะยิ่ง, เศรษฐพงศ์ เพียงพอ, พิม บิวแบร์, เตชินท์ ชยุติ, พิมพ์พัชร์ วัชรเสวี และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มออกอากาศตอนแรกวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558 ทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 19.00 - 20.00 น. ในวันจันทร์ที่ 7 ธ.ค. 2558 เลื่อนเวลาเป็น 20.00 - 21.00 เวลาเดิมในวันอังคาร เวลา 19.00 น. ทางช่อง ทรูโฟร์ยู ผลิตโดย บริษัท เฮโล โปรดักส์ชั่น จำกัด โดยผู้จัด สรัสวดี วงศ์สมเพ็ชร บทประพันธ์โดย เนปาลี (วรรธนา วีรยวรรธน) บทโทรทัศน์โดย เนปาลี (วรรธนา วีรยวรรธน) กำกับการแสดงโดย สรัสวดี วงศ์สมเพ็ชรเรื่องย่อรายชื่อนักแสดงนำรายชื่อนักแสดงนำ. - พิรัชต์ นิธิไพศาลกุล รับบทเป็น เท็นเท็น - สุชาร์ มานะยิ่ง รับบทเป็น ตะหลิว - เศรษฐพงศ์ เพียงพอ รับบทเป็น คิง - พิม บิวแบร์ รับบทเป็น น้ำค้าง - เตชินท์ ชยุติ รับบทเป็น แดน - พิมพ์พัชร วัชรเสวี รับบทเป็น นานา - ธิติวัฒน์ ลิ้มพิมพ์เพราะ รับบทเป็น เท็นเท็นตอนเด็ก - ณัฐธยาน์ องค์ศรีตระกูล รับบทเป็น ตะหลิวตอนเด็ก - ชินารดี อนุพงษ์ภิชาติ รับบทเป็น จูน - ยู วาทานาเบ รับบทเป็น เทอร์โบ - ปวีณา โรจน์จินดางาม รับบทเป็น แป่ว - สุธาดา จงใจพระ รับบทเป็น ยูยี่ - วรท มรรคดวงแก้ว รับบทเป็น อาร์มนักแสดงรับเชิญนักแสดงรับเชิญ. - ลีโอ พุฒ รับบทเป็น ไท - สุเชาว์ พงษ์วิไล รับบทเป็น หมอยา - พฒิพงศ์ พรหมสาขา ณ สกลนคร รับบทเป็น บอมบ์ - อินทิรา ยืนยง รับบทเป็น แก้ว - จิราวัฒน์ วชิรศรัณย์ภัทร รับบทเป็น สง่า มะยุระ (ห่าน) - มุกมาดา โรจนาธนบุญ รับบทเป็น นวลเพลงประกอบละครเพลงประกอบละคร. 1. เพลง Kiss Me - ขับร้องโดย สุชาร์ มานะยิ่ง และ พิรัชต์ นิธิไพศาลกุล 2. เพลง รักให้ได้ - ขับร้องโดย ฉัตรตรา โบ๊ด 3. เพลง รักล้นใจ - ขับร้องโดย พุฒิพงศ์ ศรีวัฒน์ 4. เพลง โคตรเหงา - ขับร้องโดย เศรษฐพงศ์ เพียงพอ</doc>
ผู้กำกับการแสดงเรื่อง Kiss Me รักล้นใจนายแกล้งจุ๊บ ที่ออกอากาศตอนแรกวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558 คือใคร
{ "answer": [ "สรัสวดี วงศ์สมเพ็ชร" ], "answer_begin_position": [ 704 ], "answer_end_position": [ 723 ] }
181
396,037
<doc id="396037" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=396037" title="ปลาวัวดำ">ปลาวัวดำ ปลาวัวดำ () เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Odonus niger อยู่ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Odonusลักษณะ ลักษณะ. มีลำตัวแบนข้างเป็นรูปไข่ ครีบหางเว้าลึกเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวมีปลายเรียว ตัวมีสีน้ำเงินอมเทา ปากมีลายคาดสีน้ำเงินถึงครีบอกและตา ขอบเกล็ดเป็นตารางเห็นได้ชัด ครีบหลังและครีบก้นมีขอบสีน้ำเงิน มีส่วนหัวที่ใหญ่ปลาวัวสกุลอื่น ๆ แม้ครีบต่าง ๆ จะมีขนาดเล็กทำให้ว่ายน้ำได้ไม่เร็วนัก แต่ก็คล่องแล่ว กินกุ้ง, หอย, ปู และสัตว์หน้าดินต่าง ๆ รวมถึงฟองน้ำและแพลงก์ตอน เป็นอาหาร มีขนาดใหญ่ที่สุดประมาณ 50 เซนติเมตร แต่มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 30 เซนติเมตรที่อยู่ ที่อยู่. อาศัยในแนวปะการังของแถบอินโด-แปซิฟิก พบได้ตั้งแต่ความลึก 0-35 เมตร ตั้งแต่ชายฝั่งทวีปแอฟริกาในด้านแอฟริกาใต้, ทะเลแดง, นิวแคลิโดเนีย และเกรต แบร์ริเออร์ รีฟ ในน่านน้ำไทยพบได้ในฝั่งของทะเลอันดามัน แต่เป็นปลาที่พบได้น้อยมาก เป็นปลาที่ใช้ตกและบริโภคได้ เนื้อมีรสชาติดี และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม นับว่าเป็นปลาวัวอีกชนิดหนึ่งที่เลี้ยงได้ง่าย แต่ไม่ควรเลี้ยงรวมกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอย่างอื่น เพราะจะถูกกินเป็นอาหารได้ และควรเลี้ยงในตู้ที่มีความจุน้ำขนาดใหญ่</doc>
ปลาวัวดำเป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่าอะไร
{ "answer": [ "Odonus niger" ], "answer_begin_position": [ 146 ], "answer_end_position": [ 158 ] }
182
396,037
<doc id="396037" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=396037" title="ปลาวัวดำ">ปลาวัวดำ ปลาวัวดำ () เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Odonus niger อยู่ในวงศ์ปลาวัว (Balistidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Odonusลักษณะ ลักษณะ. มีลำตัวแบนข้างเป็นรูปไข่ ครีบหางเว้าลึกเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวมีปลายเรียว ตัวมีสีน้ำเงินอมเทา ปากมีลายคาดสีน้ำเงินถึงครีบอกและตา ขอบเกล็ดเป็นตารางเห็นได้ชัด ครีบหลังและครีบก้นมีขอบสีน้ำเงิน มีส่วนหัวที่ใหญ่ปลาวัวสกุลอื่น ๆ แม้ครีบต่าง ๆ จะมีขนาดเล็กทำให้ว่ายน้ำได้ไม่เร็วนัก แต่ก็คล่องแล่ว กินกุ้ง, หอย, ปู และสัตว์หน้าดินต่าง ๆ รวมถึงฟองน้ำและแพลงก์ตอน เป็นอาหาร มีขนาดใหญ่ที่สุดประมาณ 50 เซนติเมตร แต่มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 30 เซนติเมตรที่อยู่ ที่อยู่. อาศัยในแนวปะการังของแถบอินโด-แปซิฟิก พบได้ตั้งแต่ความลึก 0-35 เมตร ตั้งแต่ชายฝั่งทวีปแอฟริกาในด้านแอฟริกาใต้, ทะเลแดง, นิวแคลิโดเนีย และเกรต แบร์ริเออร์ รีฟ ในน่านน้ำไทยพบได้ในฝั่งของทะเลอันดามัน แต่เป็นปลาที่พบได้น้อยมาก เป็นปลาที่ใช้ตกและบริโภคได้ เนื้อมีรสชาติดี และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม นับว่าเป็นปลาวัวอีกชนิดหนึ่งที่เลี้ยงได้ง่าย แต่ไม่ควรเลี้ยงรวมกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอย่างอื่น เพราะจะถูกกินเป็นอาหารได้ และควรเลี้ยงในตู้ที่มีความจุน้ำขนาดใหญ่</doc>
ปลาวัวดำ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Odonus niger จัดเป็นเพียงปลาชนิดเดียวที่อยู่ในสกุลใด
{ "answer": [ "สกุล Odonus" ], "answer_begin_position": [ 222 ], "answer_end_position": [ 233 ] }
183
218,985
<doc id="218985" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=218985" title="เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ในรัชกาลที่ 1">เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ในรัชกาลที่ 1 เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว เป็นเจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 1 ธิดาพระยาจักรีเมืองนครศรีธรรมราช มีพระราชโอรส ๒ พระองค์ คือ- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์ (พระองค์เสือ) (23 สิงหาคม พ.ศ. 2328 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2380) สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3 พระชันษา 51 ปี - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษ์รณเรศ (ภายหลังถูกถอดพระยศเป็น หม่อมไกรสร) (26 ธันวาคม พ.ศ. 2334 - 13 ธันวาคม พ.ศ. 2391) สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3 พระชันษา 56 ปี ทรงเป็นต้นสกุล</doc>
พระมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์ มีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว" ], "answer_begin_position": [ 144 ], "answer_end_position": [ 164 ] }
184
218,985
<doc id="218985" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=218985" title="เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ในรัชกาลที่ 1">เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ในรัชกาลที่ 1 เจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว เป็นเจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 1 ธิดาพระยาจักรีเมืองนครศรีธรรมราช มีพระราชโอรส ๒ พระองค์ คือ- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอภัยทัต กรมหลวงเทพพลภักดิ์ (พระองค์เสือ) (23 สิงหาคม พ.ศ. 2328 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2380) สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3 พระชันษา 51 ปี - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษ์รณเรศ (ภายหลังถูกถอดพระยศเป็น หม่อมไกรสร) (26 ธันวาคม พ.ศ. 2334 - 13 ธันวาคม พ.ศ. 2391) สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3 พระชันษา 56 ปี ทรงเป็นต้นสกุล</doc>
พระบิดาของเจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ในรัชกาลที่ 1 มีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "พระยาจักรีเมืองนครศรีธรรมราช" ], "answer_begin_position": [ 199 ], "answer_end_position": [ 227 ] }
185
607,730
<doc id="607730" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=607730" title="จอห์น เอ. เอกิ้น">จอห์น เอ. เอกิ้น จอห์น เอ เอกิ้น () เป็นมิชชันนารีผู้เผยแผ่นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียน BCC หรือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยในปัจจุบันประวัติ ประวัติ. จอห์น เอ เอกิ้น เกิดวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1854 ที่มลรัฐเพนซิลวาเนีย ครอบครัว จอห์น อาศัยอยู่ในรัฐเพนซิลวาเนีย ซึ่งมีร้านขายของเล็ก ๆ เป็นกิจการของครอบครัว และเป็นครอบครัวที่เชื่อในพระเจ้า พ่อ และแม่เป็นผู้เชื่อที่เข้มแข็งในพระเจ้า และตั้งแต่เด็ก จอห์น ได้รับการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ที่ให้อยู่ในทางของพระเจ้าและพ่อแม่ฝึกฝนให้จอห์นให้เข้มแข็งและรู้จักอดทนกับปัญหาและรู้จักช่วยเหลือและทำงานด้วยตัวเองมาตั้งแต่เด็กและมากกว่านั้นสิ่งที่พ่อแม่ของจอห์นเน้นอยู่เสมอทุกครั้งที่สอนคือเรื่องของความสัตย์ซื่อกับพระเจ้าฉะนั้นจอห์นเป็นคนที่สัตย์ซื่อกับพระเจ้าและชอบงานรับใช้มาตั้งแต่เด็ก ความฝันของจอห์นเวลานั้นอยากจะเป็นศิษยาภิบาล เหมือนกับศิษยาภิบาลที่โบสถ์ของเขา ฉะนั้นจอห์นมีหัวใจแห่งการรับใช้มาตั้งแต่เด็กและพระเจ้าทรงเรียกจอห์นในเวลานั้น โดยการใส่ภาระใจให้จอห์นอยากเป็นมิชชันนารี เวลานั้นจอห์นอยากออกไปเป็นมิชชันนารีและสนใจ เกี่ยวกับงานมิชชั่น และในที่สุดพระเจ้าก็เปิดทางให้จอห์นได้มีโอกาสออกไปรับใช้ แต่ครั้งนี้ไม่ได้ไปในฐานะมิชชันนารีแต่ไปในฐานะครู ซึ่งในช่วงเวลานั้นจอห์นได้สำเร็จการศึกษาพอดี จอห์นสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยวอชิงตันและเจฟเฟอ์สัน (Washington and Jefferson College) ในปี ค.ศ. 1879 จอห์นจึงตัดสินใจออกเดินทางเข้าสู่ราชอาณาจักรสยาม ในฐานะเป็นครูใน พ.ศ. 2423 (ค.ศ. 1880)และจอห์นก็เริ่มต้นทำงานในสยามโดยรับราชการเป็นครูสอนอยู่ที่โรงเรียนสวนอนันต์ หรือ King’s Collegeอยู่ 4ปี และในช่วงเวลานั้นจอห์นทนเห็นสภาพสังคมและสภาพจิตใจของคนในเวลานั้นไม่ไหว ซึ่งทำให้จอห์นเป็นห่วงสภาพจิตใจ จิตวิญญาณของพวกเขาอย่างมาก และอยากช่วยเหลือด้านสังคม ด้านจิตใจ และด้านจิตวิญญาณคนเหล่านี้ จอห์นตัดสินใจกลับสหรัฐเพื่อจะศึกษาต่อด้านศาสนาศาสตร์เพื่อจะสมัครเป็นมิชชั่น และในที่สุดจอห์นก็ได้เดินทางกลับมาสยามอีกครั้งในฐานะมิชชันนารี และพร้อมกับ ภรรยาของเขาคือ มิสลอร่า โอล์มสเตด และการกลับมาครั้งนี้จอห์นและภรรยาได้นำการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนามาสู่ชาวสยาม จอห์นได้เริ่มก่อตั้งโรงเรียนเพื่อให้คนยากไร้ได้มาศึกษา และสอนด้านศิลธรรม จริยธรรม เพื่อนำชาวสยามได้รับความรอดด้านจิตวิญญาณ โดยตั้งโรงเรียนคือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยผลงาน ผลงาน. ในปี พ.ศ. 2431 (ค.ศ.1888) ได้ก่อตั้งโรงเรียนบางกอกคริสเตียนไฮสคูล ที่ ต.กุฏีจีน ซึ่งภายหลังได้ไปรวมกับโรงเรียนที่ตั้งโดยศาสนาจารย์แมททูน เป็นโรงเรียนสำเหร่บอยสคูล และในปี (ค.ศ.1904) ย้ายโรงเรียนมาอยู่ที่ ถนนประมวญ และเมื่อ (พ.ศ. 2456)ได้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยแหล่งข้อมูลแหล่งข้อมูล. - พิษณุ อรรฆภิญญ์,จอห์น เอ เอกิ้น ( ผู้มากับความฝัน ) ,พิมพ์ครั้งที่1 ตุลาคม 2010, บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด - จอร์จ บรัดเลย์ แมคฟาร์แลนด์ (พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์)) บรรณาธิการ, จิตราภรณ์ ตันรัตนกุล แปล "หนึ่งศตวรรษในสยาม 1828-1928", อินเตอร์ พับลิชชิ่ง เอ็นเตอร์ไพรส์, พิมพ์ครั้งที่ 1, พ.ศ. 2555.</doc>
จอห์น เอ. เอกิ้น ผู้ก่อตั้งโรงเรียน BCC หรือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เกิดที่รัฐใดในประเทศสหรัฐอเมริกา
{ "answer": [ "รัฐเพนซิลวาเนีย" ], "answer_begin_position": [ 391 ], "answer_end_position": [ 406 ] }
1,555
607,730
<doc id="607730" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=607730" title="จอห์น เอ. เอกิ้น">จอห์น เอ. เอกิ้น จอห์น เอ เอกิ้น () เป็นมิชชันนารีผู้เผยแผ่นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียน BCC หรือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยในปัจจุบันประวัติ ประวัติ. จอห์น เอ เอกิ้น เกิดวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1854 ที่มลรัฐเพนซิลวาเนีย ครอบครัว จอห์น อาศัยอยู่ในรัฐเพนซิลวาเนีย ซึ่งมีร้านขายของเล็ก ๆ เป็นกิจการของครอบครัว และเป็นครอบครัวที่เชื่อในพระเจ้า พ่อ และแม่เป็นผู้เชื่อที่เข้มแข็งในพระเจ้า และตั้งแต่เด็ก จอห์น ได้รับการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ที่ให้อยู่ในทางของพระเจ้าและพ่อแม่ฝึกฝนให้จอห์นให้เข้มแข็งและรู้จักอดทนกับปัญหาและรู้จักช่วยเหลือและทำงานด้วยตัวเองมาตั้งแต่เด็กและมากกว่านั้นสิ่งที่พ่อแม่ของจอห์นเน้นอยู่เสมอทุกครั้งที่สอนคือเรื่องของความสัตย์ซื่อกับพระเจ้าฉะนั้นจอห์นเป็นคนที่สัตย์ซื่อกับพระเจ้าและชอบงานรับใช้มาตั้งแต่เด็ก ความฝันของจอห์นเวลานั้นอยากจะเป็นศิษยาภิบาล เหมือนกับศิษยาภิบาลที่โบสถ์ของเขา ฉะนั้นจอห์นมีหัวใจแห่งการรับใช้มาตั้งแต่เด็กและพระเจ้าทรงเรียกจอห์นในเวลานั้น โดยการใส่ภาระใจให้จอห์นอยากเป็นมิชชันนารี เวลานั้นจอห์นอยากออกไปเป็นมิชชันนารีและสนใจ เกี่ยวกับงานมิชชั่น และในที่สุดพระเจ้าก็เปิดทางให้จอห์นได้มีโอกาสออกไปรับใช้ แต่ครั้งนี้ไม่ได้ไปในฐานะมิชชันนารีแต่ไปในฐานะครู ซึ่งในช่วงเวลานั้นจอห์นได้สำเร็จการศึกษาพอดี จอห์นสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยวอชิงตันและเจฟเฟอ์สัน (Washington and Jefferson College) ในปี ค.ศ. 1879 จอห์นจึงตัดสินใจออกเดินทางเข้าสู่ราชอาณาจักรสยาม ในฐานะเป็นครูใน พ.ศ. 2423 (ค.ศ. 1880)และจอห์นก็เริ่มต้นทำงานในสยามโดยรับราชการเป็นครูสอนอยู่ที่โรงเรียนสวนอนันต์ หรือ King’s Collegeอยู่ 4ปี และในช่วงเวลานั้นจอห์นทนเห็นสภาพสังคมและสภาพจิตใจของคนในเวลานั้นไม่ไหว ซึ่งทำให้จอห์นเป็นห่วงสภาพจิตใจ จิตวิญญาณของพวกเขาอย่างมาก และอยากช่วยเหลือด้านสังคม ด้านจิตใจ และด้านจิตวิญญาณคนเหล่านี้ จอห์นตัดสินใจกลับสหรัฐเพื่อจะศึกษาต่อด้านศาสนาศาสตร์เพื่อจะสมัครเป็นมิชชั่น และในที่สุดจอห์นก็ได้เดินทางกลับมาสยามอีกครั้งในฐานะมิชชันนารี และพร้อมกับ ภรรยาของเขาคือ มิสลอร่า โอล์มสเตด และการกลับมาครั้งนี้จอห์นและภรรยาได้นำการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนามาสู่ชาวสยาม จอห์นได้เริ่มก่อตั้งโรงเรียนเพื่อให้คนยากไร้ได้มาศึกษา และสอนด้านศิลธรรม จริยธรรม เพื่อนำชาวสยามได้รับความรอดด้านจิตวิญญาณ โดยตั้งโรงเรียนคือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยผลงาน ผลงาน. ในปี พ.ศ. 2431 (ค.ศ.1888) ได้ก่อตั้งโรงเรียนบางกอกคริสเตียนไฮสคูล ที่ ต.กุฏีจีน ซึ่งภายหลังได้ไปรวมกับโรงเรียนที่ตั้งโดยศาสนาจารย์แมททูน เป็นโรงเรียนสำเหร่บอยสคูล และในปี (ค.ศ.1904) ย้ายโรงเรียนมาอยู่ที่ ถนนประมวญ และเมื่อ (พ.ศ. 2456)ได้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยแหล่งข้อมูลแหล่งข้อมูล. - พิษณุ อรรฆภิญญ์,จอห์น เอ เอกิ้น ( ผู้มากับความฝัน ) ,พิมพ์ครั้งที่1 ตุลาคม 2010, บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด - จอร์จ บรัดเลย์ แมคฟาร์แลนด์ (พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์)) บรรณาธิการ, จิตราภรณ์ ตันรัตนกุล แปล "หนึ่งศตวรรษในสยาม 1828-1928", อินเตอร์ พับลิชชิ่ง เอ็นเตอร์ไพรส์, พิมพ์ครั้งที่ 1, พ.ศ. 2555.</doc>
จอห์น เอ เอกิ้น ผู้ก่อตั้งโรงเรียน BCC หรือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เกิดวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "28" ], "answer_begin_position": [ 320 ], "answer_end_position": [ 322 ] }
186
99,126
<doc id="99126" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=99126" title="กวินเน็ธ พัลโทรว์">กวินเน็ธ พัลโทรว์ กวินเน็ธ เคต พัลโทรว์ () เกิดวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1972 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน คว้ารางวัลดารานำหญิงลูกโลกทองคำและออสการ์จากภาพยนตร์เรื่อง Shakespeare in Love และยังเคยเป็นนักร้องออกซิงเกิ้ลในเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง Duets พัลโทรว์ย้ายมาอยู่กับสามี คริส มาร์ติน แห่งวงโคลด์เพลย์ที่สหราชอาณาจักร มีลูกด้วยกันสองคนชื่อ แอปเปิ้ล กับ โมเสสประวัติ ประวัติ. พัลโทรว์เป็นลูกสาวของโปรดิวเซอร์ทีวี บรูซ พัลโทรว เติบโตที่นิวยอร์กติดตามพ่อไปงานบันเทิงบ่อยๆ ในปี 2534 จึงเลิกเรียนประวัติศาสตร์ศิลปะ ที่มหาวิทยาลัยแห่งแคลิฟอร์เนีย ที่ซานตา บาร์บาร่า เพื่อเข้าวงการ ซึ่งทางพ่อแม่อนุญาต ในปี 2534 นั้นเอง สตีเฟน สปีลเบิร์ก เลือกเธอแสดงบทเวนดี้ สาวของปีเตอร์ แพน ใน Hook ต่อมาได้บทนำในมินิซีรีส์เรื่อง Cruel Doubt และอีกหลายเรื่องในบทตัวประกอบ เช่น Malice 2536 Flesh and Bone 2536 Vicious Circle 2537 Jefferson in Paris 2538 Moonlight and Valentino 2538 กวินเน็ธก็เริ่มเป็นที่รู้จักจากภาพยนตร์เรื่อง Seven ที่เล่นคู่กับ แบรด พิตต์ ปี 2538 ตามด้วย The Pallbearer 2539 Emma 2540 Hard Eight 2540 Hush 2541 และใน The Great Expectation และ Shakespere in Loveชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. ในเรื่องชีวิตรัก หลังจากเลิกรากับแบรด พิตต์ แล้วกวินเน็ธ ต่อมาได้หันมาควงเบน แอฟเฟล็ก ดารา-นักเขียนบทไฟแรงที่ได้รับรางวัลออสการ์จากเรื่อง Good Will Hunting และเลิกกัน จนปี 2545 จนกระทั่งได้รู้จักกับคริส มาร์ติน นักร้องนำวงโคลด์เพลย์ และแต่งงานในปี 2547และเลิกกันในปี 2557</doc>
นักแสดงนำหญิงที่ได้รับรางวัลออสการ์จากภาพยนตร์เรื่อง Shakespeare in Love คือใคร
{ "answer": [ "กวินเน็ธ เคต พัลโทรว์" ], "answer_begin_position": [ 108 ], "answer_end_position": [ 129 ] }
1,438
99,126
<doc id="99126" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=99126" title="กวินเน็ธ พัลโทรว์">กวินเน็ธ พัลโทรว์ กวินเน็ธ เคต พัลโทรว์ () เกิดวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 1972 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน คว้ารางวัลดารานำหญิงลูกโลกทองคำและออสการ์จากภาพยนตร์เรื่อง Shakespeare in Love และยังเคยเป็นนักร้องออกซิงเกิ้ลในเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง Duets พัลโทรว์ย้ายมาอยู่กับสามี คริส มาร์ติน แห่งวงโคลด์เพลย์ที่สหราชอาณาจักร มีลูกด้วยกันสองคนชื่อ แอปเปิ้ล กับ โมเสสประวัติ ประวัติ. พัลโทรว์เป็นลูกสาวของโปรดิวเซอร์ทีวี บรูซ พัลโทรว เติบโตที่นิวยอร์กติดตามพ่อไปงานบันเทิงบ่อยๆ ในปี 2534 จึงเลิกเรียนประวัติศาสตร์ศิลปะ ที่มหาวิทยาลัยแห่งแคลิฟอร์เนีย ที่ซานตา บาร์บาร่า เพื่อเข้าวงการ ซึ่งทางพ่อแม่อนุญาต ในปี 2534 นั้นเอง สตีเฟน สปีลเบิร์ก เลือกเธอแสดงบทเวนดี้ สาวของปีเตอร์ แพน ใน Hook ต่อมาได้บทนำในมินิซีรีส์เรื่อง Cruel Doubt และอีกหลายเรื่องในบทตัวประกอบ เช่น Malice 2536 Flesh and Bone 2536 Vicious Circle 2537 Jefferson in Paris 2538 Moonlight and Valentino 2538 กวินเน็ธก็เริ่มเป็นที่รู้จักจากภาพยนตร์เรื่อง Seven ที่เล่นคู่กับ แบรด พิตต์ ปี 2538 ตามด้วย The Pallbearer 2539 Emma 2540 Hard Eight 2540 Hush 2541 และใน The Great Expectation และ Shakespere in Loveชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว. ในเรื่องชีวิตรัก หลังจากเลิกรากับแบรด พิตต์ แล้วกวินเน็ธ ต่อมาได้หันมาควงเบน แอฟเฟล็ก ดารา-นักเขียนบทไฟแรงที่ได้รับรางวัลออสการ์จากเรื่อง Good Will Hunting และเลิกกัน จนปี 2545 จนกระทั่งได้รู้จักกับคริส มาร์ติน นักร้องนำวงโคลด์เพลย์ และแต่งงานในปี 2547และเลิกกันในปี 2557</doc>
กวินเน็ธ เคต พัลโทรว์ นักแสดงชาวอเมริกัน เกิดวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "27" ], "answer_begin_position": [ 144 ], "answer_end_position": [ 146 ] }
187
106,595
<doc id="106595" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=106595" title="เสือเฒ่า">เสือเฒ่า เสือเฒ่า เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2503 ระบบถ่ายทำฟิล์ม 16 มม., สี สร้างโดยไทยไตรมิตรภาพยนตร์ อำนวยการสร้างโดย แท้ ประกาศวุฒิสาร กำกับการแสดงโดย ครูเนรมิต นำแสดงโดย พันคำ รับบทเสือเฒ่า, ลือชัย นฤนาท, อาคม มกรานนท์, รุ้งลาวัลย์ พิบูลสันติ, เชาว์ แคล่วคล่อง, ไศลทิพย์ ตาปนานนท์ เข้าฉายเมื่อ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2503 ภาพยนตร์เรื่องนี้เข้าฉายที่โรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมกรุง และโรงภาพยนตร์เฉลิมบุรีเรื่องย่อมีเดีย</doc>
ภาพยนตร์ไทยเรื่องเสือเฒ่า ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2503 ใครเป็นผู้กำกับการแสดง
{ "answer": [ "ครูเนรมิต" ], "answer_begin_position": [ 246 ], "answer_end_position": [ 255 ] }
188
106,595
<doc id="106595" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=106595" title="เสือเฒ่า">เสือเฒ่า เสือเฒ่า เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2503 ระบบถ่ายทำฟิล์ม 16 มม., สี สร้างโดยไทยไตรมิตรภาพยนตร์ อำนวยการสร้างโดย แท้ ประกาศวุฒิสาร กำกับการแสดงโดย ครูเนรมิต นำแสดงโดย พันคำ รับบทเสือเฒ่า, ลือชัย นฤนาท, อาคม มกรานนท์, รุ้งลาวัลย์ พิบูลสันติ, เชาว์ แคล่วคล่อง, ไศลทิพย์ ตาปนานนท์ เข้าฉายเมื่อ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2503 ภาพยนตร์เรื่องนี้เข้าฉายที่โรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมกรุง และโรงภาพยนตร์เฉลิมบุรีเรื่องย่อมีเดีย</doc>
ภาพยนตร์ไทยเรื่องเสือเฒ่าที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2503 นักแสดงที่สวมบทบาทเป็นเสือเฒ่าคือใคร
{ "answer": [ "พันคำ" ], "answer_begin_position": [ 266 ], "answer_end_position": [ 271 ] }
189
180,657
<doc id="180657" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=180657" title="หอคอยบรรหาร-แจ่มใส">หอคอยบรรหาร-แจ่มใส หอคอยบรรหาร-แจ่มใส เป็นหอคอยแห่งหนึ่งในสุพรรณบุรี มีความสูง 123.25 เมตร มีชั้นสำหรับชมวิวที่ระดับ 78.75 เมตร ฐานกว้าง 30 เมตร ตั้งอยู่บริเวณสวนเฉลิมภัทรราชินี ตำบลท่าพี่เลี้ยง อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัด โดยมีนิทรรศการด้านประวัติศาสตร์ของสุพรรณบุรีด้วย</doc>
หอคอยบรรหาร-แจ่มใส ตั้งอยู่ในจังหวัดอะไรของประเทศไทย
{ "answer": [ "สุพรรณบุรี" ], "answer_begin_position": [ 151 ], "answer_end_position": [ 161 ] }
1,466
180,657
<doc id="180657" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=180657" title="หอคอยบรรหาร-แจ่มใส">หอคอยบรรหาร-แจ่มใส หอคอยบรรหาร-แจ่มใส เป็นหอคอยแห่งหนึ่งในสุพรรณบุรี มีความสูง 123.25 เมตร มีชั้นสำหรับชมวิวที่ระดับ 78.75 เมตร ฐานกว้าง 30 เมตร ตั้งอยู่บริเวณสวนเฉลิมภัทรราชินี ตำบลท่าพี่เลี้ยง อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัด โดยมีนิทรรศการด้านประวัติศาสตร์ของสุพรรณบุรีด้วย</doc>
หอคอยบรรหาร-แจ่มใส เป็นหอคอยแห่งหนึ่งในสุพรรณบุรีมีความสูงเท่าไร
{ "answer": [ "123.25 เมตร" ], "answer_begin_position": [ 172 ], "answer_end_position": [ 183 ] }
190
130,199
<doc id="130199" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=130199" title="พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง">พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง [สิ-หฺริ-รัด-บุด-สะ-บง] ลางแห่งสะกดว่า สิริรัตนบุษบง หรือ ศิริรัตน์บุษบง (4 มกราคม 2448 — 6 กรกฎาคม 2533) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตรพระประวัติ พระประวัติ. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง เรียกโดยลำลองว่า "ท่านพระองค์หญิงใหญ่" หรือ "ท่านพระองค์ใหญ่" ประสูติเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2448 เป็นพระบุตรพระองค์ที่สองและเป็นพระธิดาพระองค์แรกในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต กับหม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร เมื่อแรกประสูติมีพระนามว่า หม่อมเจ้าศิริรัตนบุษบง บริพัตร ครั้นในปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ยกพระบุตรของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิตที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สมเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ทั้งสาย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง เสกสมรสกับหม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล แต่ไม่มีพระบุตรด้วยกัน มีเพียงบุตรบุญธรรมเพียงคนเดียวคือฤทธิ์ดำรง ดิศกุล สมรสกับแก้วตา ดิศกุล (สกุลเดิม: หังสสูต) มีบุตรคืออาชวฤทธิ์ ดิศกุล ในปี พ.ศ. 2506 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบงกับพวก ได้อุทิศที่ดินเนื้อที่ 339.06 ตารางวา มูลค่า 1,695,300 บาท แก่เทศบาลนครกรุงเทพเพื่อตัดถนนเส้นใหม่ต่อกับถนนบริพัตรโดยไม่คิดมูลค่าตอบแทนใด ๆ การนี้กระทรวงมหาดไทยได้พิจารณาว่าทรงเสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวมควรแก่การสรรเสริญ จึงได้ถวายเครื่องหมายตอบแทนผู้ช่วยเหลือราชการพลเรือนสำหรับหมู่คณะ ชนิดติดตั้ง ชั้นเครื่องหมายทองประดับเพชรแก่พระองค์กับพวก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2533งานพระนิพนธ์งานพระนิพนธ์. - พระประวัติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต. กรุงเทพฯ : วันพาณิชย์, 2524, 95 หน้า - ทูนกระหม่อมบริพัตรกับการดนตรี. กรุงเทพฯ : จันวาณิชย์, 2524, 169 หน้า (พระนิพนธ์ร่วมกับ นายแพทย์ พูนพิศ อมาตยกุล) - พระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต. พิมพ์เนื่องในการพระราชทานเพลิงศพ พันเอกหม่อมราชวงศ์ถวัลย์มงคล โสณกุล 20 กันยายน 2533. กรุงเทพฯ : เรือนแก้ว, 2534, 207 หน้าพระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าศิริรัตนบุษบง บริพัตร (4 มกราคม พ.ศ. 2448 — 6 มกราคม พ.ศ. 2453) - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง (6 มกราคม พ.ศ. 2453 — 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2533)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2469 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) (ท.จ.ว.)พงศาวลี</doc>
พระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง มีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร" ], "answer_begin_position": [ 405 ], "answer_end_position": [ 431 ] }
191
130,199
<doc id="130199" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=130199" title="พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง">พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง [สิ-หฺริ-รัด-บุด-สะ-บง] ลางแห่งสะกดว่า สิริรัตนบุษบง หรือ ศิริรัตน์บุษบง (4 มกราคม 2448 — 6 กรกฎาคม 2533) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตรพระประวัติ พระประวัติ. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง เรียกโดยลำลองว่า "ท่านพระองค์หญิงใหญ่" หรือ "ท่านพระองค์ใหญ่" ประสูติเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2448 เป็นพระบุตรพระองค์ที่สองและเป็นพระธิดาพระองค์แรกในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต กับหม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร เมื่อแรกประสูติมีพระนามว่า หม่อมเจ้าศิริรัตนบุษบง บริพัตร ครั้นในปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ยกพระบุตรของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิตที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สมเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ทั้งสาย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง เสกสมรสกับหม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล แต่ไม่มีพระบุตรด้วยกัน มีเพียงบุตรบุญธรรมเพียงคนเดียวคือฤทธิ์ดำรง ดิศกุล สมรสกับแก้วตา ดิศกุล (สกุลเดิม: หังสสูต) มีบุตรคืออาชวฤทธิ์ ดิศกุล ในปี พ.ศ. 2506 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบงกับพวก ได้อุทิศที่ดินเนื้อที่ 339.06 ตารางวา มูลค่า 1,695,300 บาท แก่เทศบาลนครกรุงเทพเพื่อตัดถนนเส้นใหม่ต่อกับถนนบริพัตรโดยไม่คิดมูลค่าตอบแทนใด ๆ การนี้กระทรวงมหาดไทยได้พิจารณาว่าทรงเสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวมควรแก่การสรรเสริญ จึงได้ถวายเครื่องหมายตอบแทนผู้ช่วยเหลือราชการพลเรือนสำหรับหมู่คณะ ชนิดติดตั้ง ชั้นเครื่องหมายทองประดับเพชรแก่พระองค์กับพวก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2533งานพระนิพนธ์งานพระนิพนธ์. - พระประวัติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต. กรุงเทพฯ : วันพาณิชย์, 2524, 95 หน้า - ทูนกระหม่อมบริพัตรกับการดนตรี. กรุงเทพฯ : จันวาณิชย์, 2524, 169 หน้า (พระนิพนธ์ร่วมกับ นายแพทย์ พูนพิศ อมาตยกุล) - พระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต. พิมพ์เนื่องในการพระราชทานเพลิงศพ พันเอกหม่อมราชวงศ์ถวัลย์มงคล โสณกุล 20 กันยายน 2533. กรุงเทพฯ : เรือนแก้ว, 2534, 207 หน้าพระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - หม่อมเจ้าศิริรัตนบุษบง บริพัตร (4 มกราคม พ.ศ. 2448 — 6 มกราคม พ.ศ. 2453) - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง (6 มกราคม พ.ศ. 2453 — 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2533)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2469 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) (ท.จ.ว.)พงศาวลี</doc>
พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง สมรสกับใคร
{ "answer": [ "หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล" ], "answer_begin_position": [ 1073 ], "answer_end_position": [ 1096 ] }
