image
imagewidth (px) 16
7k
| text
stringlengths 25
184k
| title
stringlengths 3
76
|
---|---|---|
กล่องข้อมูล ชีวประวัติ
| name = วัง จี-ว็อน
| image = (우먼센스 스타) 2018년 10월호 왕지원 (3).jpg
| caption =
| birth_date =
| birth_place = เกาหลีใต้
| occupation = นักแสดง, นักเต้นบัลเล่ต์
| years_active = 2010-ปัจจุบัน
| education = Royal Ballet School Korea National University of Arts|มหาวิทยาลัยศิลปะแห่งชาติเกาหลี - การเต้นรำ
| agent = SH Media Corp
| spouse =
| module =
'''วัง จี-ว็อน''' (; (เกิดเมื่อวันที่ วันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988) เป็นนักแสดงและนักบัลเล่ต์ชาวเกาหลีใต้
== อาชีพ ==
วังได้รับการฝึกฝนจาก Royal Ballet School ใน ประเทศอังกฤษ และศึกษาด้านการเต้นที่ Korea National University of Arts|มหาวิทยาลัยศิลปะแห่งชาติเกาหลี โดยเธอเป็นสมาชิกของ Korea National Ballet|คณะบัลเลต์แห่งชาติเกาหลี ในปี ค.ศ. 2009 วังเปิดตัวเธอประเดิมงานแสดงครั้งแรกในปี ค.ศ. 2012 และปรากฏตัวใน ละครเกาหลี หลายเรื่อง โดยเฉพาะ ''I Need Romance 3'' และ ''You Are My Destiny (2014 TV series)|You Are My Destiny''
ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2018 วังได้เซ็นสัญญากับ วายจีเอนเตอร์เทนเมนต์ ต่อมาเธอตัดสินใจไม่ต่อสัญญาและได้เซ็นสัญญากับ SH Media Corp
== ชีวิตส่วนตัว ==
เมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 2022 มีการยืนยันว่า วัง กำลังเตรียมตัวที่จะแต่งงานกับ พัก จง-ซ็อก นักบัลเลต์ชาวเกาหลีใต้ ทั้งคู่ได้แต่งงานกันในกรุงโซลเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022
== ผลงานการแสดง ==
=== ละครโทรทัศน์ ===
| class="wikitable"
|-
! ปี
! เรื่อง
! บทบาท
|-
| 2012
| ''Family (2012 TV series)|Family''
| ผู้สอน
|-
| rowspan="2"| 2013
| ''Good Doctor (South Korean TV series)|Good Doctor''
| คิม ซอน-จู
|-
| ''The Heirs (TV series)|The Heirs''
| ยัง ดา-คยอง (ตอนที่ 17, 19-20)
|-
| rowspan="3"| 2014
| ''I Need Romance 3''
| โอ เซ-รยอง
|-
| ''Another Parting''
| ซอ ฮา-นา
|-
| ''You Are My Destiny (2014 TV series)|You Are My Destiny''
| คัง เซ-รา
|-
| 2015
| ''Divorce Lawyer in Love''
| โจ ซู-อา
|-
| 2016
| ''Immortal Goddess''
| อี ยู-รี
|-
| 2017
| Hospital Ship (TV series)|''Hospital Ship''
| ชเว ยอง-อึน
|-
| 2018
| ''Still 17''
| คิม แท-ริน
|-
| 2022
| ''Never Give Up''
| ชา ยู-จิน
|-
|2024
|''My Sweet Mobster''
| จี-ว็อน (รับเชิญ, ตอนที่ 3)
|
=== ภาพยนตร์ ===
=== รายการวาไรตี้ ===
| class="wikitable"
|-
! ปี
! เรื่อง
! บทบาท
! scope="col" class="unsortable" |
|-
| 2017
| ''The Swan Club''
|rowspan=2| แคสต์ เมมเบอร์
|
|-
| 2023
| ''Same Bed, Different Dreams 2: You Are My Destiny''
|
|
== รางวัลและการเสนอชื่อเข้าชิง ==
| class="wikitable plainrowheaders sortable"
|+ชื่อของงานประกาศรางวัล ปีที่มอบรางวัล หมวดหมู่ ผู้เข้าชิง และผลการเสนอชื่อ
! scope="col" | งานประกาศรางวัล
! scope="col" | ปี
! scope="col" | หมวดหมู่
! scope="col" | ผู้เข้าชิง / ผลงาน
! scope="col" | ผลการเสนอชื่อ
! scope="col" class="unsortable" |
|-
! scope="row" rowspan="1" | MBC Drama Awards|เอ็มบีซี ดราม่า อวอร์ดส์
| style="text-align:center" rowspan="1" | 2017 MBC Drama Awards|2017
| รางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมในมินิซีรีส์
| rowspan="1" | ''Hospital Ship (TV series)|Hospital Ship''
|
| style="text-align:center" |
|-
|
==อ้างอิง==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*http://ygstage.com/yg-profile/about?star=wang-ji-won&profile_id=27105 Wang Ji-won ที่ วายจี เอ็นเตอร์เทนเมนท์
หมวดหมู่:นักแสดงหญิงชาวเกาหลีใต้
หมวดหมู่:นักแสดงละครโทรทัศน์หญิงชาวเกาหลีใต้
หมวดหมู่:นักแสดงภาพยนตร์หญิงชาวเกาหลีใต้
หมวดหมู่:ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยศิลปะแห่งชาติเกาหลี
หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ | วัง จี-ว็อน |
|
'''ไอตานา บอมมาติ กอนกา''' (ภาษากาตาลา|กาตาลา: Aitana Bonmatí Conca;เกิด 18 มกราคม ค.ศ. 1998) เป็นนักบอลหญิงอาชีพชาวสเปนเชื้อสายกาตาลา ซึ่งเล่นในตำแหน่งกองกลางให้กับสโมสรสโมสรฟุตบอลหญิงบาร์เซโลนา|บาร์เซโลน่าในลิกา เอเฟ|ลีกาเอฟและฟุตบอลหญิงทีมชาติสเปน เธอเคยเป็นตัวแทนของแคว้นกาตาลุญญาด้วย เธอได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในผู้เล่นฟุตบอลหญิงที่ดีที่สุด และเป็นหนึ่งในผู้เล่นที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล เธอได้รับรางวัลบัลลงดอร์และผู้เล่นหญิงยอดเยี่ยมของฟีฟ่า
Infobox football biography
|name=ไอตานา บอมมาติ
|image=Brann - Barça Femení CG3A5805 (cropped).jpg
|full_name=ไอตานา บอมมาติ กอนกา
|birth_name=ไอตานา บอมมาติ กีโดเน็ต
|birth_date=
|birth_place=แคว้นกาตาลุญญา, สเปน
|height=1.61 ม.
|position=กองกลาง
|currentclub=สโมสรฟุตบอลหญิงบาร์เซโลนา|บาร์เซโลน่า
|clubnumber=14
| youthyears1 = 2005–2009
| youthclubs1 = ริเบส
| youthyears2 = 2010–2012
| youthclubs2 = กูเบเยซ
| youthyears3 = 2012–2014
| youthclubs3 = สโมสรฟุตบอลหญิงบาร์เซโลนา|บาร์เซโลน่า
| years1 = 2014–2016
| clubs1 = สโมสรฟุตบอลหญิงบาร์เซโลนา เบ|บาร์เซโลน่า บี
| caps1 =
| goals1 =
| years2 = 2016–
| clubs2 = สโมสรฟุตบอลหญิงบาร์เซโลนา|บาร์เซโลน่า
| caps2 = 178
| goals2 = 60
| nationalyears1 = 2013–2015
| nationalteam1 = สเปนหญิง ยู17
| nationalcaps1 = 13
| nationalgoals1 = 3
| nationalyears2 = 2015–2017
| nationalteam2 = สเปนหญิง ยู19
| nationalcaps2 = 15
| nationalgoals2 = 6
| nationalyears3 = 2016–2018
| nationalteam3 = สเปนหญิง ยู20
| nationalcaps3 = 9
| nationalgoals3 = 2
| nationalyears4 = 2017–
| nationalteam4 = ฟุตบอลหญิงทีมชาติสเปน|สเปน
| nationalcaps4 = 65
| nationalgoals4 = 26
| nationalyears5 = 2017–2019
| nationalteam5 = ฟุตบอลหญิงทีมแคว้นกาตาลุญญา|กาตาลุญญา
| nationalcaps5 = 2
| nationalgoals5 = 1
บอมมาติอยู่กับบาร์เซโลนาตั้งแต่ปี 2012 และพัฒนาตัวเองผ่านลามาเซียมาเป็นเวลา 6 ปี เธอได้รับการเลื่อนตำแหน่งให้ไปร่วมทีมชุดใหญ่ของบาร์เซโลนาก่อนฤดูกาล 2016–17 และลงเล่นเป็นตัวสำรองให้กับสโมสรจนกระทั่งปีที่เธอแจ้งเกิดในฤดูกาล 2018–19 ในปี 2019 เธอลงเล่นเป็นตัวจริงในนัดชิงชนะเลิศยูฟ่าวีเมนส์แชมเปี้ยนส์ลีกครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของบาร์เซโลนา และต่อมาในปี 2019 เธอเริ่มต้นการแข่งขันยูฟ่าวีเมนส์แชมเปี้ยนส์ลีกนัดชิงชนะเลิศครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของบาร์เซโลน่า และต่อมาในปีนั้นก็ถูกเลือกให้เป็นนักเตะแห่งปีของแคว้นกาตาลุญญาเป็นครั้งแรก
หมวดหมู่:นักฟุตบอลหญิงทีมชาติสเปน|บอมมาติ | ฉบับร่าง:ไอตานา บอมมาติ |
|
กล่องข้อมูล ผู้ดำรงตำแหน่ง
| honorific_prefix =
| name = ซาบีดา ไทยเศรษฐ์
| native_name =
| native_name_lang =
| honorific_suffix =
| image =ซาบีดา ไทยเศรษฐ์.jpg
| image_size = 200px
| image_upright =
| smallimage =
| alt =
| caption =
| office =
| order = รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
| status =
| term_start = 3 กันยายน พ.ศ. 2567()
| term_end =
| alongside = ทรงศักดิ์ ทองศรีธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์
| subterm =
| monarch =
| president =
| governor_general =
| primeminister = แพทองธาร ชินวัตร
| headminister= อนุทิน ชาญวีรกูล
| taoiseach =
| chancellor =
| governor =
| chair =
| vicepresident =
| viceprimeminister =
| deputy =
| lieutenant =
| vicechair =
| succeeding =
| parliamentarygroup =
| constituency =
| majority =
| predecessor = ชาดา ไทยเศรษฐ์
| successor =
| prior_term =
| office2 =
| order2 =
| term_start2 =
| term_end2 =
| subterm2 =
| alongside2 =
| monarch2 =
| president2 =
| governor_general2 =
| primeminister2 =
| chancellor2 =
| taoiseach2 =
| governor2 =
| chair2 =
| vicepresident2 =
| viceprimeminister2 =
| deputy2 =
| lieutenant2 =
| vicechair2 =
| succeeding2 =
| predecessor2 =
| successor2 =
| parliamentarygroup2 =
| constituency2 =
| majority2 =
| prior_term2 =
| pronunciation =
| birth_name =
| birth_date =
| birth_place = จังหวัดอุทัยธานี ประเทศไทย
| death_date =
| death_place =
| death_cause =
| resting_place =
| resting_place_coordinates =
| citizenship =
| nationality =
| religion = ศาสนาอิสลาม|อิสลาม
| party = พรรคภูมิใจไทย|ภูมิใจไทย
| otherparty =
| height =
| spouse = อนันต์ ปาทาน (สมรส 2565)
| partner =
| relations =
| children =
| parents =
| mother = เตือนจิตรา แสงไกร
| father = ชาดา ไทยเศรษฐ์
| relatives =
| residence =
| education =
| alma_mater =
| occupation =
| profession =
| known_for =
| salary =
| net_worth =
| cabinet =
| committees =
| portfolio =
| awards =
| blank1 =
| data1 =
| blank2 =
| data2 =
| blank3 =
| data3 =
| blank4 =
| data4 =
| blank5 =
| data5 =
| signature =
| signature_alt =
| website =
| nickname =
| allegiance =
| branch =
| serviceyears =
| rank =
| unit =
| commands =
| battles =
| mawards =
| military_blank1 =
| military_data1 =
| military_blank2 =
| military_data2 =
| military_blank3 =
| military_data3 =
| military_blank4 =
| military_data4 =
| military_blank5 =
| military_data5 =
| module =
| module2 =
| module3 =
| module4 =
| module5 =
| footnotes =
'''ซาบีดา ไทยเศรษฐ์''' (เกิด 11 ตุลาคม พ.ศ. 2527) เป็นนักธุรกิจและนักการเมืองชาวไทย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย|รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 64|แพทองธาร ชินวัตร เป็นบุตรสาวของชาดา ไทยเศรษฐ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
== ประวัติ ==
ซาบีดาเกิดเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2527 เป็นบุตรสาวคนที่สองของชาดา ไทยเศรษฐ์ กับเตือนจิตรา แสงไกร มีพี่สาวและน้องสาวร่วมบิดามารดาจำนวนสองคน คือ ปานัดฌา ไทยเศรษฐ์ และอัลฑริกา ไทยเศรษฐ์
สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะนิติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และระดับปริญญาโทในคณะเดียวกันจากมหาวิทยาลัยเเห่งหนึ่งในลอนดอน สหราชอาณาจักร
ซาบีดาสมรสกับอนันต์ ปาทาน ชื่อเล่น ชาเดฟ โดยจัดงานฉลองมงคลสมรสเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2565 ณ โรงแรมบันยันทรี เกาะสมุย โดยมี ชวน หลีกภัย ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย|ประธานสภาผู้แทนราษฎรในขณะนั้น เป็นประธานในพิธี และมีบุคคลทางการเมืองเข้าร่วมงานเป็นจำนวนมาก
== การดำรงตำแหน่ง ==
=== ธุรกิจ ===
ซาบีดาเคยเป็นหุ้นส่วนร่วมกับอัลฑริกาผู้เป็นน้องสาว ในห้างหุ้นส่วนจำกัด ชฎาอุทัยธานีทัวร์ ประกอบธุรกิจขนส่งผู้โดยสารด้วยรถโดยสารประจำทาง นอกจากนี้ ซาบีดายังเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทอีก 4 แห่ง ในจำนวนนี้เป็นกรรมการด้วย 2 แห่ง คือ บริษัท ท่าทรายหนองมะโมง ชาชีพ จำกัด (ถือหุ้น 48%) ประกอบธุรกิจร้านขายปลีกวัสดุก่อสร้าง และ บริษัท พาวเวอร์.ธันเดอร์ จำกัด (ถือหุ้น 60%) ประกอบธุรกิจผลิตเครื่องจ่ายไฟฟ้า (เสร็จการชำระบัญชีแล้ว) ส่วนอีก 2 ธุรกิจที่ซาบีดาร่วมเป็นเจ้าของ ได้แก่ ร่วมเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนจำกัด เสืออุทัย (ร่วมลงหุ้น 33.33%) ประกอบธุรกิจก่อสร้างถนน สะพาน และอุโมงค์ (เสร็จการชำระบัญชีแล้ว) และเป็นผู้ถือหุ้นของ บริษัท ใจบุญ พร๊อพเพอร์ตี้ จำกัด (ถือหุ้น 5%) ประกอบธุรกิจซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ประเภทพักอยู่อาศัย ทั้งนี้ เธอได้ลาออกและโอนหุ้นออกจาก บจก.ท่าทรายหนองมะโมง ชาชีพ ก่อนเข้ารับตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยhttps://www.isranews.org/article/isranews/131518-invesnnds.html ‘ซาบีดา’ ลูกสาว ‘ชาดา ไทยเศรษฐ์’ โอนหุ้น บ.รับเหมาให้พวก ก่อนนั่ง มท.3 วันเดียว
=== มูลนิธิ ===
บุตรสาวของชาดาทั้ง 3 คนยังดำรงตำแหน่งในมูลนิธิอีก 2 แห่ง ได้แก่ มูลนิธิไทยเศรษฐ์ และ มูลนิธิอุทัยธานีเพื่อการพัฒนา ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือปัญหาต่าง ๆ ในจังหวัดอุทัยธานีเป็นหลัก โดยซาบีดาเป็นรองประธานกรรมการและเลขานุการทั้ง 2 มูลนิธิ
== งานการเมือง ==