192
520,936
<doc id="520936" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=520936" title="มายาสีมุก">มายาสีมุก มายาสีมุก เป็นละครโทรทัศน์ไทย เป็นบทประพันธ์ของ ทวิตา เขียนบทโทรทัศน์โดย เอื้องอรุณ สมิตสุวรรณ, เทอดโชค เกียรติสุขเกษม, จุฑามาศ สาคร ผลิตโดย บริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) กำกับการแสดงโดย ธีรศักดิ์ พรหมเงิน นำแสดงโดย วีรภาพ สุภาพไพบูลย์ , อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 มายาสีมุก เป็นเรื่องราวของ ไข่มุก (กรีน อัษฎาพร) ลูกสาวของ จินจู (นุ่น สินิทธา) ดาราเกาหลีชื่อดัง กับนักดนตรีชาวไทย เพราะโชคชะตาเล่นตลก ทำให้เธอต้องกลายมาเป็นลูกสาวขอทาน ด้วยความเป็นคนใฝ่ดี สู้ชีวิต ทำให้เธอเรียนหนังสือจนจบ แต่กลับต้องถูกขายไปเป็นคนรับใช้ในบ้าน ชลดา (แก้ว อภิรดี) เจ้าแม่เงินกู้ เพื่อใช้หนี้ จากนั้นเธอก็ถูกบังคับให้แต่งงานกับ คีรินทร์ (วี วีรภาพ) หนุ่มหล่อจอมเจ้าชู้ แล้วความรักของทั้งคู่ก็เริ่มต้นขึ้น ท่ามกลางความเข้าใจผิดและคำหลอกลวงมากมายนักแสดงนักแสดง. - วีรภาพ สุภาพไพบูลย์ รับบท คีรินทร์ - อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล รับบท ไข่มุก / ปาร์ค ยองแอ - สินิทธา บุญยศักดิ์ รับบท ปาร์ค จินจู - ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี รับบท คธา - เมทนี บุรณศิริ รับบท คิม แทยอน - กวินตรา โพธิจักร รับบท นุชนารถ หิรัญกุล (นุช) (นางร้าย) - ฐิตินันท์ สุวรรณถาวร รับบท ภัทร์ทิมา (ลูกไก่) (นางร้าย) - อภิรดี ภวภูตานนท์ รับบท ชลล์ลดา (นางร้าย) - อาริษา วิลล์ รับบท กัลยากากี (กีกี้) (นางร้าย) - ฐาปกรณ์ ดิษยนันทน์ รับบท คุณเขมทัต / คุณเขม - เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ รับบท คุณหญิงมณี - พศิน ศรีธรรม รับบท พิพัฒน์ (พัฒน์) (ตัวร้าย) - อรุชา โตสวัสดิ์ รับบท วัฒนา (ตัวร้าย) - ราตรี วิทวัส รับบท วันดี - รุ่งระวี บริจินดากุล รับบท โฮ ซอนซา (นางร้าย) - ศิรินุช เพ็ชรอุไร รับบท ชม้อยศรี / ช้อย - อนิสา กร้านท์ รับบท รัตนา / หนูนา - กรกฎ พวงสวัสดิ์ รับบท กัสจังนักแสดงรับเชิญนักแสดงรับเชิญ. - จีรนันท์ มะโนแจ่ม - เคลลี่ ธนะพัฒน์ - ด.ญ. ทิพย์รดา ไมเออร์ รับบทเป็น มีร่าเพลงประกอบละครเพลงประกอบละคร. - เพลง จริงหรือหลอก ร้องโดย กรีน - อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล - เพลง ยิ่งเข้าใจ ยิ่งเจ็บ ร้องโดย กรีน - อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล - เพลง น้ำตาไข่มุก ร้องโดย กบ ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี</doc>
ละครโทรทัศน์ไทยเรื่องมายาสีมุก ใครเป็นบทประพันธ์
{ "answer": [ "ทวิตา" ], "answer_begin_position": [ 142 ], "answer_end_position": [ 147 ] }
193
520,936
<doc id="520936" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=520936" title="มายาสีมุก">มายาสีมุก มายาสีมุก เป็นละครโทรทัศน์ไทย เป็นบทประพันธ์ของ ทวิตา เขียนบทโทรทัศน์โดย เอื้องอรุณ สมิตสุวรรณ, เทอดโชค เกียรติสุขเกษม, จุฑามาศ สาคร ผลิตโดย บริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) กำกับการแสดงโดย ธีรศักดิ์ พรหมเงิน นำแสดงโดย วีรภาพ สุภาพไพบูลย์ , อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 มายาสีมุก เป็นเรื่องราวของ ไข่มุก (กรีน อัษฎาพร) ลูกสาวของ จินจู (นุ่น สินิทธา) ดาราเกาหลีชื่อดัง กับนักดนตรีชาวไทย เพราะโชคชะตาเล่นตลก ทำให้เธอต้องกลายมาเป็นลูกสาวขอทาน ด้วยความเป็นคนใฝ่ดี สู้ชีวิต ทำให้เธอเรียนหนังสือจนจบ แต่กลับต้องถูกขายไปเป็นคนรับใช้ในบ้าน ชลดา (แก้ว อภิรดี) เจ้าแม่เงินกู้ เพื่อใช้หนี้ จากนั้นเธอก็ถูกบังคับให้แต่งงานกับ คีรินทร์ (วี วีรภาพ) หนุ่มหล่อจอมเจ้าชู้ แล้วความรักของทั้งคู่ก็เริ่มต้นขึ้น ท่ามกลางความเข้าใจผิดและคำหลอกลวงมากมายนักแสดงนักแสดง. - วีรภาพ สุภาพไพบูลย์ รับบท คีรินทร์ - อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล รับบท ไข่มุก / ปาร์ค ยองแอ - สินิทธา บุญยศักดิ์ รับบท ปาร์ค จินจู - ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี รับบท คธา - เมทนี บุรณศิริ รับบท คิม แทยอน - กวินตรา โพธิจักร รับบท นุชนารถ หิรัญกุล (นุช) (นางร้าย) - ฐิตินันท์ สุวรรณถาวร รับบท ภัทร์ทิมา (ลูกไก่) (นางร้าย) - อภิรดี ภวภูตานนท์ รับบท ชลล์ลดา (นางร้าย) - อาริษา วิลล์ รับบท กัลยากากี (กีกี้) (นางร้าย) - ฐาปกรณ์ ดิษยนันทน์ รับบท คุณเขมทัต / คุณเขม - เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ รับบท คุณหญิงมณี - พศิน ศรีธรรม รับบท พิพัฒน์ (พัฒน์) (ตัวร้าย) - อรุชา โตสวัสดิ์ รับบท วัฒนา (ตัวร้าย) - ราตรี วิทวัส รับบท วันดี - รุ่งระวี บริจินดากุล รับบท โฮ ซอนซา (นางร้าย) - ศิรินุช เพ็ชรอุไร รับบท ชม้อยศรี / ช้อย - อนิสา กร้านท์ รับบท รัตนา / หนูนา - กรกฎ พวงสวัสดิ์ รับบท กัสจังนักแสดงรับเชิญนักแสดงรับเชิญ. - จีรนันท์ มะโนแจ่ม - เคลลี่ ธนะพัฒน์ - ด.ญ. ทิพย์รดา ไมเออร์ รับบทเป็น มีร่าเพลงประกอบละครเพลงประกอบละคร. - เพลง จริงหรือหลอก ร้องโดย กรีน - อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล - เพลง ยิ่งเข้าใจ ยิ่งเจ็บ ร้องโดย กรีน - อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล - เพลง น้ำตาไข่มุก ร้องโดย กบ ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี</doc>
ตัวละครที่ชื่อ คีรินทร์ ในละครเรื่องมายาสีมุก ที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 นำแสดงโดยใคร
{ "answer": [ "วีรภาพ สุภาพไพบูลย์" ], "answer_begin_position": [ 314 ], "answer_end_position": [ 333 ] }
194
59,378
<doc id="59378" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=59378" title="ม้านิลมังกร">ม้านิลมังกร ม้านิลมังกร หรือ ม้ามังกร สัตว์ประหลาดในวรรณคดีไทยเรื่องพระอภัยมณี ตามจินตนาการของสุนทรภู่ เป็นพาหนะของสุดสาคร โดยสุนทรภู่ได้รจนาถึงลักษณะของม้านิลมังกรไว้ว่า โดยที่สุนทรภู่มิได้ให้ที่มาที่ไปของม้านิลมังกร ว่าเป็นสัตว์อะไร มาจากไหน ปรากฏตัวครั้งแรกที่ชายหาด เกาะแก้วพิสดาร โดยสุดสาครไปพบเข้า เป็นสัตว์ดุร้าย มีอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ต่าง ๆ สุดสาครเป็นผู้ปราบได้จากไม้เท้าวิเศษของโยคี ในที่สุด ม้านิลมังกร ก็กลายเป็นพาหนะของสุดสาคร และเป็นสัตว์เลี้ยงที่ซื่อสัตย์ต่อนาย จากการมาช่วยสุดสาครที่ตกหน้าผาจากการทำร้ายของชีเปลือย ลักษณะของม้านิลมังกร ตัวเป็นม้าหัวเป็นมังกร หางเหมือนนาค ลำตัวเป็นเกล็ดสีดำแวววาว เหมือนดั่งชื่อ กินอาหารได้หลายอย่างดั่งคำกลอน จึงเชื่อว่าสุนทรภู่จินตนาการมาจากกิเลน(Kirin)ของจีน หรือวรรณคดีของจีนเรื่องต่าง ๆ เช่น ไซฮั่น เพราะไม่ปรากฏสัตว์ลักษณะเช่นนี้ในความเชื่อหรือวรรณคดีเรื่องใดของไทยมาก่อน อีกทั้งตัวละครและสถานที่ต่าง ๆ ในเรื่อง ก็มีที่มาจากหลายภาคส่วนของแต่ละประเทศอีกด้วย ปัจจุบัน ม้านิลมังกรใช้เป็นทั้งสัญลักษณ์และฉายาของสโมสรระยองเอฟซี สโมสรฟุตบอลในระดับไทยลีกดิวิชั่น 1</doc>
ม้านิลมังกร เป็นสัตว์ประหลาดในวรรณคดีไทย ที่แต่งโดยสุนทรภู่ มีชื่อเรื่องอะไร
{ "answer": [ "พระอภัยมณี" ], "answer_begin_position": [ 152 ], "answer_end_position": [ 162 ] }
195
59,378
<doc id="59378" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=59378" title="ม้านิลมังกร">ม้านิลมังกร ม้านิลมังกร หรือ ม้ามังกร สัตว์ประหลาดในวรรณคดีไทยเรื่องพระอภัยมณี ตามจินตนาการของสุนทรภู่ เป็นพาหนะของสุดสาคร โดยสุนทรภู่ได้รจนาถึงลักษณะของม้านิลมังกรไว้ว่า โดยที่สุนทรภู่มิได้ให้ที่มาที่ไปของม้านิลมังกร ว่าเป็นสัตว์อะไร มาจากไหน ปรากฏตัวครั้งแรกที่ชายหาด เกาะแก้วพิสดาร โดยสุดสาครไปพบเข้า เป็นสัตว์ดุร้าย มีอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ต่าง ๆ สุดสาครเป็นผู้ปราบได้จากไม้เท้าวิเศษของโยคี ในที่สุด ม้านิลมังกร ก็กลายเป็นพาหนะของสุดสาคร และเป็นสัตว์เลี้ยงที่ซื่อสัตย์ต่อนาย จากการมาช่วยสุดสาครที่ตกหน้าผาจากการทำร้ายของชีเปลือย ลักษณะของม้านิลมังกร ตัวเป็นม้าหัวเป็นมังกร หางเหมือนนาค ลำตัวเป็นเกล็ดสีดำแวววาว เหมือนดั่งชื่อ กินอาหารได้หลายอย่างดั่งคำกลอน จึงเชื่อว่าสุนทรภู่จินตนาการมาจากกิเลน(Kirin)ของจีน หรือวรรณคดีของจีนเรื่องต่าง ๆ เช่น ไซฮั่น เพราะไม่ปรากฏสัตว์ลักษณะเช่นนี้ในความเชื่อหรือวรรณคดีเรื่องใดของไทยมาก่อน อีกทั้งตัวละครและสถานที่ต่าง ๆ ในเรื่อง ก็มีที่มาจากหลายภาคส่วนของแต่ละประเทศอีกด้วย ปัจจุบัน ม้านิลมังกรใช้เป็นทั้งสัญลักษณ์และฉายาของสโมสรระยองเอฟซี สโมสรฟุตบอลในระดับไทยลีกดิวิชั่น 1</doc>
ผู้แต่งวรรณคดีไทยเรื่องพระอภัยมณี มีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "สุนทรภู่" ], "answer_begin_position": [ 178 ], "answer_end_position": [ 186 ] }
196
153,987
<doc id="153987" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=153987" title="หม่อมยิ่ง">หม่อมยิ่ง หม่อมยิ่ง (พระยศเดิม: พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา; 21 มกราคม พ.ศ. 2395 — 2 กันยายน พ.ศ. 2429) พระราชธิดาองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ ต่อมาพระองค์ได้ถูกลดพระอิสริยยศเป็น หม่อมยิ่ง หลังมีเรื่องอื้อฉาวเนื่องจากทรงตั้งครรภ์กับอดีตพระภิกษุที่เคยเข้ามาเทศนาในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ภายหลังพระองค์ได้จำสนม (คุกฝ่ายใน) จนกระทั่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2429พระประวัติ พระประวัติ. หม่อมยิ่ง หรือ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา ประสูติเมื่อวันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2395 เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ (สกุลเดิม ธรรมสโรช) พระชนกนาถทรงเรียกว่า "แม่หนูใหญ่" ส่วนชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระองค์ใหญ่ หรือ เสด็จพระองค์ใหญ่ยิ่ง มีพระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมมารดา ได้แก่ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ, พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์, พระองค์เจ้ามนุษยนาคมานพ และพระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา พระองค์เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ได้รับพระราชทานสร้อยพระนามว่า "อรรคราชสุดา" ซึ่งมีพระราชธิดาเพียง 3 พระองค์ใหญ่เท่านั้นที่ได้รับพระราชทานสร้อยพระองค์ โดยอีก 2 พระองค์ ได้แก่ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรีในเจ้าจอมมารดาจันทร์ และพระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดาในเจ้าจอมมารดาเที่ยง นอกจากนี้พระนามของทั้งสามพระองค์ยังสอดคล้องกันโดยเรียงตามพระชนมายุ ได้แก่ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์, พระองค์เจ้าทักษิณชา และพระองค์เจ้าโสมาวดี ซึ่งถือเป็นกลุ่มพระราชธิดาที่ใกล้ชิดสนิทสนมกับพระราชบิดามากกว่าพระราชธิดาพระองค์อื่น เมื่อมีพระชันษาราว 5-7 ปี พระองค์ได้ประสบอุบัติเหตุขณะโดยเสด็จพระราชบิดา พร้อมกับพระพี่น้อง อีก 3 พระองค์คือ พระองค์เจ้าทักษิณชา, พระองค์เจ้าโสมาวดี และสมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ขณะประทับบนรถม้าพระที่นั่งเพื่อทอดพระเนตรความเรียบร้อยบริเวณใกล้พระบรมมหาราชวัง แต่เมื่อรถม้าพระที่นั่งเข้ามาตามถนนด้านประตูวิเศษไชยศรีใกล้ทางเลี้ยวไปยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ม้าได้ตื่นเสียงแตรเสียงกลอง ทำให้รั้งไม่อยู่ สายบังเหียนขาดไปข้างหนึ่งรถพระที่นั่งจึงเสียการทรงตัวแล้วพลิกคว่ำลง จากอุปัทวเหตุดังกล่าวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระเจ้าลูกเธอทั้งสี่ได้รับบาดเจ็บทุกพระองค์ ดังปรากฏดังนี้ “...ชายจุฬาลงกรณ์ศีรษะแตกสามแห่งแต่น้อย บางแห่งฟกบวมบ้าง ยิ่งเยาวลักษณ์เท้าเคล็ดห้อยยืนในเวลานี้ไม่ได้ ขัดยอกที่สันหลังด้วย แต่มีแผลเล็กน้อย โสมาวดีก็เป็นแผลบ้าง หลังบวมแห่งหนึ่ง... แต่ทักษิณชาป่วยมากจะเป็นอะไรทับก็สังเกตไม่ได้ หลังเท้าขวาฉีกยับเยินโลหิตตกมากทีเดียว...”พระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชธิดาได้ทรงศึกษาเล่าเรียนวิชาการสมัยใหม่และภาษาอังกฤษ ทรงเปิดโอกาสให้พระราชบุตรทั้งหลายคบหาสมาคมกับชาวต่างประเทศทั้งหญิงชาย โดยเฉพาะเหล่าราชธิดารุ่นใหญ่ คือ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์, พระองค์เจ้าทักษิณชา และพระองค์เจ้าโสมาวดี มักทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้โดยเสด็จพระราชดำเนินออกสมาคมเช่นการต้อนรับแขกเมือง ดังที่เซอร์แฮรี ออด ผู้สำเร็จราชการมลายูของอังกฤษประจำเมืองสิงคโปร์ซึ่งมีโอกาสเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรสุริยุปราคาที่ตำบลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อ พ.ศ. 2411 โดยเขาได้บันทึกเกี่ยวกับการออกสมาคมของราชธิดารุ่นใหญ่ ดังนี้ “...พระเจ้าลูกเธอพระองค์หญิง ๓ พระองค์ ที่มีพระชนมายุสูงกว่า [สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์] ก็ทรงพระโฉมศุภลักษณ์ เสียแต่เสวยหมาก ถ้าไม่ย้อมพระทนต์ [ให้ดำ] ตามธรรมเนียมของชาวสยามแล้ว ต้องชมว่าเป็นสตรีที่ทรงกัลยาณีเลิศลักษณ์ทีเดียว พระกิริยามารยาทก็น่าชมและตรัสภาษาอังกฤษได้ทุกพระองค์ ขณะเมื่อท่านเจ้าเมือง [เซอร์แฮรี ออด] เข้าเฝ้าพระเจ้าแผ่นดินอยู่นั้น พระเจ้าลูกเธอทั้งพระองค์หญิงและพระองค์ชาย ได้ทรงต้อนรับพวกที่ไปกับท่านเจ้าเมืองที่ในท้องพระโรง ทรงแจกการ์ดและพระรูปถ่ายแก่พวกเหล่านั้น และทรงแสดงความหวังในที่พระเจ้าแผ่นดินจะได้เสด็จประพาสเมืองสิงคโปร์...” และกล่าวถึงพระจริยวัตรของพระองค์ ความว่า “...พระองค์เจ้าหญิงที่ทรงพระเจริญเป็นผู้ทรงเลี้ยงเครื่องดื่ม...”กรณีอื้อฉาว กรณีอื้อฉาว. พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์มีข่าวอื้อฉาว เนื่องจากเมื่อครั้งยังเป็นดรุณีแรกรุ่นได้เสด็จไปฟังเทศน์ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระที่เทศน์ชื่อ พระภิกษุโต ปรากฏว่าพระองค์เจ้าหญิงพระองค์นี้และพระโตมีจิตปฏิพัทธ์เสน่หาต่อกัน ต่อมาพระโตได้สึกออกไป พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์จึงได้จัดหาตึกให้ทิดโตพำนักอยู่แถวถนนเจริญกรุง ทิดโตได้ปลอมตัวเป็นหญิงและลอบปีนเข้าหาพระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ในพระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท จนเกิดเรื่องอื้อฉาวเนื่องจากพระองค์เจ้าหญิงพระองค์นี้ทรงมีครรภ์ แรกเริ่มชาววังโจษกันว่าพระองค์หญิงประชวรด้วยโรคท้องมาน เล่ากันว่าเจ้าจอมมารดาเปี่ยมได้ขอให้พระองค์หญิงเปิดพระภูษาเพื่อดูพระนาภี เมื่อเจ้าจอมมารดาเปี่ยมเห็นเช่นนั้นจึงทูลว่า "ขอประทานโทษเถอะนะเพคะ มองดูแล้วเหมือนกับคนท้องไม่มีผิด" พระองค์หญิงก็ทรงตอบว่า "ก็ดูเถอะค่ะ โรคเวรโรคกรรมอะไรก็ไม่รู้" ไม่นานหลังจากนั้นพระองค์ก็ประสูติพระโอรสในตำหนัก แล้วเอาเด็กใส่กระโถนปิดฝาเอาไว้ พอดีพระเจ้าน้องนางเธอพระองค์หนึ่งเสด็จมาเยี่ยม แต่ได้ทรงเปิดดูกระโถนก็ทรงเห็นเด็กแดง ๆ ความจึงแตก ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ จ.ศ. 1245 (พ.ศ. 2429) บันทึกไว้ว่า ไม่กี่วันต่อมาเมื่อความทราบถึงฝ่าละอองธุลีพระบาทพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ได้เสด็จออกสั่งเรื่องความผิดในวังคราวนี้ ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ตรงกับวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 ความว่า “๔ ทุ่มเศษ เสด็จออกทรงสั่งเรื่องคลอดลูก ว่าด้วยพระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ประพฤติการชั่วอย่างอุกฤษฎ์ อย่างนี้เป็นมหันตโทษ ควรริบราชบาตรเป็นหลวง ถอดจากยศบรรดาศักดิ์ลงพระราชอาญา ๙๐ ที ประหารชีวิต แต่ทรงพระมหากรุณาอยู่ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์อวิญญาณกทรัพย์เป็นของหลวง สำหรับจ่ายซ่อมแปลงพระอารามแลสิ่งที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าทรงสร้างไว้ แลให้ยกโทษเฆี่ยน ๙๐ ประหารชีวิต ให้ออกจากยศบรรดาศักดิ์ลงเป็นหม่อม เอาท้ายชื่อคือเยาวลักษณ์อรรควรสุดาออกเสีย เรียกแต่หม่อมยิ่งคำเดียว...” อย่างไรก็ตามพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มีพระกรุณาด้วยทรงเห็นว่าเป็นเชื้อพระวงศ์ฝ่ายใน ประกอบกับก่อนหน้านี้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเคยมีพระราชกระแสเมื่อครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ ความว่า "...ถ้าเจ้าได้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน ในกระบวนพี่น้องทั้งหมด จะมีพระองค์หญิงหนึ่งองค์ และพระองค์ชายอีกหนึ่งองค์ ทรงกระทำความผิดเป็นมหันตโทษ ขอให้ไว้ชีวิตพระองค์เจ้าพี่น้องทั้งสองพระองค์ด้วย..." ดังนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชทานอภัยโทษเฆี่ยน 90 ที (3 ยก) กับโทษประหารเสียด้วย แต่โปรดเกล้าให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์, อวิญญาณกทรัพย์ เข้าเป็นของหลวงสำหรับซ่อมแซมพระอารามและสิ่งก่อสร้างที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างไว้ ทั้งถอดยศพระองค์เจ้าให้เป็นหม่อมเรียกอย่างสามัญชน และให้จำสนม (คุกฝ่ายใน) นอกจากนั้นให้ทำตามลูกขุนผู้พิจารณาปรับโทษ ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ตรงกับวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 มีข้อความตอนหนึ่งว่า "เวลาบ่าย ๔ โมงเศษ เสด็จออกรับสั่งเรื่องหม่อมยิ่ง ซึ่งลูกขุนปรึกษาวางบทลงโทษ หม่อมยิ่ง อ้ายโต อีเผือก ผู้ล่วงพระราชอาญามีความผิดเป็นมหันตโทษ ให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์อวิญญาณกทรัพย์เป็นของหลวง ให้ลงพระอาญา ๓ ยก ๙๐ ที เอาตัวไปประหารชีวิตอย่าให้ผู้ใดดูเยี่ยงอย่างนั้น หม่อมยิ่งแลอีเผือกผู้ชักสื่อ ให้งดโทษประหารชีวิต นอกนั้นให้ทำตามลูกขุนปรับแล้วเสด็จขึ้น" ส่วนทิดโต กล่าวกันว่าทิดโตพูดจาโอหังมาก จึงถูกตบด้วยกะลาทั้งขนซึ่งถือเป็นการลงโทษที่รุนแรงมาก และสุดท้ายก็ต้องรับโทษตามกฎมณเฑียรบาลทุกประการ โดยการตัดศีรษะที่วัดพลับพลาไชย (ปัจจุบันคือบริเวณข้างธนาคารกรุงเทพจำกัด สาขาพลับพลาไชย) หม่อมยิ่งถูกจำสนมจนกระทั่งเสียชีวิตในช่วงปี พ.ศ. 2429 (บ้างว่าสิ้นชีพในโทษปีกุน พ.ศ. 2430) ก่อนการเสียชีวิตของหม่อมยิ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงมีความหม่นหมองในพระราชหฤทัยแม้เหตุการณ์จะผ่านมาแล้วก็ตาม มีพระราชหัตถเลขาถึงสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ที่ทรงระบายความทุกข์เกี่ยวความบาดหมางกับวังหน้า และมีข้อความส่วนหนึ่งกล่าวถึงหม่อมยิ่ง ความว่า "...เห็นท่านพระองค์ใหญ่ยิ่งเยาวลักษณ์ครั้งนี้ก็โซม [โทรม] มากทีเดียว กลัวหม่อมฉันจะเป็นบ้าง แต่จะเพียงนั้นหรือจะยิ่งกว่าก็ไม่ทราบ..." อันแสดงให้เห็นถึงความทุกข์ร้อนตรอมพระทัยของหม่อมยิ่ง รวมทั้งความไม่สบายพระราชหฤทัยของพระเจ้าแผ่นดินจากเหตุการณ์ครั้งนั้นผลสืบเนื่อง ผลสืบเนื่อง. หลังจากกรณีอันอื้อฉาวของหม่อมยิ่งเป็นต้นมานั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงออกกฎมณเฑียรบาลใหม่เพิ่มขึ้นอีก 2 ข้อ เพื่อมิให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวซ้ำรอยขึ้นอีก คือ พระที่จะมาเทศน์ที่วัดพระแก้วได้ต้องเป็นพระธรรมกถึก ที่มีอายุเกิน 45 ปี และเจ้านายฝ่ายในที่ได้รับพระบรมราชานุญาตให้ออกมาฟังเทศน์ที่วัดพระแก้วได้ ต้องเป็นสตรีสูงอายุที่มีอายุมากกว่า 40 ดังปรากฏข้อความในพระราชบัญญัติเกี่ยวกับพระภิกษุสงฆ์และพระราชสำนักฝ่ายใน ความว่า "ห้ามมิให้พระภิกษุสงฆ์ที่มีพรรษาต่ำกว่ายี่สิบ [หมายถึงบวชไม่ถึง 20 ปี] ห้ามมิให้เข้าในพระบรมมหาราชวังชั้นใน ส่วนฝ่ายหญิงอุบาสิกาผู้ใฝ่พระธรรมเพียงไรก็ตาม ถ้าอายุต่ำกว่า ๔๐ ปีแล้วไซร้ ห้ามมิให้ออกมาฟังเทศน์ ถืออุโบสถศีลที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นอันขาด ประกาศมา ณ วันศุกร์ เดือน ๓ แรม ๑๑ ค่ำ ปีจอ อัฐศก ศักราช ๑๒๔๘ อันเป็นวันที่ ๖๖๔๔ ในรัชกาลปัจจุบัน"พระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา (21 มกราคม พ.ศ. 2395 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411) - พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 — 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) - หม่อมยิ่ง (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 — 2 กันยายน 2429)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (เรียกคืน)พงศาวลี</doc>
พระราชบิดาของหม่อมยิ่ง หรือ พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา มีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" ], "answer_begin_position": [ 235 ], "answer_end_position": [ 269 ] }
197
153,987
<doc id="153987" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=153987" title="หม่อมยิ่ง">หม่อมยิ่ง หม่อมยิ่ง (พระยศเดิม: พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา; 21 มกราคม พ.ศ. 2395 — 2 กันยายน พ.ศ. 2429) พระราชธิดาองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ ต่อมาพระองค์ได้ถูกลดพระอิสริยยศเป็น หม่อมยิ่ง หลังมีเรื่องอื้อฉาวเนื่องจากทรงตั้งครรภ์กับอดีตพระภิกษุที่เคยเข้ามาเทศนาในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ภายหลังพระองค์ได้จำสนม (คุกฝ่ายใน) จนกระทั่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2429พระประวัติ พระประวัติ. หม่อมยิ่ง หรือ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา ประสูติเมื่อวันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2395 เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ (สกุลเดิม ธรรมสโรช) พระชนกนาถทรงเรียกว่า "แม่หนูใหญ่" ส่วนชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระองค์ใหญ่ หรือ เสด็จพระองค์ใหญ่ยิ่ง มีพระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมมารดา ได้แก่ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ, พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์, พระองค์เจ้ามนุษยนาคมานพ และพระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา พระองค์เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ได้รับพระราชทานสร้อยพระนามว่า "อรรคราชสุดา" ซึ่งมีพระราชธิดาเพียง 3 พระองค์ใหญ่เท่านั้นที่ได้รับพระราชทานสร้อยพระองค์ โดยอีก 2 พระองค์ ได้แก่ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรีในเจ้าจอมมารดาจันทร์ และพระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดาในเจ้าจอมมารดาเที่ยง นอกจากนี้พระนามของทั้งสามพระองค์ยังสอดคล้องกันโดยเรียงตามพระชนมายุ ได้แก่ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์, พระองค์เจ้าทักษิณชา และพระองค์เจ้าโสมาวดี ซึ่งถือเป็นกลุ่มพระราชธิดาที่ใกล้ชิดสนิทสนมกับพระราชบิดามากกว่าพระราชธิดาพระองค์อื่น เมื่อมีพระชันษาราว 5-7 ปี พระองค์ได้ประสบอุบัติเหตุขณะโดยเสด็จพระราชบิดา พร้อมกับพระพี่น้อง อีก 3 พระองค์คือ พระองค์เจ้าทักษิณชา, พระองค์เจ้าโสมาวดี และสมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ขณะประทับบนรถม้าพระที่นั่งเพื่อทอดพระเนตรความเรียบร้อยบริเวณใกล้พระบรมมหาราชวัง แต่เมื่อรถม้าพระที่นั่งเข้ามาตามถนนด้านประตูวิเศษไชยศรีใกล้ทางเลี้ยวไปยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ม้าได้ตื่นเสียงแตรเสียงกลอง ทำให้รั้งไม่อยู่ สายบังเหียนขาดไปข้างหนึ่งรถพระที่นั่งจึงเสียการทรงตัวแล้วพลิกคว่ำลง จากอุปัทวเหตุดังกล่าวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระเจ้าลูกเธอทั้งสี่ได้รับบาดเจ็บทุกพระองค์ ดังปรากฏดังนี้ “...ชายจุฬาลงกรณ์ศีรษะแตกสามแห่งแต่น้อย บางแห่งฟกบวมบ้าง ยิ่งเยาวลักษณ์เท้าเคล็ดห้อยยืนในเวลานี้ไม่ได้ ขัดยอกที่สันหลังด้วย แต่มีแผลเล็กน้อย โสมาวดีก็เป็นแผลบ้าง หลังบวมแห่งหนึ่ง... แต่ทักษิณชาป่วยมากจะเป็นอะไรทับก็สังเกตไม่ได้ หลังเท้าขวาฉีกยับเยินโลหิตตกมากทีเดียว...”พระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชธิดาได้ทรงศึกษาเล่าเรียนวิชาการสมัยใหม่และภาษาอังกฤษ ทรงเปิดโอกาสให้พระราชบุตรทั้งหลายคบหาสมาคมกับชาวต่างประเทศทั้งหญิงชาย โดยเฉพาะเหล่าราชธิดารุ่นใหญ่ คือ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์, พระองค์เจ้าทักษิณชา และพระองค์เจ้าโสมาวดี มักทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้โดยเสด็จพระราชดำเนินออกสมาคมเช่นการต้อนรับแขกเมือง ดังที่เซอร์แฮรี ออด ผู้สำเร็จราชการมลายูของอังกฤษประจำเมืองสิงคโปร์ซึ่งมีโอกาสเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรสุริยุปราคาที่ตำบลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อ พ.ศ. 2411 โดยเขาได้บันทึกเกี่ยวกับการออกสมาคมของราชธิดารุ่นใหญ่ ดังนี้ “...พระเจ้าลูกเธอพระองค์หญิง ๓ พระองค์ ที่มีพระชนมายุสูงกว่า [สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์] ก็ทรงพระโฉมศุภลักษณ์ เสียแต่เสวยหมาก ถ้าไม่ย้อมพระทนต์ [ให้ดำ] ตามธรรมเนียมของชาวสยามแล้ว ต้องชมว่าเป็นสตรีที่ทรงกัลยาณีเลิศลักษณ์ทีเดียว พระกิริยามารยาทก็น่าชมและตรัสภาษาอังกฤษได้ทุกพระองค์ ขณะเมื่อท่านเจ้าเมือง [เซอร์แฮรี ออด] เข้าเฝ้าพระเจ้าแผ่นดินอยู่นั้น พระเจ้าลูกเธอทั้งพระองค์หญิงและพระองค์ชาย ได้ทรงต้อนรับพวกที่ไปกับท่านเจ้าเมืองที่ในท้องพระโรง ทรงแจกการ์ดและพระรูปถ่ายแก่พวกเหล่านั้น และทรงแสดงความหวังในที่พระเจ้าแผ่นดินจะได้เสด็จประพาสเมืองสิงคโปร์...” และกล่าวถึงพระจริยวัตรของพระองค์ ความว่า “...พระองค์เจ้าหญิงที่ทรงพระเจริญเป็นผู้ทรงเลี้ยงเครื่องดื่ม...”กรณีอื้อฉาว กรณีอื้อฉาว. พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์มีข่าวอื้อฉาว เนื่องจากเมื่อครั้งยังเป็นดรุณีแรกรุ่นได้เสด็จไปฟังเทศน์ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระที่เทศน์ชื่อ พระภิกษุโต ปรากฏว่าพระองค์เจ้าหญิงพระองค์นี้และพระโตมีจิตปฏิพัทธ์เสน่หาต่อกัน ต่อมาพระโตได้สึกออกไป พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์จึงได้จัดหาตึกให้ทิดโตพำนักอยู่แถวถนนเจริญกรุง ทิดโตได้ปลอมตัวเป็นหญิงและลอบปีนเข้าหาพระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ในพระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท จนเกิดเรื่องอื้อฉาวเนื่องจากพระองค์เจ้าหญิงพระองค์นี้ทรงมีครรภ์ แรกเริ่มชาววังโจษกันว่าพระองค์หญิงประชวรด้วยโรคท้องมาน เล่ากันว่าเจ้าจอมมารดาเปี่ยมได้ขอให้พระองค์หญิงเปิดพระภูษาเพื่อดูพระนาภี เมื่อเจ้าจอมมารดาเปี่ยมเห็นเช่นนั้นจึงทูลว่า "ขอประทานโทษเถอะนะเพคะ มองดูแล้วเหมือนกับคนท้องไม่มีผิด" พระองค์หญิงก็ทรงตอบว่า "ก็ดูเถอะค่ะ โรคเวรโรคกรรมอะไรก็ไม่รู้" ไม่นานหลังจากนั้นพระองค์ก็ประสูติพระโอรสในตำหนัก แล้วเอาเด็กใส่กระโถนปิดฝาเอาไว้ พอดีพระเจ้าน้องนางเธอพระองค์หนึ่งเสด็จมาเยี่ยม แต่ได้ทรงเปิดดูกระโถนก็ทรงเห็นเด็กแดง ๆ ความจึงแตก ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ จ.ศ. 1245 (พ.ศ. 2429) บันทึกไว้ว่า ไม่กี่วันต่อมาเมื่อความทราบถึงฝ่าละอองธุลีพระบาทพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ได้เสด็จออกสั่งเรื่องความผิดในวังคราวนี้ ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ตรงกับวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 ความว่า “๔ ทุ่มเศษ เสด็จออกทรงสั่งเรื่องคลอดลูก ว่าด้วยพระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ประพฤติการชั่วอย่างอุกฤษฎ์ อย่างนี้เป็นมหันตโทษ ควรริบราชบาตรเป็นหลวง ถอดจากยศบรรดาศักดิ์ลงพระราชอาญา ๙๐ ที ประหารชีวิต แต่ทรงพระมหากรุณาอยู่ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์อวิญญาณกทรัพย์เป็นของหลวง สำหรับจ่ายซ่อมแปลงพระอารามแลสิ่งที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าทรงสร้างไว้ แลให้ยกโทษเฆี่ยน ๙๐ ประหารชีวิต ให้ออกจากยศบรรดาศักดิ์ลงเป็นหม่อม เอาท้ายชื่อคือเยาวลักษณ์อรรควรสุดาออกเสีย เรียกแต่หม่อมยิ่งคำเดียว...” อย่างไรก็ตามพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มีพระกรุณาด้วยทรงเห็นว่าเป็นเชื้อพระวงศ์ฝ่ายใน ประกอบกับก่อนหน้านี้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเคยมีพระราชกระแสเมื่อครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ ความว่า "...ถ้าเจ้าได้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน ในกระบวนพี่น้องทั้งหมด จะมีพระองค์หญิงหนึ่งองค์ และพระองค์ชายอีกหนึ่งองค์ ทรงกระทำความผิดเป็นมหันตโทษ ขอให้ไว้ชีวิตพระองค์เจ้าพี่น้องทั้งสองพระองค์ด้วย..." ดังนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชทานอภัยโทษเฆี่ยน 90 ที (3 ยก) กับโทษประหารเสียด้วย แต่โปรดเกล้าให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์, อวิญญาณกทรัพย์ เข้าเป็นของหลวงสำหรับซ่อมแซมพระอารามและสิ่งก่อสร้างที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างไว้ ทั้งถอดยศพระองค์เจ้าให้เป็นหม่อมเรียกอย่างสามัญชน และให้จำสนม (คุกฝ่ายใน) นอกจากนั้นให้ทำตามลูกขุนผู้พิจารณาปรับโทษ ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ตรงกับวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 มีข้อความตอนหนึ่งว่า "เวลาบ่าย ๔ โมงเศษ เสด็จออกรับสั่งเรื่องหม่อมยิ่ง ซึ่งลูกขุนปรึกษาวางบทลงโทษ หม่อมยิ่ง อ้ายโต อีเผือก ผู้ล่วงพระราชอาญามีความผิดเป็นมหันตโทษ ให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์อวิญญาณกทรัพย์เป็นของหลวง ให้ลงพระอาญา ๓ ยก ๙๐ ที เอาตัวไปประหารชีวิตอย่าให้ผู้ใดดูเยี่ยงอย่างนั้น หม่อมยิ่งแลอีเผือกผู้ชักสื่อ ให้งดโทษประหารชีวิต นอกนั้นให้ทำตามลูกขุนปรับแล้วเสด็จขึ้น" ส่วนทิดโต กล่าวกันว่าทิดโตพูดจาโอหังมาก จึงถูกตบด้วยกะลาทั้งขนซึ่งถือเป็นการลงโทษที่รุนแรงมาก และสุดท้ายก็ต้องรับโทษตามกฎมณเฑียรบาลทุกประการ โดยการตัดศีรษะที่วัดพลับพลาไชย (ปัจจุบันคือบริเวณข้างธนาคารกรุงเทพจำกัด สาขาพลับพลาไชย) หม่อมยิ่งถูกจำสนมจนกระทั่งเสียชีวิตในช่วงปี พ.ศ. 2429 (บ้างว่าสิ้นชีพในโทษปีกุน พ.ศ. 2430) ก่อนการเสียชีวิตของหม่อมยิ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงมีความหม่นหมองในพระราชหฤทัยแม้เหตุการณ์จะผ่านมาแล้วก็ตาม มีพระราชหัตถเลขาถึงสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ที่ทรงระบายความทุกข์เกี่ยวความบาดหมางกับวังหน้า และมีข้อความส่วนหนึ่งกล่าวถึงหม่อมยิ่ง ความว่า "...เห็นท่านพระองค์ใหญ่ยิ่งเยาวลักษณ์ครั้งนี้ก็โซม [โทรม] มากทีเดียว กลัวหม่อมฉันจะเป็นบ้าง แต่จะเพียงนั้นหรือจะยิ่งกว่าก็ไม่ทราบ..." อันแสดงให้เห็นถึงความทุกข์ร้อนตรอมพระทัยของหม่อมยิ่ง รวมทั้งความไม่สบายพระราชหฤทัยของพระเจ้าแผ่นดินจากเหตุการณ์ครั้งนั้นผลสืบเนื่อง ผลสืบเนื่อง. หลังจากกรณีอันอื้อฉาวของหม่อมยิ่งเป็นต้นมานั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงออกกฎมณเฑียรบาลใหม่เพิ่มขึ้นอีก 2 ข้อ เพื่อมิให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวซ้ำรอยขึ้นอีก คือ พระที่จะมาเทศน์ที่วัดพระแก้วได้ต้องเป็นพระธรรมกถึก ที่มีอายุเกิน 45 ปี และเจ้านายฝ่ายในที่ได้รับพระบรมราชานุญาตให้ออกมาฟังเทศน์ที่วัดพระแก้วได้ ต้องเป็นสตรีสูงอายุที่มีอายุมากกว่า 40 ดังปรากฏข้อความในพระราชบัญญัติเกี่ยวกับพระภิกษุสงฆ์และพระราชสำนักฝ่ายใน ความว่า "ห้ามมิให้พระภิกษุสงฆ์ที่มีพรรษาต่ำกว่ายี่สิบ [หมายถึงบวชไม่ถึง 20 ปี] ห้ามมิให้เข้าในพระบรมมหาราชวังชั้นใน ส่วนฝ่ายหญิงอุบาสิกาผู้ใฝ่พระธรรมเพียงไรก็ตาม ถ้าอายุต่ำกว่า ๔๐ ปีแล้วไซร้ ห้ามมิให้ออกมาฟังเทศน์ ถืออุโบสถศีลที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นอันขาด ประกาศมา ณ วันศุกร์ เดือน ๓ แรม ๑๑ ค่ำ ปีจอ อัฐศก ศักราช ๑๒๔๘ อันเป็นวันที่ ๖๖๔๔ ในรัชกาลปัจจุบัน"พระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา (21 มกราคม พ.ศ. 2395 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411) - พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 — 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) - หม่อมยิ่ง (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 — 2 กันยายน 2429)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (เรียกคืน)พงศาวลี</doc>
พระมารดาของพระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา มีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "เจ้าจอมมารดาแพ" ], "answer_begin_position": [ 718 ], "answer_end_position": [ 732 ] }
1,643
153,987
<doc id="153987" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=153987" title="หม่อมยิ่ง">หม่อมยิ่ง หม่อมยิ่ง (พระยศเดิม: พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา; 21 มกราคม พ.ศ. 2395 — 2 กันยายน พ.ศ. 2429) พระราชธิดาองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ ต่อมาพระองค์ได้ถูกลดพระอิสริยยศเป็น หม่อมยิ่ง หลังมีเรื่องอื้อฉาวเนื่องจากทรงตั้งครรภ์กับอดีตพระภิกษุที่เคยเข้ามาเทศนาในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ภายหลังพระองค์ได้จำสนม (คุกฝ่ายใน) จนกระทั่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2429พระประวัติ พระประวัติ. หม่อมยิ่ง หรือ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา ประสูติเมื่อวันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2395 เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ (สกุลเดิม ธรรมสโรช) พระชนกนาถทรงเรียกว่า "แม่หนูใหญ่" ส่วนชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระองค์ใหญ่ หรือ เสด็จพระองค์ใหญ่ยิ่ง มีพระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมมารดา ได้แก่ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ, พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์, พระองค์เจ้ามนุษยนาคมานพ และพระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา พระองค์เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ได้รับพระราชทานสร้อยพระนามว่า "อรรคราชสุดา" ซึ่งมีพระราชธิดาเพียง 3 พระองค์ใหญ่เท่านั้นที่ได้รับพระราชทานสร้อยพระองค์ โดยอีก 2 พระองค์ ได้แก่ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรีในเจ้าจอมมารดาจันทร์ และพระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดาในเจ้าจอมมารดาเที่ยง นอกจากนี้พระนามของทั้งสามพระองค์ยังสอดคล้องกันโดยเรียงตามพระชนมายุ ได้แก่ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์, พระองค์เจ้าทักษิณชา และพระองค์เจ้าโสมาวดี ซึ่งถือเป็นกลุ่มพระราชธิดาที่ใกล้ชิดสนิทสนมกับพระราชบิดามากกว่าพระราชธิดาพระองค์อื่น เมื่อมีพระชันษาราว 5-7 ปี พระองค์ได้ประสบอุบัติเหตุขณะโดยเสด็จพระราชบิดา พร้อมกับพระพี่น้อง อีก 3 พระองค์คือ พระองค์เจ้าทักษิณชา, พระองค์เจ้าโสมาวดี และสมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ขณะประทับบนรถม้าพระที่นั่งเพื่อทอดพระเนตรความเรียบร้อยบริเวณใกล้พระบรมมหาราชวัง แต่เมื่อรถม้าพระที่นั่งเข้ามาตามถนนด้านประตูวิเศษไชยศรีใกล้ทางเลี้ยวไปยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ม้าได้ตื่นเสียงแตรเสียงกลอง ทำให้รั้งไม่อยู่ สายบังเหียนขาดไปข้างหนึ่งรถพระที่นั่งจึงเสียการทรงตัวแล้วพลิกคว่ำลง จากอุปัทวเหตุดังกล่าวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระเจ้าลูกเธอทั้งสี่ได้รับบาดเจ็บทุกพระองค์ ดังปรากฏดังนี้ “...ชายจุฬาลงกรณ์ศีรษะแตกสามแห่งแต่น้อย บางแห่งฟกบวมบ้าง ยิ่งเยาวลักษณ์เท้าเคล็ดห้อยยืนในเวลานี้ไม่ได้ ขัดยอกที่สันหลังด้วย แต่มีแผลเล็กน้อย โสมาวดีก็เป็นแผลบ้าง หลังบวมแห่งหนึ่ง... แต่ทักษิณชาป่วยมากจะเป็นอะไรทับก็สังเกตไม่ได้ หลังเท้าขวาฉีกยับเยินโลหิตตกมากทีเดียว...”พระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชธิดาได้ทรงศึกษาเล่าเรียนวิชาการสมัยใหม่และภาษาอังกฤษ ทรงเปิดโอกาสให้พระราชบุตรทั้งหลายคบหาสมาคมกับชาวต่างประเทศทั้งหญิงชาย โดยเฉพาะเหล่าราชธิดารุ่นใหญ่ คือ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์, พระองค์เจ้าทักษิณชา และพระองค์เจ้าโสมาวดี มักทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้โดยเสด็จพระราชดำเนินออกสมาคมเช่นการต้อนรับแขกเมือง ดังที่เซอร์แฮรี ออด ผู้สำเร็จราชการมลายูของอังกฤษประจำเมืองสิงคโปร์ซึ่งมีโอกาสเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรสุริยุปราคาที่ตำบลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อ พ.ศ. 2411 โดยเขาได้บันทึกเกี่ยวกับการออกสมาคมของราชธิดารุ่นใหญ่ ดังนี้ “...พระเจ้าลูกเธอพระองค์หญิง ๓ พระองค์ ที่มีพระชนมายุสูงกว่า [สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์] ก็ทรงพระโฉมศุภลักษณ์ เสียแต่เสวยหมาก ถ้าไม่ย้อมพระทนต์ [ให้ดำ] ตามธรรมเนียมของชาวสยามแล้ว ต้องชมว่าเป็นสตรีที่ทรงกัลยาณีเลิศลักษณ์ทีเดียว พระกิริยามารยาทก็น่าชมและตรัสภาษาอังกฤษได้ทุกพระองค์ ขณะเมื่อท่านเจ้าเมือง [เซอร์แฮรี ออด] เข้าเฝ้าพระเจ้าแผ่นดินอยู่นั้น พระเจ้าลูกเธอทั้งพระองค์หญิงและพระองค์ชาย ได้ทรงต้อนรับพวกที่ไปกับท่านเจ้าเมืองที่ในท้องพระโรง ทรงแจกการ์ดและพระรูปถ่ายแก่พวกเหล่านั้น และทรงแสดงความหวังในที่พระเจ้าแผ่นดินจะได้เสด็จประพาสเมืองสิงคโปร์...” และกล่าวถึงพระจริยวัตรของพระองค์ ความว่า “...พระองค์เจ้าหญิงที่ทรงพระเจริญเป็นผู้ทรงเลี้ยงเครื่องดื่ม...”กรณีอื้อฉาว กรณีอื้อฉาว. พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์มีข่าวอื้อฉาว เนื่องจากเมื่อครั้งยังเป็นดรุณีแรกรุ่นได้เสด็จไปฟังเทศน์ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระที่เทศน์ชื่อ พระภิกษุโต ปรากฏว่าพระองค์เจ้าหญิงพระองค์นี้และพระโตมีจิตปฏิพัทธ์เสน่หาต่อกัน ต่อมาพระโตได้สึกออกไป พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์จึงได้จัดหาตึกให้ทิดโตพำนักอยู่แถวถนนเจริญกรุง ทิดโตได้ปลอมตัวเป็นหญิงและลอบปีนเข้าหาพระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ในพระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท จนเกิดเรื่องอื้อฉาวเนื่องจากพระองค์เจ้าหญิงพระองค์นี้ทรงมีครรภ์ แรกเริ่มชาววังโจษกันว่าพระองค์หญิงประชวรด้วยโรคท้องมาน เล่ากันว่าเจ้าจอมมารดาเปี่ยมได้ขอให้พระองค์หญิงเปิดพระภูษาเพื่อดูพระนาภี เมื่อเจ้าจอมมารดาเปี่ยมเห็นเช่นนั้นจึงทูลว่า "ขอประทานโทษเถอะนะเพคะ มองดูแล้วเหมือนกับคนท้องไม่มีผิด" พระองค์หญิงก็ทรงตอบว่า "ก็ดูเถอะค่ะ โรคเวรโรคกรรมอะไรก็ไม่รู้" ไม่นานหลังจากนั้นพระองค์ก็ประสูติพระโอรสในตำหนัก แล้วเอาเด็กใส่กระโถนปิดฝาเอาไว้ พอดีพระเจ้าน้องนางเธอพระองค์หนึ่งเสด็จมาเยี่ยม แต่ได้ทรงเปิดดูกระโถนก็ทรงเห็นเด็กแดง ๆ ความจึงแตก ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ จ.ศ. 1245 (พ.ศ. 2429) บันทึกไว้ว่า ไม่กี่วันต่อมาเมื่อความทราบถึงฝ่าละอองธุลีพระบาทพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ได้เสด็จออกสั่งเรื่องความผิดในวังคราวนี้ ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ตรงกับวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 ความว่า “๔ ทุ่มเศษ เสด็จออกทรงสั่งเรื่องคลอดลูก ว่าด้วยพระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ประพฤติการชั่วอย่างอุกฤษฎ์ อย่างนี้เป็นมหันตโทษ ควรริบราชบาตรเป็นหลวง ถอดจากยศบรรดาศักดิ์ลงพระราชอาญา ๙๐ ที ประหารชีวิต แต่ทรงพระมหากรุณาอยู่ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์อวิญญาณกทรัพย์เป็นของหลวง สำหรับจ่ายซ่อมแปลงพระอารามแลสิ่งที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าทรงสร้างไว้ แลให้ยกโทษเฆี่ยน ๙๐ ประหารชีวิต ให้ออกจากยศบรรดาศักดิ์ลงเป็นหม่อม เอาท้ายชื่อคือเยาวลักษณ์อรรควรสุดาออกเสีย เรียกแต่หม่อมยิ่งคำเดียว...” อย่างไรก็ตามพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มีพระกรุณาด้วยทรงเห็นว่าเป็นเชื้อพระวงศ์ฝ่ายใน ประกอบกับก่อนหน้านี้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเคยมีพระราชกระแสเมื่อครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ ความว่า "...ถ้าเจ้าได้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน ในกระบวนพี่น้องทั้งหมด จะมีพระองค์หญิงหนึ่งองค์ และพระองค์ชายอีกหนึ่งองค์ ทรงกระทำความผิดเป็นมหันตโทษ ขอให้ไว้ชีวิตพระองค์เจ้าพี่น้องทั้งสองพระองค์ด้วย..." ดังนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชทานอภัยโทษเฆี่ยน 90 ที (3 ยก) กับโทษประหารเสียด้วย แต่โปรดเกล้าให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์, อวิญญาณกทรัพย์ เข้าเป็นของหลวงสำหรับซ่อมแซมพระอารามและสิ่งก่อสร้างที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างไว้ ทั้งถอดยศพระองค์เจ้าให้เป็นหม่อมเรียกอย่างสามัญชน และให้จำสนม (คุกฝ่ายใน) นอกจากนั้นให้ทำตามลูกขุนผู้พิจารณาปรับโทษ ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ตรงกับวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 มีข้อความตอนหนึ่งว่า "เวลาบ่าย ๔ โมงเศษ เสด็จออกรับสั่งเรื่องหม่อมยิ่ง ซึ่งลูกขุนปรึกษาวางบทลงโทษ หม่อมยิ่ง อ้ายโต อีเผือก ผู้ล่วงพระราชอาญามีความผิดเป็นมหันตโทษ ให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์อวิญญาณกทรัพย์เป็นของหลวง ให้ลงพระอาญา ๓ ยก ๙๐ ที เอาตัวไปประหารชีวิตอย่าให้ผู้ใดดูเยี่ยงอย่างนั้น หม่อมยิ่งแลอีเผือกผู้ชักสื่อ ให้งดโทษประหารชีวิต นอกนั้นให้ทำตามลูกขุนปรับแล้วเสด็จขึ้น" ส่วนทิดโต กล่าวกันว่าทิดโตพูดจาโอหังมาก จึงถูกตบด้วยกะลาทั้งขนซึ่งถือเป็นการลงโทษที่รุนแรงมาก และสุดท้ายก็ต้องรับโทษตามกฎมณเฑียรบาลทุกประการ โดยการตัดศีรษะที่วัดพลับพลาไชย (ปัจจุบันคือบริเวณข้างธนาคารกรุงเทพจำกัด สาขาพลับพลาไชย) หม่อมยิ่งถูกจำสนมจนกระทั่งเสียชีวิตในช่วงปี พ.ศ. 2429 (บ้างว่าสิ้นชีพในโทษปีกุน พ.ศ. 2430) ก่อนการเสียชีวิตของหม่อมยิ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงมีความหม่นหมองในพระราชหฤทัยแม้เหตุการณ์จะผ่านมาแล้วก็ตาม มีพระราชหัตถเลขาถึงสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ที่ทรงระบายความทุกข์เกี่ยวความบาดหมางกับวังหน้า และมีข้อความส่วนหนึ่งกล่าวถึงหม่อมยิ่ง ความว่า "...เห็นท่านพระองค์ใหญ่ยิ่งเยาวลักษณ์ครั้งนี้ก็โซม [โทรม] มากทีเดียว กลัวหม่อมฉันจะเป็นบ้าง แต่จะเพียงนั้นหรือจะยิ่งกว่าก็ไม่ทราบ..." อันแสดงให้เห็นถึงความทุกข์ร้อนตรอมพระทัยของหม่อมยิ่ง รวมทั้งความไม่สบายพระราชหฤทัยของพระเจ้าแผ่นดินจากเหตุการณ์ครั้งนั้นผลสืบเนื่อง ผลสืบเนื่อง. หลังจากกรณีอันอื้อฉาวของหม่อมยิ่งเป็นต้นมานั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงออกกฎมณเฑียรบาลใหม่เพิ่มขึ้นอีก 2 ข้อ เพื่อมิให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวซ้ำรอยขึ้นอีก คือ พระที่จะมาเทศน์ที่วัดพระแก้วได้ต้องเป็นพระธรรมกถึก ที่มีอายุเกิน 45 ปี และเจ้านายฝ่ายในที่ได้รับพระบรมราชานุญาตให้ออกมาฟังเทศน์ที่วัดพระแก้วได้ ต้องเป็นสตรีสูงอายุที่มีอายุมากกว่า 40 ดังปรากฏข้อความในพระราชบัญญัติเกี่ยวกับพระภิกษุสงฆ์และพระราชสำนักฝ่ายใน ความว่า "ห้ามมิให้พระภิกษุสงฆ์ที่มีพรรษาต่ำกว่ายี่สิบ [หมายถึงบวชไม่ถึง 20 ปี] ห้ามมิให้เข้าในพระบรมมหาราชวังชั้นใน ส่วนฝ่ายหญิงอุบาสิกาผู้ใฝ่พระธรรมเพียงไรก็ตาม ถ้าอายุต่ำกว่า ๔๐ ปีแล้วไซร้ ห้ามมิให้ออกมาฟังเทศน์ ถืออุโบสถศีลที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นอันขาด ประกาศมา ณ วันศุกร์ เดือน ๓ แรม ๑๑ ค่ำ ปีจอ อัฐศก ศักราช ๑๒๔๘ อันเป็นวันที่ ๖๖๔๔ ในรัชกาลปัจจุบัน"พระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา (21 มกราคม พ.ศ. 2395 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411) - พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 — 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) - หม่อมยิ่ง (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 — 2 กันยายน 2429)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (เรียกคืน)พงศาวลี</doc>
หม่อมยิ่ง หรือ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "2" ], "answer_begin_position": [ 507 ], "answer_end_position": [ 508 ] }
2,588
153,987
<doc id="153987" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=153987" title="หม่อมยิ่ง">หม่อมยิ่ง หม่อมยิ่ง (พระยศเดิม: พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา; 21 มกราคม พ.ศ. 2395 — 2 กันยายน พ.ศ. 2429) พระราชธิดาองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ ต่อมาพระองค์ได้ถูกลดพระอิสริยยศเป็น หม่อมยิ่ง หลังมีเรื่องอื้อฉาวเนื่องจากทรงตั้งครรภ์กับอดีตพระภิกษุที่เคยเข้ามาเทศนาในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ภายหลังพระองค์ได้จำสนม (คุกฝ่ายใน) จนกระทั่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2429พระประวัติ พระประวัติ. หม่อมยิ่ง หรือ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา ประสูติเมื่อวันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2395 เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ (สกุลเดิม ธรรมสโรช) พระชนกนาถทรงเรียกว่า "แม่หนูใหญ่" ส่วนชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระองค์ใหญ่ หรือ เสด็จพระองค์ใหญ่ยิ่ง มีพระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมมารดา ได้แก่ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ, พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์, พระองค์เจ้ามนุษยนาคมานพ และพระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา พระองค์เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ได้รับพระราชทานสร้อยพระนามว่า "อรรคราชสุดา" ซึ่งมีพระราชธิดาเพียง 3 พระองค์ใหญ่เท่านั้นที่ได้รับพระราชทานสร้อยพระองค์ โดยอีก 2 พระองค์ ได้แก่ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรีในเจ้าจอมมารดาจันทร์ และพระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดาในเจ้าจอมมารดาเที่ยง นอกจากนี้พระนามของทั้งสามพระองค์ยังสอดคล้องกันโดยเรียงตามพระชนมายุ ได้แก่ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์, พระองค์เจ้าทักษิณชา และพระองค์เจ้าโสมาวดี ซึ่งถือเป็นกลุ่มพระราชธิดาที่ใกล้ชิดสนิทสนมกับพระราชบิดามากกว่าพระราชธิดาพระองค์อื่น เมื่อมีพระชันษาราว 5-7 ปี พระองค์ได้ประสบอุบัติเหตุขณะโดยเสด็จพระราชบิดา พร้อมกับพระพี่น้อง อีก 3 พระองค์คือ พระองค์เจ้าทักษิณชา, พระองค์เจ้าโสมาวดี และสมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ขณะประทับบนรถม้าพระที่นั่งเพื่อทอดพระเนตรความเรียบร้อยบริเวณใกล้พระบรมมหาราชวัง แต่เมื่อรถม้าพระที่นั่งเข้ามาตามถนนด้านประตูวิเศษไชยศรีใกล้ทางเลี้ยวไปยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ม้าได้ตื่นเสียงแตรเสียงกลอง ทำให้รั้งไม่อยู่ สายบังเหียนขาดไปข้างหนึ่งรถพระที่นั่งจึงเสียการทรงตัวแล้วพลิกคว่ำลง จากอุปัทวเหตุดังกล่าวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระเจ้าลูกเธอทั้งสี่ได้รับบาดเจ็บทุกพระองค์ ดังปรากฏดังนี้ “...ชายจุฬาลงกรณ์ศีรษะแตกสามแห่งแต่น้อย บางแห่งฟกบวมบ้าง ยิ่งเยาวลักษณ์เท้าเคล็ดห้อยยืนในเวลานี้ไม่ได้ ขัดยอกที่สันหลังด้วย แต่มีแผลเล็กน้อย โสมาวดีก็เป็นแผลบ้าง หลังบวมแห่งหนึ่ง... แต่ทักษิณชาป่วยมากจะเป็นอะไรทับก็สังเกตไม่ได้ หลังเท้าขวาฉีกยับเยินโลหิตตกมากทีเดียว...”พระกรณียกิจ พระกรณียกิจ. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระราชธิดาได้ทรงศึกษาเล่าเรียนวิชาการสมัยใหม่และภาษาอังกฤษ ทรงเปิดโอกาสให้พระราชบุตรทั้งหลายคบหาสมาคมกับชาวต่างประเทศทั้งหญิงชาย โดยเฉพาะเหล่าราชธิดารุ่นใหญ่ คือ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์, พระองค์เจ้าทักษิณชา และพระองค์เจ้าโสมาวดี มักทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้โดยเสด็จพระราชดำเนินออกสมาคมเช่นการต้อนรับแขกเมือง ดังที่เซอร์แฮรี ออด ผู้สำเร็จราชการมลายูของอังกฤษประจำเมืองสิงคโปร์ซึ่งมีโอกาสเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรสุริยุปราคาที่ตำบลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อ พ.ศ. 2411 โดยเขาได้บันทึกเกี่ยวกับการออกสมาคมของราชธิดารุ่นใหญ่ ดังนี้ “...พระเจ้าลูกเธอพระองค์หญิง ๓ พระองค์ ที่มีพระชนมายุสูงกว่า [สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์] ก็ทรงพระโฉมศุภลักษณ์ เสียแต่เสวยหมาก ถ้าไม่ย้อมพระทนต์ [ให้ดำ] ตามธรรมเนียมของชาวสยามแล้ว ต้องชมว่าเป็นสตรีที่ทรงกัลยาณีเลิศลักษณ์ทีเดียว พระกิริยามารยาทก็น่าชมและตรัสภาษาอังกฤษได้ทุกพระองค์ ขณะเมื่อท่านเจ้าเมือง [เซอร์แฮรี ออด] เข้าเฝ้าพระเจ้าแผ่นดินอยู่นั้น พระเจ้าลูกเธอทั้งพระองค์หญิงและพระองค์ชาย ได้ทรงต้อนรับพวกที่ไปกับท่านเจ้าเมืองที่ในท้องพระโรง ทรงแจกการ์ดและพระรูปถ่ายแก่พวกเหล่านั้น และทรงแสดงความหวังในที่พระเจ้าแผ่นดินจะได้เสด็จประพาสเมืองสิงคโปร์...” และกล่าวถึงพระจริยวัตรของพระองค์ ความว่า “...พระองค์เจ้าหญิงที่ทรงพระเจริญเป็นผู้ทรงเลี้ยงเครื่องดื่ม...”กรณีอื้อฉาว กรณีอื้อฉาว. พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์มีข่าวอื้อฉาว เนื่องจากเมื่อครั้งยังเป็นดรุณีแรกรุ่นได้เสด็จไปฟังเทศน์ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระที่เทศน์ชื่อ พระภิกษุโต ปรากฏว่าพระองค์เจ้าหญิงพระองค์นี้และพระโตมีจิตปฏิพัทธ์เสน่หาต่อกัน ต่อมาพระโตได้สึกออกไป พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์จึงได้จัดหาตึกให้ทิดโตพำนักอยู่แถวถนนเจริญกรุง ทิดโตได้ปลอมตัวเป็นหญิงและลอบปีนเข้าหาพระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ในพระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท จนเกิดเรื่องอื้อฉาวเนื่องจากพระองค์เจ้าหญิงพระองค์นี้ทรงมีครรภ์ แรกเริ่มชาววังโจษกันว่าพระองค์หญิงประชวรด้วยโรคท้องมาน เล่ากันว่าเจ้าจอมมารดาเปี่ยมได้ขอให้พระองค์หญิงเปิดพระภูษาเพื่อดูพระนาภี เมื่อเจ้าจอมมารดาเปี่ยมเห็นเช่นนั้นจึงทูลว่า "ขอประทานโทษเถอะนะเพคะ มองดูแล้วเหมือนกับคนท้องไม่มีผิด" พระองค์หญิงก็ทรงตอบว่า "ก็ดูเถอะค่ะ โรคเวรโรคกรรมอะไรก็ไม่รู้" ไม่นานหลังจากนั้นพระองค์ก็ประสูติพระโอรสในตำหนัก แล้วเอาเด็กใส่กระโถนปิดฝาเอาไว้ พอดีพระเจ้าน้องนางเธอพระองค์หนึ่งเสด็จมาเยี่ยม แต่ได้ทรงเปิดดูกระโถนก็ทรงเห็นเด็กแดง ๆ ความจึงแตก ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ จ.ศ. 1245 (พ.ศ. 2429) บันทึกไว้ว่า ไม่กี่วันต่อมาเมื่อความทราบถึงฝ่าละอองธุลีพระบาทพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ได้เสด็จออกสั่งเรื่องความผิดในวังคราวนี้ ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ตรงกับวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 ความว่า “๔ ทุ่มเศษ เสด็จออกทรงสั่งเรื่องคลอดลูก ว่าด้วยพระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ประพฤติการชั่วอย่างอุกฤษฎ์ อย่างนี้เป็นมหันตโทษ ควรริบราชบาตรเป็นหลวง ถอดจากยศบรรดาศักดิ์ลงพระราชอาญา ๙๐ ที ประหารชีวิต แต่ทรงพระมหากรุณาอยู่ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์อวิญญาณกทรัพย์เป็นของหลวง สำหรับจ่ายซ่อมแปลงพระอารามแลสิ่งที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าทรงสร้างไว้ แลให้ยกโทษเฆี่ยน ๙๐ ประหารชีวิต ให้ออกจากยศบรรดาศักดิ์ลงเป็นหม่อม เอาท้ายชื่อคือเยาวลักษณ์อรรควรสุดาออกเสีย เรียกแต่หม่อมยิ่งคำเดียว...” อย่างไรก็ตามพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มีพระกรุณาด้วยทรงเห็นว่าเป็นเชื้อพระวงศ์ฝ่ายใน ประกอบกับก่อนหน้านี้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเคยมีพระราชกระแสเมื่อครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ ความว่า "...ถ้าเจ้าได้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน ในกระบวนพี่น้องทั้งหมด จะมีพระองค์หญิงหนึ่งองค์ และพระองค์ชายอีกหนึ่งองค์ ทรงกระทำความผิดเป็นมหันตโทษ ขอให้ไว้ชีวิตพระองค์เจ้าพี่น้องทั้งสองพระองค์ด้วย..." ดังนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชทานอภัยโทษเฆี่ยน 90 ที (3 ยก) กับโทษประหารเสียด้วย แต่โปรดเกล้าให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์, อวิญญาณกทรัพย์ เข้าเป็นของหลวงสำหรับซ่อมแซมพระอารามและสิ่งก่อสร้างที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างไว้ ทั้งถอดยศพระองค์เจ้าให้เป็นหม่อมเรียกอย่างสามัญชน และให้จำสนม (คุกฝ่ายใน) นอกจากนั้นให้ทำตามลูกขุนผู้พิจารณาปรับโทษ ดังปรากฏในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ตรงกับวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 มีข้อความตอนหนึ่งว่า "เวลาบ่าย ๔ โมงเศษ เสด็จออกรับสั่งเรื่องหม่อมยิ่ง ซึ่งลูกขุนปรึกษาวางบทลงโทษ หม่อมยิ่ง อ้ายโต อีเผือก ผู้ล่วงพระราชอาญามีความผิดเป็นมหันตโทษ ให้ริบราชบาตรสวิญญาณกทรัพย์อวิญญาณกทรัพย์เป็นของหลวง ให้ลงพระอาญา ๓ ยก ๙๐ ที เอาตัวไปประหารชีวิตอย่าให้ผู้ใดดูเยี่ยงอย่างนั้น หม่อมยิ่งแลอีเผือกผู้ชักสื่อ ให้งดโทษประหารชีวิต นอกนั้นให้ทำตามลูกขุนปรับแล้วเสด็จขึ้น" ส่วนทิดโต กล่าวกันว่าทิดโตพูดจาโอหังมาก จึงถูกตบด้วยกะลาทั้งขนซึ่งถือเป็นการลงโทษที่รุนแรงมาก และสุดท้ายก็ต้องรับโทษตามกฎมณเฑียรบาลทุกประการ โดยการตัดศีรษะที่วัดพลับพลาไชย (ปัจจุบันคือบริเวณข้างธนาคารกรุงเทพจำกัด สาขาพลับพลาไชย) หม่อมยิ่งถูกจำสนมจนกระทั่งเสียชีวิตในช่วงปี พ.ศ. 2429 (บ้างว่าสิ้นชีพในโทษปีกุน พ.ศ. 2430) ก่อนการเสียชีวิตของหม่อมยิ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงมีความหม่นหมองในพระราชหฤทัยแม้เหตุการณ์จะผ่านมาแล้วก็ตาม มีพระราชหัตถเลขาถึงสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ที่ทรงระบายความทุกข์เกี่ยวความบาดหมางกับวังหน้า และมีข้อความส่วนหนึ่งกล่าวถึงหม่อมยิ่ง ความว่า "...เห็นท่านพระองค์ใหญ่ยิ่งเยาวลักษณ์ครั้งนี้ก็โซม [โทรม] มากทีเดียว กลัวหม่อมฉันจะเป็นบ้าง แต่จะเพียงนั้นหรือจะยิ่งกว่าก็ไม่ทราบ..." อันแสดงให้เห็นถึงความทุกข์ร้อนตรอมพระทัยของหม่อมยิ่ง รวมทั้งความไม่สบายพระราชหฤทัยของพระเจ้าแผ่นดินจากเหตุการณ์ครั้งนั้นผลสืบเนื่อง ผลสืบเนื่อง. หลังจากกรณีอันอื้อฉาวของหม่อมยิ่งเป็นต้นมานั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงออกกฎมณเฑียรบาลใหม่เพิ่มขึ้นอีก 2 ข้อ เพื่อมิให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวซ้ำรอยขึ้นอีก คือ พระที่จะมาเทศน์ที่วัดพระแก้วได้ต้องเป็นพระธรรมกถึก ที่มีอายุเกิน 45 ปี และเจ้านายฝ่ายในที่ได้รับพระบรมราชานุญาตให้ออกมาฟังเทศน์ที่วัดพระแก้วได้ ต้องเป็นสตรีสูงอายุที่มีอายุมากกว่า 40 ดังปรากฏข้อความในพระราชบัญญัติเกี่ยวกับพระภิกษุสงฆ์และพระราชสำนักฝ่ายใน ความว่า "ห้ามมิให้พระภิกษุสงฆ์ที่มีพรรษาต่ำกว่ายี่สิบ [หมายถึงบวชไม่ถึง 20 ปี] ห้ามมิให้เข้าในพระบรมมหาราชวังชั้นใน ส่วนฝ่ายหญิงอุบาสิกาผู้ใฝ่พระธรรมเพียงไรก็ตาม ถ้าอายุต่ำกว่า ๔๐ ปีแล้วไซร้ ห้ามมิให้ออกมาฟังเทศน์ ถืออุโบสถศีลที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นอันขาด ประกาศมา ณ วันศุกร์ เดือน ๓ แรม ๑๑ ค่ำ ปีจอ อัฐศก ศักราช ๑๒๔๘ อันเป็นวันที่ ๖๖๔๔ ในรัชกาลปัจจุบัน"พระเกียรติยศพระอิสริยยศพระเกียรติยศ. พระอิสริยยศ. - พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา (21 มกราคม พ.ศ. 2395 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411) - พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 — 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429) - หม่อมยิ่ง (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429 — 2 กันยายน 2429)เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (เรียกคืน)พงศาวลี</doc>
หม่อมยิ่ง หรือ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา ประสูติวันอะไร
{ "answer": [ "พุธ" ], "answer_begin_position": [ 617 ], "answer_end_position": [ 620 ] }
198
32,435
<doc id="32435" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=32435" title="สะพานชมัยมรุเชฐ">สะพานชมัยมรุเชฐ สะพานชมัยมรุเชฐ เป็นสะพานข้ามคลองเปรมประชากร อยู่บนถนนพิษณุโลกบริเวณแยกพาณิชยการจุดจัดกับถนนพระรามที่ 5 แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าทำเนียบรัฐบาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โรงเรียนราชวินิต มัธยม และใกล้เคียงกับวัดเบญจมบพิตร สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2444 โดยสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงสร้างเพื่ออุทิศถวายแด่สมเด็จพระเชษฐา 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ เนื่องในวโรกาสที่ในปีนั้น พระองค์มีพระชนมายุ 15 พรรษา และจะก้าวเข้าสู่พระชนมายุ 17 พรรษา เสมอด้วยพระเชษฐาทั้งสองพระองค์ โดยชื่อของสะพานได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "สะพานชมัยมรุเชฐ" (ในราชกิจจานุเบกษาสะกดว่า "ชมัยมรุเชษฐ") ซึ่งหมายถึง "พี่ชายผู้เป็นเทพ 2 พระองค์" ปัจจุบัน สะพานชมัยมรุเชฐถูกต่อเติมขยายออกไปจนหมดสภาพดั้งเดิม คงเหลือเพียงป้ายโลหะชื่อสะพาน ที่ยังเป็นของเดิม</doc>
สะพานชมัยมรุเชฐอยู่บนถนนพิษณุโลก เป็นสะพานข้ามคลองอะไร
{ "answer": [ "คลองเปรมประชากร" ], "answer_begin_position": [ 133 ], "answer_end_position": [ 148 ] }
199
32,435
<doc id="32435" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=32435" title="สะพานชมัยมรุเชฐ">สะพานชมัยมรุเชฐ สะพานชมัยมรุเชฐ เป็นสะพานข้ามคลองเปรมประชากร อยู่บนถนนพิษณุโลกบริเวณแยกพาณิชยการจุดจัดกับถนนพระรามที่ 5 แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าทำเนียบรัฐบาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โรงเรียนราชวินิต มัธยม และใกล้เคียงกับวัดเบญจมบพิตร สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2444 โดยสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงสร้างเพื่ออุทิศถวายแด่สมเด็จพระเชษฐา 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ เนื่องในวโรกาสที่ในปีนั้น พระองค์มีพระชนมายุ 15 พรรษา และจะก้าวเข้าสู่พระชนมายุ 17 พรรษา เสมอด้วยพระเชษฐาทั้งสองพระองค์ โดยชื่อของสะพานได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "สะพานชมัยมรุเชฐ" (ในราชกิจจานุเบกษาสะกดว่า "ชมัยมรุเชษฐ") ซึ่งหมายถึง "พี่ชายผู้เป็นเทพ 2 พระองค์" ปัจจุบัน สะพานชมัยมรุเชฐถูกต่อเติมขยายออกไปจนหมดสภาพดั้งเดิม คงเหลือเพียงป้ายโลหะชื่อสะพาน ที่ยังเป็นของเดิม</doc>
สะพานชมัยมรุเชฐ อยู่บนถนนพิษณุโลก ก่อสร้างในรัชกาลใด
{ "answer": [ "รัชกาลที่ 5" ], "answer_begin_position": [ 379 ], "answer_end_position": [ 390 ] }
200
209,558
<doc id="209558" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=209558" title="สมพร ยกตรี">สมพร ยกตรี อาจารย์สมพร ยกตรี (6 สิงหาคม พ.ศ. 2479 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2551) เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ในปัจจุบัน ร่วมกับรองศาสตราจารย์ศิริชัย หงษ์วิทยากร และอาจารย์โสภณ มงคลวัจน์ ท่านเกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2479 และถึงแก่กรรมในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ท่านเป็นผู้ริเริ่มโครงการ 80 พรรษา 8 พรรณไม้หมายเมือง และไม้หมายทาง ตลอดชีวิตการทำงานทุ่มเทให้กับการสอนในวิชาชีพภูมิทัศน์ รวมทั้งด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จนเป็นที่ยอมรับ และได้รับการขนานนามว่าเป็น "เก๊าไม้ ล้านนา"ประวัติ ประวัติ. นายสมพร ยกตรี มีตำแหน่งสุดท้ายเป็นอาจารย์ระดับ 7 บิดาชื่อนายคำแสน ยกตรี มาราดาชื่อนางเต่า ยกตรี เป็นบุตรคนที่ 2 ในจำนวนพี่น้อง 6คนการศึกษา การศึกษา. ประวัติการศึกษา- 2515 วิทยาศาสตร์บัณฑิต(ศึกษาศาสตร์เกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - 2504-2505 ประโยคมัธยมกสิกรรม วิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม่ - 2498-2500 ประโยคอาชีวขั้นสูง แผนกเกษตร วิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม่ - 2491-2497 มัธยมศึกษาตอนปลายชั้นปีที่ 6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย - 2486-2490 ประถมศึกษา โรงเรียนเทศบาล 2 จังหวดเชียงใหม่ประวัติการทำงาน ประวัติการทำงาน. ประวัติการทำงานของท่าน- 2501 บรรจุเข้ารับราขการ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501 - 2522-2526 หัวหน้าภาควิชาตกแต่งบริเวณและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - 2523 หัวหน้าสาขาวิชาอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเกียรติประวัติ และผลงานผลงานทางวิชาการเกียรติประวัติ และผลงาน. ผลงานทางวิชาการ. - "หมอต้นไม้ และ แนวคิดเกี่ยวกับต้นไม้ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้" บทความในหนังสือ "เก๊าไม้แม่โจ้" - "การศึกษาความหลากหลายของพรรณไม้ในพื้นที่ป่าบ้านโป่ง" รายงานประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 3, มหาวิทยาลัยแม่โจ้.ผลงานด้านอื่นๆผลงานด้านอื่นๆ. - 2550 โครงการ80 พรรษา 8 พรรณไม้หมายเมือง และไม้หมายทาง - ก่อตั้งภาควิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในปัจจุบัน) - 2540 ถวายงานพันธุกรรมพืช โครงการส่วนพระองค์ โครงการแม่แรม อำเภอแม่ริม - 2535 จัดถวายงานภูมิทัศน์พระตำหนักดอยตุง - 2524 จัดสร้างอนุสาวรีย์สี่แยกผู้ใช้แรงงาน - 2521-2524 ก่อตั้งภาควิชาวางผังและตกแต่งบริเวณ - 2522 ปรับปรุงศาลเจ้าแม่โจ้ - 2521 สวนรวมพรรณไม้แม่โจ้(สวนป่าบุญศรี ณ วังซ้าย)เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. ตลอดชีวิตของท่านได้ทำผลงานเป็นที่ประจักษ์ และได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ดังนี้- 2511 บช เบญจมาภรณ์ช้างเผือก - 2519 จม จัตรุถาภรณ์มงกุฎไทย - 2520 รัตนาภรณ์ พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ณ พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศ - 2522 จช จัตรุถาภรณ์ช้างเผือก - 2524 ตม ตริตาภรณ์มงกุฎไทย - 2526 จม จักรพรรดิมาลา - 2527 ตช ตริตาภรณ์ช้างเผือก - 2532 ทม ทวิติยาภรณ์มงกุฎไทย - 2536 ทช ทวิติยาภรณ์ช้างเผือก</doc>