ในส่วนของการทำงานการเมืองนั้น ซาบีดาเคยเป็นหนึ่งในคณะทำงานประจำรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย|รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในสมัยที่ชาดาบิดาของเธอดำรงตำแหน่ง และเป็นตัวแทนของบิดาในการทำงานและดูแลประชาชนในพื้นที่ ต่อมาเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2567 ชาดาได้ประกาศถอนตัวออกจากคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 64|รัฐบาลแพทองธาร ชินวัตร โดยจะให้ซาบีดาไปดำรงตำแหน่งเดิมของตน วันถัดจากนั้นมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งเธอเป็นรัฐมนตรี นับเป็นรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยที่เป็นสตรีมุสลิมคนแรก และเป็นบุคคลสกุลไทยเศรษฐ์คนที่สามที่ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ต่อจากชาดาและมนัญญา ไทยเศรษฐ์ ซึ่งเป็นอาของเธอ
== อ้างอิง ==
*
หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดอุทัยธานี
หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายปาทาน
หมวดหมู่:มุสลิมชาวไทย
หมวดหมู่:นักธุรกิจชาวไทย
หมวดหมู่:นักการเมืองสตรีชาวไทย
หมวดหมู่:นักการเมืองพรรคภูมิใจไทย
หมวดหมู่:บุคคลจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ | ซาบีดา ไทยเศรษฐ์ |
|
'''ไมดลัง''' (Ahom language|อาหม: 𑜉𑜩𑜓𑜝𑜪) หรือ '''ไมดาม''' หรือ '''มอยด้ำ'''การศึกษาประวัติศาสตร์ไทอาหม (อักษรโรมัน: Moidam หรือ maidam, อักษรเบงกอล|เบงกอล: মৈদাম) เป็นtumulus|เนินฝังศพแบบธรรมเนียมในAhom religion|ศาสนาอาหม ไมดลังหลวงแห่งCharaideo|จาไรเทวได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกในปี 2024https://whc.unesco.org/en/list/ World Heritage ListKalita 2023, https://m.timesofindia.com/city/guwahati/unesco-icomos-expert-arrives-at-assams-charaideo-district-vying-for-world-heritage-status/amp_articleshow/104246759.cms Times of India, Unesco ICOMOS Expert Arrives At Assam's Charaideo District, Vying For World Heritage Status ไมดลังมักได้รับการเปรียบเปรยกับปีรามิดอียิปต์หรือสุสานหลวงของราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงในจีนhttps://whc.unesco.org/en/tentativelists/5915/ Moidams – the Mound-Burial system of the Ahom Dynasty - UNESCO Desai, Raha (2004), page 450, https://books.google.com/books?id=BVp-AAAAMAAJ The Dying Earth People's Action, Nature's Reaction,ACB Publications,ISBN:9788187500216, 8187500212 ปัจจุบัน มีอยู่สี่เผ่าของอาหมที่ยังคงยึดถือปฏิบัติธรรมเนียมการสร้างไมดลัง ได้แก่ โมะหุง (Mo-Hung), โมะจาม (Mo-Cham), เจาดาง (Chaodang) และ โมะปลง (Mo-Plong)
พิธีศพของTai people|ชาวไตส่วนใหญ่เช่นAhom people|ชาวอาหมตามธรรมเนียมดั้งเดิมนิยมใช้การฝังศพ ซึ่งต่างกันกับพิธีศพแบบธรรมเนียมฮินดูที่นิยมใช้การcremation|เผาศพ ดังนั้น นับตั้งแต่กษัตริย์แห่งอาหมรับศาสนาฮินดูมาปฏิบัติ ก็เปลี่ยนมาเป็นการฝังอัฐิของตนภายใต้ไมดลังแทน ชุมชนชาวอาหมในรัฐอัสสัมของประเทศอินเดียในปัจจุบันยังคงยึดถือการฝังศพเป็นส่วนสำคัญของธรรมเนียมปฏิบัติของตน ไมดลังมีความสัมพันธ์อย่างมากกับคติบูชาบรรพชนของอาหม และเทศกาลMe-Dam-Me-Phi|เมด้ำเมผี
โครงสร้างของไมดลังประกอบด้วยห้องใต้ดินหนึ่งห้องเป็นอย่างน้อย และมีโครงสร้างใหญ่รูปกรวยครอบทับ ปกคลุมด้วยเนินดินทรงครึ่งทรงกลม บนยอดเป็นศาลาแบบเปิดที่เรียกว่า โจวจาฬี (''chow chali'') ส่วนที่ฐานมีกำแพงเตี้ยรูปแปดเหลี่ยมล้อมรอบ ความสูงของไมดลังขึ้นอยู่กับอำนาจอขงกษัตริย์ผู้สร้างไมดลังนั้น ๆ และส่วนมากไม่มีการระบุชื่อของกษัตริย์ที่สร้างหรือฝังร่างไว้ ยกเว้นแต่เพียงบางแห่ง เช่น ของGadadhar Singha|คฑาธร สิงห์ และ Rudra Singha|รุทร สิงห์ ไมดลังขนาดใหญ่โตส่วนใหญ่มาจากศตวรรษที่ 17-18 ตามธรรมเนียมแล้ว ผู้จะกระทำการฝังร่างของกษัตริย์หรือราชินีอาหมได้จะต้องมาจากเผ่าตระกูล ฆรฟลิยะ (Gharphaliya) หรือ ลขูรขาน (Lakhurakhan) เท่านั้น สำหรับการก่อสร้างนั้นจะต้องใช้เจ้าหน้าที่พิเศษในตำแหน่ง จางรุง ฟูกาน (Chang-Rung Phukan) ผู้เป็นหัวหน้าใหญ่ของสถาปนิกในอาณาจักรอาหม เท่านั้น
คำว่าไมดลังเป็นรูปย่อยของคำภาษาไต-อาหม ว่า ฟราง ไม ดลัง (Phrang-Mai-Dam; หรือ ผรัง ไม ด้ำ)https://sivasagar.assam.gov.in/document/brochure Brochure on moidams at Charaideo, Sivasagar, Government of Assam p. 04 โดยคำว่า ฟราง ไม (Phrang-Mai; หรือ ผรัง ไม) แปลว่าการ “ฝังไว้” และ ดลัง (Dam; หรือ ด้ำ) แปลว่าคนเสียชีวิตหรือวิญญาณบรรพชนhttps://sivasagar.assam.gov.in/document/brochure Brochure on moidams at Charaideo, Sivasagar, Government of Assam p. 04
ในระหว่างปี 2000-2002 Archaeological Survey of India|กรมสำรวจโบราณคดีอินเดีย สาขาคุวาหาฏี ได้ทำการขุดค้นไมดลังหมายเลขสองแห่งCharaideo|จาไรเทว ในศิวสาคร รัฐอัสสัม ซึ่งยังคงโครงสร้างของไมทลังอย่างดั้งเดิมอยู่ จากการขุดค้นนี้พบว่าห้องใต้ดินของไมดลังสร้างมาจากอิฐ และยังมีการพบรูบนเพดานซึ่งบ่งบอกว่าไมดลังนี้น่าจะโดนปล้นมาก่อนหน้าแล้ว กระนั้นภายในยังคงมีโบราณวัตถุมากมาย รวมถึงพบโครงกระดูกห้าร่าง ชิ้นส่วนงาช้างสำหรับเป็นเครื่องประดีบ ชิ้นส่วนไม้ Xorai|โศไรที่ออกแบบเป็นรูปเสา แผ่นแสดงตราของราชวงศ์อาหมทำจากงาช้าง ประติมากรรมรูปช้าง นกยูง และดอกไม้ เป็นต้น ทั้งนี้กรมโบราณคดีไม่สามารถระบุอายุที่แน่ชัดของไมดลังนี้ได้ แต่คาดว่าเก่าแก่กว่าศตวรรษที่ 18 และเชื่อว่าเป็นไมดลังของกษัติรย์แห่งอาหม Pramatta Singha|ปรมัตต์ สิงห์ หรือ Rajeswar Singha|ราเชศวร สิงห์
==อ้างอิง==
หมวดหมู่:แหล่งมรดกโลกในประเทศอินเดีย
หมวดหมู่:รัฐอัสสัม
หมวดหมู่:ชาวอาหม
หมวดหมู่:สุสาน | ไมดลัง |
|
Infobox person
| name = จอง อิน-ซอน
| image = 191113 정인선 (1).jpg
| imagesize =
| caption = จอง อิน-ซอน ปี ค.ศ. 2019
| birth_date =
| birth_place = Goyang|โกยัง, จังหวัดคย็องกี เกาหลีใต้
| education = Sejong University|มหาวิทยาลัยเซจง – ศิลปะภาพยนตร์
| occupation = นักแสดง
| yearsactive = 1995–ปัจจุบัน
| agent = H& Entertainment
| spouse =
| module = Infobox Korean name|child=yes|headercolor=transparent
| hangul = 정인선
| hanja =
| rr = Jeong In-seon
| mr = Chŏng Insŏn
'''จอง อิน-ซอน''' (, เกิด 25 เมษายน ค.ศ. 1991) เป็นนักแสดงชาวเกาหลีใต้
==ผลงาน==
===ภาพยนตร์===
| class="wikitable sortable plainrowheaders"
|-
! scope="col" | ปี
! scope="col" | ชื่อเรื่อง
! scope="col" | บทบาท
! scope="col" | หมายเหตุ
! scope="col" class="unsortable" |
|-
! scope="row"| 2002
| ''The Beauty in Dream'' || ยูมี || ||
|-
! scope="row"| 2003
| ''Memories of Murder'' || || ||
|-
! scope="row"| 2004
| ''Au Revoir, UFO'' || คย็องอู (ตอนเด็ก) || ||
|-
! scope="row"| 2010
| ''Cafe Noir'' || || ||
|-
! scope="row"| 2013
| ''Horror Stories 2'' || กิล ซอน-จู || ||
|-
! scope="row" rowspan=2|2014
| ''Han Gong-ju'' || อึน-ฮี || ||
|-
| ''Gyeongju (film)|Gyeongju'' || โจ ฮย็อน-จอง || ||
|-
! scope="row"|2016
|''Open Your Eyes''
|
|
|
|-
! scope="row"| 2018
|''Night and Fog in Zona''|| || การปรากฏตัวพิเศษ ||
|-
! scope="row"| 2023
| ''My Heart Puppy'' || ซ็อง-กย็อง || ||
|
=== ละครโทรทัศน์ ===
| class="wikitable sortable plainrowheaders"
|-
! scope="col" | ปี
! scope="col" | ชื่อเรื่อง
! scope="col" | บทบาท
! scope="col" | หมายเหตุ
! scope="col" class="unsortable" |
|-
! scope="row"| 1998
| ''Soonpoong Clinic''|| อี เซ-มินา || ||
|-
! scope="row"| 1999
| ''KBS TV Novel: You'' || || ||
|-
! scope="row"| 2000
| ''Kaist''|| || ||
|-
! scope="row"| 2001
| ''On the Flowerbed'' || โด อา-รท || ||
|-
! scope="row" rowspan=3| 2002
| ''Man in Crisis'' || อี ยอ-รัม || ||
|-
| ''Magic Kid Masuri'' || ฮัน เซ-อึน || ||
|-
| ''Man of the Sun, Lee Je-ma'' || กู วูน-ย็อง || ||
|-
! scope="row" rowspan=2|2003
| ''Drama City'' – "I Want To Go Home" || || ละครฉากเดียว ||
|-
| ''แดจังกึม จอมนางแห่งวังหลวง'' || || ||
|-
! scope="row" rowspan=2|2004
| ''The Age of Heroes''|| ช็อน แท-ซุก || ||
|-
| ''There's Light at the Tip of My Fingernail'' || รี ซึล-กี || ||
|-
! scope="row"| 2008
| ''My Sweet Seoul'' || || ||
|-
! scope="row"| 2011
| ''Original Fairytale'' || || ||
|-
! scope="row"| 2013
| ''Basketball (TV series)|Basketball'' || ฮง บย็อ-รี || ||
|-
! scope="row" rowspan=2|2014
| ''นานแค่ไหน ก็จะรัก'' || คัง ฮัม-โช || ||
|-
| ''KBS Drama Special'' – "The Girl Who Became a Photo" || มิน เซ-ย็อง || ละครฉากเดียว ||
|-
! scope="row"| 2016
| ''คำสาปรักเจ้าหญิงแม่มด'' || แฮรัน || ||
|-
! scope="row" rowspan=2|2017
| ''Naked Fireman'' || ฮัน จิน-อา || ||
|-
| ''ปริศนาจิตเชื่อมโลก'' || พัก มิน-ย็อง || ||
|-
! scope="row" rowspan=2| 2018
| ''เกสต์เฮาส์ป่วน ก๊วนไวกีกิ''|| ฮัน ยุน-อา || ||
|-
| ''สายลับข้างบ้าน'' || โค เอ-ริน || ||
|-
! scope="row"| 2019
| ''Psychopath Diary'' || ซิม โบ-คย็อง || ||
|-
! scope="row"| 2021–2022
| ''Let Me Be Your Knight''
| อิน ยุน-จู / คัง ซ็อน-จู
|
|
|-
! scope="row" | 2024
| ''DNA Lover''
| ฮัน โซ-จิน
|
|
! scope="row" | 2024
| ''รักนี้ DNA กำหนด''
| ฮัน โซ-จิน
|
|
|
=== เว็บซีรีส์===
| class="wikitable sortable plainrowheaders"
|-
! scope="col" | ปี
! scope="col" | ชื่อ
! scope="col" | บทบาท
! scope="col" class="unsortable" |
|-
! scope="row" | 2021
| ''How to Be Thirty''
| ซอ จี-ว็อน
|
|-
|
===รายการโทรทัศน์===
| class="wikitable sortable plainrowheaders"
|-
! scope="col" | ปี
! scope="col" | ชื่อ
! scope="col" | บทบาท
! scope="col" | หมายเหตุ
! scope="col" class="unsortable" |
|-
! scope="row" |2019–2021
| ''Baek Jong-won's Alley Restaurant'' || เจ้าภาพร่วม || ตอนต่าง ๆ 60–168 ||
|
===การปรากฏตัวในมิวสิควิดีโอ===
|class="wikitable sortable plainrowheaders"
|-
! scope="col" | ปี
! scope="col" |ชื่อ
! scope="col" |นักร้อง
! scope="col" class="unsortable" |
|-
! scope="row" | 2019
| 혼자 (Alone) || กัมมี (นักร้อง)|กัมมี||
|
== ทูต ==
* Public Relations Ambassador for the 41st International Contemporary Dance Festival (2022)|ทูตประชาสัมพันธ์งานเทศกาลเต้นรำร่วมสมัยนานาชาติครั้งที่ 41 (ปี 2022)
== รางวัลและการเสนอชื่อ ==
| class="wikitable plainrowheaders sortable"
|+ ชื่อของพิธีมอบรางวัล, ปีที่มอบรางวัล, หมวดหมู่, ชื่อผู้ได้รับรางวัล, และผลการเสนอชื่อ
! scope="col" | พิธีมอบรางวัล
! scope="col" | ปี
! scope="col" | หมวดหมู่
! scope="col" | ผู้ได้รับรางวัล / ผลงาน
! scope="col" | ผล
! scope="col" class="unsortable" |
|-
! scope="row" |เอเชียอาร์ติสต์อะวอดส์
| 2018
| ไรซิ่ง สตาร์ อะวอดส์
| ''Welcome to Waikiki'' & ''My Secret Terrius''
|
|
|-
! scope="row"|เกาหลี คอนเทมโพรารี แดนเซอร์ส ไนท์
| 2022
| สเปเชียล แอชชีฟเมนต์ อะวอดส์
| จอง อิน-ซอน
|
|
|-
! scope="row" | MBC Drama Awards|เอ็มบีซี ดราม่า อวอร์ด
|2018 MBC Drama Awards|2018
| เอ็กเซลเลนซ์ อะวอร์ด แอคทริส อิน อะ เวนส์เดย์-เธิร์สเดย์ ดราม่า
| ''My Secret Terrius''
|
|
|-
! scope="row" rowspan="2" | SBS Entertainment Awards|เอสบีเอส เอนเตอร์เทนเมนต์ อะวอดส์
| 2019 SBS Entertainment Awards|2019
| รุกกี้ อะวอร์ด อิน ฟีเมล แคทเทอกอรี
| rowspan="2" | ''Baek Jong-won's Alley Restaurant''
|
|
|-
| 2020 SBS Entertainment Awards|2020
| เอ็กเซลเลนซ์ อะวอร์ด อิน เรียลลิตี้ แคทเทอกอรี
|
|
|
==อ้างอิง==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*
*
*
*
หมวดหมู่:นักแสดงหญิงชาวเกาหลีใต้ในศตวรรษที่ 21
หมวดหมู่:นักแสดงหญิงชาวเกาหลีใต้ในศตวรรษที่ 20
หมวดหมู่:นักแสดงเด็กหญิงชาวเกาหลีใต้
หมวดหมู่:นักแสดงภาพยนตร์หญิงชาวเกาหลีใต้
หมวดหมู่:นักแสดงละครโทรทัศน์หญิงชาวเกาหลีใต้
หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2534
หมวดหมู่:CS1 แหล่งที่มาภาษาเกาหลี (ko)
หมวดหมู่:บทความที่มีข้อความภาษาเกาหลี | จอง อิน-ซอน |
|
กล่องข้อมูล ชีวประวัติ
| name = พัก ซัง-นัม
| image = 200927 Park Sang-nam.png
| image_upright = 1.15
| landscape =
| alt =
| caption = พัก ในเดือน กันยายน ค.ศ. 2020
| birth_date =
| birth_place = เกาหลีใต้
| education =
| alma_mater =
| occupation = นักแสดง
| years_active =
| agent = Mask Studio
| signature =
| signature_alt =
| module =
'''พัก ซัง-นัม''' (; เกิดเมื่อวันที่ 29 มกราคม 1994) เป็นนักแสดงชาวเกาหลีใต้ภายใต้สังกัด Mask Studio
==อาชีพ==
เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 2018 พัก ซัง-นัม ได้เซ็นสัญญาเอ็กซ์คลูซีฟกับ SidusHQ
ก่อนหน้านี้เขาเคยปรากฏตัวในผลงานต่าง ๆ เช่น ละครโทรทัศน์เรื่อง ''Hello, My Twenties!|สาวไส วัยว้าวุ่น'' (2016), ''You Are My Spring|เธอคือรักที่ผลิบาน'' (2021), ''Rookie Cops|ตำรวจ มือใหม่'' (2022), ซีรีส์เว็บดราม่าเรื่อง ''Twenty Twenty'' (2020), ''Scripting Your Destiny'' (2021) และ ''Josee, the Tiger and the Fish''
เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024 Mask Studio ได้ประกาศข่าวการเซ็นสัญญาเอ็กซ์คลูซีฟกับพัก ซัง-นัม
== ผลงาน ==
=== ภาพยนตร์ ===
| class="wikitable plainrowheaders sortable"
|-
! scope="col" | ปี
! scope="col" | ชื่อ
! scope="col" | บทบาท
! scope="col" class="unsortable" |
|-
! scope="row" | 2021
| ''I Bet Everything''
| ชา คี-ซ็อง
| style="text-align:center" |
|-
! scope="row" | 2023
| ''The Roundup: No Way Out''
|
| style="text-align:center" |
|-
! scope="row" | 2024
| ''Daechi-dong Scandal''
| คี แฮง
| style="text-align:center" |
|
=== ละครโทรทัศน์ ===
| class="wikitable plainrowheaders sortable"
|-
! scope="col" | ปี
! scope="col" | ชื่อ
! scope="col" | บทบาท
! scope="col" class="unsortable" |
|-
! scope="row" | 2020
| ''Twenty Twenty''
| จู ฮา-จุน
| style="text-align:center" |
|-
! scope="row" | 2021
| ''I Bet Everything''
| ชา คี-ซอง
| style="text-align:center" |
|-
! scope="row" | 2023
| ''The Heavenly Idol''
| ซา คัม-แจ
| style="text-align:center" |
|-
! scope="row" | 2024
| ''My Merry Marriage''
| กู ดัน-ซู
| style="text-align:center" | Cite web|title='재벌 3세' 박상남, 소꿉친구 박하나와 재회 ('결혼하자 맹꽁아!')|trans-title='Chaebol 3rd Generation' Park Sang-nam, Reunites with Childhood Friend Park Ha-na ('Let's Get Married, Frog!')|url=https://m.entertain.naver.com/article/109/0005149860|via=Naver|publisher=|language=ko|last=Jang|first=Woo-young|date=September 4, 2024|access-date=September 4, 2024
|
=== ซีรีส์เว็บ ===
| class="wikitable plainrowheaders sortable"
|-
! scope="col" | ปี
! scope="col" | ชื่อ
! scope="col" | บทบาท
! scope="col" class="unsortable" |
|-
! scope="row" | 2018
| ''No Time for Love''
| ชา จุน-อิล
| style="text-align:center" |
|-
! scope="row" | 2019
| ''Stranger Kim''
| คิม โย-ฮัน
| style="text-align:center" |
|-
! scope="row" | 2021
| ''Don't Swallow It Today, Too''
| โด คัง-ซู
| style="text-align:center" |
|
== อ้างอิง ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*
*
*
หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2537
หมวดหมู่:นักแสดงละครโทรทัศน์ชายชาวเกาหลีใต้
หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ | พัก ซัง-นัม |
|
Infobox officeholder
| native_name =
| native_name_lang = ar
| image = AbdelFattah Elsisi (cropped) (b).jpg
| caption = ภาพถ่ายอย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 2017
| office = ประธานาธิบดีอียิปต์
| order = คนที่ 6
| primeminister = Ibrahim MahlabSherif Ismailมุศเฏาะฟา มัดบูลี
| term_start = 8 มิถุนายน ค.ศ. 2014
| term_end =
| predecessor = มุฮัมมัด มุรซีอัดลี มันศูร (ชั่วคราว)
| successor =
| office1 = นายกรัฐมนตรีอียิปต์|รองนายกรัฐมนตรีอียิปต์
| primeminister1 = Hazem al-BeblawiIbrahim Mahlab
| term_start1 = 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2013