พ่อของอาจารย์สมพร ยกตรี คือใคร
{ "answer": [ "นายคำแสน ยกตรี" ], "answer_begin_position": [ 736 ], "answer_end_position": [ 750 ] }
1,473
209,558
<doc id="209558" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=209558" title="สมพร ยกตรี">สมพร ยกตรี อาจารย์สมพร ยกตรี (6 สิงหาคม พ.ศ. 2479 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2551) เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ในปัจจุบัน ร่วมกับรองศาสตราจารย์ศิริชัย หงษ์วิทยากร และอาจารย์โสภณ มงคลวัจน์ ท่านเกิดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2479 และถึงแก่กรรมในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ท่านเป็นผู้ริเริ่มโครงการ 80 พรรษา 8 พรรณไม้หมายเมือง และไม้หมายทาง ตลอดชีวิตการทำงานทุ่มเทให้กับการสอนในวิชาชีพภูมิทัศน์ รวมทั้งด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จนเป็นที่ยอมรับ และได้รับการขนานนามว่าเป็น "เก๊าไม้ ล้านนา"ประวัติ ประวัติ. นายสมพร ยกตรี มีตำแหน่งสุดท้ายเป็นอาจารย์ระดับ 7 บิดาชื่อนายคำแสน ยกตรี มาราดาชื่อนางเต่า ยกตรี เป็นบุตรคนที่ 2 ในจำนวนพี่น้อง 6คนการศึกษา การศึกษา. ประวัติการศึกษา- 2515 วิทยาศาสตร์บัณฑิต(ศึกษาศาสตร์เกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - 2504-2505 ประโยคมัธยมกสิกรรม วิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม่ - 2498-2500 ประโยคอาชีวขั้นสูง แผนกเกษตร วิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม่ - 2491-2497 มัธยมศึกษาตอนปลายชั้นปีที่ 6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย - 2486-2490 ประถมศึกษา โรงเรียนเทศบาล 2 จังหวดเชียงใหม่ประวัติการทำงาน ประวัติการทำงาน. ประวัติการทำงานของท่าน- 2501 บรรจุเข้ารับราขการ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501 - 2522-2526 หัวหน้าภาควิชาตกแต่งบริเวณและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - 2523 หัวหน้าสาขาวิชาอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเกียรติประวัติ และผลงานผลงานทางวิชาการเกียรติประวัติ และผลงาน. ผลงานทางวิชาการ. - "หมอต้นไม้ และ แนวคิดเกี่ยวกับต้นไม้ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้" บทความในหนังสือ "เก๊าไม้แม่โจ้" - "การศึกษาความหลากหลายของพรรณไม้ในพื้นที่ป่าบ้านโป่ง" รายงานประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 3, มหาวิทยาลัยแม่โจ้.ผลงานด้านอื่นๆผลงานด้านอื่นๆ. - 2550 โครงการ80 พรรษา 8 พรรณไม้หมายเมือง และไม้หมายทาง - ก่อตั้งภาควิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในปัจจุบัน) - 2540 ถวายงานพันธุกรรมพืช โครงการส่วนพระองค์ โครงการแม่แรม อำเภอแม่ริม - 2535 จัดถวายงานภูมิทัศน์พระตำหนักดอยตุง - 2524 จัดสร้างอนุสาวรีย์สี่แยกผู้ใช้แรงงาน - 2521-2524 ก่อตั้งภาควิชาวางผังและตกแต่งบริเวณ - 2522 ปรับปรุงศาลเจ้าแม่โจ้ - 2521 สวนรวมพรรณไม้แม่โจ้(สวนป่าบุญศรี ณ วังซ้าย)เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์. ตลอดชีวิตของท่านได้ทำผลงานเป็นที่ประจักษ์ และได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ดังนี้- 2511 บช เบญจมาภรณ์ช้างเผือก - 2519 จม จัตรุถาภรณ์มงกุฎไทย - 2520 รัตนาภรณ์ พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ณ พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศ - 2522 จช จัตรุถาภรณ์ช้างเผือก - 2524 ตม ตริตาภรณ์มงกุฎไทย - 2526 จม จักรพรรดิมาลา - 2527 ตช ตริตาภรณ์ช้างเผือก - 2532 ทม ทวิติยาภรณ์มงกุฎไทย - 2536 ทช ทวิติยาภรณ์ช้างเผือก</doc>
นายสมพร ยกตรีเป็นบุตรคนที่เท่าไรของนางเต่า ยกตรี
{ "answer": [ "2" ], "answer_begin_position": [ 789 ], "answer_end_position": [ 790 ] }
201
781,574
<doc id="781574" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=781574" title="แฮร์มันน์ ทิลเคอ">แฮร์มันน์ ทิลเคอ แฮร์มันน์ ทิลเคอ () เป็นวิศวกรชาวเยอรมันและนักแข่งรถ เขาได้ออกแบบสนามแข่งรถสูตรหนึ่งจำนวนมาก ก่อนที่จะมาเริ่มเป็นนักออกแบบสนามแข่ง ทิลเคอเป็นนักแข่งรถมืออาชีพมาก่อน จนกระทั่งเขาสำเร็จการศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรมพลเรือนสาขาการขนส่งและการจัดการจราจรจาก FH Aachen เขาก็ออกมาตั้งบริษัทวิศวกรรมของตนเองในปี 1984 ทำทั้งงานสถาปัตย์, วิศวกรรมพลเรือน, วิศวกรรมไฟฟ้าในสนามแข่งต่างๆ จนกระทั่งในปี 1995 เขาได้เป็นผู้ออกแบบสนามแข่งรถแห่งแรกในชีวิต คือสนามเอวันริงในออสเตรีย</doc>
สนามแข่งรถแห่งแรกที่นายแฮร์มันน์ ทิลเคอ ออกแบบมีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "สนามเอวันริง" ], "answer_begin_position": [ 544 ], "answer_end_position": [ 556 ] }
1,570
781,574
<doc id="781574" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=781574" title="แฮร์มันน์ ทิลเคอ">แฮร์มันน์ ทิลเคอ แฮร์มันน์ ทิลเคอ () เป็นวิศวกรชาวเยอรมันและนักแข่งรถ เขาได้ออกแบบสนามแข่งรถสูตรหนึ่งจำนวนมาก ก่อนที่จะมาเริ่มเป็นนักออกแบบสนามแข่ง ทิลเคอเป็นนักแข่งรถมืออาชีพมาก่อน จนกระทั่งเขาสำเร็จการศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรมพลเรือนสาขาการขนส่งและการจัดการจราจรจาก FH Aachen เขาก็ออกมาตั้งบริษัทวิศวกรรมของตนเองในปี 1984 ทำทั้งงานสถาปัตย์, วิศวกรรมพลเรือน, วิศวกรรมไฟฟ้าในสนามแข่งต่างๆ จนกระทั่งในปี 1995 เขาได้เป็นผู้ออกแบบสนามแข่งรถแห่งแรกในชีวิต คือสนามเอวันริงในออสเตรีย</doc>
แฮร์มันน์ ทิลเคอ เป็นวิศวกรชาวเยอรมัน ก่อตั้งตั้งบริษัทวิศวกรรมในปี ค.ศ. ใด
{ "answer": [ "1984" ], "answer_begin_position": [ 408 ], "answer_end_position": [ 412 ] }
202
217,998
<doc id="217998" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=217998" title="พรพิมล ธรรมสาร">พรพิมล ธรรมสาร พรพิมล ธรรมสาร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จ.ปทุมธานี พรรคเพื่อไทย มีชื่อเล่นว่า "ก้อย" อดีตนักร้องนำของวงโอเวชั่นช่วง พ.ศ. 2530-2532 เป็นชาวลำปาง ศึกษาที่โรงเรียนเซนต์จอห์น และยังเรียนร้องเพลงที่ ที่โรงเรียนดนตรีวาธินี ควบคู่ไปด้วยและสำเร้จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การทำงาน การทำงาน. พรพิมลได้มาเป็นนักร้องนำของวงสตริงชื่อดังในยุคนั้นอย่าง โอเวชั่น แทน พัชรา แวงวรรณ นักร้องนำคนเก่าที่ นิธิทัศน์ โปรโมชั่น เห็นว่าเหมาะกับร้องเพลงช้ามากกว่าเพลงเร็วจึงได้แยกให้ไปทำอัลบั้มเดี่ยวและทางบริษัทจึงให้วงไปหานักร้องนำคนใหม่ ขาว-ไวยวุฒิ สกุลทรัพย์ไพศาล มือคีย์บอร์ดและนักร้องนำ พี่ชายของ วิรุฬ สกุลทรัพย์ไพศาล (ดำ ฟอร์เอฟเวอร์) จึงได้ชักชวนก้อย พรพิมล ซึ่งเป็นเพื่อนมาเทสต์เสียงที่บริษัท ซึ่งพรพิมลผ่านการเทสต์เสียงและได้เป็นนักร้องนำคนใหม่ในอัลบั้ม "เริ่มวัยรัก" ใน พ.ศ. 2530 และเมื่ออัลบั้มนี้ขายดีจึงเร่งทำอัลบั้มชุดต่อมาโดยในปี พ.ศ. 2532 พรพิมลได้ออกอัลบั้มชุดใหม่กับวงโอเวชั่น ในชื่อว่า "ไม่มีวันนั้นอีกแล้ว" หลังจากอัลบั้มนี้ทางบริษัทได้ให้พรพิมลออกมาทำอัลบั้มเดี่ยว ทำให้โอเวชั่นที่กำลังจะหมดสัญญากับนิธิทัศน์ต้องไปสังกัดค่ายอื่น ส่วนพรพิมลออกอัลบั้มเดี่ยวโดยใช้ชื่อเล่นและชื่อจริงของตนเองเป็นชื่ออัลบั้ม โดยในอัลบั้ม "ก้อย ซูเปอร์ฮิต" มีเพลงดังคือเพลง "เอาความรักฉันคืนกลับมา" ซึ่งเป็นเพลงแก้กับเพลง เอาความรักเธอนั้นคืนกลับไป ของดอน สอนระเบียบ หลังจากนั้นได้ออกอีกหลายอัลบั้มและลาออกไปแต่งงาน ปัจจุบันเป็นคุณแม่ลูกสอง พรพิมลลงเล่นการเมืองตามสามี เริ่มที่ตำแหน่งสมาชิกสภาจังหวัดปทุมธานี ส่วนสามีเป็นนายกเทศมนตรีเมืองสนั่นรักษ์ และหลังจากเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พรพิมลได้รับเลือกให้เป็นส.ส.ปทุมธานี เขต 2 พรรคพลังประชาชน แต่เมื่อพรรคพลังประชาชนถูกยุบ จึงย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย ในการเลือกตั้งปี 2554 พรพิมลได้ลงสมัครเลือกตั้ง ส.ส. ในจังหวัดปทุมธานี เขตเลือกตั้งที่ 4 พรรคเดิม และได้รับการเลือกตั้งอีกสมัยผลงานผลงาน. - โอเวชั่น # 6 เริ่มวัยรัก (นิธิทัศน์) - โอเวชั่น # 7 ไม่มีวันนั้นอีกแล้ว (นิธิทัศน์) - ตลับทองจากก้อย (นิธิทัศน์) - เพลงคู่ซูเปอร์ฮิต คู่ ดอน สอนระเบียบ [เพลงคู่ซูเปอร์คลาสสิค พ่อแง่แม่งอน] (นิธิทัศน์) - ก้อย ซูเปอร์ฮิต 1-2-3 (นิธิทัศน์) - ก้อย ซูเปอร์บูม - เพลงหวานซูเปอร์คลาสสิค (นิธิทัศน์) - โกหกไม่ลง (นิธิทัศน์) - อมตะซูเปอร์คลาสสิค 1-2 (นิธิทัศน์) - เมดเล่ย์ซูเปอร์ฮิต มันส์ไม่หยุด 1-2 (นิธิทัศน์) - ที่สุดความทรงจำ 1-2 (นิธิทัศน์) - ที่สุดนิรันดร์กาล 1-2 (นิธิทัศน์) - เมดเล่ย์เพชร (นิธิทัศน์) - ฮิตเป็นตัน (นิธิทัศน์) - เมกาแดนซ์ เกือบจะสาย (นิธิทัศน์) - เปาบุ้นจิ้น สุดจะรอไหว (นิธิทัศน์) - รักไม่แปรเปลี่ยน (นิธิทัศน์) - ก้อยเจอเท่ห์ โกหกหน้าตาย-โกหกไม่ลง 12 เพลงร้องโต้ตอบ (นิธิทัศน์) - คลาสสิตสเปเชียล 1 คนใจดำ (นิธิทัศน์) - คลาสสิคสเปเชียล 2 เชียงรายรำลึก (นิธิทัศน์) - คลาสสิคสเปเชียล 3 ความรักไม่รู้จบ (นิธิทัศน์) - ก้อย พรายแพรว 1-2-3 (นิธิทัศน์) - ก้อย 3 ช่า ซูเปอร์บูม [ซูเปอร์สามช่า ขอให้รวย] (นิธิทัศน์) - ก้อย ซูเปอร์สามช่า หนูไม่ยอม (นิธิทัศน์) - ก้อย ร้อยล้าน 1-2 (กรุงไทย)ภาพยนตร์โฆษณา โฆษณา. โซฟิเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)</doc>
พรพิมล ธรรมสาร เกิดที่จังหวัดใด
{ "answer": [ "ลำปาง" ], "answer_begin_position": [ 248 ], "answer_end_position": [ 253 ] }
2,336
217,998
<doc id="217998" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=217998" title="พรพิมล ธรรมสาร">พรพิมล ธรรมสาร พรพิมล ธรรมสาร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จ.ปทุมธานี พรรคเพื่อไทย มีชื่อเล่นว่า "ก้อย" อดีตนักร้องนำของวงโอเวชั่นช่วง พ.ศ. 2530-2532 เป็นชาวลำปาง ศึกษาที่โรงเรียนเซนต์จอห์น และยังเรียนร้องเพลงที่ ที่โรงเรียนดนตรีวาธินี ควบคู่ไปด้วยและสำเร้จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์การทำงาน การทำงาน. พรพิมลได้มาเป็นนักร้องนำของวงสตริงชื่อดังในยุคนั้นอย่าง โอเวชั่น แทน พัชรา แวงวรรณ นักร้องนำคนเก่าที่ นิธิทัศน์ โปรโมชั่น เห็นว่าเหมาะกับร้องเพลงช้ามากกว่าเพลงเร็วจึงได้แยกให้ไปทำอัลบั้มเดี่ยวและทางบริษัทจึงให้วงไปหานักร้องนำคนใหม่ ขาว-ไวยวุฒิ สกุลทรัพย์ไพศาล มือคีย์บอร์ดและนักร้องนำ พี่ชายของ วิรุฬ สกุลทรัพย์ไพศาล (ดำ ฟอร์เอฟเวอร์) จึงได้ชักชวนก้อย พรพิมล ซึ่งเป็นเพื่อนมาเทสต์เสียงที่บริษัท ซึ่งพรพิมลผ่านการเทสต์เสียงและได้เป็นนักร้องนำคนใหม่ในอัลบั้ม "เริ่มวัยรัก" ใน พ.ศ. 2530 และเมื่ออัลบั้มนี้ขายดีจึงเร่งทำอัลบั้มชุดต่อมาโดยในปี พ.ศ. 2532 พรพิมลได้ออกอัลบั้มชุดใหม่กับวงโอเวชั่น ในชื่อว่า "ไม่มีวันนั้นอีกแล้ว" หลังจากอัลบั้มนี้ทางบริษัทได้ให้พรพิมลออกมาทำอัลบั้มเดี่ยว ทำให้โอเวชั่นที่กำลังจะหมดสัญญากับนิธิทัศน์ต้องไปสังกัดค่ายอื่น ส่วนพรพิมลออกอัลบั้มเดี่ยวโดยใช้ชื่อเล่นและชื่อจริงของตนเองเป็นชื่ออัลบั้ม โดยในอัลบั้ม "ก้อย ซูเปอร์ฮิต" มีเพลงดังคือเพลง "เอาความรักฉันคืนกลับมา" ซึ่งเป็นเพลงแก้กับเพลง เอาความรักเธอนั้นคืนกลับไป ของดอน สอนระเบียบ หลังจากนั้นได้ออกอีกหลายอัลบั้มและลาออกไปแต่งงาน ปัจจุบันเป็นคุณแม่ลูกสอง พรพิมลลงเล่นการเมืองตามสามี เริ่มที่ตำแหน่งสมาชิกสภาจังหวัดปทุมธานี ส่วนสามีเป็นนายกเทศมนตรีเมืองสนั่นรักษ์ และหลังจากเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พรพิมลได้รับเลือกให้เป็นส.ส.ปทุมธานี เขต 2 พรรคพลังประชาชน แต่เมื่อพรรคพลังประชาชนถูกยุบ จึงย้ายไปสังกัดพรรคเพื่อไทย ในการเลือกตั้งปี 2554 พรพิมลได้ลงสมัครเลือกตั้ง ส.ส. ในจังหวัดปทุมธานี เขตเลือกตั้งที่ 4 พรรคเดิม และได้รับการเลือกตั้งอีกสมัยผลงานผลงาน. - โอเวชั่น # 6 เริ่มวัยรัก (นิธิทัศน์) - โอเวชั่น # 7 ไม่มีวันนั้นอีกแล้ว (นิธิทัศน์) - ตลับทองจากก้อย (นิธิทัศน์) - เพลงคู่ซูเปอร์ฮิต คู่ ดอน สอนระเบียบ [เพลงคู่ซูเปอร์คลาสสิค พ่อแง่แม่งอน] (นิธิทัศน์) - ก้อย ซูเปอร์ฮิต 1-2-3 (นิธิทัศน์) - ก้อย ซูเปอร์บูม - เพลงหวานซูเปอร์คลาสสิค (นิธิทัศน์) - โกหกไม่ลง (นิธิทัศน์) - อมตะซูเปอร์คลาสสิค 1-2 (นิธิทัศน์) - เมดเล่ย์ซูเปอร์ฮิต มันส์ไม่หยุด 1-2 (นิธิทัศน์) - ที่สุดความทรงจำ 1-2 (นิธิทัศน์) - ที่สุดนิรันดร์กาล 1-2 (นิธิทัศน์) - เมดเล่ย์เพชร (นิธิทัศน์) - ฮิตเป็นตัน (นิธิทัศน์) - เมกาแดนซ์ เกือบจะสาย (นิธิทัศน์) - เปาบุ้นจิ้น สุดจะรอไหว (นิธิทัศน์) - รักไม่แปรเปลี่ยน (นิธิทัศน์) - ก้อยเจอเท่ห์ โกหกหน้าตาย-โกหกไม่ลง 12 เพลงร้องโต้ตอบ (นิธิทัศน์) - คลาสสิตสเปเชียล 1 คนใจดำ (นิธิทัศน์) - คลาสสิคสเปเชียล 2 เชียงรายรำลึก (นิธิทัศน์) - คลาสสิคสเปเชียล 3 ความรักไม่รู้จบ (นิธิทัศน์) - ก้อย พรายแพรว 1-2-3 (นิธิทัศน์) - ก้อย 3 ช่า ซูเปอร์บูม [ซูเปอร์สามช่า ขอให้รวย] (นิธิทัศน์) - ก้อย ซูเปอร์สามช่า หนูไม่ยอม (นิธิทัศน์) - ก้อย ร้อยล้าน 1-2 (กรุงไทย)ภาพยนตร์โฆษณา โฆษณา. โซฟิเครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)</doc>
พรพิมล ธรรมสาร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จ.ปทุมธานี พรรคเพื่อไทย มีชื่อเล่นว่าอะไร
{ "answer": [ "ก้อย" ], "answer_begin_position": [ 189 ], "answer_end_position": [ 193 ] }
203
54,603
<doc id="54603" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=54603" title="สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9">สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือ สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระ หรือ พระเจ้าท้ายสระ หรือ พระเจ้าภูมินทราชา หรือ พระเจ้าบรรยงก์รัตนาสน์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 30 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สามแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2251 - พ.ศ. 2275พระราชประวัติ พระราชประวัติ. สมเด็จพระสรรเพชญ์ มีพระนามเดิมว่าเจ้าฟ้าเพชร เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 กับพระอัครมเหสีพระนามว่าสมเด็จพระพันวษา มีพระอนุชาและพระกนิษฐาร่วมพระมารดา 2 พระองค์ คือ เจ้าฟ้าพรและเจ้าฟ้าหญิงไม่ทราบพระนาม เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี พ.ศ. 2252 จึงขึ้นครองราชย์ เฉลิมพระนามว่าพระเจ้าภูมินทราชา แต่จารึกชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์ออกพระนามว่า พระบาทพระศรีสรรเพชญสมเด็จเอกาทศรุทอิศวรบรมนารถบรมบพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว แต่ประชาชนมักออกพระนามว่าพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ต่อมาทรงสถาปนาพระบัณฑูรน้อย เจ้าฟ้าพร พระราชอนุชาเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลสวรรคต สวรรคต. สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2275 รวมระยะเวลาครองราชย์ 23 ปี ในขณะที่สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ทรงพระประชวรหนักนั้น พระองค์ตัดสินพระทัยทรงมอบราชสมบัติให้แก่เจ้าฟ้าอภัย แต่กรมพระราชวังบวรสถานมงคลไม่ทรงยินยอม จึงเกิดเป็นสงครามแย่งชิงราชบัลลังก์ ที่สุดกรมพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นฝ่ายชนะ ทรงสำเร็จโทษเจ้าฟ้าอภัย แล้วจึงครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศพระนามพระนาม. - สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระ มาจากนามพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์ ซึ่งพระองค์ใช้เป็นประทับอันอยู่ข้างสระน้ำท้ายพระราชวัง - สมเด็จพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์ - สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 - สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ - สมเด็จพระภูมินทราธิราช - ขุนหลวงทรงปลาพระราชกรณียกิจ พระราชกรณียกิจ. ในรัชสมัยของพระองค์ มีการขุดคลองสำคัญอันเป็นเส้นทางคมนาคม คือ "คลองมหาไชย" และ "คลองเกร็ดน้อย" มีการแข่งกันสร้างวัด ระหว่างพระองค์กับพระอนุชา คือ วัดมเหยงค์และวัดกุฏีดาว มีการเคลื่อนย้ายพระนอนองค์ใหญ่ของวัดป่าโมกเพื่อให้พ้นจากการถูกน้ำเซาะตลิ่ง เป็นต้น ในด้านการต่างประเทศ มีการส่งราชทูตไปเจริญทางพระราชไมตรีกับประเทศจีนถึงสี่ครั้ง ทำให้การค้าขายระหว่างสยามกับจีน ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ในปี พ.ศ. 2244 เกิดความวุ่นวายในประเทศกัมพูชา อันเนื่องจากการแย่งราชสมบัติกันระหว่างนักเสด็จกับนักแก้วฟ้าสะจอง นักเสด็จขอเข้ามาอยู่ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ส่วนพระแก้วฟ้านักสะจองผู้เป็นอนุชาฝักใฝ่อยู่กับฝ่ายญวน ซึ่งพยายามแผ่อำนาจเข้าไปในเขมร พระองค์ได้ส่งกองทัพกรุงศรีอยุธยาเข้าไปถึงเมืองอุดงมีชัย ราชธานีของเขมร และได้เกลี้ยกล่อมให้นักแก้วฟ้าสะจองกลับมาอ่อนน้อมต่ออยุธยา เขมรจึงมีฐานะเป็นประเทศราชของอาณาจักรเช่นแต่ก่อน ในช่วงรัชสมัยนี้ มิชชันนารีคาทอลิกคือมุขนายกหลุยส์ ลาโน ได้พิมพ์เผยแพร่หนังสือชื่อ “ปุจฉาวิสัชนา” มีเนื้อหาเปรียบเทียบศาสนาคริสต์ – ศาสนาพุทธ ชี้ให้เห็นความเหนือกว่าของศาสนาคริสต์ ดูหมิ่นพุทธศาสนา ทันทีหนังสือเล่มนี้ถูกเผยแพร่เป็นครั้งแรกก็สร้างความไม่พอใจให้กับราชการไทย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระทรงเรียกบาทหลวง 3 คนขึ้นศาลไต่สวน ที่สุดมีพระราชโองการห้ามไม่ให้ใช้ภาษาไทยในการเผยแพร่ศาสนา ห้ามคนไทย มอญ และลาวเข้ารีตศาสนาคริสต์ และห้ามมิให้มิชชันนารีติเตียนศาสนาของคนไทย มิชชันนารีที่ไม่ปฏิบัติตามจะถูกเฆี่ยนแล้วเนรเทศพระราชโอรส-ธิดา พระราชโอรส-ธิดา. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระมีพระราชโอรสธิดารวมกัน 9 พระองค์ เป็นพระราชโอรส 6 พระองค์ เป็นพระราชธิดา 3 พระองค์ ดังนี้- กรมหลวงราชานุรักษ์ มีพระโอรสธิดา 6 พระองค์ คือ- เจ้าฟ้าหญิงเทพ - เจ้าฟ้าหญิงประทุม - เจ้าฟ้านเรนทร กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ - เจ้าฟ้าอภัย - เจ้าฟ้าชายปรเมศร์ - เจ้าฟ้าชายทับ- พระสนม มีพระโอรสธิดา 3 พระองค์ คือ- พระองค์เจ้าชายเสฏฐา - พระองค์เจ้าชายปริก - พระองค์เจ้าหญิงสมบุญคงเกร็ดที่น่าสนใจเกร็ดที่น่าสนใจ. - พระองค์โปรดเสวยปลาตะเพียนมาก โดยออกพระราชกำหนดห้ามราษฎรจับหรือรับประทานปลาตะเพียน หากผู้ใดฝ่าฝืน มีบทลงโทษคือปรับเป็นเงิน 5 ตำลึง หรือ 20 บาท - พระราชทานท้องพระโรงแก่สมเด็จพระสังฆราชแตงโม (ทอง) ซึ่งเป็นพระอาจารย์ของพระองค์โดยล่องเรือจากอยุธยาไปเพชรบุรีแล้วไปสร้างที่วัดใหญ่สุวรรณาราม (วัดสุวรรณาราม บ้างก็เรียกวัดใหญ่) จึงทำให้คงเหลือพระราชวัง ท้องพระโรงที่แสดงถึงศิลปกรรมของอยุธยาที่เหลือรอดจากการเผาของพม่าเมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 อยู่ที่จังหวัดเพชรบุรีพงศาวลี พงศาวลี. พระราชตระกูลในสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9</doc>
พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 30 แห่งอาณาจักรอยุธยา มีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9" ], "answer_begin_position": [ 118 ], "answer_end_position": [ 140 ] }
1,741
54,603
<doc id="54603" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=54603" title="สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9">สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือ สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระ หรือ พระเจ้าท้ายสระ หรือ พระเจ้าภูมินทราชา หรือ พระเจ้าบรรยงก์รัตนาสน์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 30 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สามแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2251 - พ.ศ. 2275พระราชประวัติ พระราชประวัติ. สมเด็จพระสรรเพชญ์ มีพระนามเดิมว่าเจ้าฟ้าเพชร เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 กับพระอัครมเหสีพระนามว่าสมเด็จพระพันวษา มีพระอนุชาและพระกนิษฐาร่วมพระมารดา 2 พระองค์ คือ เจ้าฟ้าพรและเจ้าฟ้าหญิงไม่ทราบพระนาม เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี พ.ศ. 2252 จึงขึ้นครองราชย์ เฉลิมพระนามว่าพระเจ้าภูมินทราชา แต่จารึกชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์ออกพระนามว่า พระบาทพระศรีสรรเพชญสมเด็จเอกาทศรุทอิศวรบรมนารถบรมบพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว แต่ประชาชนมักออกพระนามว่าพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ต่อมาทรงสถาปนาพระบัณฑูรน้อย เจ้าฟ้าพร พระราชอนุชาเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลสวรรคต สวรรคต. สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2275 รวมระยะเวลาครองราชย์ 23 ปี ในขณะที่สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ทรงพระประชวรหนักนั้น พระองค์ตัดสินพระทัยทรงมอบราชสมบัติให้แก่เจ้าฟ้าอภัย แต่กรมพระราชวังบวรสถานมงคลไม่ทรงยินยอม จึงเกิดเป็นสงครามแย่งชิงราชบัลลังก์ ที่สุดกรมพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นฝ่ายชนะ ทรงสำเร็จโทษเจ้าฟ้าอภัย แล้วจึงครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศพระนามพระนาม. - สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระ มาจากนามพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์ ซึ่งพระองค์ใช้เป็นประทับอันอยู่ข้างสระน้ำท้ายพระราชวัง - สมเด็จพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์ - สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 - สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ - สมเด็จพระภูมินทราธิราช - ขุนหลวงทรงปลาพระราชกรณียกิจ พระราชกรณียกิจ. ในรัชสมัยของพระองค์ มีการขุดคลองสำคัญอันเป็นเส้นทางคมนาคม คือ "คลองมหาไชย" และ "คลองเกร็ดน้อย" มีการแข่งกันสร้างวัด ระหว่างพระองค์กับพระอนุชา คือ วัดมเหยงค์และวัดกุฏีดาว มีการเคลื่อนย้ายพระนอนองค์ใหญ่ของวัดป่าโมกเพื่อให้พ้นจากการถูกน้ำเซาะตลิ่ง เป็นต้น ในด้านการต่างประเทศ มีการส่งราชทูตไปเจริญทางพระราชไมตรีกับประเทศจีนถึงสี่ครั้ง ทำให้การค้าขายระหว่างสยามกับจีน ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ในปี พ.ศ. 2244 เกิดความวุ่นวายในประเทศกัมพูชา อันเนื่องจากการแย่งราชสมบัติกันระหว่างนักเสด็จกับนักแก้วฟ้าสะจอง นักเสด็จขอเข้ามาอยู่ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ส่วนพระแก้วฟ้านักสะจองผู้เป็นอนุชาฝักใฝ่อยู่กับฝ่ายญวน ซึ่งพยายามแผ่อำนาจเข้าไปในเขมร พระองค์ได้ส่งกองทัพกรุงศรีอยุธยาเข้าไปถึงเมืองอุดงมีชัย ราชธานีของเขมร และได้เกลี้ยกล่อมให้นักแก้วฟ้าสะจองกลับมาอ่อนน้อมต่ออยุธยา เขมรจึงมีฐานะเป็นประเทศราชของอาณาจักรเช่นแต่ก่อน ในช่วงรัชสมัยนี้ มิชชันนารีคาทอลิกคือมุขนายกหลุยส์ ลาโน ได้พิมพ์เผยแพร่หนังสือชื่อ “ปุจฉาวิสัชนา” มีเนื้อหาเปรียบเทียบศาสนาคริสต์ – ศาสนาพุทธ ชี้ให้เห็นความเหนือกว่าของศาสนาคริสต์ ดูหมิ่นพุทธศาสนา ทันทีหนังสือเล่มนี้ถูกเผยแพร่เป็นครั้งแรกก็สร้างความไม่พอใจให้กับราชการไทย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระทรงเรียกบาทหลวง 3 คนขึ้นศาลไต่สวน ที่สุดมีพระราชโองการห้ามไม่ให้ใช้ภาษาไทยในการเผยแพร่ศาสนา ห้ามคนไทย มอญ และลาวเข้ารีตศาสนาคริสต์ และห้ามมิให้มิชชันนารีติเตียนศาสนาของคนไทย มิชชันนารีที่ไม่ปฏิบัติตามจะถูกเฆี่ยนแล้วเนรเทศพระราชโอรส-ธิดา พระราชโอรส-ธิดา. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระมีพระราชโอรสธิดารวมกัน 9 พระองค์ เป็นพระราชโอรส 6 พระองค์ เป็นพระราชธิดา 3 พระองค์ ดังนี้- กรมหลวงราชานุรักษ์ มีพระโอรสธิดา 6 พระองค์ คือ- เจ้าฟ้าหญิงเทพ - เจ้าฟ้าหญิงประทุม - เจ้าฟ้านเรนทร กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ - เจ้าฟ้าอภัย - เจ้าฟ้าชายปรเมศร์ - เจ้าฟ้าชายทับ- พระสนม มีพระโอรสธิดา 3 พระองค์ คือ- พระองค์เจ้าชายเสฏฐา - พระองค์เจ้าชายปริก - พระองค์เจ้าหญิงสมบุญคงเกร็ดที่น่าสนใจเกร็ดที่น่าสนใจ. - พระองค์โปรดเสวยปลาตะเพียนมาก โดยออกพระราชกำหนดห้ามราษฎรจับหรือรับประทานปลาตะเพียน หากผู้ใดฝ่าฝืน มีบทลงโทษคือปรับเป็นเงิน 5 ตำลึง หรือ 20 บาท - พระราชทานท้องพระโรงแก่สมเด็จพระสังฆราชแตงโม (ทอง) ซึ่งเป็นพระอาจารย์ของพระองค์โดยล่องเรือจากอยุธยาไปเพชรบุรีแล้วไปสร้างที่วัดใหญ่สุวรรณาราม (วัดสุวรรณาราม บ้างก็เรียกวัดใหญ่) จึงทำให้คงเหลือพระราชวัง ท้องพระโรงที่แสดงถึงศิลปกรรมของอยุธยาที่เหลือรอดจากการเผาของพม่าเมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 อยู่ที่จังหวัดเพชรบุรีพงศาวลี พงศาวลี. พระราชตระกูลในสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9</doc>
สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ทรงครองราชย์เป็นระยะเวลากี่ปี
{ "answer": [ "23 ปี" ], "answer_begin_position": [ 1076 ], "answer_end_position": [ 1081 ] }
204
352,616
<doc id="352616" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=352616" title="จำเริญสุข อ่าวอุดมผล">จำเริญสุข อ่าวอุดมผล จำเริญสุข อ่าวอุดมผล () เกิดวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 1978 เป็นนักกรีฑาชาวลาวที่มีความถนัดในการแข่งวิ่ง 100 เมตร เขามีส่วนสูง 5 ฟุต 6 นิ้ว และมีน้ำหนักประมาณ 143 ปอนด์ และได้เข้าร่วมในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 เขาได้รับการจัดอันดับในลำดับที่เจ็ดของรายการ 100 เมตรด้วยเวลา 11.30 วินาที จึงทำให้พลาดการคัดเลือกเข้าสู่รอบสองต่อไป ซึ่งจำเริญสุขเป็นผู้ถือธงในวันเปิดพิธี ณ วันที่ 13 สิงหาคมของปีนั้น</doc>
จำเริญสุข อ่าวอุดมผล เป็นนักกรีฑาของชาติอะไร
{ "answer": [ "ลาว" ], "answer_begin_position": [ 187 ], "answer_end_position": [ 190 ] }
1,842
352,616
<doc id="352616" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=352616" title="จำเริญสุข อ่าวอุดมผล">จำเริญสุข อ่าวอุดมผล จำเริญสุข อ่าวอุดมผล () เกิดวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 1978 เป็นนักกรีฑาชาวลาวที่มีความถนัดในการแข่งวิ่ง 100 เมตร เขามีส่วนสูง 5 ฟุต 6 นิ้ว และมีน้ำหนักประมาณ 143 ปอนด์ และได้เข้าร่วมในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 เขาได้รับการจัดอันดับในลำดับที่เจ็ดของรายการ 100 เมตรด้วยเวลา 11.30 วินาที จึงทำให้พลาดการคัดเลือกเข้าสู่รอบสองต่อไป ซึ่งจำเริญสุขเป็นผู้ถือธงในวันเปิดพิธี ณ วันที่ 13 สิงหาคมของปีนั้น</doc>
จำเริญสุข อ่าวอุดมผล เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "24" ], "answer_begin_position": [ 151 ], "answer_end_position": [ 153 ] }
205
270,698
<doc id="270698" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=270698" title="บล็อกเฮด">บล็อกเฮด บล็อกเฮด (Blockhead) ชื่อจริง เจมส์ "แอนโทนี่" ไซมอน เป็นโปรดิวเซอร์เพลง ฮิบฮอบชาวอเมริกัน มีฐานในย่านแมนฮัตตันในเมืองนิวยอร์ก แล้วก็เขาก็ได้ไปเซ็นสัญยากับค่ายเพลง นินจาจูน ต่อมาก็ได้จำหน่ายขายผลงานอัลบั้ม Music by Cavelightอัลบั้มอัลบั้ม. - Music by Cavelight (Ninja Tune, 2004) - Downtown Science (Ninja Tune, 2005) - Uncle Tony's Coloring Book (Ninja Tune, 2007) - The Music Scene (Ninja Tune, 2010)ซิงเกิลและอีพีซิงเกิลและอีพี. - Insomniac Olympics (Ninja Tune, 2003) - Sunday Seance/Jet Son (Ninja Tune, 2004) - Expiration Date (Ninja Tune, 2005) - Alright (Ninja Tune, 2006)</doc>
เจมส์ แอนโทนี่ ไซมอน เป็นโปรดิวเซอร์เพลงฮิบฮอบ ชาวอะไร
{ "answer": [ "ชาวอเมริกัน" ], "answer_begin_position": [ 171 ], "answer_end_position": [ 182 ] }
1,394
270,698
<doc id="270698" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=270698" title="บล็อกเฮด">บล็อกเฮด บล็อกเฮด (Blockhead) ชื่อจริง เจมส์ "แอนโทนี่" ไซมอน เป็นโปรดิวเซอร์เพลง ฮิบฮอบชาวอเมริกัน มีฐานในย่านแมนฮัตตันในเมืองนิวยอร์ก แล้วก็เขาก็ได้ไปเซ็นสัญยากับค่ายเพลง นินจาจูน ต่อมาก็ได้จำหน่ายขายผลงานอัลบั้ม Music by Cavelightอัลบั้มอัลบั้ม. - Music by Cavelight (Ninja Tune, 2004) - Downtown Science (Ninja Tune, 2005) - Uncle Tony's Coloring Book (Ninja Tune, 2007) - The Music Scene (Ninja Tune, 2010)ซิงเกิลและอีพีซิงเกิลและอีพี. - Insomniac Olympics (Ninja Tune, 2003) - Sunday Seance/Jet Son (Ninja Tune, 2004) - Expiration Date (Ninja Tune, 2005) - Alright (Ninja Tune, 2006)</doc>
ผลงานอัลบั้มแรกของบล็อกเฮด ชื่อจริง เจมส์ แอนโทนี่ ไซมอน ในปี 2004 มีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "Music by Cavelight" ], "answer_begin_position": [ 298 ], "answer_end_position": [ 316 ] }
206
425,128