| term_end1 = 26 มีนาคม ค.ศ. 2014
| predecessor1 =
| successor1 =
| office2 = ประธานสหภาพแอฟริกา
| order2 = คนที่ 17
| term_start2 = 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2019
| term_end2 = 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020
| predecessor2 = พอล คากาเม
| successor2 = ไซริล รามาโฟซา
| office3 = รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (อียิปต์)|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของอียิปต์
| primeminister3 = ฮิชาม ก็อนดีลHazem al-BeblawiIbrahim Mahlab
| term_start3 = 12 สิงหาคม ค.ศ. 2012
| term_end3 = 26 มีนาคม ค.ศ. 2014
| predecessor3 = มุฮัมมัด ฮุซัยน์ ฏ็อนฏอวี
| successor3 = Sedki Sobhy
| office4 = กองทัพอียิปต์|ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของอียิปต์
| term_start4 = 12 สิงหาคม ค.ศ. 2012
| term_end4 = 26 มีนาคม ค.ศ. 2014
| predecessor4 = มุฮัมมัด ฮุซัยน์ ฏ็อนฏอวี
| successor4 = Sedki Sobhy
| office5 = ผู้อำนวยการหน่วยข่าวกรองและการลาดตระเวนทางทหาร (อียิปต์)|หน่วยข่าวกรองทางทหารของอียิปต์
| term_start5 = 3 มกราคม ค.ศ. 2010
| term_end5 = 12 สิงหาคม ค.ศ. 2012
| predecessor5 = Murad Muwafi
| successor5 = Mahmoud Hegazy
| birth_name = อับดุลฟัตตาห์ ซะอีด ฮุซัยน์ เคาะลีล อัสซีซี
| birth_date =
| birth_place = ไคโร สาธารณรัฐอียิปต์ (ค.ศ. 1953–1958)|ประเทศอียิปต์
| death_date =
| death_place =
| party = นักการเมืองอิสระ|อิสระ
| spouse =
| children = 4 รวมMahmoud el-Sisi|แมฮ์มูด
| parents = Said Hussein Khalili al-SisiSoad Mohamed
| alma_mater = โรงเรียนนายร้อยทหารบกอียิปต์
| signature = إمضاء الرئيس عبد الفتاح السيسي - Signature abdel fatah sisi Image.jpg
| branch =
| serviceyears = ค.ศ. 1977–2014
| rank = ยศทหารอียิปต์|จอมพล
| unit = ทหารราบ
| battles =
'''อับดุลฟัตตาห์ อัสซีซี'''efn|ชื่อเต็ม: อับดุลฟัตตาห์ ซะอีด ฮุซัยน์ เคาะลีล อัสซีซี; , (; ; เกิด 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954) เป็นนักการเมืองและอดีตนายทหารชาวอียิปต์ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีอียิปต์|ประธานาธิบดีคนที่หกและคนปัจจุบันของอียิปต์ตั้งแต่ ค.ศ. 2014 โดยก่อนการลาออกจากราชการในตำแหน่งจอมพลของกองทัพอียิปต์ อัสซีซีเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีอียิปต์ระหว่าง ค.ศ. 2013 ถึง ค.ศ. 2014, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมระหว่าง ค.ศ. 2012 ถึง ค.ศ. 2013 และผู้อำนวยการหน่วยข่าวกรองทางทหารของอียิปต์ระหว่าง ค.ศ. 2010 ถึง ค.ศ. 2012 อัสซีซีได้รับการเลื่อนยศเป็นจอมพลในเดือนมกราคม ค.ศ. 2014
หลังจากการปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554|การปฏิวัติอียิปต์ใน ค.ศ. 2011 และการเลือกตั้งมุฮัมมัด มุรซีเป็นประธานาธิบดีอียิปต์ อัสซีซีได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมโดยมุรซีเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 2012 และต่อมาอัสซีซีได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพอียิปต์ อัสซีซีมีส่วนเกี่ยวข้องในการก่อการรัฐประหารในประเทศอียิปต์ พ.ศ. 2556|รัฐประหารต่อประธานาธิบดีมุรซีเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 2013 เพื่อตอบสนองต่อการประท้วงต่อต้านการปกครองของมุรซี มุรซีถูกแทนที่โดยประธานาธิบดีรักษาการ (อัดลี มันศูร) ซึ่งแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ การเดินขบวนประท้วงและการปะทะกันอย่างรุนแรงระหว่างผู้สนับสนุนมอร์ซีและกองกำลังรักษาความปลอดภัยส่งผลให้เกิดการสลายการชุมนุมของผู้สนับสนุนมุรซีในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013 ซึ่งส่งผลให้เกิดการปะทะกันอย่างรุนแรงจนมีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก
วันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 2014 อัสซีซีได้ลาออกจากราชการทหารและประกาศว่าเขาจะลงสมัครเป็นผู้สมัครในการเลือกตั้งประธานาธิบดีอียิปต์ ค.ศ. 2014|การเลือกตั้งประธานาธิบดี ค.ศ. 2014 ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 26–28 พฤษภาคมของปีเดียวกัน ผลการเลือกตั้งปรากฏว่าอัสซีซีได้รับชัยชนะอย่างถล่มทลายด้วยคะแนนเสียงร้อยละ 97 และอัสซีซีเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีอียิปต์เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 2014
เขาเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นสมัยที่สามเมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 2024 หลังจากได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งประธานาธิบดีอียิปต์ ค.ศ. 2023|การเลือกตั้งประธานาธิบดีเมื่อ ค.ศ. 2023
== เชิงอรรถ ==
== อ้างอิง ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*http://www.sis.gov.eg/En/Templates/Articles/tmpArticles.aspx?ArtID=68083 Egyptian State Information Service CV
*https://web.archive.org/web/20170227163604/http://www.mmc.gov.eg/ Egyptian Armed Forces Commander-in-chief CV
*http://gate.ahram.org.eg/News/240316.aspx El-Sisi is the new commander-in-chief of the Egyptian armed forces
*https://web.archive.org/web/20140514121700/http://www.saudigazette.com.sa/index.cfm?method=home.regcon&contentid=20140514205035 On the future First Lady
หมวดหมู่:บุคคลจากไคโร
หมวดหมู่:ประธานาธิบดีอียิปต์
หมวดหมู่:นักการเมืองอียิปต์ | ฉบับร่าง:อับดุลฟัตตาห์ อัสซีซี |
|
'''อาโมส''' (,; – ''ʿĀmōs'') เป็นหนึ่งในผู้เผยพระวจนะน้อย|สิบสองผู้เผยพระวจนะน้อยในคัมภีร์ฮีบรูและพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ คัมภีร์ไบเบิลระบุว่าอาโมสเป็นคนร่วมสมัยกับโฮเชยาและอิสยาห์ และกระทำพันธกิจในช่วงประมาณ 760–755 ปีก่อนคริสตกาลในรัชสมัยของเยโรโบอัมที่ 2 แห่งราชอาณาจักรอิสราเอล (สะมาเรีย) และอุสซียาห์แห่งราชอาณาจักรยูดาห์ อาโมสอาศัยในราชอาณาจักรยูดาห์ทางใต้ แต่เทศนาในราชอาณาจักรอิสราเอล (สะมาเรีย)|ราชอาณาจักรอิสราเอลทางเหนือ ความโดดเด่นของอาโมสคือการพูดต่อต้านความเหลื่อมล้ำระหว่างคนรวยและคนจนที่เพิ่มมาขึ้น โดยมีประเด็นในเรื่องความยุติธรรม พระอำนาจโดยสมบูรณ์ของพระเจ้า และการพิพากษาของพระเจ้า หนังสืออาโมสถือกันว่าเป็นงานเขียนของอาโมส ในยุคปัจจุบัน นักวิชาการสงสัยมากขึ้นถึงการนำเสนอชีวประวัติและภูมิหลังของอาโมสในหนังสืออาโมสCouey, J. Blake. The Oxford Handbook of the Minor Prophets. p. 424–436. 2021. “In more recent scholarship, one finds greater skepticism about historical reconstructions of Amos’s prophetic career. The superscription and Amaziah narrative are increasingly viewed as late, which raises questions about their historical validity (Coggins 2000, 72, 142–143; Eidevall 2017, 3–7). The vision reports may also belong to later stages of the book’s development (Becker 2001; Eidevall 2017, 191–193). Doubts about the existence of a united monarchy under King David undermine arguments that Amos advocated for a reunified Davidic kingdom (Davies2009, 60; Radine2010, 4). These questions reflect larger scholarly trends, in which prophetic books are increasingly viewed as products of elite scribes. Even if they reflect historical prophetic activity, one cannot uncritically equate the prophet with the author. There may in fact have been no “writing prophets,” in which case Amos loses one source of his/its traditional prestige as the first of this group. Further complicating the matter, the portrait of prophets like Amos as proclaimers of judgment contrasts starkly with surviving records of prophetic activity from other ancient Near Eastern cultures, in which prophets consistently support the state (Kratz 2003).”