<doc id="425128" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=425128" title="สาคร เกี่ยวข้อง">สาคร เกี่ยวข้อง นายสาคร เกี่ยวข้อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ประวัติ ประวัติ. นายสาคร เกี่ยวข้อง เกิดเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2505 (ชื่อเล่น: แดง, โกแดง) เป็นบุตรของนายกงซิ่น นางดลใจ เกี่ยวข้อง สมรสกับนางเพชรารัตน์ เกี่ยวข้อง (สกุลเดิม: จิวากานนท์) มีบุตร 1 คน สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา จากโรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล จังหวัดกระบี่ จากนั้นเข้าศึกษาชั้นเตรียมอุดมศึกษาที่โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย กรุงเทพฯ และศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สำเร็จการศึกษาสูงสุดในระดับปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตการทำงาน การทำงาน. นายสาคร เกี่ยวข้อง ประกอบอาชีพด้านธุรกิจส่วนตัวในจังหวัดกระบี่ เคยดำรงตำแหน่งกรรมการหอการค้าจังหวัดกระบี่ และเป็นรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ ต่อมาได้เข้าสู่งานการเมืองระดับชาติ โดยได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกระบี่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2556 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2553 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - พ.ศ. 2551 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.)</doc>
นายสาคร เกี่ยวข้อง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ สังกัดพรรคการเมืองใด
{ "answer": [ "พรรคประชาธิปัตย์" ], "answer_begin_position": [ 165 ], "answer_end_position": [ 181 ] }
207
425,128
<doc id="425128" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=425128" title="สาคร เกี่ยวข้อง">สาคร เกี่ยวข้อง นายสาคร เกี่ยวข้อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ประวัติ ประวัติ. นายสาคร เกี่ยวข้อง เกิดเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2505 (ชื่อเล่น: แดง, โกแดง) เป็นบุตรของนายกงซิ่น นางดลใจ เกี่ยวข้อง สมรสกับนางเพชรารัตน์ เกี่ยวข้อง (สกุลเดิม: จิวากานนท์) มีบุตร 1 คน สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา จากโรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล จังหวัดกระบี่ จากนั้นเข้าศึกษาชั้นเตรียมอุดมศึกษาที่โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย กรุงเทพฯ และศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สำเร็จการศึกษาสูงสุดในระดับปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตการทำงาน การทำงาน. นายสาคร เกี่ยวข้อง ประกอบอาชีพด้านธุรกิจส่วนตัวในจังหวัดกระบี่ เคยดำรงตำแหน่งกรรมการหอการค้าจังหวัดกระบี่ และเป็นรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ ต่อมาได้เข้าสู่งานการเมืองระดับชาติ โดยได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกระบี่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์เครื่องราชอิสริยาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์. - พ.ศ. 2556 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - พ.ศ. 2553 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - พ.ศ. 2551 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นประถมาภรณ์มงกุฏไทย (ป.ม.)</doc>
นามสกุลเดิมของนางเพชรารัตน์ เกี่ยวข้อง คืออะไร
{ "answer": [ "จิวากานนท์" ], "answer_begin_position": [ 360 ], "answer_end_position": [ 370 ] }
208
873,656
<doc id="873656" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=873656" title="หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา">หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา หรือ หม่อมครูนุ่ม (สกุลเดิม: อภัยกุล; ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2477) เป็นหม่อมในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ เป็นนางละครในเจ้าคุณจอมมารดาเอม หม่อมครูนุ่มเป็นผู้วางรากฐาน และเป็นผู้ถ่ายทอดท่ารำละครตัวนาง ทั้งหมดของคณะละครวังสวนกุหลาบประวัติ ประวัติ. หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา เป็นธิดาของหม่อมหลวงชื่น อภัยกุล กับหม่อมหลวงตาด (สกุลเดิม: เจษฎางกูร) ต่อมาได้เข้ามาเป็นตัวละครในเจ้าคุณจอมมารดาเอม ซึ่งคณะละครนั้นได้ตกทอดไปถึงกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญพระราชโอรสในเจ้าคุณจอมมารดาเอม ต่อมาได้เป็นหม่อมในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเนาวรัตน์ กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ พระอนุชาในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ต้นราชสกุลนวรัตน มีพระโอรสธิดาคือ1. หม่อมเจ้าชายธำรงวรวัฒน์ นวรัตน (พ.ศ. 2424 — พ.ศ. 2489) 2. หม่อมเจ้าหญิงกมลเปรมปรีดิ์ นวรัตน (พ.ศ. 2427 — ?) เสกสมรสกับพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรวิสุทธิ์ ภายหลังได้เข้ามาเป็นครูละครวังสวนกุหลาบ เป็นผู้วางรากฐาน และเป็นผู้ถ่ายทอดท่ารำละครตัวนาง ทั้งหมดของคณะละครวังสวนกุหลาบ ท่ารำเฉพาะบทบาท และท่ารำเพลงหน้าพาทย์ที่สำคัญของตัวละครนางเอก และนางรอง หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา ได้ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2477 และได้ทำการฌาปนกิจศพเมื่อพฤษภาคม พ.ศ. 2477ผลงาน ผลงาน. วิชาความรู้จากหม่อมครูนุ่ม และใช้เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนวิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่งทั่วประเทศ มีดังนี้1. รำเชิดฉิ่งของตัวนาง อาทิ นางเบญกาย นางเมขลา (เรื่อง รามเกียรติ์) นางศุภลักษณ์ (เรื่อง อุณรุฑ) 2. ท่ารำเพลงหน้าพาทย์สำคัญๆ ของตัวละครนาง เช่น เพลงโลม เพลงตระนอน เพลงตระนิมิต เพลงตะบองกันกัน 3. ท่ารำกริชดรสา (เรื่อง อิเหนา) 4. ท่ารำบุษบาชมศาล (เรื่อง อิเหนา) 5. ท่ารำชุดศุภลักาณ์วาดรูป (เรื่อง อุณรุฑ) 6. ท่ารำชุดศุภลักษณ์อุ้มสม (เรื่อง อุณรุฑ) 7. รำฝรั่งคู่ (ตัวละครนาง) 8. ท่ารำฉุยฉายชุดต่างๆ ที่เป็นบทบาทของตัวละครนาง เช่น ฉุยฉายเบญกาย ฉุยฉายยอพระกลิ่น ฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง ฉุยฉายวันทอง ฉุยฉายศูรปนขา วิยะดาทรงเครื่อง รจนาเลือกคู่ 9. บทบาทของตัวละครนางในเรื่องต่างๆ นางมะเดหวี นางดรสา (เรื่อง อิเหนา) นางศุภลักษณ์ (เรื่อง อุณรุฑ) นางมณฑา นางจันทร์ (เรื่อง สังข์ทอง) นางเกสรสุมณฑา (เรื่องสังข์ศิลป์ชัย) นางเฒ่าทัศประสาท นางคันธมาลี (เรื่อง คาวี) นางวารี นางสุวรรณมาลี (เรื่อง พระอภัยมณี) นางออยเงาะ (เรื่อง เงาะป่า) หม่อมนุ่ม มีลูกศิษย์คนสำคัญอาทิ ครูเฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง พ.ศ. 2530 และครูลมุล ยมะคุปต์</doc>
สกุลเดิมของหม่อมครูนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา คืออะไร
{ "answer": [ "อภัยกุล" ], "answer_begin_position": [ 181 ], "answer_end_position": [ 188 ] }
209
873,656
<doc id="873656" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=873656" title="หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา">หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา หรือ หม่อมครูนุ่ม (สกุลเดิม: อภัยกุล; ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2477) เป็นหม่อมในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ เป็นนางละครในเจ้าคุณจอมมารดาเอม หม่อมครูนุ่มเป็นผู้วางรากฐาน และเป็นผู้ถ่ายทอดท่ารำละครตัวนาง ทั้งหมดของคณะละครวังสวนกุหลาบประวัติ ประวัติ. หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา เป็นธิดาของหม่อมหลวงชื่น อภัยกุล กับหม่อมหลวงตาด (สกุลเดิม: เจษฎางกูร) ต่อมาได้เข้ามาเป็นตัวละครในเจ้าคุณจอมมารดาเอม ซึ่งคณะละครนั้นได้ตกทอดไปถึงกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญพระราชโอรสในเจ้าคุณจอมมารดาเอม ต่อมาได้เป็นหม่อมในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเนาวรัตน์ กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ พระอนุชาในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ต้นราชสกุลนวรัตน มีพระโอรสธิดาคือ1. หม่อมเจ้าชายธำรงวรวัฒน์ นวรัตน (พ.ศ. 2424 — พ.ศ. 2489) 2. หม่อมเจ้าหญิงกมลเปรมปรีดิ์ นวรัตน (พ.ศ. 2427 — ?) เสกสมรสกับพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรวิสุทธิ์ ภายหลังได้เข้ามาเป็นครูละครวังสวนกุหลาบ เป็นผู้วางรากฐาน และเป็นผู้ถ่ายทอดท่ารำละครตัวนาง ทั้งหมดของคณะละครวังสวนกุหลาบ ท่ารำเฉพาะบทบาท และท่ารำเพลงหน้าพาทย์ที่สำคัญของตัวละครนางเอก และนางรอง หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา ได้ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2477 และได้ทำการฌาปนกิจศพเมื่อพฤษภาคม พ.ศ. 2477ผลงาน ผลงาน. วิชาความรู้จากหม่อมครูนุ่ม และใช้เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนวิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่งทั่วประเทศ มีดังนี้1. รำเชิดฉิ่งของตัวนาง อาทิ นางเบญกาย นางเมขลา (เรื่อง รามเกียรติ์) นางศุภลักษณ์ (เรื่อง อุณรุฑ) 2. ท่ารำเพลงหน้าพาทย์สำคัญๆ ของตัวละครนาง เช่น เพลงโลม เพลงตระนอน เพลงตระนิมิต เพลงตะบองกันกัน 3. ท่ารำกริชดรสา (เรื่อง อิเหนา) 4. ท่ารำบุษบาชมศาล (เรื่อง อิเหนา) 5. ท่ารำชุดศุภลักาณ์วาดรูป (เรื่อง อุณรุฑ) 6. ท่ารำชุดศุภลักษณ์อุ้มสม (เรื่อง อุณรุฑ) 7. รำฝรั่งคู่ (ตัวละครนาง) 8. ท่ารำฉุยฉายชุดต่างๆ ที่เป็นบทบาทของตัวละครนาง เช่น ฉุยฉายเบญกาย ฉุยฉายยอพระกลิ่น ฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง ฉุยฉายวันทอง ฉุยฉายศูรปนขา วิยะดาทรงเครื่อง รจนาเลือกคู่ 9. บทบาทของตัวละครนางในเรื่องต่างๆ นางมะเดหวี นางดรสา (เรื่อง อิเหนา) นางศุภลักษณ์ (เรื่อง อุณรุฑ) นางมณฑา นางจันทร์ (เรื่อง สังข์ทอง) นางเกสรสุมณฑา (เรื่องสังข์ศิลป์ชัย) นางเฒ่าทัศประสาท นางคันธมาลี (เรื่อง คาวี) นางวารี นางสุวรรณมาลี (เรื่อง พระอภัยมณี) นางออยเงาะ (เรื่อง เงาะป่า) หม่อมนุ่ม มีลูกศิษย์คนสำคัญอาทิ ครูเฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง พ.ศ. 2530 และครูลมุล ยมะคุปต์</doc>
พระราชบิดาของหม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา มีพระนามว่าอะไร
{ "answer": [ "หม่อมหลวงชื่น อภัยกุล" ], "answer_begin_position": [ 462 ], "answer_end_position": [ 483 ] }
1,715
873,656
<doc id="873656" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=873656" title="หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา">หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา หรือ หม่อมครูนุ่ม (สกุลเดิม: อภัยกุล; ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2477) เป็นหม่อมในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ เป็นนางละครในเจ้าคุณจอมมารดาเอม หม่อมครูนุ่มเป็นผู้วางรากฐาน และเป็นผู้ถ่ายทอดท่ารำละครตัวนาง ทั้งหมดของคณะละครวังสวนกุหลาบประวัติ ประวัติ. หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา เป็นธิดาของหม่อมหลวงชื่น อภัยกุล กับหม่อมหลวงตาด (สกุลเดิม: เจษฎางกูร) ต่อมาได้เข้ามาเป็นตัวละครในเจ้าคุณจอมมารดาเอม ซึ่งคณะละครนั้นได้ตกทอดไปถึงกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญพระราชโอรสในเจ้าคุณจอมมารดาเอม ต่อมาได้เป็นหม่อมในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเนาวรัตน์ กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ พระอนุชาในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ต้นราชสกุลนวรัตน มีพระโอรสธิดาคือ1. หม่อมเจ้าชายธำรงวรวัฒน์ นวรัตน (พ.ศ. 2424 — พ.ศ. 2489) 2. หม่อมเจ้าหญิงกมลเปรมปรีดิ์ นวรัตน (พ.ศ. 2427 — ?) เสกสมรสกับพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรวิสุทธิ์ ภายหลังได้เข้ามาเป็นครูละครวังสวนกุหลาบ เป็นผู้วางรากฐาน และเป็นผู้ถ่ายทอดท่ารำละครตัวนาง ทั้งหมดของคณะละครวังสวนกุหลาบ ท่ารำเฉพาะบทบาท และท่ารำเพลงหน้าพาทย์ที่สำคัญของตัวละครนางเอก และนางรอง หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา ได้ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2477 และได้ทำการฌาปนกิจศพเมื่อพฤษภาคม พ.ศ. 2477ผลงาน ผลงาน. วิชาความรู้จากหม่อมครูนุ่ม และใช้เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนวิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่งทั่วประเทศ มีดังนี้1. รำเชิดฉิ่งของตัวนาง อาทิ นางเบญกาย นางเมขลา (เรื่อง รามเกียรติ์) นางศุภลักษณ์ (เรื่อง อุณรุฑ) 2. ท่ารำเพลงหน้าพาทย์สำคัญๆ ของตัวละครนาง เช่น เพลงโลม เพลงตระนอน เพลงตระนิมิต เพลงตะบองกันกัน 3. ท่ารำกริชดรสา (เรื่อง อิเหนา) 4. ท่ารำบุษบาชมศาล (เรื่อง อิเหนา) 5. ท่ารำชุดศุภลักาณ์วาดรูป (เรื่อง อุณรุฑ) 6. ท่ารำชุดศุภลักษณ์อุ้มสม (เรื่อง อุณรุฑ) 7. รำฝรั่งคู่ (ตัวละครนาง) 8. ท่ารำฉุยฉายชุดต่างๆ ที่เป็นบทบาทของตัวละครนาง เช่น ฉุยฉายเบญกาย ฉุยฉายยอพระกลิ่น ฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง ฉุยฉายวันทอง ฉุยฉายศูรปนขา วิยะดาทรงเครื่อง รจนาเลือกคู่ 9. บทบาทของตัวละครนางในเรื่องต่างๆ นางมะเดหวี นางดรสา (เรื่อง อิเหนา) นางศุภลักษณ์ (เรื่อง อุณรุฑ) นางมณฑา นางจันทร์ (เรื่อง สังข์ทอง) นางเกสรสุมณฑา (เรื่องสังข์ศิลป์ชัย) นางเฒ่าทัศประสาท นางคันธมาลี (เรื่อง คาวี) นางวารี นางสุวรรณมาลี (เรื่อง พระอภัยมณี) นางออยเงาะ (เรื่อง เงาะป่า) หม่อมนุ่ม มีลูกศิษย์คนสำคัญอาทิ ครูเฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง พ.ศ. 2530 และครูลมุล ยมะคุปต์</doc>
หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา หรือ หม่อมครูนุ่ม ใช้สกุลเดิมว่าอะไร
{ "answer": [ "อภัยกุล" ], "answer_begin_position": [ 181 ], "answer_end_position": [ 188 ] }
1,716
873,656
<doc id="873656" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=873656" title="หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา">หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา หรือ หม่อมครูนุ่ม (สกุลเดิม: อภัยกุล; ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2477) เป็นหม่อมในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ เป็นนางละครในเจ้าคุณจอมมารดาเอม หม่อมครูนุ่มเป็นผู้วางรากฐาน และเป็นผู้ถ่ายทอดท่ารำละครตัวนาง ทั้งหมดของคณะละครวังสวนกุหลาบประวัติ ประวัติ. หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา เป็นธิดาของหม่อมหลวงชื่น อภัยกุล กับหม่อมหลวงตาด (สกุลเดิม: เจษฎางกูร) ต่อมาได้เข้ามาเป็นตัวละครในเจ้าคุณจอมมารดาเอม ซึ่งคณะละครนั้นได้ตกทอดไปถึงกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญพระราชโอรสในเจ้าคุณจอมมารดาเอม ต่อมาได้เป็นหม่อมในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเนาวรัตน์ กรมหมื่นสถิตย์ธำรงสวัสดิ์ พระอนุชาในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ต้นราชสกุลนวรัตน มีพระโอรสธิดาคือ1. หม่อมเจ้าชายธำรงวรวัฒน์ นวรัตน (พ.ศ. 2424 — พ.ศ. 2489) 2. หม่อมเจ้าหญิงกมลเปรมปรีดิ์ นวรัตน (พ.ศ. 2427 — ?) เสกสมรสกับพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรวิสุทธิ์ ภายหลังได้เข้ามาเป็นครูละครวังสวนกุหลาบ เป็นผู้วางรากฐาน และเป็นผู้ถ่ายทอดท่ารำละครตัวนาง ทั้งหมดของคณะละครวังสวนกุหลาบ ท่ารำเฉพาะบทบาท และท่ารำเพลงหน้าพาทย์ที่สำคัญของตัวละครนางเอก และนางรอง หม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา ได้ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2477 และได้ทำการฌาปนกิจศพเมื่อพฤษภาคม พ.ศ. 2477ผลงาน ผลงาน. วิชาความรู้จากหม่อมครูนุ่ม และใช้เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนวิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่งทั่วประเทศ มีดังนี้1. รำเชิดฉิ่งของตัวนาง อาทิ นางเบญกาย นางเมขลา (เรื่อง รามเกียรติ์) นางศุภลักษณ์ (เรื่อง อุณรุฑ) 2. ท่ารำเพลงหน้าพาทย์สำคัญๆ ของตัวละครนาง เช่น เพลงโลม เพลงตระนอน เพลงตระนิมิต เพลงตะบองกันกัน 3. ท่ารำกริชดรสา (เรื่อง อิเหนา) 4. ท่ารำบุษบาชมศาล (เรื่อง อิเหนา) 5. ท่ารำชุดศุภลักาณ์วาดรูป (เรื่อง อุณรุฑ) 6. ท่ารำชุดศุภลักษณ์อุ้มสม (เรื่อง อุณรุฑ) 7. รำฝรั่งคู่ (ตัวละครนาง) 8. ท่ารำฉุยฉายชุดต่างๆ ที่เป็นบทบาทของตัวละครนาง เช่น ฉุยฉายเบญกาย ฉุยฉายยอพระกลิ่น ฉุยฉายกิ่งไม้เงินทอง ฉุยฉายวันทอง ฉุยฉายศูรปนขา วิยะดาทรงเครื่อง รจนาเลือกคู่ 9. บทบาทของตัวละครนางในเรื่องต่างๆ นางมะเดหวี นางดรสา (เรื่อง อิเหนา) นางศุภลักษณ์ (เรื่อง อุณรุฑ) นางมณฑา นางจันทร์ (เรื่อง สังข์ทอง) นางเกสรสุมณฑา (เรื่องสังข์ศิลป์ชัย) นางเฒ่าทัศประสาท นางคันธมาลี (เรื่อง คาวี) นางวารี นางสุวรรณมาลี (เรื่อง พระอภัยมณี) นางออยเงาะ (เรื่อง เงาะป่า) หม่อมนุ่ม มีลูกศิษย์คนสำคัญอาทิ ครูเฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง พ.ศ. 2530 และครูลมุล ยมะคุปต์</doc>
บิดาของหม่อมนุ่ม นวรัตน ณ อยุธยา คือใคร
{ "answer": [ "หม่อมหลวงชื่น อภัยกุล" ], "answer_begin_position": [ 462 ], "answer_end_position": [ 483 ] }
210
33,329
<doc id="33329" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=33329" title="ประเทศเลโซโท">ประเทศเลโซโท เลโซโท (โซโทและ) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเลโซโท (โซโท: ; ) เป็นประเทศขนาดเล็กในทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ทั้งหมด 30,355 ตารางกิโลเมตร (11,720 ตารางไมล์) พรมแดนถูกล้อมรอบด้วยประเทศแอฟริกาใต้ทุกทิศทำให้ไม่มีทางออกสู่ทะเล ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่ราบสูง มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือมาเซรู เลโซโทมีรูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเป็นหนึ่งในสามประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่นเดียวกับประเทศโมร็อกโกและประเทศสวาซิแลนด์ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. เลโซโทเป็นหนึ่งในสามของประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (อีก 2 ประเทศ คือ ประเทศโมร็อกโก และประเทศสวาซิแลนด์) เดิมประเทศเลโซโทมีชื่อว่าบาซูโต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2361 โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 1 เป็นผู้ปกครอง ต่อมา ชนเผ่าซูลู และคนผิวขาวเข้าไปตั้งหลักแหล่งในประเทศ และถูกแอฟริกาใต้รุกราน บาซูโตจึงต้องขอรับความคุ้มครองจากรัฐบาลสหราชอาณาจักร และมีฐานะเป็นรัฐในปกครองของสหราชอาณาจักร (British protectorate of Basutoland) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 ต่อมาเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ได้ประกาศเอกราชและเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นเลโซโทการเมือง การเมือง. ระบอบการเมือง ระบอบประชาธิปไตยมีกษัตริย์เป็นประมุข โดยฝ่ายบริหาร มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้นำฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติรัฐสภา (National Assembly) แบบ 2 สภา (bicameral) ประกอบด้วยวุฒิสมาชิก 33 คน (ซึ่งในจำนวนนี้ 11 คน กษัตริย์เป็นผู้เสนอและพรรครัฐบาลเป็นผู้แต่งตั้งอีก 22 คนมาจากหัวหน้าเผ่าต่าง ๆ) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 65 คน ซึ่งอยู่ในวาระคราวละ 5 ปี ฝ่ายตุลาการ ประกอบด้วย ศาลสูง ศาลอุทธรณ์ ศาลพิพากษา และศาลพื้นเมืองการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. เลโซโทมี 10 เขต คือ:- เขตเบเรีย (Berea) - เขตบูทา-บูเท (Butha-Buthe) - เขตเลริเบ (Leribe) - เขตมาเฟเตง (Mafeteng) - เขตมาเซรู (Maseru) - เขตโมเฮลส์ฮุก (Mohale's Hoek) - เขตโมคอตลอง (Mokhotlong) - เขตคาชาส์เนก (Qacha's Nek) - เขตคูทิง (Quthing) - เขตทาบา-เซกา (Thaba-Tseka)ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. ประเทศเลโซโท เป็นประเทศที่มีแอฟริกาใต้ล้อมรอบหมดทุกด้าน มีพื้นที่ประมาณ 30,000 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณสองเท่าของจังหวัดอุบลราชธานี ของประเทศไทย แต่เลโซโทมีพื้นที่ส่วนมากอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลประมาณ 1,400-1,800 เมตร จึงทำให้มีหิมะปกคลุม เป็นเพียงไม่กี่ประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีหิมะ แต่ใช้ประโยชน์จากหิมะที่ละลายเป็นน้ำอุปโภคบริโภคใช้ในประเทศนโยบายต่างประเทศความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทยด้านการเมือง นโยบายต่างประเทศ. ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย. ด้านการเมือง. ไทยและเลโซโทได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2532 โดยไทยได้มอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพริทอเรีย แอฟริกาใต้ มีเขตอาณาครอบคลุมเลโซโท และเอกอัครราชทูต ณ กรุงพริทอเรียดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตประจำเลโซโทอีกตำแหน่งหนึ่งด้วย ส่วนเลโซโทได้มอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูตเลโซโท ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทยและได้แต่งตั้ง อภิชาติ สุดแสวง เป็นกงสุลกิตติมศักดิ์ประจำประเทศไทย- เลโซโทให้การสนับสนุนไทยมาตลอดในเรื่องปัญหากัมพูชา - รัฐบาลไทยได้ส่งเอกอัครราชทูต ณ กรุงพริทอเรียเข้าร่วมในพระราชพิธีพระบรมศพกษัตริย์สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท ซึ่งมีขึ้นเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2536 - รัฐบาลไทยได้ให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาภาวะขาดแคลนพืชพันธุ์ธัญญาหาร อันเนื่องมาจากความแห้งแล้งแก่นรัฐบาลเลโซโทในปี พ.ศ. 2538 เป็นมูลค่า 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ และต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ไทยได้ให้ความช่วยเหลืออีก 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ เมื่อเลโซโทประสบภัยจากหิมะด้านเศรษฐกิจ ด้านเศรษฐกิจ. มูลค่าการค้าระหว่างไทย – เลโซโทยังมีไม่มากนัก ในปี พ.ศ. 2543 การค้าระหว่างไทย – เลโซโทมีมูลค่ารวม 3.1 ล้านบาท โดยไทยเป็นฝ่ายส่งออก 3.1 ล้านบาท สินค้าสำคัญที่ไทยส่งออกไปเลโซโท ได้แก่ กระดาษ เยื่อกระดาษและผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้บนโต๊ะอาหารในครัวและบ้านเรือน น้ำมันสำเร็จรูป ปูนซีเมนต์ สิ่งทอ เสื้อผ้าสำเร็จรูป ยานพาหนะ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และสินค้าสำคัญที่ไทยนำเข้าจากเลโซโท ได้แก่ กุ้งสดแช่เย็นและแช่แข็ง ยากำจัดศัตรูพืช ไม้ซุง ไม้แปรรูปและไม้อื่น ๆ เคมีภัณฑ์ เมล็ดพืช น้ำมัน เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ. ประเทศเลโซโท มีความสัมพันธ์อันดีกับประเทศแอฟริกาใต้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 หลังจากที่เนลสัน แมนเดลา ประธานาธิบดีของแอฟริกาใต้ได้ไปเยือน ซึ่งก่อนหน้านั้นความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศไม่ค่อยดีนัก ต่อมาจึงมีการพัฒนาความสัมพันธ์ตามลำดับ บนพื้นฐานของการมีผลประโยชน์ร่วมกัน ที่สำคัญได้แก่ โครงการสร้างเขื่อนและอุโมงค์ส่งน้ำขนาดใหญ่ เพื่อส่งน้ำจากเลโซโทไปให้แอฟริกาใต้ อันทำรายได้ให้เลโซโทปีละประมาณ 70 ล้านดอลลาร์ และสร้างงานให้ชาวเลโซโทประมาณ 10,000 คน เศรษฐกิจของประเทศเลโซโท นอกเหนือจากการส่งน้ำให้แอฟริกาใต้แล้ว ก็มีการทำเหมืองเพชร และสินแร่อื่น ๆ การเกษตรกรรม เช่น การปลูกข้าวโพด ข้าวฟ่าง ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ และการปศุสัตว์ แต่ปัญหาสำคัญของประเทศคือ ผลิตอาหารได้ไม่พอเพียง ต้องนำเข้าจากต่างประเทศถึงร้อยละ 70 ของการบริโภค ทำให้ขาดดุลการค้าปีละประมาณ 900 ล้านดอลลาร์ อย่างต่อเนื่องประชากร ประชากร. เลโซโทเป็นประเทศที่ไม่มีปัญหาเรื่องเชื้อชาติเหมือนหลายประเทศในทวีปแอฟริกา เพราะประชากรที่มีประมาณ 2,000,000 คน ร้อยละ 99.7 เป็นชนเผ่าโซโทวัฒนธรรม</doc>
ประเทศเลโซโท เป็นประเทศขนาดเล็กอยู่ในทวีปอะไร
{ "answer": [ "ทวีปแอฟริกา" ], "answer_begin_position": [ 189 ], "answer_end_position": [ 200 ] }
211
33,329
<doc id="33329" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=33329" title="ประเทศเลโซโท">ประเทศเลโซโท เลโซโท (โซโทและ) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเลโซโท (โซโท: ; ) เป็นประเทศขนาดเล็กในทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ทั้งหมด 30,355 ตารางกิโลเมตร (11,720 ตารางไมล์) พรมแดนถูกล้อมรอบด้วยประเทศแอฟริกาใต้ทุกทิศทำให้ไม่มีทางออกสู่ทะเล ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่ราบสูง มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือมาเซรู เลโซโทมีรูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเป็นหนึ่งในสามประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่นเดียวกับประเทศโมร็อกโกและประเทศสวาซิแลนด์ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์. เลโซโทเป็นหนึ่งในสามของประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (อีก 2 ประเทศ คือ ประเทศโมร็อกโก และประเทศสวาซิแลนด์) เดิมประเทศเลโซโทมีชื่อว่าบาซูโต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2361 โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 1 เป็นผู้ปกครอง ต่อมา ชนเผ่าซูลู และคนผิวขาวเข้าไปตั้งหลักแหล่งในประเทศ และถูกแอฟริกาใต้รุกราน บาซูโตจึงต้องขอรับความคุ้มครองจากรัฐบาลสหราชอาณาจักร และมีฐานะเป็นรัฐในปกครองของสหราชอาณาจักร (British protectorate of Basutoland) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 ต่อมาเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2509 ได้ประกาศเอกราชและเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นเลโซโทการเมือง การเมือง. ระบอบการเมือง ระบอบประชาธิปไตยมีกษัตริย์เป็นประมุข โดยฝ่ายบริหาร มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้นำฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติรัฐสภา (National Assembly) แบบ 2 สภา (bicameral) ประกอบด้วยวุฒิสมาชิก 33 คน (ซึ่งในจำนวนนี้ 11 คน กษัตริย์เป็นผู้เสนอและพรรครัฐบาลเป็นผู้แต่งตั้งอีก 22 คนมาจากหัวหน้าเผ่าต่าง ๆ) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 65 คน ซึ่งอยู่ในวาระคราวละ 5 ปี ฝ่ายตุลาการ ประกอบด้วย ศาลสูง ศาลอุทธรณ์ ศาลพิพากษา และศาลพื้นเมืองการแบ่งเขตการปกครอง การแบ่งเขตการปกครอง. เลโซโทมี 10 เขต คือ:- เขตเบเรีย (Berea) - เขตบูทา-บูเท (Butha-Buthe) - เขตเลริเบ (Leribe) - เขตมาเฟเตง (Mafeteng) - เขตมาเซรู (Maseru) - เขตโมเฮลส์ฮุก (Mohale's Hoek) - เขตโมคอตลอง (Mokhotlong) - เขตคาชาส์เนก (Qacha's Nek) - เขตคูทิง (Quthing) - เขตทาบา-เซกา (Thaba-Tseka)ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์. ประเทศเลโซโท เป็นประเทศที่มีแอฟริกาใต้ล้อมรอบหมดทุกด้าน มีพื้นที่ประมาณ 30,000 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณสองเท่าของจังหวัดอุบลราชธานี ของประเทศไทย แต่เลโซโทมีพื้นที่ส่วนมากอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลประมาณ 1,400-1,800 เมตร จึงทำให้มีหิมะปกคลุม เป็นเพียงไม่กี่ประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีหิมะ แต่ใช้ประโยชน์จากหิมะที่ละลายเป็นน้ำอุปโภคบริโภคใช้ในประเทศนโยบายต่างประเทศความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทยด้านการเมือง นโยบายต่างประเทศ. ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย. ด้านการเมือง. ไทยและเลโซโทได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2532 โดยไทยได้มอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพริทอเรีย แอฟริกาใต้ มีเขตอาณาครอบคลุมเลโซโท และเอกอัครราชทูต ณ กรุงพริทอเรียดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตประจำเลโซโทอีกตำแหน่งหนึ่งด้วย ส่วนเลโซโทได้มอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูตเลโซโท ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทยและได้แต่งตั้ง อภิชาติ สุดแสวง เป็นกงสุลกิตติมศักดิ์ประจำประเทศไทย- เลโซโทให้การสนับสนุนไทยมาตลอดในเรื่องปัญหากัมพูชา - รัฐบาลไทยได้ส่งเอกอัครราชทูต ณ กรุงพริทอเรียเข้าร่วมในพระราชพิธีพระบรมศพกษัตริย์สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท ซึ่งมีขึ้นเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2536 - รัฐบาลไทยได้ให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาภาวะขาดแคลนพืชพันธุ์ธัญญาหาร อันเนื่องมาจากความแห้งแล้งแก่นรัฐบาลเลโซโทในปี พ.ศ. 2538 เป็นมูลค่า 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ และต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ไทยได้ให้ความช่วยเหลืออีก 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ เมื่อเลโซโทประสบภัยจากหิมะด้านเศรษฐกิจ ด้านเศรษฐกิจ. มูลค่าการค้าระหว่างไทย – เลโซโทยังมีไม่มากนัก ในปี พ.ศ. 2543 การค้าระหว่างไทย – เลโซโทมีมูลค่ารวม 3.1 ล้านบาท โดยไทยเป็นฝ่ายส่งออก 3.1 ล้านบาท สินค้าสำคัญที่ไทยส่งออกไปเลโซโท ได้แก่ กระดาษ เยื่อกระดาษและผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้บนโต๊ะอาหารในครัวและบ้านเรือน น้ำมันสำเร็จรูป ปูนซีเมนต์ สิ่งทอ เสื้อผ้าสำเร็จรูป ยานพาหนะ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และสินค้าสำคัญที่ไทยนำเข้าจากเลโซโท ได้แก่ กุ้งสดแช่เย็นและแช่แข็ง ยากำจัดศัตรูพืช ไม้ซุง ไม้แปรรูปและไม้อื่น ๆ เคมีภัณฑ์ เมล็ดพืช น้ำมัน เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ. ประเทศเลโซโท มีความสัมพันธ์อันดีกับประเทศแอฟริกาใต้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 หลังจากที่เนลสัน แมนเดลา ประธานาธิบดีของแอฟริกาใต้ได้ไปเยือน ซึ่งก่อนหน้านั้นความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศไม่ค่อยดีนัก ต่อมาจึงมีการพัฒนาความสัมพันธ์ตามลำดับ บนพื้นฐานของการมีผลประโยชน์ร่วมกัน ที่สำคัญได้แก่ โครงการสร้างเขื่อนและอุโมงค์ส่งน้ำขนาดใหญ่ เพื่อส่งน้ำจากเลโซโทไปให้แอฟริกาใต้ อันทำรายได้ให้เลโซโทปีละประมาณ 70 ล้านดอลลาร์ และสร้างงานให้ชาวเลโซโทประมาณ 10,000 คน เศรษฐกิจของประเทศเลโซโท นอกเหนือจากการส่งน้ำให้แอฟริกาใต้แล้ว ก็มีการทำเหมืองเพชร และสินแร่อื่น ๆ การเกษตรกรรม เช่น การปลูกข้าวโพด ข้าวฟ่าง ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ และการปศุสัตว์ แต่ปัญหาสำคัญของประเทศคือ ผลิตอาหารได้ไม่พอเพียง ต้องนำเข้าจากต่างประเทศถึงร้อยละ 70 ของการบริโภค ทำให้ขาดดุลการค้าปีละประมาณ 900 ล้านดอลลาร์ อย่างต่อเนื่องประชากร ประชากร. เลโซโทเป็นประเทศที่ไม่มีปัญหาเรื่องเชื้อชาติเหมือนหลายประเทศในทวีปแอฟริกา เพราะประชากรที่มีประมาณ 2,000,000 คน ร้อยละ 99.7 เป็นชนเผ่าโซโทวัฒนธรรม</doc>
เมืองหลวงของประเทศเลโซโทที่ตั้งอยู่ในทวีปแอฟริกามีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "มาเซรู" ], "answer_begin_position": [ 402 ], "answer_end_position": [ 408 ] }
212
118,546
<doc id="118546" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=118546" title="วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม)">วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม) วัดร่ำเปิง () ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 1 หมู่ 5 ถนนคันคลองชลประทาน ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ อีกทั้งอยู่ใกล้บริเวณวัดอุโมงค์ วัดป่าแดง และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายในวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 19 ไร่ 1 งาน 78 ตารางวา วัดร่ำเปิงยังได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติฯ ประจำจังหวัดเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2542 และสำนักปฏิบัติธรรม ประจำจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 2 ปี พ.ศ. 2547ประวัติ ประวัติ. เหตุการณ์ล่วงผ่านไปในอดีต ในสมัยพญามังรายองค์ที่ 12 ปกครองเมืองเชียงใหม่ ท่านมีพระราชโอรสนามว่า ท้าวศรีบุญเรือง ต่อมามีคนกล่าวหาว่าท้าวศรีบุญเรืองเตรียมการจะกบฏ พระเจ้าติโลกราชจึงแก้ไขสถานการณ์ด้วยการให้ไปปกครองเมืองเชียงแสนและเชียงรายแทน ต่อมา ท้าวศรีบุญเรือง มีพระราชโอรส ซึ่งประสูติบนยอเขาสูงในเชียงราย (ยอดดอกบัว) ท่านได้ประทานนามพระราชโอรสว่า “พระเจ้ายอดเชียงราย” จนกระทั่งวันหนึ่ง ติโลกราชถูกเพ็ดทูลจากนางหอมุข พระสนมเอกว่าท้าวศรีบุญเรืองเตรียมการก่อกบฏอีก จึงมีพระกระแสรับสั่งให้ปลงพระชนม์พระราชโอรสเสีย และหลังจากนั้นโปรดให้ราชนัดดา คือ พระเจ้ายอดเชียงราย ครองเมืองเชียงรายสืบต่อมา เหตุการณ์ต่อจากนั้น มีพระธุดงค์รูปหนึ่งปักกลดตรงบริเวณวัดร่ำเปิงในปัจจุบัน ท่านทูลพระเจ้ายอดเชียงรายว่าเมื่อตอนกลางคืน ท่านเห็นรัศมีสว่างบริเวณต้นมะเดื่อซึ่งไม่ห่างจากที่ท่านปักกลด จึงสงสัยว่าน่าจะมีพระธาตุประดิษฐานอยู่บริเวณดังกล่าว เมื่อพระเจ้ายอดเชียงรายทราบดังนี้ จึงอธิษฐานว่า ถ้าที่แห่งนั้นมีพระบรมธาตุฝังอยู่ ขอให้ช้างพระที่นั่งที่ท่านกำลังทรงไปหยุด ณ ที่แห่งนั้น จากนั้นช้างเดินไปหยุดที่ใต้ต้นมะเดื่อ พระองค์จึงขุดดินบริเวณนี้และพบพระเขี้ยวแก้วบรรจุอยู่ในผอบดินแบบเชียงแสน พระองค์จึงทรงทำพิธีสมโภช และอธิษฐานขอเห็นอภินิหารของพระบรมสารีริกธาตุนั้นจากนั้นจึงบรรจุลงในผอบทอง แล้วนำไปบรรจุไว้ในพระเจดีย์ที่สร้างขึ้นใหม่ในบริเวณนั้น และจารึกประวัติหารสร้างวัดนี้ลงในศิลาจารึกเป็นตัวหนังสือฝักขาม แปลเป็นภาษาไทยได้ว่า “วันศุกร์ขึ้นสามค่ำเดือนเจ็ด ปีชวด พุทธศักราชสองพันสามสิบหาปี เวลา 08.20 น. ได้ฤกษ์ภรณี (ดาวงอนไถ) ได้โยคมหาอุจจ์” โดยมีพระนางอะตะปาเทวี ซึ่งเป็นพระมเหสี ดำเนินการสร้างแต่งตั้งคณะกรรมการทั้งที่เป็นพระมหาเถระและผู้สร้างฝ่ายอาณาจักร นอกจากนี้ยังมีการสร้างพระพุทธรูปเป็นประธาน และพระพุทธรูปตามซุ้มที่พระธาตุเจดีย์กับได้สร้างพระไตรปิฏกและพระราชทานทรัพย์ (นา) เงิน (เบี้ย) เป็นจำนวนมหาศาล จากเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง ทหารญี่ปุ่นกลุ่มหนึ่งได้เข้ามาพื้นที่วัดและลักลอบขุดพระธาตุเจดีย์ได้นำวัตถุโบราณและพระพุทธรูปไป ส่วนอุโบสถ และวิหาร ชำรุดทรุดโทรมลง วัดนี้จึงร้างมาหลายยุคสมัย ต่อมาในปี พ.ศ. 2514 ได้สร้างพระวิหารขึ้นใหม่ จากนั้นอาราธนาพระภิกษุชาวบ้านร่ำเปิงรูปหนึ่งชื่อ หลวงปู่จันทร์สม หรือ ครูบาสม มาปกครองดูแลวัดจนวิหารสร้างเสร็จเสร็จในปี พ.ศ. 2516 ในปีเดียวกัน ท่านถึงแก่มรณภาพ วัดจึงขาดพระจำพรรษาจนถึงปลายปี 2517 ส่วนวิหารซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระประธานนั้นมีต้นไม้ขึ้นรกปกคลุมมาก แผ่นศิลาจารึกได้จมดินอยู่ในวิหาร ปี พ.ศ. 2484 คณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ประชุมตกลงกันให้อัญเชิญพระประธานไปประดิษฐานไว้ ณ ด้านหลังพระวิหารวัดพระสิงห์วรมหาวิหารในจังหวัดเชียงใหม่ และได้ร่วมกับกรรมการวัดทั้งผู้มีจิตศรัทธาทั้งหลาย ทำการก่อสร้างพระวิหารขึ้นใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2515 เมื่อปี พ.ศ. 2519 มีการสร้างอุโบสถที่มีอยู่ในเลา มีผู้มีจิตศรัทธาช่วยซ่อมให้ได้ใช้ในการปฏิบัติสังฆกรรมมาจนถึงปัจจุบัน พระพุทธรูปพระประธานนั้นมีอายุประมาณ 700-800 ปี และมีชื่อว่า หลวงพ่อศรีอโยธยา พระครูพิพัฒน์คณาภิบาล (ทอง สิริมงคโล) เป็นเจ้าอาวาสวัดเมืองมางและเป็นอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระประจำสำนักวัดเมืองมาง ได้ธุดงค์วัตรมาปักกลดอยู่บริเวณวัดร่ำเปิงนี้ ได้เล็งเห็นว่าสถานที่เหมาะแก่การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน จึงมีโครงการที่จะขยายงานวิปัสสนากรรมฐานขึ้นอีกแห่งหนึ่งจึงได้มาจำพรรษาอยู่ทีวัดร่ำเปิง (ตโปทาราม) แห่งนี้ และชักชวนชาวบ้าน ร่วมกันบูรณปฏิสังขรณ์ฟื้นฟูขึ้นจนสำเร็จ ในปี พ.ศ. 2533 ท่านได้เลื่อนสมณศักดิ์จากพระครูชั้นพิเศษเป็นพระราชคณะที่ราชทินนาม “พระสุพรหมยานเถร” และในปี พ.ศ. 2534 พระครูภาวนวิรัชได้มาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ใหม่ โดยท่านเจ้าอาวาสรูปใหม่ ท่านสืบทอดเจตนารมณ์ของท่านเจ้าคุณฯพระอาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส อีกทั้งได้ก่อสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรม 3 ชั้น เพื่อส่งเสริมในด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม โดยเฉพาะในด้านพระอภิธรรม นอกจากนี้ได้สร้าง อาคาร “80 ปี พระราชพรหมาจารย์” ซึ่งเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมสำหรับพุทธศาสนิกชน วัดนี้เป็นแหล่งวิปัสสนากรรมฐานทางภาคเหนือที่ทำการอบรมพระกรรมฐานในแนวสติปัฎฐาน 4 ปัจจุบันมีชาวไทยและชาวต่างประเทศ สนใจมาปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานกันอย่างมากมาย นอกจากนี้วัดนี้เป็นแห่งแรกที่มีพระไตรปิฏกฉบับล้านนา อีกทั้งเป็นแหล่งรวบรวมที่มีพระไตรปิฏกฉบับภาษาต่าง ๆ มากที่สุดในโลกปูชนียวัตถุปูชนียวัตถุ. - พระบรมธาตุเจดีย์ ในพงศาวดารโยนก และชิกาลมาลีปกรณ์ - พระพุทธรูปหลวงพ่อตโป - พระพุทธรูปหลวงพ่อศรีอโยธยารูปภาพ</doc>
วัดร่ำเปิง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 5 ถนนคันคลองชลประทาน ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดอะไร
{ "answer": [ "จังหวัดเชียงใหม่" ], "answer_begin_position": [ 200 ], "answer_end_position": [ 216 ] }
2,678
118,546
<doc id="118546" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=118546" title="วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม)">วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม) วัดร่ำเปิง () ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 1 หมู่ 5 ถนนคันคลองชลประทาน ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ อีกทั้งอยู่ใกล้บริเวณวัดอุโมงค์ วัดป่าแดง และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายในวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 19 ไร่ 1 งาน 78 ตารางวา วัดร่ำเปิงยังได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติฯ ประจำจังหวัดเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2542 และสำนักปฏิบัติธรรม ประจำจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 2 ปี พ.ศ. 2547ประวัติ ประวัติ. เหตุการณ์ล่วงผ่านไปในอดีต ในสมัยพญามังรายองค์ที่ 12 ปกครองเมืองเชียงใหม่ ท่านมีพระราชโอรสนามว่า ท้าวศรีบุญเรือง ต่อมามีคนกล่าวหาว่าท้าวศรีบุญเรืองเตรียมการจะกบฏ พระเจ้าติโลกราชจึงแก้ไขสถานการณ์ด้วยการให้ไปปกครองเมืองเชียงแสนและเชียงรายแทน ต่อมา ท้าวศรีบุญเรือง มีพระราชโอรส ซึ่งประสูติบนยอเขาสูงในเชียงราย (ยอดดอกบัว) ท่านได้ประทานนามพระราชโอรสว่า “พระเจ้ายอดเชียงราย” จนกระทั่งวันหนึ่ง ติโลกราชถูกเพ็ดทูลจากนางหอมุข พระสนมเอกว่าท้าวศรีบุญเรืองเตรียมการก่อกบฏอีก จึงมีพระกระแสรับสั่งให้ปลงพระชนม์พระราชโอรสเสีย และหลังจากนั้นโปรดให้ราชนัดดา คือ พระเจ้ายอดเชียงราย ครองเมืองเชียงรายสืบต่อมา เหตุการณ์ต่อจากนั้น มีพระธุดงค์รูปหนึ่งปักกลดตรงบริเวณวัดร่ำเปิงในปัจจุบัน ท่านทูลพระเจ้ายอดเชียงรายว่าเมื่อตอนกลางคืน ท่านเห็นรัศมีสว่างบริเวณต้นมะเดื่อซึ่งไม่ห่างจากที่ท่านปักกลด จึงสงสัยว่าน่าจะมีพระธาตุประดิษฐานอยู่บริเวณดังกล่าว เมื่อพระเจ้ายอดเชียงรายทราบดังนี้ จึงอธิษฐานว่า ถ้าที่แห่งนั้นมีพระบรมธาตุฝังอยู่ ขอให้ช้างพระที่นั่งที่ท่านกำลังทรงไปหยุด ณ ที่แห่งนั้น จากนั้นช้างเดินไปหยุดที่ใต้ต้นมะเดื่อ พระองค์จึงขุดดินบริเวณนี้และพบพระเขี้ยวแก้วบรรจุอยู่ในผอบดินแบบเชียงแสน พระองค์จึงทรงทำพิธีสมโภช และอธิษฐานขอเห็นอภินิหารของพระบรมสารีริกธาตุนั้นจากนั้นจึงบรรจุลงในผอบทอง แล้วนำไปบรรจุไว้ในพระเจดีย์ที่สร้างขึ้นใหม่ในบริเวณนั้น และจารึกประวัติหารสร้างวัดนี้ลงในศิลาจารึกเป็นตัวหนังสือฝักขาม แปลเป็นภาษาไทยได้ว่า “วันศุกร์ขึ้นสามค่ำเดือนเจ็ด ปีชวด พุทธศักราชสองพันสามสิบหาปี เวลา 08.20 น. ได้ฤกษ์ภรณี (ดาวงอนไถ) ได้โยคมหาอุจจ์” โดยมีพระนางอะตะปาเทวี ซึ่งเป็นพระมเหสี ดำเนินการสร้างแต่งตั้งคณะกรรมการทั้งที่เป็นพระมหาเถระและผู้สร้างฝ่ายอาณาจักร นอกจากนี้ยังมีการสร้างพระพุทธรูปเป็นประธาน และพระพุทธรูปตามซุ้มที่พระธาตุเจดีย์กับได้สร้างพระไตรปิฏกและพระราชทานทรัพย์ (นา) เงิน (เบี้ย) เป็นจำนวนมหาศาล จากเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง ทหารญี่ปุ่นกลุ่มหนึ่งได้เข้ามาพื้นที่วัดและลักลอบขุดพระธาตุเจดีย์ได้นำวัตถุโบราณและพระพุทธรูปไป ส่วนอุโบสถ และวิหาร ชำรุดทรุดโทรมลง วัดนี้จึงร้างมาหลายยุคสมัย ต่อมาในปี พ.ศ. 2514 ได้สร้างพระวิหารขึ้นใหม่ จากนั้นอาราธนาพระภิกษุชาวบ้านร่ำเปิงรูปหนึ่งชื่อ หลวงปู่จันทร์สม หรือ ครูบาสม มาปกครองดูแลวัดจนวิหารสร้างเสร็จเสร็จในปี พ.ศ. 2516 ในปีเดียวกัน ท่านถึงแก่มรณภาพ วัดจึงขาดพระจำพรรษาจนถึงปลายปี 2517 ส่วนวิหารซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระประธานนั้นมีต้นไม้ขึ้นรกปกคลุมมาก แผ่นศิลาจารึกได้จมดินอยู่ในวิหาร ปี พ.ศ. 2484 คณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ประชุมตกลงกันให้อัญเชิญพระประธานไปประดิษฐานไว้ ณ ด้านหลังพระวิหารวัดพระสิงห์วรมหาวิหารในจังหวัดเชียงใหม่ และได้ร่วมกับกรรมการวัดทั้งผู้มีจิตศรัทธาทั้งหลาย ทำการก่อสร้างพระวิหารขึ้นใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2515 เมื่อปี พ.ศ. 2519 มีการสร้างอุโบสถที่มีอยู่ในเลา มีผู้มีจิตศรัทธาช่วยซ่อมให้ได้ใช้ในการปฏิบัติสังฆกรรมมาจนถึงปัจจุบัน พระพุทธรูปพระประธานนั้นมีอายุประมาณ 700-800 ปี และมีชื่อว่า หลวงพ่อศรีอโยธยา พระครูพิพัฒน์คณาภิบาล (ทอง สิริมงคโล) เป็นเจ้าอาวาสวัดเมืองมางและเป็นอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระประจำสำนักวัดเมืองมาง ได้ธุดงค์วัตรมาปักกลดอยู่บริเวณวัดร่ำเปิงนี้ ได้เล็งเห็นว่าสถานที่เหมาะแก่การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน จึงมีโครงการที่จะขยายงานวิปัสสนากรรมฐานขึ้นอีกแห่งหนึ่งจึงได้มาจำพรรษาอยู่ทีวัดร่ำเปิง (ตโปทาราม) แห่งนี้ และชักชวนชาวบ้าน ร่วมกันบูรณปฏิสังขรณ์ฟื้นฟูขึ้นจนสำเร็จ ในปี พ.ศ. 2533 ท่านได้เลื่อนสมณศักดิ์จากพระครูชั้นพิเศษเป็นพระราชคณะที่ราชทินนาม “พระสุพรหมยานเถร” และในปี พ.ศ. 2534 พระครูภาวนวิรัชได้มาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ใหม่ โดยท่านเจ้าอาวาสรูปใหม่ ท่านสืบทอดเจตนารมณ์ของท่านเจ้าคุณฯพระอาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส อีกทั้งได้ก่อสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรม 3 ชั้น เพื่อส่งเสริมในด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม โดยเฉพาะในด้านพระอภิธรรม นอกจากนี้ได้สร้าง อาคาร “80 ปี พระราชพรหมาจารย์” ซึ่งเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมสำหรับพุทธศาสนิกชน วัดนี้เป็นแหล่งวิปัสสนากรรมฐานทางภาคเหนือที่ทำการอบรมพระกรรมฐานในแนวสติปัฎฐาน 4 ปัจจุบันมีชาวไทยและชาวต่างประเทศ สนใจมาปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานกันอย่างมากมาย นอกจากนี้วัดนี้เป็นแห่งแรกที่มีพระไตรปิฏกฉบับล้านนา อีกทั้งเป็นแหล่งรวบรวมที่มีพระไตรปิฏกฉบับภาษาต่าง ๆ มากที่สุดในโลกปูชนียวัตถุปูชนียวัตถุ. - พระบรมธาตุเจดีย์ ในพงศาวดารโยนก และชิกาลมาลีปกรณ์ - พระพุทธรูปหลวงพ่อตโป - พระพุทธรูปหลวงพ่อศรีอโยธยารูปภาพ</doc>
ในสมัยพญามังรายองค์ที่ 12 ปกครองเมืองเชียงใหม่ ท่านมีพระราชโอรสนามว่าอะไร
{ "answer": [ "ท้าวศรีบุญเรือง" ], "answer_begin_position": [ 637 ], "answer_end_position": [ 652 ] }
213
288,674
<doc id="288674" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=288674" title="ไอริส (ฟัน โคค)">ไอริส (ฟัน โคค) ไอริส (; ; ) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยฟินเซนต์ ฟัน โคค จิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของลัทธิประทับใจยุคหลัง ปัจจุบันภาพนี้ตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เจ. พอล เกตตี ที่เมืองลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา ภาพ "ไอริส" ที่เขียนในปี ค.ศ. 1889 เป็นภาพที่ฟัน โคคเขียนขณะที่อยู่ในสถานบำบัดที่แซ็ง-ปอล-เดอ-โมซอล เมืองแซ็งต์-เรมี-เดอ-พรอว็องส์ ในปีสุดท้ายของชีวิตก่อนที่จะเสียชึวิตในปี ค.ศ. 1890 ฟัน โคคเริ่มเขียนก่อนที่จะล้มป่วยก่อนเข้าสถานบำบัด งานชิ้นนี้เป็นงานที่ขาดความตึงเครียดอย่างงานชิ้นอื่นที่เขียนในบั้นปลายของชีวิต ฟัน โคคเรียกงานชิ้นนี้ว่าเป็น "สายล่อฟ้าของความเจ็บป่วย" (the lightning conductor for my illness) เพราะเชื่อว่าการเขียนงานไปเรื่อย ๆ อาจจะเป็นวิธีป้องกันความบ้าคลั่งได้ "ไอริส" เป็นภาพที่มีอิทธิพลมาจากภาพพิมพ์แกะไม้อุกิโยะของญี่ปุ่น เช่นเดียวกับงานอื่น ๆ และงานของศิลปินอื่น ๆ ในช่วงนั้น ความคล้ายคลึงจะเห็นได้จากการตัดเส้นด้วยสีเข้ม มุมที่แปลกออกไป และภาพที่แสดงมุมมองที่ใกล้ชิด และการใช้โทนสีที่ราบ แทนที่จะปรับระดับตามแสงที่ส่องลงมาบนกอไอริส ฟัน โคคถือว่าภาพนี้เป็นภาพศึกษา ซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุที่ภาพนี้ไม่มีภาพวาดลายเส้นเหมือนภาพอื่น เตโอน้องชายเห็นว่าเป็นภาพที่ดี และยื่นเรื่องเพื่อนำเข้าแสดงในนิทรรศการของสมาคมศิลปินอิสระในเดือนกันยายน ค.ศ. 1889 พร้อมกับภาพราตรีประดับดาวเหนือแม่น้ำโรน เตโอเขียนถึงฟัน โคคเกี่ยวกับนิทรรศการว่าเป็น "ภาพที่สะดุดตามาแต่ไกล ภาพไอริสเป็นภาพศึกษาที่เต็มไปด้วยบรรยากาศและชีวิต"ประวัติการเป็นเจ้าของ ประวัติการเป็นเจ้าของ. เจ้าของภาพคนแรกคืออ็อกตาฟว์ มีร์โบ (Octave Mirbeau) นักวิพากษ์ศิลป์และนักอนาธิปไตย หนึ่งในบรรดาผู้ชื่นชมผลงานของฟัน โคคคนแรก มีร์โบซึ้อภาพในราคา 300 ฟรังก์ เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 1987 "ไอริส" ก็กลายเป็นงานจิตรกรรมที่มีราคาสูงสุดเท่าที่เคยขายกันมา และดำรงตำแหน่งนั้นอยู่สองปีครึ่ง ราคาที่ขายเป็นจำนวน 53.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขายให้แก่แอลัน บอนด์ แต่บอนด์ไม่มีเงินพอ ต่อมาภาพนี้จึงขายอีกครั้งให้แก่พิพิธภัณฑ์เจ. พอล เกตตีในปี ค.ศ. 1990 ในปี ค.ศ. 2008 "ไอริส" เป็นภาพเขียนที่มีมูลค่าเป็นลำดับเจ็ดเท่าที่ขายกันมาเมื่อปรับตามค่าเงินเฟ้อแล้ว และถ้าไม่ปรับก็จะเป็นลำดับที่ 18</doc>
จิตรกรชาวดัตช์ผู้เขียนภาพสีน้ำมันที่มีชื่อภาพว่า ไอริส ซึ่งจัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เจ. พอล เกตตี มีนามว่าอะไร
{ "answer": [ "ฟินเซนต์ ฟัน โคค" ], "answer_begin_position": [ 150 ], "answer_end_position": [ 166 ] }
214
288,674
<doc id="288674" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=288674" title="ไอริส (ฟัน โคค)">ไอริส (ฟัน โคค) ไอริส (; ; ) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยฟินเซนต์ ฟัน โคค จิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของลัทธิประทับใจยุคหลัง ปัจจุบันภาพนี้ตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เจ. พอล เกตตี ที่เมืองลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา ภาพ "ไอริส" ที่เขียนในปี ค.ศ. 1889 เป็นภาพที่ฟัน โคคเขียนขณะที่อยู่ในสถานบำบัดที่แซ็ง-ปอล-เดอ-โมซอล เมืองแซ็งต์-เรมี-เดอ-พรอว็องส์ ในปีสุดท้ายของชีวิตก่อนที่จะเสียชึวิตในปี ค.ศ. 1890 ฟัน โคคเริ่มเขียนก่อนที่จะล้มป่วยก่อนเข้าสถานบำบัด งานชิ้นนี้เป็นงานที่ขาดความตึงเครียดอย่างงานชิ้นอื่นที่เขียนในบั้นปลายของชีวิต ฟัน โคคเรียกงานชิ้นนี้ว่าเป็น "สายล่อฟ้าของความเจ็บป่วย" (the lightning conductor for my illness) เพราะเชื่อว่าการเขียนงานไปเรื่อย ๆ อาจจะเป็นวิธีป้องกันความบ้าคลั่งได้ "ไอริส" เป็นภาพที่มีอิทธิพลมาจากภาพพิมพ์แกะไม้อุกิโยะของญี่ปุ่น เช่นเดียวกับงานอื่น ๆ และงานของศิลปินอื่น ๆ ในช่วงนั้น ความคล้ายคลึงจะเห็นได้จากการตัดเส้นด้วยสีเข้ม มุมที่แปลกออกไป และภาพที่แสดงมุมมองที่ใกล้ชิด และการใช้โทนสีที่ราบ แทนที่จะปรับระดับตามแสงที่ส่องลงมาบนกอไอริส ฟัน โคคถือว่าภาพนี้เป็นภาพศึกษา ซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุที่ภาพนี้ไม่มีภาพวาดลายเส้นเหมือนภาพอื่น เตโอน้องชายเห็นว่าเป็นภาพที่ดี และยื่นเรื่องเพื่อนำเข้าแสดงในนิทรรศการของสมาคมศิลปินอิสระในเดือนกันยายน ค.ศ. 1889 พร้อมกับภาพราตรีประดับดาวเหนือแม่น้ำโรน เตโอเขียนถึงฟัน โคคเกี่ยวกับนิทรรศการว่าเป็น "ภาพที่สะดุดตามาแต่ไกล ภาพไอริสเป็นภาพศึกษาที่เต็มไปด้วยบรรยากาศและชีวิต"ประวัติการเป็นเจ้าของ ประวัติการเป็นเจ้าของ. เจ้าของภาพคนแรกคืออ็อกตาฟว์ มีร์โบ (Octave Mirbeau) นักวิพากษ์ศิลป์และนักอนาธิปไตย หนึ่งในบรรดาผู้ชื่นชมผลงานของฟัน โคคคนแรก มีร์โบซึ้อภาพในราคา 300 ฟรังก์ เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 1987 "ไอริส" ก็กลายเป็นงานจิตรกรรมที่มีราคาสูงสุดเท่าที่เคยขายกันมา และดำรงตำแหน่งนั้นอยู่สองปีครึ่ง ราคาที่ขายเป็นจำนวน 53.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขายให้แก่แอลัน บอนด์ แต่บอนด์ไม่มีเงินพอ ต่อมาภาพนี้จึงขายอีกครั้งให้แก่พิพิธภัณฑ์เจ. พอล เกตตีในปี ค.ศ. 1990 ในปี ค.ศ. 2008 "ไอริส" เป็นภาพเขียนที่มีมูลค่าเป็นลำดับเจ็ดเท่าที่ขายกันมาเมื่อปรับตามค่าเงินเฟ้อแล้ว และถ้าไม่ปรับก็จะเป็นลำดับที่ 18</doc>
ภาพเขียนสีน้ำมัน ไอริส ของจิตรกรชาวดัตซ์ที่ชื่อฟินเซนต์ ฟัน โคค จัดแสดงอยู่ที่ใด
{ "answer": [ "พิพิธภัณฑ์เจ. พอล เกตตี" ], "answer_begin_position": [ 241 ], "answer_end_position": [ 264 ] }
215
127,258
<doc id="127258" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=127258" title="ภูเขาเอ๋อเหมย์">ภูเขาเอ๋อเหมย์ ภูเขาเอ๋อเหมย์ หรือ ภูเขาง้อไบ๊ ตามสำเนียงอื่น () เป็นภูเขาห่างจากเฉินตูราว 160 กิโลเมตร ชื่อของภูเขาแห่งนี้ได้มาจากรูปทรงของภูเขาที่มีลักษณะคล้ายคิ้ว ภูเขาแห่งนี้เป็นหนึ่งในสี่ภูเขาอันศักดิ์สิทธิ์ทางพุทธศาสนาของจีน เนื่องจากเป็นสถานที่ที่พระสมันตภัทรโพธิสัตว์เคยสถิตอยู่ (ประกอบด้วยเขาอู่ไถ เขาจิ่วหัว เขาเอ๋อเหมย์ และเขาผู่ถัว) และลัทธิเต๋าโดยมีอารามต่าง ๆ 151 แห่ง แต่ส่วนใหญ่ทรุดโทรม ยังคงเหลือที่เที่ยวชมได้ 20 แห่ง เขาเอ๋อเหมย์มียอดสูงถึง 3,099 เมตร ซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดหัวจ้วง และช่วงฤดูหนาวมีหิมะปกคลุม และยังเป็นแหล่งรวมความหลากหลายทางชีวภาพของทั้งพรรณพืชและสัตว์ป่า ในนิยายกำลังภายในเรื่องมังกรหยก เขาเอ๋อเหมย์ที่เป็นที่ตั้งของสำนักชีง้อไบ๊ และปรากฏอยู่ในนิยายกำลังภายในหลายเรื่อง</doc>
เขาเอ๋อเหมย์ หรือ ภูเขาง้อไบ๊ ในประเทศจีนมีความสูงเท่าไร
{ "answer": [ "3,099 เมตร" ], "answer_begin_position": [ 549 ], "answer_end_position": [ 559 ] }
216
127,258
<doc id="127258" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=127258" title="ภูเขาเอ๋อเหมย์">ภูเขาเอ๋อเหมย์ ภูเขาเอ๋อเหมย์ หรือ ภูเขาง้อไบ๊ ตามสำเนียงอื่น () เป็นภูเขาห่างจากเฉินตูราว 160 กิโลเมตร ชื่อของภูเขาแห่งนี้ได้มาจากรูปทรงของภูเขาที่มีลักษณะคล้ายคิ้ว ภูเขาแห่งนี้เป็นหนึ่งในสี่ภูเขาอันศักดิ์สิทธิ์ทางพุทธศาสนาของจีน เนื่องจากเป็นสถานที่ที่พระสมันตภัทรโพธิสัตว์เคยสถิตอยู่ (ประกอบด้วยเขาอู่ไถ เขาจิ่วหัว เขาเอ๋อเหมย์ และเขาผู่ถัว) และลัทธิเต๋าโดยมีอารามต่าง ๆ 151 แห่ง แต่ส่วนใหญ่ทรุดโทรม ยังคงเหลือที่เที่ยวชมได้ 20 แห่ง เขาเอ๋อเหมย์มียอดสูงถึง 3,099 เมตร ซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดหัวจ้วง และช่วงฤดูหนาวมีหิมะปกคลุม และยังเป็นแหล่งรวมความหลากหลายทางชีวภาพของทั้งพรรณพืชและสัตว์ป่า ในนิยายกำลังภายในเรื่องมังกรหยก เขาเอ๋อเหมย์ที่เป็นที่ตั้งของสำนักชีง้อไบ๊ และปรากฏอยู่ในนิยายกำลังภายในหลายเรื่อง</doc>
วัดที่ตั้งอยู่บนยอดเขาเอ๋อเหมย์ หรือ ภูเขาง้อไบ๊ ประเทศจีนมีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "วัดหัวจ้วง" ], "answer_begin_position": [ 578 ], "answer_end_position": [ 588 ] }
217
95,036
<doc id="95036" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=95036" title="โซชีเอตาสปอร์ตีวาลาซีโอ">โซชีเอตาสปอร์ตีวาลาซีโอ โซชีเอตาสปอร์ตีวาลัตซีโย () สโมสรลัตซีโยก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1900 ตามชื่อแคว้นลัตซีโยที่ซึ่งเป็นที่ตั้งเมืองหลวงคือกรุงโรมในประเทศอิตาลี สีของทีมลัตซีโยใช้สีฟ้าขาวซึ่งได้แรงบรรดาลใจมาจากธงประเทศกรีซ ทีมฟุตบอลลัตซีโยเป็นทีมขนาดใหญ่ทีมหนึ่งในช่วง 20 ปีที่ผ่านมามีผลงานอยู่ในอันดับบนของตารางมาโดยตลอด สามารถคว้าแชมป์สคูเดตโต้ได้ 2 สมัย คือในฤดูกาลปี 1973-1974 และ ฤดูกาล 1999-2000 สโมสรกีฬาลัตซีโย (Società Sportiva Lazio, S.S. Lazio) เป็นสโมสรกีฬาที่มีทั้งหมด 37 ชนิด โดยกีฬาฟุตบอลเป็นกีฬาที่โดดเด่นที่สุดของสโมสร โดยสัญลักษณ์ที่ใช้คือ นกอินทรีฟ้าขาว ทีมฟุตบอลลัตซีโยเป็นทีมเก่าแก่ทีมแรกของกรุงโรม โดยก่อตั้งก่อนทีมสโมสรฟุตบอลโรมา 27 ปีประวัติของสโมสร ประวัติของสโมสร. โซชีเอตาสปอร์ตีวาลัตซีโย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 1900 ในเขตการปกครองของ ปราติ โรม. ลัตซีโยเล่นเกมส์ฟุตบอลอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1910 เข้าร่วมการแข่งขันในลีกเมือ่ปี ค.ศ. 1912 เป็นสโมสรที่ทำการเข้าแข่งขันที่เร็วที่สุดหรือเป็นสโมสรแรกที่สหพันธ์ฟุตบอลอิตาลีเริ่มให้มีการจัดการแข่งขันฟุตบอลในเมืองทางใต้ของอิตาลีและได้รางวัลรองชนะเลิศถึงสามครั้งในปี ค.ศ. 1913 ไปให้กับ โปร เวอเซลลิ, ในปี ค.ศ. 1914 ไปให้กับ สโมสรฟุตบอลคาสาเล และในปี ค.ศ. 1923 เสียให้กับ เจนัว 1893 ในปี ค.ศ. 1927 มาริโอ อัซซิ เป็นเพียงคนเดียวในสโมสรฟุตบอลโรมาที่ให้ความสำคัญในการต่อต้านความพยายามของระบอบฟาสซิสต์ที่จะผสานในการสร้างทีมของเมืองทั้งหมดให้กับ สโมสรฟุตบอลโรมา ในปีเดียวกัน สโมสรเล่นในเซเรียอาเป็นครั้งแรกที่จัดในปี ค.ศ. 1929 และนำโดยตำนานกองหน้าอิตาลี ซิลวีโอ ปิโอลา, ประสบความสำเร็จที่สองเสร็จในปี 1937 - ด้วยชนะสูงสุดของลีก 1ในปี ค.ศ. 1950 ทีมได้ผลิตเด็กจากสโมสรเยาวชนและได้ผลบนผลตารางด้วยการชนะถ้วยอิตาลีในปี ค.ศ. 1958 ลัตซีโยถูกลงไปเล่นใน เซเรียเบในปี ค.ศ. 1961 แต่ก็กลับมาอยู่ในลีกสูงสุดอีกครั้งหลังจากสองปี หลังจากที่กองกลาง โต๊ะผลักไสอีกตามมาใน 1970-71. [9] กลับไปยังเซเรียอา 1972-73 ใน, ลาซิโอทันทีกลายเป็นความท้าทายแปลกใจสำหรับ สคูเดตตโต ไปมิลานและยูเวนตุสใน ฤดูกาล1972-1973 เพียงการสูญเสียออก ในวันสุดท้ายของฤดูกาลกับทีมที่ประกอบไปด้วยกัปตันจูเซปเป้วิลสันเช่นเดียวกับลูเซียโนและมาริโอ Frustalupi ตี Giorgio Chinaglia และหัวหน้าโค้ชทอม Maestrelli. [10] ลาซิโอขึ้นประสบความสำเร็จดังกล่าวในฤดูกาลถัดไปเพื่อให้มั่นใจได้ ชื่อแรกใน 1973-74. [11] [12] อย่างไรก็ตามตายอนาถของ Luciano Re Cecconi [13] และ Scudetto ฝึก Tommaso Maestrelli เช่นเดียวกับการจากไปของ Chinaglia จะระเบิดสามสำหรับลาซิโอ วิวัฒนาการของบรูโน่ Giordano ในช่วงเวลานี้ให้บรรเทาบางในขณะที่เขาเสร็จสิ้นการทำประตูสูงสุดลีกในปี 1979 เมื่อลาซิโอเสร็จ 8. [14] ลาซิโอถูกผลักไสบังคับให้เซเรียบีในปี 1980 เนื่องจากเรื่องอื้อฉาวเกี่ยวกับการที่โดดเด่นเดิมพันที่ผิดกฎหมายในการแข่งขันของตัวเองพร้อมกับเอซีมิลาน พวกเขายังคงอยู่ในส่วนที่สองของอิตาลีฤดูกาลที่สามในสิ่งที่จะทำเครื่องหมายระยะเวลาที่มืดมนที่สุดในประวัติศาสตร์ของลาซิโอ พวกเขาจะกลับมาในปี 1983 และจัดการหลบหนีวันสุดท้ายจากการเนรเทศในฤดูกาลถัดไป 1984-1985 จะพิสูจน์ได้ว่าบาดใจด้วยน่าสงสาร 15 คะแนนและจบด้านล่างผู้เล่นชุดปัจจุบันผู้เล่นทีมีชื่อเสียงเกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - แชมป์กัลโช่ เซเรียอา: 2 1973-1974 , 1999-2000- โคปปาอิตาเลีย: 6 1958, 1997-98, 1999-00, 2003-04, 2008-09, 2012-13- อิตาเลียน ซูเปอร์คัพ: 3 1998, 2000, 2009- คัพวินเนอร์สคัพ: 1 1998-99- ยูโรเปียนสซูเปอร์คัพ: 1 1999- โคปปา เดลเล่ อัลปิ: 1 1971</doc>
โซชีเอตาสปอร์ตีวาลัตซีโย หรือ สโมสรลัตซีโย ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1900 เป็นสโมสรของประเทศอะไร
{ "answer": [ "ประเทศอิตาลี" ], "answer_begin_position": [ 244 ], "answer_end_position": [ 256 ] }
1,764
95,036
<doc id="95036" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=95036" title="โซชีเอตาสปอร์ตีวาลาซีโอ">โซชีเอตาสปอร์ตีวาลาซีโอ โซชีเอตาสปอร์ตีวาลัตซีโย () สโมสรลัตซีโยก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1900 ตามชื่อแคว้นลัตซีโยที่ซึ่งเป็นที่ตั้งเมืองหลวงคือกรุงโรมในประเทศอิตาลี สีของทีมลัตซีโยใช้สีฟ้าขาวซึ่งได้แรงบรรดาลใจมาจากธงประเทศกรีซ ทีมฟุตบอลลัตซีโยเป็นทีมขนาดใหญ่ทีมหนึ่งในช่วง 20 ปีที่ผ่านมามีผลงานอยู่ในอันดับบนของตารางมาโดยตลอด สามารถคว้าแชมป์สคูเดตโต้ได้ 2 สมัย คือในฤดูกาลปี 1973-1974 และ ฤดูกาล 1999-2000 สโมสรกีฬาลัตซีโย (Società Sportiva Lazio, S.S. Lazio) เป็นสโมสรกีฬาที่มีทั้งหมด 37 ชนิด โดยกีฬาฟุตบอลเป็นกีฬาที่โดดเด่นที่สุดของสโมสร โดยสัญลักษณ์ที่ใช้คือ นกอินทรีฟ้าขาว ทีมฟุตบอลลัตซีโยเป็นทีมเก่าแก่ทีมแรกของกรุงโรม โดยก่อตั้งก่อนทีมสโมสรฟุตบอลโรมา 27 ปีประวัติของสโมสร ประวัติของสโมสร. โซชีเอตาสปอร์ตีวาลัตซีโย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 1900 ในเขตการปกครองของ ปราติ โรม. ลัตซีโยเล่นเกมส์ฟุตบอลอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1910 เข้าร่วมการแข่งขันในลีกเมือ่ปี ค.ศ. 1912 เป็นสโมสรที่ทำการเข้าแข่งขันที่เร็วที่สุดหรือเป็นสโมสรแรกที่สหพันธ์ฟุตบอลอิตาลีเริ่มให้มีการจัดการแข่งขันฟุตบอลในเมืองทางใต้ของอิตาลีและได้รางวัลรองชนะเลิศถึงสามครั้งในปี ค.ศ. 1913 ไปให้กับ โปร เวอเซลลิ, ในปี ค.ศ. 1914 ไปให้กับ สโมสรฟุตบอลคาสาเล และในปี ค.ศ. 1923 เสียให้กับ เจนัว 1893 ในปี ค.ศ. 1927 มาริโอ อัซซิ เป็นเพียงคนเดียวในสโมสรฟุตบอลโรมาที่ให้ความสำคัญในการต่อต้านความพยายามของระบอบฟาสซิสต์ที่จะผสานในการสร้างทีมของเมืองทั้งหมดให้กับ สโมสรฟุตบอลโรมา ในปีเดียวกัน สโมสรเล่นในเซเรียอาเป็นครั้งแรกที่จัดในปี ค.ศ. 1929 และนำโดยตำนานกองหน้าอิตาลี ซิลวีโอ ปิโอลา, ประสบความสำเร็จที่สองเสร็จในปี 1937 - ด้วยชนะสูงสุดของลีก 1ในปี ค.ศ. 1950 ทีมได้ผลิตเด็กจากสโมสรเยาวชนและได้ผลบนผลตารางด้วยการชนะถ้วยอิตาลีในปี ค.ศ. 1958 ลัตซีโยถูกลงไปเล่นใน เซเรียเบในปี ค.ศ. 1961 แต่ก็กลับมาอยู่ในลีกสูงสุดอีกครั้งหลังจากสองปี หลังจากที่กองกลาง โต๊ะผลักไสอีกตามมาใน 1970-71. [9] กลับไปยังเซเรียอา 1972-73 ใน, ลาซิโอทันทีกลายเป็นความท้าทายแปลกใจสำหรับ สคูเดตตโต ไปมิลานและยูเวนตุสใน ฤดูกาล1972-1973 เพียงการสูญเสียออก ในวันสุดท้ายของฤดูกาลกับทีมที่ประกอบไปด้วยกัปตันจูเซปเป้วิลสันเช่นเดียวกับลูเซียโนและมาริโอ Frustalupi ตี Giorgio Chinaglia และหัวหน้าโค้ชทอม Maestrelli. [10] ลาซิโอขึ้นประสบความสำเร็จดังกล่าวในฤดูกาลถัดไปเพื่อให้มั่นใจได้ ชื่อแรกใน 1973-74. [11] [12] อย่างไรก็ตามตายอนาถของ Luciano Re Cecconi [13] และ Scudetto ฝึก Tommaso Maestrelli เช่นเดียวกับการจากไปของ Chinaglia จะระเบิดสามสำหรับลาซิโอ วิวัฒนาการของบรูโน่ Giordano ในช่วงเวลานี้ให้บรรเทาบางในขณะที่เขาเสร็จสิ้นการทำประตูสูงสุดลีกในปี 1979 เมื่อลาซิโอเสร็จ 8. [14] ลาซิโอถูกผลักไสบังคับให้เซเรียบีในปี 1980 เนื่องจากเรื่องอื้อฉาวเกี่ยวกับการที่โดดเด่นเดิมพันที่ผิดกฎหมายในการแข่งขันของตัวเองพร้อมกับเอซีมิลาน พวกเขายังคงอยู่ในส่วนที่สองของอิตาลีฤดูกาลที่สามในสิ่งที่จะทำเครื่องหมายระยะเวลาที่มืดมนที่สุดในประวัติศาสตร์ของลาซิโอ พวกเขาจะกลับมาในปี 1983 และจัดการหลบหนีวันสุดท้ายจากการเนรเทศในฤดูกาลถัดไป 1984-1985 จะพิสูจน์ได้ว่าบาดใจด้วยน่าสงสาร 15 คะแนนและจบด้านล่างผู้เล่นชุดปัจจุบันผู้เล่นทีมีชื่อเสียงเกียรติประวัติเกียรติประวัติ. - แชมป์กัลโช่ เซเรียอา: 2 1973-1974 , 1999-2000- โคปปาอิตาเลีย: 6 1958, 1997-98, 1999-00, 2003-04, 2008-09, 2012-13- อิตาเลียน ซูเปอร์คัพ: 3 1998, 2000, 2009- คัพวินเนอร์สคัพ: 1 1998-99- ยูโรเปียนสซูเปอร์คัพ: 1 1999- โคปปา เดลเล่ อัลปิ: 1 1971</doc>
โซชีเอตาสปอร์ตีวาลัตซีโย เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศอิตาลี ก่อตั้งเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "9" ], "answer_begin_position": [ 831 ], "answer_end_position": [ 832 ] }
218
733,833