== อ้างอิง ==
== บรรณานุกรม ==
*
== อ่านเพิ่มเติม ==
* Anderson, Bernhard W. & Foster R. McCurley ''The Eighth Century Prophets: Amos, Hosea, Isaiah, Micah'' Wipf and Stock: 2003.
* Anderson, Francis I. & David Noel Freedman, ''Amos'', The Anchor Yale Bible, vol. 24A; New Haven: Yale University Press, 2008.
* Rosenbaum, Stanley Ned ''Amos of Israel: A New Interpretation'' Georgia: Mercer University Press: 1990.
:'''Regarding the ''marzēaḥ'' festival:'''
*
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*http://ocafs.oca.org/FeastSaintsViewer.asp?SID=4&ID=1&FSID=101724 The Holy Prophet Amos – Orthodox icon and synaxarion
*http://hypertextbible.org/amos/amos/index.htm Hypertext bible commentary: Amos
*
หมวดหมู่:บุคคลในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล
หมวดหมู่:นักบุญจากพันธสัญญาเดิม
หมวดหมู่:บุคคลจากหนังสืออาโมส | อาโมส |
|
Infobox saint
|name= โอบาดีห์
|death_date= ไม่ทราบ
|feast_day=19 พฤศจิกายน (คริสตจักรคาทอลิก, ลูเทอแรน และอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) 15 Tobi (Coptic)
|venerated_in=ศาสนายูดาห์ศาสนาคริสต์
ศาสนาอิสลาม
|image=Obadiah (Овдий).jpg
|alt=French manuscript illumination of the prophet Obadiah
|caption=รูปของผู้เผยพระวจนะโอบาดีห์ในรัสเซียเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18
|birth_place=
|death_place=
|titles= ผู้เผยพระวจนะ
|attributes=ผู้เผยพระวจนะผู้ที่นิ้วชี้ของมือข้างขวาชี้ขึ้นด้านบน
|patronage=
|major_shrine=
|major_works=หนังสือโอบาดีห์
'''โอบาดีห์''' (, ; – ''ʿŌḇaḏyā'' หรือ – ''ʿŌḇaḏyāhū''; "ผู้รับใช้หรือทาสของพระยาห์เวห์|ยาห์") หรือ '''Abdias''' เป็นผู้เผยพระวจนะในคัมภีร์ไบเบิล ตามประเพณีนิยมถือว่าผู้เผยพระวจนะโอบาดีห์เป็นผู้เขียนของหนังสือโอบาดีห์
== อ้างอิง ==
== บรรณานุกรม ==
*
* Frederick George Holweck|Holweck, F. G., ''A Biographical Dictionary of the Saints''. St. Louis, MO: B. Herder Book Co., 1924.
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*http://ocafs.oca.org/FeastSaintsViewer.asp?SID=4&ID=1&FSID=103326 Prophet Obadiah (Abdias) Orthodox icon and synaxarion
หมวดหมู่:นักบุญจากพันธสัญญาเดิม
หมวดหมู่:บุคคลจากหนังสือโอบาดีห์ | โอบาดีห์ |
|
Infobox person
| name = มีอา มัลโควา
| honorific_suffix =
| image = Mia Malkova 2016.jpg
| caption = มัลโควาใน ค.ศ. 2016
| birth_name =
| birth_date =
| birth_place =
| spouse =
| height = 5 ft 7 in
| occupation = นักแสดงภาพยนตร์ลามกการถ่ายทอดสดวิดีโอเกมผ่านสัญญาณต่อเนื่อง|ไลฟ์สตรีมเมอร์
| years_active =
| alias =
'''มีอา มัลโควา''' (; 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1992 – ) เป็นนักแสดงภาพยนตร์ลามกชาวอเมริกัน เธอได้รับรางวัลหลายรางวัล รวมทั้งรางวัลเอวีเอ็น ค.ศ. 2014 สาขาดาราสาวหน้าใหม่ยอดเยี่ยม และรางวัลเอกซ์บิซ ค.ศ. 2017 สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นอกจากนี้ มัลโควายังได้แสดงในภาพยนตร์สารคดีสั้นบทพูดเดี่ยวแนวลามกอนาจารของอินเดีย และภาพยนตร์ระทึกขวัญแนวอีโรติกของอินเดีย ซึ่งกำกับโดยราม โคปาล วัรมา ส่วนใน ค.ศ. 2022 เธอเริ่มการถ่ายทอดสดวิดีโอเกมผ่านสัญญาณต่อเนื่อง|สตรีมเกมวิดีโอแบบสดบนทวิตช์ ซึ่งมัลโควาได้รับการยกให้เป็นหนึ่งในนักแสดงหนังโป๊ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก
== ชีวิตส่วนตัว ==
บ้านเกิดของมัลโควาอยู่ที่ปาล์มสปริงส์ และจัสติน ฮันต์ พี่ชายของเธอก็เป็นนักแสดงหนังโป๊เช่นกัน รัฐแคลิฟอร์เนีย นอกจากนี้ เธอได้ระบุว่าเธอเป็นอเทวนิยม|ผู้ที่เชื่อว่าพระเจ้าไม่มีอยู่จริง
== อ้างอิง ==
หมวดหมู่:นักแสดงหนังโป๊หญิงชาวอเมริกัน
หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายเยอรมัน
หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายไอริช
หมวดหมู่:ผู้ถืออเทวนิยมชาวอเมริกัน | มีอา มัลโควา |
|
Infobox football biography
| name = ฮวน โรมัน ริเกลเม
| image = Juan Román Riquelme - 2019.jpg
| caption = ริเกลเมในปี 2019
| fullname = ฮวน โรมัน ริเกลเม
| birth_date =
| birth_place = ซาน เฟร์นันโด, อาร์เจนตินา
| height =
| position = กองกลางตัวรุก#กองกลางตัวรุก|กองกลางตัวรุก
| currentclub = กลุบอัตเลติโกโบกายูนิออร์ส (ประธานสโมสร)
'''ฮวน โรมัน ริเกลเม''' (, เกิด 24 มิถุนายน 1978) เป็นอดีตนักฟุตบอลอาชีพชาวอาร์เจนตินาและปัจจุบันเป็นประธานสโมสรกลุบอัตเลติโกโบกายูนิออร์ส สโมสรที่เขาใช้เวลาส่วนใหญ่ในการเล่นอาชีพhttps://www.bocajuniors.com.ar/el-club/autoridades Autoridades on Boca Juniors website, 9 January 2020 เขาได้รับการยกย่องจากนักข่าว ผู้เล่น และโค้ชหลายคนว่าเป็นหนึ่งในเพลย์เมกเกอร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล
ริเกลเมเล่นในตำแหน่งกองกลาง#กองกลางตัวสร้างสรรค์เกม|กองกลางตั้งแต่ปี 1996 จนถึงปี 2015 โดยเริ่มต้นอาชีพค้าแข้งกับกลุบอัตเลติโกโบกายูนิออร์ส ซึ่งเขาคว้าแชมป์ไปได้ 11 รายการรวมถึงแชมป์ปริเมราดิบิซิออนเดอาร์เฆนตินา 5 สมัย แชมป์โกปาลิเบร์ตาโดเรส 3 สมัย และแชมป์อินเตอร์คอนติเนนตัล คัพ 1 สมัย ในปี 2002 เขาย้ายไปเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาของสเปน แต่ช่วงเวลาของเขากับสโมสรนั้นสั้นมากเนื่องจากความสัมพันธ์ที่ไม่ค่อยดีกับลูวี ฟัน คาล ซึ่งเป็นหัวหน้าโค้ชในขณะนั้น ต่อมา ริเกลเมถูกยืมตัวไปเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลบิยาร์เรอัล|บิยาร์เรอัล สโมสรคู่แข่งในลาลิกา และสโมสรก็ได้ซื้อตัวเขาไปร่วมทีมแบบถาวรในเวลาต่อมา ริเกลเมได้สร้างผลงานที่โดดเด่นให้กับบิยาร์เรอัล โดยพาทีมคว้าอันดับ 3 ในลาลิกา ฤดูกาล 2004–2005 และพาทีมเข้าสู่รอบรองชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2005–06|ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกในฤดูกาลถัดมา ซึ่งเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสโมสร
ริเกลเมย้ายกลับมาที่โบคา จูเนียร์สในปี 2007 ด้วยสัญญายืมตัว ซึ่งเขาคว้าแชมป์โกปาลิเบร์ตาโดเรสได้อีกครั้ง และจบฤดูกาลด้วยการเป็นดาวซัลโวและผู้เล่นทรงคุณค่าของการแข่งขัน
== อ้างอิง ==
หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2521
หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
หมวดหมู่:นักฟุตบอลชายชาวอาร์เจนตินา
หมวดหมู่:นักฟุตบอลชายทีมชาติอาร์เจนตินา
หมวดหมู่:กองกลางฟุตบอลชาย
หมวดหมู่:ผู้เล่นกลุบอัตเลติโกโบกายูนิออร์ส
หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา
หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลบิยาร์เรอัล
หมวดหมู่:ผู้เล่นในปริเมราดิบิซิออนเดอาร์เฆนตินา
หมวดหมู่:ผู้เล่นในลาลิกา | ฮวน โรมัน ริเกลเม |
|
กล่องข้อมูล สัตว์
|name=หมูเด้ง
|image=Moo deng หมูเด้ง (2024-09-11) - img 02.jpg
|caption=
|species=''ฮิปโปโปเตมัสแคระ|Choeropsis''
|breed =ฮิปโปโปเตมัสแคระ
|sex=เมีย
|birth_date= ()
|birth_place=สวนสัตว์เปิดเขาเขียว อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย
| nationality = ประเทศไทย|ไทย
| years_active = พ.ศ. 2567–ปัจจุบัน
| known =
| owner = องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
| parents = โทนี่ (พ่อ)โจน่า (แม่)
'''หมูเด้ง''' เป็นฮิปโปโปเตมัสแคระเพศเมียที่อาศัยอยู่ในสวนสัตว์เปิดเขาเขียว อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ซึ่งมีชื่อเสียงขึ้นในเดือนกันยายน พ.ศ. 2567 เมื่อมีภาพของหมูเด้งเป็นอินเทอร์เน็ตมีม
== ประวัติ ==
หมูเด้ง เกิดเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 มีพ่อแม่คือโทนี่และโจน่า ชื่อของหมูเด้งได้รับเลือกผ่านการลงคะแนนของประชาชน โดยมีผู้ลงคะแนนให้กับชื่อ "หมูเด้ง" มากกว่า 20,000 คน หมูเด้งมีพี่หกตัว รวมถึง "หมูตุ๋น" ซึ่งเป็นฮิปโปโปเตมัสแคระที่ได้รับความนิยมของสวนสัตว์เปิดเขาเขียวเช่นกัน
== ความนิยม ==
File:"น้องหมูเด้ง" เซเลบสวนสัตว์เปิดเขาเขียว - เรื่องเด่นทั่วไทย.webm|thumb|ข่าวเกี่ยวกับหมูเด้งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2567
สวนสัตว์เปิดเขาเขียวได้โพสต์ภาพของหมูเด้งบนเพจเฟซบุ๊กอย่างเป็นทางการ และได้กลายเป็นที่ชื่นชอบอย่างรวดเร็ว หมูเด้งได้ชื่อว่ามีความร่าเริงและกระตือรือร้นมากกว่าฮิปโปโปเตมัสตัวอื่น ๆ และเพื่อตอบรับความนิยมของหมูเด้ง สวนสัตว์เปิดเขาเขียวจึงประกาศว่าจะวางจำหน่ายเครื่องแต่งกายและสินค้าที่ระลึกอื่น ๆ ที่ออกแบบอิงจากหมูเด้ง นอกจากนี้ร้านคาเฟ่แห่งหนึ่งได้ผลิตเค้กเหมือนจริงของหมูเด้ง ในญี่ปุ่นมีการโพสต์รูปแฟนอาร์ตที่ได้แรงบันดาลใจจากหมูเด้งในทวิตเตอร์|เอกซ์ อีกทั้งสินค้าและบริการต่าง ๆ ได้นำหมูเด้งมาเป็นส่วนหนึ่งของโฆษณาประชาสัมพันธ์กิจการด้วย
เนื่องจากความนิยมของหมูเด้งเป็นที่แพร่หลายอย่างรวดเร็วบนอินเทอร์เน็ต จำนวนผู้เยี่ยมชมรายวันของสวนสัตว์จึงเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า โดยเฉพาะในวันที่ 7 และ 8 กันยายน พ.ศ. 2567 มีผู้เข้าชมสวนสัตว์รวมมากกว่าหนึ่งหมื่นคนhttps://www.prachachat.net/breaking-news/news-1650071 “หมูเด้ง” เซเลปใหม่ ทำยอดเข้าชมสวนสัตว์เปิดเขาเขียวแตะหมื่นคน/วัน อย่างไรก็ตามมีนักท่องเที่ยวบางคนรังควานหมูเด้งด้วยการสาดน้ำ และขว้างสิ่งของใส่เพื่อให้ตื่น เจ้าหน้าที่สวนสัตว์เปิดเขาเขียวจึงได้ติดตั้งกล้องวงจรปิดบริเวณรอบกรง และผู้อำนวยการสวนสัตว์ประกาศจะดำเนินคดีกับนักท่องเที่ยวที่รังควานหมูเด้ง พฤติกรรมนี้ถูกประณามอย่างแพร่หลายในโลกออนไลน์ เวลาต่อมาสวนสัตว์ได้จำกัดเวลาการเยี่ยมชมหมูเด้งคนละห้านาทีเพื่อรองรับจำนวนนักท่องเที่ยวที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น
== ข้อวิพากษ์วิจารณ์ ==
== อ้างอิง ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* https://www.facebook.com/profile.php?id=100069015466568 ขาหมู แอนด์เดอะแก๊ง (เฟซบุ๊ก)
* https://www.instagram.com/khamoo.andthegang/ ขาหมู แอนด์เดอะแก๊ง (อินสตาแกรม)
* https://www.tiktok.com/@khamoo.andthegang ขาหมู แอนด์เดอะแก๊ง (ติ๊กต็อก)
หมวดหมู่:วงศ์ฮิปโปโปเตมัส
หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2567
หมวดหมู่:สัตว์ที่มีชื่อเสียงในประเทศไทย
หมวดหมู่:อินเทอร์เน็ตมีมในปี พ.ศ. 2567 | หมูเด้ง |
|
'''ชาวมอแซนเดรอน''' () มีอีกชื่อว่า '''ชาวแทแบรี''' หรือ '''ชาวแทแบเรสถาน''' ( หรือ ) เป็นกลุ่มชนอิหร่าน|ชาวอิหร่าน''Area handbook for Iran'', Harvey Henry Smith, American University (Washington, D.C.), Foreign Area Studies, page 89Academic American Encyclopedia By Grolier Incorporated, page 294''The World Book Encyclopedia'', World Book, Inc, 2000, page 401ที่เป็นชนพื้นเมืองในภูมิภาคทะเลแคสเปียนของประเทศอิหร่าน พวกเขาอาศัยอยู่ที่ชายฝั่งตอนใต้ของทะเลแคสเปียนและเป็นส่วนหนึ่ีงของอดีตภูมิภาคที่มีชื่อว่าแทแบรีสถาน เทือกเขาแอลโบร์ซเป็นชายแดนตอนใต้ของพื้นที่ที่ชาวมอแซนแดรอนอาศัยอยู่http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=mzn Ethnologue report for language code:mzn
File:Stamp-Mazandaran.JPG|thumb|200px|right|ชุดพื้นเมืองของชาวมอแซนเดรอนในแสตมป์อิหร่านสองดวง (ค.ศ. 1978)
== อ้างอิง ==
หมวดหมู่:ชาวมอแซนเดรอน| 01
หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์อิหร่าน
หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศอิหร่าน
หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดมอแซนเดรอน|.