<doc id="733833" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=733833" title="เจมส์ เบย์">เจมส์ เบย์ เจมส์ ไมเคิล เบย์ (เกิด 4 กันยายน 1990) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง มือกีตาร์ชาวอังกฤษ . เจมส์ได้ปล่อยอัลบั้ม EP ทั้งหมด 4 อัลบั้ม "The Dark of the Morning" , "Let It Go" , "Hold Back the River" , "Other Sides" และปล่อยอัลบั้มเดี่ยว , "Chaos and the Calm" (2015) อัลบั้มดังกล่าวติดอันดับหนึ่งในสหราชอาณาจักรและติดลำดับที่ 15 ในสหรัฐอเมริกา ซิงเกิ้ลของเบย์ "Hold Back The River" ติดอันดับที่ 2 ในชาร์จซิงเกิ้ลของ สหราชอาณาจักร เบย์เติบโตในเมือง ฮิทเซิล ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์ เจมส์เข้าเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาที่ Hitchin Boys' School ก่อนที่จะเรียนโรงเรียนเกี่ยวกับดนตรี British and Irish Modern Music Institute. ปี 2015 เบย์ได้รับรางวัล Critics' Choice" award จาก บริตอะวอดส์วัยเด็ก วัยเด็ก. เจมส์ เบย์ เกิดในเมืองฮิทเซิล ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์ ที่ประเทศอังกฤษ เมื่ออายุได้ 11 เบย์ได้แรงบันดาลใจอยากที่จะเล่นกีตาร์คลาสสิคหลังได้ฟังเพลง "Layla" ของ อีริค แคลปตัน หลังจากนั้นเจมส์ได้ไปเรียนต่อที่เมือง ไบรตัน เป็นเวลา 7 ปีโดยเขามีการเรียนที่ดีจากการเล่นเปิดหมวก และตามพับต่างๆ เขากล่าวว่า มันสอนอะไรให้แก่ผมมากผมสามารถเอามันไปแต่งเพลงและทำมันให้ดีได้และใช้มันปรับปรุงตัวผมให้ดีขึ้น.เบย์ได้เป็นศิลปินกับสังกัด Republic Records หลังจากที่แฟนเพลงอัปโหลดวิดิโอลงบนยูทูบจากการแสดงเปิดหมวกในกรุงลอนดอน , สัปดาห์ถัดมาเขาได้เซ็นสัญญากับทาง Republic Records อัลบั้ม EP แรกของเขา The Dark of the Morning ถูกปล่อยในปี 2013</doc>
เจมส์ ไมเคิล เบย์ นักร้องชาวอังกฤษปล่อยอัลบั้ม EP ทั้งหมดกี่อัลบั้ม
{ "answer": [ "4 อัลบั้ม" ], "answer_begin_position": [ 213 ], "answer_end_position": [ 222 ] }
219
733,833
<doc id="733833" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=733833" title="เจมส์ เบย์">เจมส์ เบย์ เจมส์ ไมเคิล เบย์ (เกิด 4 กันยายน 1990) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง มือกีตาร์ชาวอังกฤษ . เจมส์ได้ปล่อยอัลบั้ม EP ทั้งหมด 4 อัลบั้ม "The Dark of the Morning" , "Let It Go" , "Hold Back the River" , "Other Sides" และปล่อยอัลบั้มเดี่ยว , "Chaos and the Calm" (2015) อัลบั้มดังกล่าวติดอันดับหนึ่งในสหราชอาณาจักรและติดลำดับที่ 15 ในสหรัฐอเมริกา ซิงเกิ้ลของเบย์ "Hold Back The River" ติดอันดับที่ 2 ในชาร์จซิงเกิ้ลของ สหราชอาณาจักร เบย์เติบโตในเมือง ฮิทเซิล ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์ เจมส์เข้าเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาที่ Hitchin Boys' School ก่อนที่จะเรียนโรงเรียนเกี่ยวกับดนตรี British and Irish Modern Music Institute. ปี 2015 เบย์ได้รับรางวัล Critics' Choice" award จาก บริตอะวอดส์วัยเด็ก วัยเด็ก. เจมส์ เบย์ เกิดในเมืองฮิทเซิล ฮาร์ตฟอร์ดเชอร์ ที่ประเทศอังกฤษ เมื่ออายุได้ 11 เบย์ได้แรงบันดาลใจอยากที่จะเล่นกีตาร์คลาสสิคหลังได้ฟังเพลง "Layla" ของ อีริค แคลปตัน หลังจากนั้นเจมส์ได้ไปเรียนต่อที่เมือง ไบรตัน เป็นเวลา 7 ปีโดยเขามีการเรียนที่ดีจากการเล่นเปิดหมวก และตามพับต่างๆ เขากล่าวว่า มันสอนอะไรให้แก่ผมมากผมสามารถเอามันไปแต่งเพลงและทำมันให้ดีได้และใช้มันปรับปรุงตัวผมให้ดีขึ้น.เบย์ได้เป็นศิลปินกับสังกัด Republic Records หลังจากที่แฟนเพลงอัปโหลดวิดิโอลงบนยูทูบจากการแสดงเปิดหมวกในกรุงลอนดอน , สัปดาห์ถัดมาเขาได้เซ็นสัญญากับทาง Republic Records อัลบั้ม EP แรกของเขา The Dark of the Morning ถูกปล่อยในปี 2013</doc>
ผู้ที่สร้างแรงบันดาลใจในการเล่นกีตาร์คลาสสิคของเจมส์ เบย์ หลังจากได้ฟังเพลง layla คือใคร
{ "answer": [ "อีริค แคลปตัน" ], "answer_begin_position": [ 925 ], "answer_end_position": [ 938 ] }
220
820,157
<doc id="820157" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=820157" title="เฮเลน โกลก">เฮเลน โกลก เฮเลน โกลก (; 29 มกราคม ค.ศ. 1750– ค.ศ. 1790) เป็นหญิงสามัญชาวเพิร์ธเชอร์ในสกอตแลนด์ ที่ต่อมาได้เป็นจักรพรรดินีแห่งโมร็อกโกพระประวัติ พระประวัติ. เฮเลน โกลก เกิดเมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1750 ณ หมู่บ้านเวสเตอร์เพตต์ (Wester Pett) ทางใต้ของหมู่บ้านมูธิล (Muthill) ในเพิร์ธเชอร์ เป็นธิดาของแอนดรูว์ โกลก (Andrew Gloag) ช่างตีเหล็ก กับแอน เคย์ (Ann Kay) ภริยา มีพี่น้องร่วมบิดามารดาสี่คน แต่หลังจากที่มารดาเสียชีวิตบิดาก็สมรสใหม่ ซึ่งเฮเลนที่ไม่ถูกกับแม่เลี้ยงจึงตัดสินใจออกจากบ้านขณะอายุเพียง 19 ปี เธอเดินทางจากกรีเน็ก (Greenock) ไปเซาท์แคโรไลนาหวังตั้งต้นชีวิต แต่หลังจากที่เรือออกจากฝั่งเพียงสองสัปดาห์ก็ถูกโจรสลัดบาร์บารีปล้น หลังจากนั้นกลุ่มโจรสลัดได้สังหารลูกเรือที่เป็นชายทั้งหมด ส่วนลูกเรือหญิงถูกส่งไปขายเป็นทาสที่เมืองแอลเจียร์ เฮเลน โกลกถูกขายให้กับมหาเศรษฐีชาวโมร็อกโก ก่อนที่เศรษฐีดังกล่าวจะน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเฮเลนแก่สุลต่านมุฮัมมัด บินอับดุลลอฮ์แห่งโมร็อกโก แม้จะเป็นเพียงนางทาสีแต่ด้วยพระสิริโฉมสวยงาม พระเกศาสีแดง และดวงเนตรสีเขียวเป็นที่ต้องพระทัย จึงทรงเก็บไว้สนองพระเดชพระคุณถวายงานในฮาเร็ม แต่ต่อมาองค์สุลต่านได้มีจิตปฏิพัทธ์สนิทสิเน่หา ทรงแต่งตั้งให้เฮเลนเป็นหนึ่งในจตุรชายา และสถาปนาขึ้นเป็นพระชายาเอก มีตำแหน่งเป็นจักรพรรดินีในกาลต่อมา เฮเลนมีโอกาสติดต่อกับเครือญาติในมาตุภูมิโดยพระราชหัตถเลขาติดต่อกับพี่น้องคนหนึ่งที่ชื่อโรเบิร์ต ซึ่งเขาผู้นี้เคยมาโมร็อกโก และนำเรื่องราวของเฮเลนกลับไปเปิดเผยแพร่ที่สกอตแลนด์ กล่าวกันว่าเรื่องราวของพระองค์อาจมีส่วนในการที่ทำให้โจรสลัดโมร็อกโกลดจำนวนลง แต่ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะการเพิ่มจำนวนเรือรบในน่านน้ำทั้งของอังกฤษและฝรั่งเศสที่มีสถานการณ์ตรึงเครียดตั้งแต่ก่อนสงครามนโปเลียน หลังการเสด็จสวรรคตของสุลต่านมุฮัมมัด บินอับดุลลอฮ์ในปี ค.ศ. 1970 สุลต่านยาซีด พระราชโอรสที่ประสูติแต่ภริยาท่านอื่นในฮาเร็มได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ สุลต่านพระองค์ใหม่นี้ทรงมีส่วนร่วมในการลอบปลงพระชนม์พระราชโอรสสองพระองค์ของสุลต่านองค์ก่อนที่ประสูติแต่เฮเลน และสันนิษฐานว่าเฮเลนอาจถูกลอบปลงพระชนม์ในช่วงสองปีต่อมาอันเป็นห้วงเวลาแห่งความระส่ำระสายอ่านเพิ่มเติมอ่านเพิ่มเติม. - The Fourth Queen By Debbie Taylor ISBN 1-4000-5376-5 - Perthshire in history and legend By Archie McKerracher ISBN 0-85976-223-8 - The biographical dictionary of Scottish women By Elizabeth Ewan, Sue Innes, Siân Reynolds, Rose Pipes - The Thistle and the Crescent By Bashir Maan ISBN 1-906134-14-6 - A Gift for the Sultan by Olga Stringfellow</doc>
พ่อของ เฮเลน โกลก ทำอาชีพอะไร
{ "answer": [ "ช่างตีเหล็ก" ], "answer_begin_position": [ 414 ], "answer_end_position": [ 425 ] }
2,344
820,157
<doc id="820157" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=820157" title="เฮเลน โกลก">เฮเลน โกลก เฮเลน โกลก (; 29 มกราคม ค.ศ. 1750– ค.ศ. 1790) เป็นหญิงสามัญชาวเพิร์ธเชอร์ในสกอตแลนด์ ที่ต่อมาได้เป็นจักรพรรดินีแห่งโมร็อกโกพระประวัติ พระประวัติ. เฮเลน โกลก เกิดเมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1750 ณ หมู่บ้านเวสเตอร์เพตต์ (Wester Pett) ทางใต้ของหมู่บ้านมูธิล (Muthill) ในเพิร์ธเชอร์ เป็นธิดาของแอนดรูว์ โกลก (Andrew Gloag) ช่างตีเหล็ก กับแอน เคย์ (Ann Kay) ภริยา มีพี่น้องร่วมบิดามารดาสี่คน แต่หลังจากที่มารดาเสียชีวิตบิดาก็สมรสใหม่ ซึ่งเฮเลนที่ไม่ถูกกับแม่เลี้ยงจึงตัดสินใจออกจากบ้านขณะอายุเพียง 19 ปี เธอเดินทางจากกรีเน็ก (Greenock) ไปเซาท์แคโรไลนาหวังตั้งต้นชีวิต แต่หลังจากที่เรือออกจากฝั่งเพียงสองสัปดาห์ก็ถูกโจรสลัดบาร์บารีปล้น หลังจากนั้นกลุ่มโจรสลัดได้สังหารลูกเรือที่เป็นชายทั้งหมด ส่วนลูกเรือหญิงถูกส่งไปขายเป็นทาสที่เมืองแอลเจียร์ เฮเลน โกลกถูกขายให้กับมหาเศรษฐีชาวโมร็อกโก ก่อนที่เศรษฐีดังกล่าวจะน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเฮเลนแก่สุลต่านมุฮัมมัด บินอับดุลลอฮ์แห่งโมร็อกโก แม้จะเป็นเพียงนางทาสีแต่ด้วยพระสิริโฉมสวยงาม พระเกศาสีแดง และดวงเนตรสีเขียวเป็นที่ต้องพระทัย จึงทรงเก็บไว้สนองพระเดชพระคุณถวายงานในฮาเร็ม แต่ต่อมาองค์สุลต่านได้มีจิตปฏิพัทธ์สนิทสิเน่หา ทรงแต่งตั้งให้เฮเลนเป็นหนึ่งในจตุรชายา และสถาปนาขึ้นเป็นพระชายาเอก มีตำแหน่งเป็นจักรพรรดินีในกาลต่อมา เฮเลนมีโอกาสติดต่อกับเครือญาติในมาตุภูมิโดยพระราชหัตถเลขาติดต่อกับพี่น้องคนหนึ่งที่ชื่อโรเบิร์ต ซึ่งเขาผู้นี้เคยมาโมร็อกโก และนำเรื่องราวของเฮเลนกลับไปเปิดเผยแพร่ที่สกอตแลนด์ กล่าวกันว่าเรื่องราวของพระองค์อาจมีส่วนในการที่ทำให้โจรสลัดโมร็อกโกลดจำนวนลง แต่ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะการเพิ่มจำนวนเรือรบในน่านน้ำทั้งของอังกฤษและฝรั่งเศสที่มีสถานการณ์ตรึงเครียดตั้งแต่ก่อนสงครามนโปเลียน หลังการเสด็จสวรรคตของสุลต่านมุฮัมมัด บินอับดุลลอฮ์ในปี ค.ศ. 1970 สุลต่านยาซีด พระราชโอรสที่ประสูติแต่ภริยาท่านอื่นในฮาเร็มได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ สุลต่านพระองค์ใหม่นี้ทรงมีส่วนร่วมในการลอบปลงพระชนม์พระราชโอรสสองพระองค์ของสุลต่านองค์ก่อนที่ประสูติแต่เฮเลน และสันนิษฐานว่าเฮเลนอาจถูกลอบปลงพระชนม์ในช่วงสองปีต่อมาอันเป็นห้วงเวลาแห่งความระส่ำระสายอ่านเพิ่มเติมอ่านเพิ่มเติม. - The Fourth Queen By Debbie Taylor ISBN 1-4000-5376-5 - Perthshire in history and legend By Archie McKerracher ISBN 0-85976-223-8 - The biographical dictionary of Scottish women By Elizabeth Ewan, Sue Innes, Siân Reynolds, Rose Pipes - The Thistle and the Crescent By Bashir Maan ISBN 1-906134-14-6 - A Gift for the Sultan by Olga Stringfellow</doc>
เฮเลน โกลก เป็นหญิงสามัญชาวเพิร์ธเชอร์ในสกอตแลนด์ ซึ่งต่อมาได้เป็นจักรพรรดินีแห่งโมร็อกโก เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "29" ], "answer_begin_position": [ 269 ], "answer_end_position": [ 271 ] }
221
212,214
<doc id="212214" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=212214" title="ดรูว์ แบร์รีมอร์">ดรูว์ แบร์รีมอร์ ดรูว์ ไบรธ์ แบร์รีมอร์ () เกิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1975 เป็นนักแสดงหญิงชาวอเมริกัน และยังเป็นโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ เธอเป็นคนที่อายุน้อยที่สุดในตระกูลแบร์รีมอร์ ครอบครัวนักแสดง เริ่มการแสดงตั้งแต่อายุได้ 11 เดือน แบร์รีมอร์มีผลงานภาพยนตร์บนจอใหญ่ครั้งแรกในเรื่อง Altered States ในปี 1980 หลังจากนั้นแสดงในบทแจ้งเกิดใน E.T. the Extra-Terrestrial ทำให้เธอกลายเป็นนักแสดงเด็กที่เป็นที่รู้จักมาที่สุดคนหนึ่ง หลังจากประสบความอลหม่านในชีวิตวัยเด็กที่ทั้งติดยาและแอลกอฮอล์ และผ่านการบำบัด ซึ่งเธอนำมาเขียนในอัตชีวประวัติตัวเองในปี 1990 เรื่อง Little Girl Lost แบร์รีมอร์ก้าวสู่ความสำเร็จจากนักแสดงเด็กสู่นักแสดงสาวกบผลงานภาพยนตร์ รวมทั้งเรื่องที่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าไหร่อย่างเช่น Poison Ivy, Bad Girls, Boys on the Side, และ Everyone Says I Love You ต่อจากนั้นก็มีภาพยนตร์โรแมนติกคอเมดี้ เช่นเรื่อง The Wedding Singer และแสดงในภาพยนตร์ดราม่าเรื่อง Lucky You ร่วมกับอีริก บานา ในปี 1995 เธอกับเพื่อนที่ชื่อ แนนซี จูโวเนน ก่อตั้งบริษัทโปรดักชันที่ชื่อ ฟลาวเวอร์ฟิล์มส ที่มีผลงานสร้างเรื่องแรกคือ Never Been Kissed ที่เธอร่วมแสดงด้วยในปี 1999 และมีผลงานการสร้างภายใต้ชื่อเธออย่างเรื่อง Charlie's Angels, 50 First Dates, และ Music and Lyrics เช่นเดียวกับหนังคัลต์ที่ชื่อ Donnie Darko โครงการล่าสุดของเธอเช่น He's Just Not That into You, Beverly Hills Chihuahua, และ Everybody's Fine เธอยังมีชื่ออยู่บนฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม และยังได้ขึ้นปากนิตยสารพีเพิลปี 2007 ฉบับ 100 สิ่งสวยงามที่สุด แบร์รีมอร์ เป็นทูตต่อต้านความหิวโหยให้กับ United Nations World Food Programme (WFP) เธอยังได้บริจาคเงินกว่า 1 ล้านเหรียญสหรัฐให้กับโครงการ ในปี 2007 เธอเป็นนางแบบให้กับ CoverGirl และเป็นโฆษกให้กับเครื่องสำอางให้กับไลน์ใหม่ล่าสุดของอัญมณีกุชชี</doc>
ดรูว์ แบร์รีมอร์เป็นนักแสดงหญิงชาวอเมริกัน มีผลงานการแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกในปี 1980 ชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "Altered States" ], "answer_begin_position": [ 378 ], "answer_end_position": [ 392 ] }
2,346
212,214
<doc id="212214" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=212214" title="ดรูว์ แบร์รีมอร์">ดรูว์ แบร์รีมอร์ ดรูว์ ไบรธ์ แบร์รีมอร์ () เกิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1975 เป็นนักแสดงหญิงชาวอเมริกัน และยังเป็นโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ เธอเป็นคนที่อายุน้อยที่สุดในตระกูลแบร์รีมอร์ ครอบครัวนักแสดง เริ่มการแสดงตั้งแต่อายุได้ 11 เดือน แบร์รีมอร์มีผลงานภาพยนตร์บนจอใหญ่ครั้งแรกในเรื่อง Altered States ในปี 1980 หลังจากนั้นแสดงในบทแจ้งเกิดใน E.T. the Extra-Terrestrial ทำให้เธอกลายเป็นนักแสดงเด็กที่เป็นที่รู้จักมาที่สุดคนหนึ่ง หลังจากประสบความอลหม่านในชีวิตวัยเด็กที่ทั้งติดยาและแอลกอฮอล์ และผ่านการบำบัด ซึ่งเธอนำมาเขียนในอัตชีวประวัติตัวเองในปี 1990 เรื่อง Little Girl Lost แบร์รีมอร์ก้าวสู่ความสำเร็จจากนักแสดงเด็กสู่นักแสดงสาวกบผลงานภาพยนตร์ รวมทั้งเรื่องที่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าไหร่อย่างเช่น Poison Ivy, Bad Girls, Boys on the Side, และ Everyone Says I Love You ต่อจากนั้นก็มีภาพยนตร์โรแมนติกคอเมดี้ เช่นเรื่อง The Wedding Singer และแสดงในภาพยนตร์ดราม่าเรื่อง Lucky You ร่วมกับอีริก บานา ในปี 1995 เธอกับเพื่อนที่ชื่อ แนนซี จูโวเนน ก่อตั้งบริษัทโปรดักชันที่ชื่อ ฟลาวเวอร์ฟิล์มส ที่มีผลงานสร้างเรื่องแรกคือ Never Been Kissed ที่เธอร่วมแสดงด้วยในปี 1999 และมีผลงานการสร้างภายใต้ชื่อเธออย่างเรื่อง Charlie's Angels, 50 First Dates, และ Music and Lyrics เช่นเดียวกับหนังคัลต์ที่ชื่อ Donnie Darko โครงการล่าสุดของเธอเช่น He's Just Not That into You, Beverly Hills Chihuahua, และ Everybody's Fine เธอยังมีชื่ออยู่บนฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม และยังได้ขึ้นปากนิตยสารพีเพิลปี 2007 ฉบับ 100 สิ่งสวยงามที่สุด แบร์รีมอร์ เป็นทูตต่อต้านความหิวโหยให้กับ United Nations World Food Programme (WFP) เธอยังได้บริจาคเงินกว่า 1 ล้านเหรียญสหรัฐให้กับโครงการ ในปี 2007 เธอเป็นนางแบบให้กับ CoverGirl และเป็นโฆษกให้กับเครื่องสำอางให้กับไลน์ใหม่ล่าสุดของอัญมณีกุชชี</doc>
ดรูว์ ไบรธ์ แบร์รีมอร์ เป็นนักแสดงหญิงชาวอเมริกันและยังเป็นโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "22" ], "answer_begin_position": [ 150 ], "answer_end_position": [ 152 ] }
222
58,421
<doc id="58421" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=58421" title="วัลลภ ปิยะมโนธรรม">วัลลภ ปิยะมโนธรรม วัลลภ ปิยะมโนธรรม นักจิตวิทยาและที่ปรึกษาโครงการศูนย์ให้คำปรึกษาและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มักได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ในแง่ของความไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดและวิธีการบำบัดปัญหาทางจิตกรณีต่าง ๆ โดยเฉพาะ กลุ่มคนรักร่วมเพศ ที่ ดร.วัลลภ มีความเห็นว่า พฤติกรรมรักร่วมเพศนั้นมีสาเหตุมาจากการเลี้ยงดู ไม่ใช่พันธุกรรม และสามารถรักษาให้หายขาดได้ประวัติ ประวัติ. วัลลภ ปิยะมโนธรรม หรือ ดร.วัลลภ ปิยะมโนธรรม จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางจิตวิทยา จากมหาวิทยาลัยซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา จบการศึกษาระดับปริญญาโทจิตวิทยาการศึกษา จาก มหาวิทยาลัยบอสตัน สหรัฐอเมริกา และจบการศึกษาระดับปริญญาเอกจิตวิทยาคลินิก จาก มหาวิทยาลัยบอสตัน สหรัฐอเมริกาและปริญญาเอกจิตวิทยาการให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.วัลลภ ปิยะมโนธรรม เป็นที่รู้จักกันดีจากบทบาทที่เป็นนักจิตวิทยา ที่ให้ความเห็นต่อสังคมในประเด็นต่าง ๆ ในแง่ของจิตวิทยา เป็นวิทยากรให้ความรู้และที่ปรึกษาเกี่ยวกับจิตวิทยาในสื่อและในโอกาสต่าง ๆ อดีตอาจารย์ประจำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ และหัวหน้าศูนย์ให้คำปรึกษาสุขภาพจิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จนเกษียณอายุราชการผลงานที่สำคัญ ผลงานที่สำคัญ. เคยจัดรายการพลังจิตที่ 5 สยามหัวเราะ ปัจจุบัน (2552) ทำรายการคุยกับนักจิตวิทยา,ครองรักครองเพศ ทางทีวีดาวเทียม mvtv5, 2554 คุยกับดร.วัลลภ ทุกวันอังคาร,พุธ mvtv inews:ยังไม่มี รอเพิ่มเติมข้อมูล ริเริ่มจัดโปรแกรม "หัวเราะบำบัด"</doc>
ดร.วัลลภ ปิยะมโนธรรม เป็นอาจารย์สอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยอะไร
{ "answer": [ "มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ" ], "answer_begin_position": [ 194 ], "answer_end_position": [ 220 ] }
223
58,421
<doc id="58421" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=58421" title="วัลลภ ปิยะมโนธรรม">วัลลภ ปิยะมโนธรรม วัลลภ ปิยะมโนธรรม นักจิตวิทยาและที่ปรึกษาโครงการศูนย์ให้คำปรึกษาและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มักได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ในแง่ของความไม่เห็นด้วยกับแนวความคิดและวิธีการบำบัดปัญหาทางจิตกรณีต่าง ๆ โดยเฉพาะ กลุ่มคนรักร่วมเพศ ที่ ดร.วัลลภ มีความเห็นว่า พฤติกรรมรักร่วมเพศนั้นมีสาเหตุมาจากการเลี้ยงดู ไม่ใช่พันธุกรรม และสามารถรักษาให้หายขาดได้ประวัติ ประวัติ. วัลลภ ปิยะมโนธรรม หรือ ดร.วัลลภ ปิยะมโนธรรม จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางจิตวิทยา จากมหาวิทยาลัยซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา จบการศึกษาระดับปริญญาโทจิตวิทยาการศึกษา จาก มหาวิทยาลัยบอสตัน สหรัฐอเมริกา และจบการศึกษาระดับปริญญาเอกจิตวิทยาคลินิก จาก มหาวิทยาลัยบอสตัน สหรัฐอเมริกาและปริญญาเอกจิตวิทยาการให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.วัลลภ ปิยะมโนธรรม เป็นที่รู้จักกันดีจากบทบาทที่เป็นนักจิตวิทยา ที่ให้ความเห็นต่อสังคมในประเด็นต่าง ๆ ในแง่ของจิตวิทยา เป็นวิทยากรให้ความรู้และที่ปรึกษาเกี่ยวกับจิตวิทยาในสื่อและในโอกาสต่าง ๆ อดีตอาจารย์ประจำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ และหัวหน้าศูนย์ให้คำปรึกษาสุขภาพจิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จนเกษียณอายุราชการผลงานที่สำคัญ ผลงานที่สำคัญ. เคยจัดรายการพลังจิตที่ 5 สยามหัวเราะ ปัจจุบัน (2552) ทำรายการคุยกับนักจิตวิทยา,ครองรักครองเพศ ทางทีวีดาวเทียม mvtv5, 2554 คุยกับดร.วัลลภ ทุกวันอังคาร,พุธ mvtv inews:ยังไม่มี รอเพิ่มเติมข้อมูล ริเริ่มจัดโปรแกรม "หัวเราะบำบัด"</doc>
ในสมัยมัธยมศึกษา ดร.วัลลภ ปิยะมโนธรรม ศึกษาที่โรงเรียนอะไร
{ "answer": [ "โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย" ], "answer_begin_position": [ 537 ], "answer_end_position": [ 562 ] }
224
562,373
<doc id="562373" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=562373" title="อี อารึม">อี อารึม อี อา-รึม (; เกิด 19 เมษายน 2537) หรือชื่อที่ในการแสดงว่า อารึม เป็น นักร้อง นักแร็ป นักแสดงชาวเกาหลีใต้ รู้จักในสถาะ อดีตสมาชิก วงที-อาราประวัติ1994-2012 ประวัติ. 1994-2012. อารึม เกิดในกรุง โซล วันที่ 19 เมษายน 1994 เธอเรียนอยู่ใน Hanlim School of Arts ในโซล ซึ่งเป็นโรงเรียนเกี่ยวศิลปะ.2012–2013: T-ara 2012–2013: T-ara. อารึม ถูกเพิ่มเข้าไปใน ที-อารา ในสถานะสมาชิก ที-อารา ในเดือนกรกฎาคม อารึมถูกในสถานะ สมาชิกคนที่แปดของของวง เธอได้รับการยืนยันในฐานะสมาชิกคนที่แปดเมื่อ 12 มิถุนายน 2012 และทาง ต้นสังกัดปล่อยภาพทีเซอร์ของเธอ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2013 เธอออกจาก T-ara ในการดำเนินงานเดี่ยวของฮิปฮอป2014 การเป็นศิลปินเดี่ยวผลงานเพลงวงที-อาราเพลงร่วมกับศิลปิน และร้องเดี่ยว</doc>
อี อารึม เป็นนักร้อง นักแร็ป นักแสดงชาวเกาหลีใต้ เกิดที่เมืองใดของประเทศเกาหลีใต้
{ "answer": [ "กรุง โซล" ], "answer_begin_position": [ 279 ], "answer_end_position": [ 287 ] }
2,347
562,373
<doc id="562373" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=562373" title="อี อารึม">อี อารึม อี อา-รึม (; เกิด 19 เมษายน 2537) หรือชื่อที่ในการแสดงว่า อารึม เป็น นักร้อง นักแร็ป นักแสดงชาวเกาหลีใต้ รู้จักในสถาะ อดีตสมาชิก วงที-อาราประวัติ1994-2012 ประวัติ. 1994-2012. อารึม เกิดในกรุง โซล วันที่ 19 เมษายน 1994 เธอเรียนอยู่ใน Hanlim School of Arts ในโซล ซึ่งเป็นโรงเรียนเกี่ยวศิลปะ.2012–2013: T-ara 2012–2013: T-ara. อารึม ถูกเพิ่มเข้าไปใน ที-อารา ในสถานะสมาชิก ที-อารา ในเดือนกรกฎาคม อารึมถูกในสถานะ สมาชิกคนที่แปดของของวง เธอได้รับการยืนยันในฐานะสมาชิกคนที่แปดเมื่อ 12 มิถุนายน 2012 และทาง ต้นสังกัดปล่อยภาพทีเซอร์ของเธอ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2013 เธอออกจาก T-ara ในการดำเนินงานเดี่ยวของฮิปฮอป2014 การเป็นศิลปินเดี่ยวผลงานเพลงวงที-อาราเพลงร่วมกับศิลปิน และร้องเดี่ยว</doc>
อี อารึม เป็นนักร้อง นักแร็ป นักแสดงชาวเกาหลีใต้ เกิดเมื่อวันที่เท่าไร
{ "answer": [ "19" ], "answer_begin_position": [ 295 ], "answer_end_position": [ 297 ] }
225
135,657
<doc id="135657" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=135657" title="กอด (ภาพยนตร์)">กอด (ภาพยนตร์) กอด () เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2551 แนวความรัก-การเดินทาง ผลงานกำกับเรื่องที่สามของคงเดช จาตุรันต์รัศมี นำแสดงโดย เกียรติกมล ล่าทา (ตุ้ย AF3) และศุภักษร ไชยมงคล (กระแต) จากพลอตเรื่องและบทภาพยนตร์ที่เขียนโดย คงเดช ทำรายได้รวมที่ 10 ล้านบาทเรื่องย่อ เรื่องย่อ. ขวาน (ตุ้ย) อาศัยอยู่สองคนกับแม่ที่อำเภอเล็กๆ แห่งหนึ่งในจังหวัดลำปาง เขามีแขนข้างซ้ายสองข้าง ที่ใช้งานได้ปกติ ตั้งแต่เด็กมา แม่พร่ำสอนว่าเขาเป็นคนพิเศษกว่าใคร เขาจึงเติบโตมาโดยไม่รู้สึกว่าตัวเองมีปมด้อยผิดมนุษย์มนา ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้ว แม่ก็พยายามจะให้หมอผ่าแขนข้างที่เกินออกไป แต่ทำไม่ได้ เพราะเส้นเลือดใหญ่ที่แขนต่อตรงกับหัวใจ จะเป็นอันตรายมากเมื่อทำการผ่าตัด เมื่อแม่ตาย ขวานก็รู้ความจริงว่าตัวเองเป็นคนประหลาดของหมู่บ้าน ใครๆ ก็เรียกว่า ไอ้สามแขน ถูกแฟนที่คบกันมานานบอกเลิก ขวานตัดสินใจเดินทางไปกรุงเทพ เพื่อผ่าตัดความ “พิเศษ” ออก ระหว่างทาง ขวานได้ช่วยเหลือ นา (กระแต) จากการถูกลวนลาม นาเป็นสาวชาวบ้านที่กำลังเดินทางไปตามหาสามีที่กรุงเทพ ทั้งสองจึงร่วมเดินทางไปด้วยกัน ด้วยความสนิทสนมที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทางร่วมกันของคนทั้งสอง ขวานรู้สึกเหมือนเป็นคนพิเศษขึ้นมาอีกครั้ง ครั้งนี้เป็นความรู้สึกพิเศษที่เกิดขึ้นมาจากหัวใจเพลงประกอบภาพยนตร์เพลงประกอบภาพยนตร์. - กอด ขับร้องโดย อัญชลี จงคดีกิจ, คำร้อง/ทำนอง : กมลศักดิ์ สุนทานนท์ / ปิติ ลิ้มเจริญ - ฟังเพลง กอด</doc>
นักร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ไทยเรื่องกอดที่ฉายในปี พ.ศ. 2551 คือใคร
{ "answer": [ "อัญชลี จงคดีกิจ" ], "answer_begin_position": [ 1261 ], "answer_end_position": [ 1276 ] }
1,779
135,657
<doc id="135657" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=135657" title="กอด (ภาพยนตร์)">กอด (ภาพยนตร์) กอด () เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2551 แนวความรัก-การเดินทาง ผลงานกำกับเรื่องที่สามของคงเดช จาตุรันต์รัศมี นำแสดงโดย เกียรติกมล ล่าทา (ตุ้ย AF3) และศุภักษร ไชยมงคล (กระแต) จากพลอตเรื่องและบทภาพยนตร์ที่เขียนโดย คงเดช ทำรายได้รวมที่ 10 ล้านบาทเรื่องย่อ เรื่องย่อ. ขวาน (ตุ้ย) อาศัยอยู่สองคนกับแม่ที่อำเภอเล็กๆ แห่งหนึ่งในจังหวัดลำปาง เขามีแขนข้างซ้ายสองข้าง ที่ใช้งานได้ปกติ ตั้งแต่เด็กมา แม่พร่ำสอนว่าเขาเป็นคนพิเศษกว่าใคร เขาจึงเติบโตมาโดยไม่รู้สึกว่าตัวเองมีปมด้อยผิดมนุษย์มนา ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้ว แม่ก็พยายามจะให้หมอผ่าแขนข้างที่เกินออกไป แต่ทำไม่ได้ เพราะเส้นเลือดใหญ่ที่แขนต่อตรงกับหัวใจ จะเป็นอันตรายมากเมื่อทำการผ่าตัด เมื่อแม่ตาย ขวานก็รู้ความจริงว่าตัวเองเป็นคนประหลาดของหมู่บ้าน ใครๆ ก็เรียกว่า ไอ้สามแขน ถูกแฟนที่คบกันมานานบอกเลิก ขวานตัดสินใจเดินทางไปกรุงเทพ เพื่อผ่าตัดความ “พิเศษ” ออก ระหว่างทาง ขวานได้ช่วยเหลือ นา (กระแต) จากการถูกลวนลาม นาเป็นสาวชาวบ้านที่กำลังเดินทางไปตามหาสามีที่กรุงเทพ ทั้งสองจึงร่วมเดินทางไปด้วยกัน ด้วยความสนิทสนมที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทางร่วมกันของคนทั้งสอง ขวานรู้สึกเหมือนเป็นคนพิเศษขึ้นมาอีกครั้ง ครั้งนี้เป็นความรู้สึกพิเศษที่เกิดขึ้นมาจากหัวใจเพลงประกอบภาพยนตร์เพลงประกอบภาพยนตร์. - กอด ขับร้องโดย อัญชลี จงคดีกิจ, คำร้อง/ทำนอง : กมลศักดิ์ สุนทานนท์ / ปิติ ลิ้มเจริญ - ฟังเพลง กอด</doc>
นักแสดงนำชายในภาพยนตร์ไทยเรื่อง กอด ออกฉายปี 2551 คือใคร
{ "answer": [ "เกียรติกมล ล่าทา" ], "answer_begin_position": [ 228 ], "answer_end_position": [ 244 ] }
226
346,944
<doc id="346944" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=346944" title="สู่ขวัญ บูลกุล">สู่ขวัญ บูลกุล สู่ขวัญ บูลกุล (ชื่อเล่น ขวัญ) เป็นอดีตพิธีกรรายการ เรื่องเล่าเช้านี้ คู่กับ สรยุทธ สุทัศนะจินดา นักธุรกิจ และนักแสดงชาวไทยประวัติ ประวัติ. สู่ขวัญ บูลกุล มีชื่อและนามสกุลเดิมว่า สู่ขวัญ วิวรกิจ ได้สมรสกับ นายโชค บูลกุล ทายาทของนายโชคชัย บูลกุล เจ้าของฟาร์มโชคชัย มีบุตรชาย 1 คน ชื่อ ด.ช. ปราบ บูลกุลการศึกษาการศึกษา. - ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ - ปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท Emerson College Bostonธุรกิจส่วนตัว ธุรกิจส่วนตัว. สู่ขวัญ มีธุรกิจส่วนตัว คือ ฟาร์มโชคชัย ร่วมกับ สามี ทายาทของนายโชคชัย บูลกุลผลงานซีรีส์ผลงาน. ซีรีส์. - โปรเจกต์ เอส เดอะซีรีส์ ตอน Side by Side พี่น้องลูกขนไก่ รับบทเป็น แตง (2560)ภาพยนตร์ภาพยนตร์. - รัก 7 ปี ดี 7 หน รับบทเป็น หล่อน (ตอน 42.195) (จีทีเอช) คู่กับ นิชคุณ หรเวชกุล - ฉลาดเกมส์โกง ให้เสียง ผู้ประกาศข่าวหญิงพิธีกรพิธีกร. - เรื่องเล่าเช้านี้ (2546/2550-2555) คู่กับ สรยุทธ สุทัศนะจินดา, เอกราช เก่งทุกทาง, พิชญทัฬห์ จันทร์พุฒ, โก๊ะตี๋ อารามบอย,รินลณี ศรีเพ็ญ , พรชิตา ณ สงขลา , ภัคจีรา วรรณสุทธิ์ - เรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์ (2550-2552) ย้ายไปรายการ เรื่องเล่าเช้านี้ ช่วง ข่าวต่างประเทศ - รายการรูปล้านเรื่อง (8 มกราคม - 2 เมษายน พ.ศ. 2560 ) คู่กับ บรมวุฒิ หิรัญยัษฐิติ ทุกวันอาทิตย์เวลา 10.00 - 11.00 น. ทางช่องวัน 31 - รายการ Celeb Blog ทาง Praew Magazine บน Youtube Channel โดยนิตยสารแพรว โดยมีประโยคยอดฮิต เช่น #อันนี้ก็น่ารัก #น่ารัก #ของมันต้องมีรางวัลรางวัล. - First Women Awards 2008 - จากนิตยสาร First Magazine - OK! Awards 2008 - รางวัล Best Dressed (นักแสดง นักร้อง หรือเซเลบริตี้ที่แต่งตัวดีที่สุด) - Seventeen Awards 2012 - รางวัล Star Icon - OK! Awards 2012 - รางวัล OK! Spotlight (บุคคลโดดเด่นแห่งปี) - Women’s Health Awards 2012 - รางวัล Show Stopper : ผู้หญิงสวยสะดุดตา - OK! Beauty Choice 2017 - รางวัล Glamour & Glow (ผู้หญิงที่สวย สง่า สมบูรณ์แบบ จากภายในสู่ภายนอก) - เข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 32 สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น จาก Side by Side พี่น้องลูกขนไก่</doc>
บุตรชายของสู่ขวัญ บูลกุล มีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "ด.ช. ปราบ บูลกุล" ], "answer_begin_position": [ 388 ], "answer_end_position": [ 404 ] }
227
346,944
<doc id="346944" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=346944" title="สู่ขวัญ บูลกุล">สู่ขวัญ บูลกุล สู่ขวัญ บูลกุล (ชื่อเล่น ขวัญ) เป็นอดีตพิธีกรรายการ เรื่องเล่าเช้านี้ คู่กับ สรยุทธ สุทัศนะจินดา นักธุรกิจ และนักแสดงชาวไทยประวัติ ประวัติ. สู่ขวัญ บูลกุล มีชื่อและนามสกุลเดิมว่า สู่ขวัญ วิวรกิจ ได้สมรสกับ นายโชค บูลกุล ทายาทของนายโชคชัย บูลกุล เจ้าของฟาร์มโชคชัย มีบุตรชาย 1 คน ชื่อ ด.ช. ปราบ บูลกุลการศึกษาการศึกษา. - ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ - ปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาโท Emerson College Bostonธุรกิจส่วนตัว ธุรกิจส่วนตัว. สู่ขวัญ มีธุรกิจส่วนตัว คือ ฟาร์มโชคชัย ร่วมกับ สามี ทายาทของนายโชคชัย บูลกุลผลงานซีรีส์ผลงาน. ซีรีส์. - โปรเจกต์ เอส เดอะซีรีส์ ตอน Side by Side พี่น้องลูกขนไก่ รับบทเป็น แตง (2560)ภาพยนตร์ภาพยนตร์. - รัก 7 ปี ดี 7 หน รับบทเป็น หล่อน (ตอน 42.195) (จีทีเอช) คู่กับ นิชคุณ หรเวชกุล - ฉลาดเกมส์โกง ให้เสียง ผู้ประกาศข่าวหญิงพิธีกรพิธีกร. - เรื่องเล่าเช้านี้ (2546/2550-2555) คู่กับ สรยุทธ สุทัศนะจินดา, เอกราช เก่งทุกทาง, พิชญทัฬห์ จันทร์พุฒ, โก๊ะตี๋ อารามบอย,รินลณี ศรีเพ็ญ , พรชิตา ณ สงขลา , ภัคจีรา วรรณสุทธิ์ - เรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์ (2550-2552) ย้ายไปรายการ เรื่องเล่าเช้านี้ ช่วง ข่าวต่างประเทศ - รายการรูปล้านเรื่อง (8 มกราคม - 2 เมษายน พ.ศ. 2560 ) คู่กับ บรมวุฒิ หิรัญยัษฐิติ ทุกวันอาทิตย์เวลา 10.00 - 11.00 น. ทางช่องวัน 31 - รายการ Celeb Blog ทาง Praew Magazine บน Youtube Channel โดยนิตยสารแพรว โดยมีประโยคยอดฮิต เช่น #อันนี้ก็น่ารัก #น่ารัก #ของมันต้องมีรางวัลรางวัล. - First Women Awards 2008 - จากนิตยสาร First Magazine - OK! Awards 2008 - รางวัล Best Dressed (นักแสดง นักร้อง หรือเซเลบริตี้ที่แต่งตัวดีที่สุด) - Seventeen Awards 2012 - รางวัล Star Icon - OK! Awards 2012 - รางวัล OK! Spotlight (บุคคลโดดเด่นแห่งปี) - Women’s Health Awards 2012 - รางวัล Show Stopper : ผู้หญิงสวยสะดุดตา - OK! Beauty Choice 2017 - รางวัล Glamour & Glow (ผู้หญิงที่สวย สง่า สมบูรณ์แบบ จากภายในสู่ภายนอก) - เข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 32 สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น จาก Side by Side พี่น้องลูกขนไก่</doc>
นายโชค บูลกุล คู่สมรสของสู่ขวัญ บูลกุล เป็นบุตรของใคร
{ "answer": [ "นายโชคชัย บูลกุล" ], "answer_begin_position": [ 332 ], "answer_end_position": [ 348 ] }
228
356,758
<doc id="356758" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=356758" title="จรัสศรี ทีปิรัช">จรัสศรี ทีปิรัช คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช (3 มีนาคม พ.ศ. 2482 -) สตรีคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทย โดยได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก เป็นผู้ริเริ่มโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาเมืองในประเทศไทยประวัติ ประวัติ. ดร.คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช (สกุลเดิม อัตถากร) เกิดเมื่อวันที่ ที่อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม เป็นบุตรของนายบุญช่วย อัตถากร กับนางอารีรัตน์ อัตถากร สมรสกับสากล ทีปิรัช (เสียชีวิต) จรัสศรี เข้ารับการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย จากนั้นจึงได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2506 ต่อจากนั้นในปี พ.ศ. 2511 ได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททางด้านการปกครอง จากมหาวิทยาลัยโตรอนโต ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ พ.ศ. 2552 ได้รับปริญญาการผังเมืองดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์การทำงาน การทำงาน. ดร.คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช รับราชการในสังกัดกรมการผังเมือง จนได้รับตำแหน่งสูงสุดในกรมการผังเมือง คือ ตำแหน่งอธิบดีกรมการผังเมือง ต่อมาในปี พ.ศ. 2536 จึงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก นับว่าเป็นสตรีคนแรกที่เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทย จากนั้นก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี และได้รับรางวัลครุฑทองคำ ในปี พ.ศ. 2540 ด้วย หลังจากเกษียณอายุราชการแล้ว จรัสศรี ทีปิรัช ได้สมัครเข้ารับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ในปี พ.ศ. 2544 ผลปรากฏว่าไม่ได้รับการเลือกตั้ง แต่ได้รับการเลื่อนขึ้นมาแทนนายพรเสก กาญจนจารี ปัจจุบัน จรัสศรี ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยองค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และผู้อำนวยการสำนักองค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์</doc>
จังหวัดแรกในประเทศไทยที่มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้หญิงคือจังหวัดอะไร
{ "answer": [ "จังหวัดนครนายก" ], "answer_begin_position": [ 253 ], "answer_end_position": [ 267 ] }
229
356,758
<doc id="356758" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=356758" title="จรัสศรี ทีปิรัช">จรัสศรี ทีปิรัช คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช (3 มีนาคม พ.ศ. 2482 -) สตรีคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทย โดยได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก เป็นผู้ริเริ่มโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาเมืองในประเทศไทยประวัติ ประวัติ. ดร.คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช (สกุลเดิม อัตถากร) เกิดเมื่อวันที่ ที่อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม เป็นบุตรของนายบุญช่วย อัตถากร กับนางอารีรัตน์ อัตถากร สมรสกับสากล ทีปิรัช (เสียชีวิต) จรัสศรี เข้ารับการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย จากนั้นจึงได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2506 ต่อจากนั้นในปี พ.ศ. 2511 ได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททางด้านการปกครอง จากมหาวิทยาลัยโตรอนโต ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ พ.ศ. 2552 ได้รับปริญญาการผังเมืองดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์การทำงาน การทำงาน. ดร.คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช รับราชการในสังกัดกรมการผังเมือง จนได้รับตำแหน่งสูงสุดในกรมการผังเมือง คือ ตำแหน่งอธิบดีกรมการผังเมือง ต่อมาในปี พ.ศ. 2536 จึงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก นับว่าเป็นสตรีคนแรกที่เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทย จากนั้นก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี และได้รับรางวัลครุฑทองคำ ในปี พ.ศ. 2540 ด้วย หลังจากเกษียณอายุราชการแล้ว จรัสศรี ทีปิรัช ได้สมัครเข้ารับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ในปี พ.ศ. 2544 ผลปรากฏว่าไม่ได้รับการเลือกตั้ง แต่ได้รับการเลื่อนขึ้นมาแทนนายพรเสก กาญจนจารี ปัจจุบัน จรัสศรี ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยองค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และผู้อำนวยการสำนักองค์ประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์</doc>
สตรีคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการของประเทศไทยคือใคร
{ "answer": [ "คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช" ], "answer_begin_position": [ 106 ], "answer_end_position": [ 128 ] }
230
560,492
<doc id="560492" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=560492" title="อัศวิน รัตนประชา">อัศวิน รัตนประชา อัศวิน รัตนประชา มีชื่อจริงว่า "สายัณห์ บำรุงกิจ" ชื่อเล่น "ตึ๋ง" เกิดเมื่อ ปี พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดจันทบุรี เป็นพี่ชายแท้ๆ ของ "ธนาวุฒิ บำรุงกิจ" หรือ พล พลาพร อดีตพระเอกละครช่อง 7 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากจันทบุรี แล้วมาเป็นทหารเรือที่อู่ตะเภา จังหวัดระยองอยู่ 2 ปี เมื่อปลดประจำการได้ทำงานในตำแหน่งผู้จัดการบริษัทรถแท็กซี่นำเที่ยวที่เดิม จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2514 ได้มาสมัครเป็นนักแสดงละครช่อง 4 บางขุนพรหมเรื่อง ผู้ชนะสิบทิศ ซึ่งสร้างโดยบุญถึง ฤทธิ์เกิด โดยรับบทเป็น "จะเด็ด" คู่กับ ศศิมา สิงห์ศิริ ต่อมาคุณสนั่น นาคสู่สุข หรือ เซียนเป๋ ได้ชักนำเข้าสู่วงการภาพยนตร์โดยให้ใช้ชื่อในวงการบันเทิงว่า อัศวิน รัตนประชา เริ่มแรกได้เล่นภาพยนตร์เรื่อง 7 ดอกจิก โดยเป็น 1 ใน 7 พระเอก แต่เนื่องจากใช้เวลาหานักแสดงให้ครบ 7 คนนานเกินไปจึงออกฉายช้าไปเป็น พ.ศ. 2518 หลังภาพยนตร์เรื่อง พิษพยาบาท ของเสถียร ธรรมเจริญ ที่สร้างทีหลังแต่ออกฉายก่อนในปี พ.ศ. 2516 อัศวินจึงได้เริ่มเป็นที่รู้จักเล็กน้อยในฐานะพระเอกใหม่ที่แสดงร่วมกับ สมบัติ เมทะนี และ นัยนา ชีวานันท์ และเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นจากภาพยนตร์เรื่อง สตรีที่โลกลืม (2518) ของ ชุติมา สุวรรณรัตน์ ในบทน้องชายของพระเอกซึ่งแสดงโดย สมบัติ เมทะนี จากนั้นจึงมีผลงานทางภาพยนตร์ต่อมาอีกหลายเรื่อง โดยส่วนใหญ่เป็นพระเอกร่วม, พระรอง และบทสมทบ บทพระเอกที่มีชื่อเสียงในภาพยนตร์ที่เขาแสดงคือเรื่อง ชีวิตเลือกไม่ได้ (2524) ซึ่งแสดงร่วมกับ เปียทิพย์ คุ้มวงศ์, นิภาพร นงนุช และ อนุสรณ์ เตชะปัญญา อีกเรื่องหนึ่งคือ วีระบุรุษกองขยะ อัศวิน รัตนประชา ได้มีผลงานทางละครหลายเรื่อง โดยมักรับบทเป็นพระเอกส่วนใหญ่ เนื่องจากหน้าตาที่หล่อเหลาคมเข้มและรูปร่างดี ละครที่สร้างชื่อเสียงนอกจากเรื่องผู้ชนะสิบทิศ ยังมีเรื่อง สวรรค์เบี่ยง ในปี พ.ศ. 2521 ทางช่อง 9 โดยรับบทเป็น "คาวี" คู่กับ เดือนเต็ม สาลิตุล และมีผลงานทางละครตามมาอีกหลายเรื่องทางช่อง 3, ช่อง 5, ช่อง 7 และ ช่อง 9 อาทิ เช่น นางสาวทองสร้อย, แม่ม่าย, มายา, กุหลาบไร้หนาม, อีสา ฯลฯ ทางช่อง 9; โรงแรมวิปริต, เงา, ลับแลใจ, นางแมวป่า, พระอภัยมณี ทางช่อง 7 ส่วนเรื่องสุดท้ายที่แสดงเต็มตัวในบท "อุทัย" เมื่อปี พ.ศ. 2544 คือ คมพยาบาท ทางช่อง 7 และได้รับเชิญให้แสดงละครของเอ็กแซ็กซ์เรื่อง ละอองดาว ในปี พ.ศ. 2550 ปัจจุบันได้ผันตัวไปทำธุรกิจขายรถมือสอง เป็นดีเจวิทยุและเป็นตัวแทนผลิตภัณท์อาหารเสริม และสนใจชมมวยไทยเป็นงานอดิเรกผลงานภาพยนตร์ผลงาน. ภาพยนตร์. - พิษพยาบาท (2516) - 7 ดอกจิก (2518) - สตรีที่โลกลืม (2518) - แค้น (2518) - นายอำเภอใจเพชร (2518) - ถนนนี้ชั่ว (2518) - แม่ม่ายใจถึง (2519) - วีระบุรุษกองขยะ (2519) - ไอ้ปืนแฝด (2519) - เพลิงทะเล (2520) - เมียรายเดือน (2520) - 1 ต่อ 7 (2520) - ผู้ยิ่งใหญ่ชายแดน (2520) - ทางชีวิต (2520) - ไอ้ขลุ่ย (2520) - รักเลือกไม่ได้ (2520) - เหยียบหัวสิงห์ (2520) - หัวใจที่ไม่อยากเต้น (2520) - 12 สิงห์สยาม (2520) - หล่อนชื่อมาลี สูงเนิน (2521) - แรกรัก (2521) - เพลงรักเพื่อเธอ (2521) - 35 กะรัต (2522) - ชาติหินดินระเบิด (2522) - ตามล่า (2523) - ชีวิตเลือกไม่ได้ (2524) - ใครกำหนด (2524) - เสือมังกร (2524) - แค้นต้องฆ่า (2525) - ลูกสาวกำนัน ภาค 2 (2526) - สิงห์เดนตาย (2526) - พลิกแผ่นดินล่า (2527) - เปรียว (2527) - รักของปรัศนีย์ (2527)ละครละคร. - ช่อง 4 บางขุนพรหม - ผู้ชนะสิบทิศ (2514)- ช่อง 3 - อำนาจลึกลับ (2520) - ความรัก ตอน ปัญหาของแม่ (2521) - จิตไม่ว่าง (2523) - ศิขริน-เทวินตา (2524) - สาปอสูร (2527)- ช่อง 5 - ลูกกรอก (2519) - ชั่วฟ้าดินดับ (2529) - ละอองดาว (2550) (รับเชิญ)- ช่อง 7 - เงา (ละครโทรทัศน์) (2525) - โรงแรมวิปริต (2526) - ลับแลใจ (2526) - นางแมวป่า (2527) - ความลับของดาวมรกต (2527) - มัสยา (2528) - พระอภัยมณี (2529) รับบท ท้าวอุศเรน - แหวนทองเหลือง (2529) - ดุจฟ้าไร้ดาว (2543) (รับเชิญ) - คมพยาบาท (2544)- ช่อง 9 - สวรรค์เบี่ยง (2521) - แม่ม่าย (2521) - นางสาวทองสร้อย (2522) - ใครกำหนด (2522) - สามอนงค์ (2523) - ภูตพิศวาส (2523) - กุหลาบไร้หนาม (2523) - มายา (2524) - ลางรัก (2524) - หลานสาวคุณหญิง (2524) - อีสา (2525)</doc>
ภาพยนตร์เรื่องแรกที่ อัศวิน รัตนประชา เล่นมีชื่อเรื่องว่าอะไร
{ "answer": [ "เรื่อง 7 ดอกจิก" ], "answer_begin_position": [ 745 ], "answer_end_position": [ 760 ] }
1,879
560,492
<doc id="560492" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=560492" title="อัศวิน รัตนประชา">อัศวิน รัตนประชา อัศวิน รัตนประชา มีชื่อจริงว่า "สายัณห์ บำรุงกิจ" ชื่อเล่น "ตึ๋ง" เกิดเมื่อ ปี พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดจันทบุรี เป็นพี่ชายแท้ๆ ของ "ธนาวุฒิ บำรุงกิจ" หรือ พล พลาพร อดีตพระเอกละครช่อง 7 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากจันทบุรี แล้วมาเป็นทหารเรือที่อู่ตะเภา จังหวัดระยองอยู่ 2 ปี เมื่อปลดประจำการได้ทำงานในตำแหน่งผู้จัดการบริษัทรถแท็กซี่นำเที่ยวที่เดิม จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2514 ได้มาสมัครเป็นนักแสดงละครช่อง 4 บางขุนพรหมเรื่อง ผู้ชนะสิบทิศ ซึ่งสร้างโดยบุญถึง ฤทธิ์เกิด โดยรับบทเป็น "จะเด็ด" คู่กับ ศศิมา สิงห์ศิริ ต่อมาคุณสนั่น นาคสู่สุข หรือ เซียนเป๋ ได้ชักนำเข้าสู่วงการภาพยนตร์โดยให้ใช้ชื่อในวงการบันเทิงว่า อัศวิน รัตนประชา เริ่มแรกได้เล่นภาพยนตร์เรื่อง 7 ดอกจิก โดยเป็น 1 ใน 7 พระเอก แต่เนื่องจากใช้เวลาหานักแสดงให้ครบ 7 คนนานเกินไปจึงออกฉายช้าไปเป็น พ.ศ. 2518 หลังภาพยนตร์เรื่อง พิษพยาบาท ของเสถียร ธรรมเจริญ ที่สร้างทีหลังแต่ออกฉายก่อนในปี พ.ศ. 2516 อัศวินจึงได้เริ่มเป็นที่รู้จักเล็กน้อยในฐานะพระเอกใหม่ที่แสดงร่วมกับ สมบัติ เมทะนี และ นัยนา ชีวานันท์ และเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นจากภาพยนตร์เรื่อง สตรีที่โลกลืม (2518) ของ ชุติมา สุวรรณรัตน์ ในบทน้องชายของพระเอกซึ่งแสดงโดย สมบัติ เมทะนี จากนั้นจึงมีผลงานทางภาพยนตร์ต่อมาอีกหลายเรื่อง โดยส่วนใหญ่เป็นพระเอกร่วม, พระรอง และบทสมทบ บทพระเอกที่มีชื่อเสียงในภาพยนตร์ที่เขาแสดงคือเรื่อง ชีวิตเลือกไม่ได้ (2524) ซึ่งแสดงร่วมกับ เปียทิพย์ คุ้มวงศ์, นิภาพร นงนุช และ อนุสรณ์ เตชะปัญญา อีกเรื่องหนึ่งคือ วีระบุรุษกองขยะ อัศวิน รัตนประชา ได้มีผลงานทางละครหลายเรื่อง โดยมักรับบทเป็นพระเอกส่วนใหญ่ เนื่องจากหน้าตาที่หล่อเหลาคมเข้มและรูปร่างดี ละครที่สร้างชื่อเสียงนอกจากเรื่องผู้ชนะสิบทิศ ยังมีเรื่อง สวรรค์เบี่ยง ในปี พ.ศ. 2521 ทางช่อง 9 โดยรับบทเป็น "คาวี" คู่กับ เดือนเต็ม สาลิตุล และมีผลงานทางละครตามมาอีกหลายเรื่องทางช่อง 3, ช่อง 5, ช่อง 7 และ ช่อง 9 อาทิ เช่น นางสาวทองสร้อย, แม่ม่าย, มายา, กุหลาบไร้หนาม, อีสา ฯลฯ ทางช่อง 9; โรงแรมวิปริต, เงา, ลับแลใจ, นางแมวป่า, พระอภัยมณี ทางช่อง 7 ส่วนเรื่องสุดท้ายที่แสดงเต็มตัวในบท "อุทัย" เมื่อปี พ.ศ. 2544 คือ คมพยาบาท ทางช่อง 7 และได้รับเชิญให้แสดงละครของเอ็กแซ็กซ์เรื่อง ละอองดาว ในปี พ.ศ. 2550 ปัจจุบันได้ผันตัวไปทำธุรกิจขายรถมือสอง เป็นดีเจวิทยุและเป็นตัวแทนผลิตภัณท์อาหารเสริม และสนใจชมมวยไทยเป็นงานอดิเรกผลงานภาพยนตร์ผลงาน. ภาพยนตร์. - พิษพยาบาท (2516) - 7 ดอกจิก (2518) - สตรีที่โลกลืม (2518) - แค้น (2518) - นายอำเภอใจเพชร (2518) - ถนนนี้ชั่ว (2518) - แม่ม่ายใจถึง (2519) - วีระบุรุษกองขยะ (2519) - ไอ้ปืนแฝด (2519) - เพลิงทะเล (2520) - เมียรายเดือน (2520) - 1 ต่อ 7 (2520) - ผู้ยิ่งใหญ่ชายแดน (2520) - ทางชีวิต (2520) - ไอ้ขลุ่ย (2520) - รักเลือกไม่ได้ (2520) - เหยียบหัวสิงห์ (2520) - หัวใจที่ไม่อยากเต้น (2520) - 12 สิงห์สยาม (2520) - หล่อนชื่อมาลี สูงเนิน (2521) - แรกรัก (2521) - เพลงรักเพื่อเธอ (2521) - 35 กะรัต (2522) - ชาติหินดินระเบิด (2522) - ตามล่า (2523) - ชีวิตเลือกไม่ได้ (2524) - ใครกำหนด (2524) - เสือมังกร (2524) - แค้นต้องฆ่า (2525) - ลูกสาวกำนัน ภาค 2 (2526) - สิงห์เดนตาย (2526) - พลิกแผ่นดินล่า (2527) - เปรียว (2527) - รักของปรัศนีย์ (2527)ละครละคร. - ช่อง 4 บางขุนพรหม - ผู้ชนะสิบทิศ (2514)- ช่อง 3 - อำนาจลึกลับ (2520) - ความรัก ตอน ปัญหาของแม่ (2521) - จิตไม่ว่าง (2523) - ศิขริน-เทวินตา (2524) - สาปอสูร (2527)- ช่อง 5 - ลูกกรอก (2519) - ชั่วฟ้าดินดับ (2529) - ละอองดาว (2550) (รับเชิญ)- ช่อง 7 - เงา (ละครโทรทัศน์) (2525) - โรงแรมวิปริต (2526) - ลับแลใจ (2526) - นางแมวป่า (2527) - ความลับของดาวมรกต (2527) - มัสยา (2528) - พระอภัยมณี (2529) รับบท ท้าวอุศเรน - แหวนทองเหลือง (2529) - ดุจฟ้าไร้ดาว (2543) (รับเชิญ) - คมพยาบาท (2544)- ช่อง 9 - สวรรค์เบี่ยง (2521) - แม่ม่าย (2521) - นางสาวทองสร้อย (2522) - ใครกำหนด (2522) - สามอนงค์ (2523) - ภูตพิศวาส (2523) - กุหลาบไร้หนาม (2523) - มายา (2524) - ลางรัก (2524) - หลานสาวคุณหญิง (2524) - อีสา (2525)</doc>
อัศวิน รัตนประชา มีชื่อจริงว่า สายัณห์ บำรุงกิจ ชื่อเล่น ตึ๋ง เกิดเมื่อ ปี พ.ศ. ใด
{ "answer": [ "2489" ], "answer_begin_position": [ 192 ], "answer_end_position": [ 196 ] }
231
23,850
<doc id="23850" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=23850" title="บ้านพิษณุโลก">บ้านพิษณุโลก บ้านพิษณุโลก เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยและเคยใช้เป็นที่ทำการของคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นบ้านแบบสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ออกแบบและสร้างโดย มาริโอ ตามานโญ สถาปนิกประจำราชสำนักสยามชาวอิตาลี (พ.ศ. 2443-2468) มีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน เดิมชื่อ “บ้านบรรทมสินธุ์”ประวัติ ประวัติ. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงสร้างบ้านบรรทมสินธุ์ และพระราชทานให้กับมหาดเล็กส่วนพระองค์ คือ พลตรี พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) พร้อมกับการพระราชทานบ้านนรสิงห์ แก่ พลเอก เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) ผู้พี่ และพระราชทานบ้านมนังคศิลา แก่ มหาเสวกเอก พระยาอุดมราชภักดี (โถ สุจริตกุล) รวมถึงพระราชทานบ้านพิบูลธรรม แก่ เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ซื้อบ้านหลังนี้จากเจ้าของเดิม เพื่อไม่ให้ญี่ปุ่นซื้อไปเป็นสถานทูต เนื่องจากบ้านนี้ตั้งอยู่ใกล้กับกองพันทหารราบที่ 3 ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ รัฐบาลสมัยนั้นได้ใช้บ้านนรสิงห์ เป็นทำเนียบรัฐบาล (ภายใต้ชื่อ "ทำเนียบสามัคคีชัย") สำหรับบ้านบรรทมสินธุ์นั้น ในช่วงแรก ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "บ้านไทยพันธมิตร" ต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้ง เป็น "บ้านพิษณุโลก" เนื่องจากบ้านหลังนี้ตั้งอยู่บนถนนพิษณุโลก ข้างโรงพยาบาลมิชชั่น ได้ใช้เป็นที่ต้อนรับแขกเมืองสำคัญของรัฐบาลมาจนปัจจุบัน รัฐบาลยุคต่อมาได้ปรับปรุงบ้านพิษณุโลก เพื่อใช้เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรี มาตั้งแต่สมัย พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ในปี พ.ศ. 2522 และมาแล้วเสร็จในรัฐบาล พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ในปี พ.ศ. 2524 พลเอกเปรม ได้ย้ายเข้าไปพัก แต่ก็อยู่เพียง 2 วัน จึงย้ายออกไปพักที่บ้านพักเดิมคือ บ้านสี่เสาเทเวศร์ ในยุค พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี ก็ได้มีการใช้บ้านหลังนี้เป็นที่ทำงานของคณะที่ปรึกษาจนมีชื่อเสียงโด่งดัง เรียกกันติดปากสื่อมวลชนว่า "ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก"แต่ไม่ได้มีการใช้เป็นที่พัก โดยนายกรัฐมนตรียุคต่อมามีเพียง นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายที่เข้าพักบ้านพิษณุโลกหลังนี้และอยู่ได้นานทั้งสองสมัยการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สื่อร่วมสมัย สื่อร่วมสมัย. บ้านพิษณุโลกใช้เป็นฉากของ "บ้านทรายทอง" ในภาพยนตร์ชื่อเดียวกัน กำกับการแสดงโดย รุจน์ รณภพ ดาราแสดงนำคือ พอเจตน์ แก่นเพชร เป็น ชายกลาง และ จารุณี สุขสวัสดิ์ เป็น พจมาน สว่างวงศ์ ถือเป็นภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในยุคสมัยนั้น ทำให้บ้านพิษณุโลกเป็นที่รู้จักต่อสาธารณะมากกว่าเดิม แม้ในปัจจุบันภาพลักษณ์ความเป็น "บ้านทรายทอง" ก็ยังคงอยู่คู่กับสถานที่แห่งนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาพล้อหรือการ์ตูนการเมืองตามหนังสือพิมพ์ มักเปรียบเปรยว่าบ้านพิษณุโลกเป็นประหนึ่งบ้านทรายทองในนวนิยาย ภาพล้อที่มีชื่อเสียงที่สุดน่าจะเป็นเมื่อครั้งที่นายชวน หลีกภัย ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2535 ได้มีการเขียนภาพล้อให้นายชวนเป็นพจมาน ไว้ผมเปียคู่ และสองมือถือชะลอม เดินเข้าบ้านพิษณุโลกหรือบ้านทรายทอง เลียนแบบฉากเปิดตัวพจมานในภาพยนตร์บ้านทรายทอง เนื่องจากเป็นนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวที่พำนักในบ้านพิษณุโลกนานที่สุดเรื่องร่ำลือ เรื่องร่ำลือ. บ้านพิษณุโลกมีกิตติศัพท์ร่ำลือกันว่าผีดุจนเป็นเหตุให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ พักได้เพียง 2 วันเท่านั้น ก็ย้ายออกไปแต่เมื่อสื่อมวลชนไปสัมภาษณ์ พล.อ.เฟื่องเฉลย อนิรุทธเทวา ซึ่งเป็นทายาทของพระยาอนิรุทธเทวา ซึ่งเคยพักอาศัยอยู่ในบ้านหลังนี้เมื่อสมัยเด็กก็ได้รับการยืนยันว่าไม่เคยได้ยินเกี่ยวกับเรื่องผีดุแต่อย่างใดทั้ง ๆ ที่ตนอาศัยอยู่มาตั้งแต่เด็กจนหนุ่ม จนกระทั่งรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซื้อบ้านหลังนี้ไป แต่กิตติศัพท์เรื่องผีดุนี้ก็ได้รับการตอกย้ำ จนไม่มีนายกรัฐมนตรีคนใดย้ายเข้าไปพักอย่างเป็นทางการ แม้แต่ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ยังได้ใช้บ้านหลังนี้เป็นเพียงที่รับแขกเท่านั้น มีเพียงแต่นายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายเพียงคนเดียวที่พำนักอยู่ในบ้านหลังนี้ได้นานที่สุดคือ นายชวน หลีกภัย เนื่องจากบ้านพักในซอยหมอเหล็งของนายชวนนั้นค่อนข้างเล็กและคับแคบ ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจึงได้ย้ายเข้ามาพำนักในบ้านพิษณุโลก อย่างเป็นทางการทั้งสองสมัย โดยได้ใช้โซฟาในห้องทำงานซึ่งอยู่ด้านหน้าห้องนอนเป็นที่นอน และไม่ได้มีการใช้เตียงนอนภายในห้องนอนของบ้านแต่อย่างใดเนื่องจากเป็นให้เกียรติเจ้าของบ้าน จึงเป็นที่สงสัยกันว่าเหตุใด นายชวน หลีกภัย พำนักอยู่ในบ้านหลังนี้ได้นานกว่านายกรัฐมนตรีคนอื่น ๆ และหลังจาก นายชวน หลีกภัย แล้วก็ไม่มีนายกรัฐมนตรีคนใดใช้บ้านหลังนี้เป็นที่พำนักถึงปัจจุบัน มีเพียงแต่ใช้เป็นที่ประชุมและรับแขกเท่านั้น</doc>
บ้านพิษณุโลก เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทย เดิมมีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "บ้านบรรทมสินธุ์" ], "answer_begin_position": [ 373 ], "answer_end_position": [ 388 ] }
232
23,850
<doc id="23850" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=23850" title="บ้านพิษณุโลก">บ้านพิษณุโลก บ้านพิษณุโลก เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยและเคยใช้เป็นที่ทำการของคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นบ้านแบบสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ออกแบบและสร้างโดย มาริโอ ตามานโญ สถาปนิกประจำราชสำนักสยามชาวอิตาลี (พ.ศ. 2443-2468) มีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน เดิมชื่อ “บ้านบรรทมสินธุ์”ประวัติ ประวัติ. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงสร้างบ้านบรรทมสินธุ์ และพระราชทานให้กับมหาดเล็กส่วนพระองค์ คือ พลตรี พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) พร้อมกับการพระราชทานบ้านนรสิงห์ แก่ พลเอก เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) ผู้พี่ และพระราชทานบ้านมนังคศิลา แก่ มหาเสวกเอก พระยาอุดมราชภักดี (โถ สุจริตกุล) รวมถึงพระราชทานบ้านพิบูลธรรม แก่ เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ซื้อบ้านหลังนี้จากเจ้าของเดิม เพื่อไม่ให้ญี่ปุ่นซื้อไปเป็นสถานทูต เนื่องจากบ้านนี้ตั้งอยู่ใกล้กับกองพันทหารราบที่ 3 ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ รัฐบาลสมัยนั้นได้ใช้บ้านนรสิงห์ เป็นทำเนียบรัฐบาล (ภายใต้ชื่อ "ทำเนียบสามัคคีชัย") สำหรับบ้านบรรทมสินธุ์นั้น ในช่วงแรก ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "บ้านไทยพันธมิตร" ต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้ง เป็น "บ้านพิษณุโลก" เนื่องจากบ้านหลังนี้ตั้งอยู่บนถนนพิษณุโลก ข้างโรงพยาบาลมิชชั่น ได้ใช้เป็นที่ต้อนรับแขกเมืองสำคัญของรัฐบาลมาจนปัจจุบัน รัฐบาลยุคต่อมาได้ปรับปรุงบ้านพิษณุโลก เพื่อใช้เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรี มาตั้งแต่สมัย พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ในปี พ.ศ. 2522 และมาแล้วเสร็จในรัฐบาล พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ในปี พ.ศ. 2524 พลเอกเปรม ได้ย้ายเข้าไปพัก แต่ก็อยู่เพียง 2 วัน จึงย้ายออกไปพักที่บ้านพักเดิมคือ บ้านสี่เสาเทเวศร์ ในยุค พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี ก็ได้มีการใช้บ้านหลังนี้เป็นที่ทำงานของคณะที่ปรึกษาจนมีชื่อเสียงโด่งดัง เรียกกันติดปากสื่อมวลชนว่า "ที่ปรึกษาบ้านพิษณุโลก"แต่ไม่ได้มีการใช้เป็นที่พัก โดยนายกรัฐมนตรียุคต่อมามีเพียง นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายที่เข้าพักบ้านพิษณุโลกหลังนี้และอยู่ได้นานทั้งสองสมัยการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สื่อร่วมสมัย สื่อร่วมสมัย. บ้านพิษณุโลกใช้เป็นฉากของ "บ้านทรายทอง" ในภาพยนตร์ชื่อเดียวกัน กำกับการแสดงโดย รุจน์ รณภพ ดาราแสดงนำคือ พอเจตน์ แก่นเพชร เป็น ชายกลาง และ จารุณี สุขสวัสดิ์ เป็น พจมาน สว่างวงศ์ ถือเป็นภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในยุคสมัยนั้น ทำให้บ้านพิษณุโลกเป็นที่รู้จักต่อสาธารณะมากกว่าเดิม แม้ในปัจจุบันภาพลักษณ์ความเป็น "บ้านทรายทอง" ก็ยังคงอยู่คู่กับสถานที่แห่งนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาพล้อหรือการ์ตูนการเมืองตามหนังสือพิมพ์ มักเปรียบเปรยว่าบ้านพิษณุโลกเป็นประหนึ่งบ้านทรายทองในนวนิยาย ภาพล้อที่มีชื่อเสียงที่สุดน่าจะเป็นเมื่อครั้งที่นายชวน หลีกภัย ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2535 ได้มีการเขียนภาพล้อให้นายชวนเป็นพจมาน ไว้ผมเปียคู่ และสองมือถือชะลอม เดินเข้าบ้านพิษณุโลกหรือบ้านทรายทอง เลียนแบบฉากเปิดตัวพจมานในภาพยนตร์บ้านทรายทอง เนื่องจากเป็นนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวที่พำนักในบ้านพิษณุโลกนานที่สุดเรื่องร่ำลือ เรื่องร่ำลือ. บ้านพิษณุโลกมีกิตติศัพท์ร่ำลือกันว่าผีดุจนเป็นเหตุให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ พักได้เพียง 2 วันเท่านั้น ก็ย้ายออกไปแต่เมื่อสื่อมวลชนไปสัมภาษณ์ พล.อ.เฟื่องเฉลย อนิรุทธเทวา ซึ่งเป็นทายาทของพระยาอนิรุทธเทวา ซึ่งเคยพักอาศัยอยู่ในบ้านหลังนี้เมื่อสมัยเด็กก็ได้รับการยืนยันว่าไม่เคยได้ยินเกี่ยวกับเรื่องผีดุแต่อย่างใดทั้ง ๆ ที่ตนอาศัยอยู่มาตั้งแต่เด็กจนหนุ่ม จนกระทั่งรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซื้อบ้านหลังนี้ไป แต่กิตติศัพท์เรื่องผีดุนี้ก็ได้รับการตอกย้ำ จนไม่มีนายกรัฐมนตรีคนใดย้ายเข้าไปพักอย่างเป็นทางการ แม้แต่ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ยังได้ใช้บ้านหลังนี้เป็นเพียงที่รับแขกเท่านั้น มีเพียงแต่นายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายเพียงคนเดียวที่พำนักอยู่ในบ้านหลังนี้ได้นานที่สุดคือ นายชวน หลีกภัย เนื่องจากบ้านพักในซอยหมอเหล็งของนายชวนนั้นค่อนข้างเล็กและคับแคบ ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจึงได้ย้ายเข้ามาพำนักในบ้านพิษณุโลก อย่างเป็นทางการทั้งสองสมัย โดยได้ใช้โซฟาในห้องทำงานซึ่งอยู่ด้านหน้าห้องนอนเป็นที่นอน และไม่ได้มีการใช้เตียงนอนภายในห้องนอนของบ้านแต่อย่างใดเนื่องจากเป็นให้เกียรติเจ้าของบ้าน จึงเป็นที่สงสัยกันว่าเหตุใด นายชวน หลีกภัย พำนักอยู่ในบ้านหลังนี้ได้นานกว่านายกรัฐมนตรีคนอื่น ๆ และหลังจาก นายชวน หลีกภัย แล้วก็ไม่มีนายกรัฐมนตรีคนใดใช้บ้านหลังนี้เป็นที่พำนักถึงปัจจุบัน มีเพียงแต่ใช้เป็นที่ประชุมและรับแขกเท่านั้น</doc>
บ้านบรรทมสินธุ์ หรือ บ้านพิษณุโลก ถูกออกแบบโดยสถาปนิกประจำราชสำนักสยามชาวอิตาลีมีชื่อว่าอะไร
{ "answer": [ "มาริโอ ตามานโญ" ], "answer_begin_position": [ 273 ], "answer_end_position": [ 287 ] }
233
129,527
<doc id="129527" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=129527" title="ธนิตพล ไชยนันทน์">ธนิตพล ไชยนันทน์ นายธนิตพล ไชยนันทน์ (ชื่อเล่น : เดี๊ยบ) กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก เกิดวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เป็นบุตรของ นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และกรรมการสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นหลานของนายเทียม ไชยนันทน์ อดีต ส.ส.จังหวัดตาก หนึ่งในผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ชีวิตครอบครัว คู่สมรส นาง วรกันยา ณ ระนอง ไชยนันทน์ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา. นายธนิตพล ไชยนันทน์ สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ จากนั้นได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี École Supérieure d'Art de Nancy ประเทศฝรั่งเศส และปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงประวัติการทำงาน ประวัติการทำงาน. นายธนิตพล ไชยนันทน์ เริ่มเข้าสู่งานการเมืองโดยการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตาก พรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 เป็นกรรมาธิการแรงงานสภาผู้แทนราษฎร และเป็นเลขานุการคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล (วิปรัฐบาล) ในปี พ.ศ. 2551 (รัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ สภาผู้แทนราษฎร ในปี พ.ศ. 2554 เขาได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์เครื่องราชอิสริยาภรณ์</doc>
ภรรยาของนายธนิตพล ไชยนันทน์ คือใคร
{ "answer": [ "นาง วรกันยา ณ ระนอง ไชยนันทน์" ], "answer_begin_position": [ 461 ], "answer_end_position": [ 490 ] }
234
129,527
<doc id="129527" url="https://th.wikipedia.org/wiki?curid=129527" title="ธนิตพล ไชยนันทน์">ธนิตพล ไชยนันทน์ นายธนิตพล ไชยนันทน์ (ชื่อเล่น : เดี๊ยบ) กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก เกิดวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เป็นบุตรของ นายเทอดพงษ์ ไชยนันทน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และกรรมการสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นหลานของนายเทียม ไชยนันทน์ อดีต ส.ส.จังหวัดตาก หนึ่งในผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ชีวิตครอบครัว คู่สมรส นาง วรกันยา ณ ระนอง ไชยนันทน์ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา. นายธนิตพล ไชยนันทน์ สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ จากนั้นได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี École Supérieure d'Art de Nancy ประเทศฝรั่งเศส และปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงประวัติการทำงาน ประวัติการทำงาน. นายธนิตพล ไชยนันทน์ เริ่มเข้าสู่งานการเมืองโดยการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตาก พรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 เป็นกรรมาธิการแรงงานสภาผู้แทนราษฎร และเป็นเลขานุการคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล (วิปรัฐบาล) ในปี พ.ศ. 2551 (รัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ สภาผู้แทนราษฎร ในปี พ.ศ. 2554 เขาได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์เครื่องราชอิสริยาภรณ์</doc>
นายธนิตพล ไชยนันทน์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยอะไร
{ "answer": [ "มหาวิทยาลัยรามคำแหง" ], "answer_begin_position": [ 691 ], "answer_end_position": [ 710 ] }