หมวดหมู่:แทแบรีสถาน
หมวดหมู่:ภาษามอแซนเดรอน
หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในตะวันออกกลาง | ชาวมอแซนเดรอน |
|
กล่องข้อมูล ประวัตินักฟุตบอล
| name = เหงียน เตี๊ยน ลิญ
| image = Thuy Trang Tien Linh (cropped).png
| caption = เตี๊ยน ลิญ ในปี 2566
| full_name = เหงียน เตี๊ยน ลิญ
| birth_date =
| birth_place = จังหวัดหายเซือง, เวียดนาม
| height = 1.81 m
| currentclub = บีคาเม็กซ์ บิ่ญเซือง
| clubnumber = 22
| position = กองหน้า (สมาคมฟุตบอล)#กองหน้า|กองหน้า
| youthyears1 = 2552–2558
| youthclubs1 = บีคาเม็กซ์ บินห์เดือง
| years1 = 2559–
| clubs1 = บีคาเม็กซ์ บินห์เดือง
| caps1 = 158
| goals1 = 60
| nationalyears1 = 2558–2560
| nationalteam1 = ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม รุ่น U19|เวียดนาม 19 ปี
| nationalcaps1 = 11
| nationalgoals1 = 5
| nationalyears2 = 2561–2565
| nationalteam2 = ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี|เวียดนาม 23 ปี
| nationalcaps2 = 30
| nationalgoals2 = 12
| nationalyears3 = 2561–
| nationalteam3 = ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม
| nationalcaps3 = 48
| nationalgoals3 = 21
| medaltemplates =
MedalCountry|
| club-update = 21 กันยายน 2567
| nationalteam-update = 11 มิถุนายน 2567
'''เหงียน เตียน ลิญ''' (เกิด 20 ตุลาคม พ.ศ. 2540) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวเวียดนาม ปัจจุบันเล่นเป็นกองหน้าให้กับสโมสรบีคาเม็กซ์ บิ่ญเซือง|บีคาเม็กซ์ บิ่ญเซือง วี.ลีก ดิวิชัน 1 และฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม
== อาชีพสโมสร ==
=== บีคาเม็กซ์ บิ่ญเซือง ===
เตี๊ยน ลิญ เปิดตัวให้กับสโมสรในนัดที่ 5 ของวีลีก 1 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2559 เขายิงประตูแรกในการแข่งขันชิงแชมป์แห่งชาติในการแข่งขัน บิ่ญเซืองแพ้สโมสรฮานอยด้วยคะแนน 4–5 ที่สนามกีฬาก่อเสิ่ววันที่ 9 กรกฎาคม 2559
ในปี 2021 เขาได้รับรางวัลลูกบอลทองแดงเวียดนาม
ในปี 2022 เขายิงได้ 9 ประตูจากการลงเล่น 20 นัดให้กับบิ่ญเซือง และได้รับรางวัล Vietnam Silver Ball ประจำปี 2022
== อาชีพระดับนานาชาติ ==
เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เตี๊ยน ลิญ ลงประเดิมสนามให้ทีมเวียดนามในนัดที่พบกับฟุตบอลทีมชาติลาว|ลาวในศึกเอเอฟเอฟคัพ 2018 เขายิงประตูแรกให้เวียดนามในเกมชนะฟุตบอลทีมชาติกัมพูชา|กัมพูชา 3-0 ในรอบสุดท้ายของรอบแบ่งกลุ่มhttps://vnexpress.net/viet-nam-3-0-campuchia-3844262.html เตี๊ยน ลินห์ และทีมของเขาชนะการแข่งขันหลังจากเอาชนะมาเลเซียด้วยสกอร์รวม 3-2 ในรอบชิงชนะเลิศ
ซีเกมส์ 2562 เขายิงได้ 6 ประตูในทัวร์นาเมนต์นี้มีส่วนทำให้เหรียญทองแรกของเวียดนาม ปี 22
เขายิงไป 8 ประตูในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก แซงหน้าเล กง วิญ
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2022 คว้าดาวซัลโวสูงสุดของทัวร์นาเมนต์ด้วยการยิง 6 ประตู ร่วมกับ ธีรศิลป์ แดงดา
== เกียรติยศ ==
=== สโมสร ===
'''บีคาเม็กซ์ บิ่ญเซือง'''
* เวียดนามคัพ|เวียดนาม เนชันแนล คัพ : 2018
* เวียดนาม ซูเปอร์คัพ : 2016
=== ระหว่างประเทศ ===
'''เวียดนาม'''
* ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน|เอเอฟเอฟ แชมเปี้ยนชิพ : ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018|2018
'''เวียดนาม U23'''
* กีฬาฟุตบอลในซีเกมส์|กีฬาซีเกมส์ กีฬาฟุตบอลในซีเกมส์ 2019 – ทีมชาย|2019, กีฬาฟุตบอลในซีเกมส์ 2021 – ทีมชาย|2021
=== รายบุคคล ===
* บอลเงินเวียดนาม : 2022
* บอลบรอนซ์เวียดนาม : 2021
* ดาวซัลโวชิง ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน|แชมป์เอเอฟเอฟ : ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2022|2022
* 11 สุดยอด XI ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน|ชิงแชมป์เอเอฟเอฟ : ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2022|2022
== อ้างอิง ==
หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2540
หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
หมวดหมู่:นักฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม
หมวดหมู่:ผู้เล่นในเอเชียนคัพ 2019
หมวดหมู่:ผู้เล่นในวี.ลีก ดิวิชัน 1
หมวดหมู่:กองหน้าฟุตบอลชาย | เหงียน เตี๊ยน ลิญ |
|
กล่องข้อมูล ประวัตินักฟุตบอล
| name = เหงียน วัน ตวน
| image = Nguyen Van Toan 1996.png
| caption = เหงียน วัน ตวน ในปี 2564
| full_name = เหงียน วัน ตวน
| birth_date =
| birth_place = จังหวัดหายเซือง, เวียดนาม
| height = 1.71 m https://webthethao.vn/cac-doi-tuyen-quoc-gia/chieu-cao-doi-tuyen-viet-nam-2019-nho-nhung-co-vo-103297.htm Chiều cao đội tuyển Việt Nam 2019: Nhỏ nhưng có võ
| currentclub = เทพซาน นัมดิงห์
| clubnumber = 9
| position = กองหน้า, กองหน้า (ฟุตบอล)#ปีก|ปีก
| youthyears1 = 2550–2557
| youthclubs1 = สโมสรฟุตบอลฮหว่างอัญซาลาย
| years1 = 2558–2565
| clubs1 = สโมสรฟุตบอลฮหว่างอัญซาลาย
| caps1 = 177
| goals1 = 46
| years2 = 2565–2566
| clubs2 = สโมสรฟุตบอลโซลอีแลนด์
| caps2 = 9
| goals2 = 0
| years3 = 2566–
| clubs3 = เทพซาน นัมดิงห์
| caps3 = 26
| goals3 = 5
| nationalyears1 = 2556–2557
| nationalteam1 = ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม รุ่น U19|เวียดนาม 19 ปี
| nationalcaps1 = 12
| nationalgoals1 = 13
| nationalyears2 = 2560–2561
| nationalteam2 = ทีมชาติเวียดนาม U22|เวียดนาม 22 ปี
| nationalcaps2 = 6
| nationalgoals2 = 1
| nationalyears3 = 2558–2562
| nationalteam3 = ฟุตบอลทีมชาติเวียดนามรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี|เวียดนาม 23 ปี
| nationalcaps3 = 34
| nationalgoals3 = 4
| nationalyears4 = 2559–
| nationalteam4 = ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม|เวียดนาม
| nationalcaps4 = 63
| nationalgoals4 = 7
| medaltemplates =
Medal|Country|
| club-update = 4 มิถุนายน 2023
| nationalteam-update = 21 พฤศจิกายน 2023
'''เหงียน วัน ตวน''' (; เกิด 12 เมษายน พ.ศ. 2539) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวเวียดนาม ปัจจุบันเล่นในตำแหน่งกองหน้าให้กับสโมสรเทพซาน นัมดิงห์ใวี.ลีก ดิวิชัน 1 และฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม|ทีมชาติเวียดนาม
== อาชีพสโมสร ==
=== สโมสรฟุตบอลฮหว่างอัญซาลาย ===
วัน ตวน ลงเล่นให้กับสโมสร สโมสรฟุตบอลฮหว่างอัญซาลาย เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2558 โดยลงมาเป็นตัวสำรองในครึ่งหลังของเกมเหย้าที่ชนะสโมสรฟุตบอลซันนาคั้ญฮหว่า|ซานา คานห์ ฮัว 4-2 ใวี.ลีก ดิวิชัน 1
=== สโมสรฟุตบอลโซลอีแลนด์ ===
เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2566 วัน โทอัน ได้เข้าร่วมสโมสรฟุตบอลโซลอีแลนด์|โซล อี-แลนด์ ในเคลีก 2 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม เขาได้เป็นส่วนหนึ่งของทีมตัวจริงในแมตช์เคลีกกับชุงบุก ชองจู ซึ่งถือเป็นการลงเล่นในลีกครั้งแรกของเขา
== อาชีพระดับนานาชาติ ==
เหงียน วัน ตวน เคยเป็นตัวแทนของฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม|เวียดนามในการแข่งขันในระดับ 19 ปี และ 23 ปี เขาเปิดตัวให้กับทีมชาติเวียดนามในการพบกันครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2559 ในการแข่งขันกับจีนไทเปในรอฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก|บคัดเลือกฟุตบอลโลก 2018 ในนัดนี้เขามีส่วนช่วยให้ทีมเวียดนามชนะ 4–1 โดยมีเป้าหมายสองครั้ง ในครึ่งแรก
== สถิติการทำงาน ==
=== ระหว่างประเทศ ===
| class="wikitable" style="text-align:center"
|+การลงสนามและประตูของทีมชาติและปี
! ทีมชาติ
! ปี
! แอปพลิเคชั่น
! เป้าหมาย
|-
| rowspan="10" | ฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม|เวียดนาม
| 2016
| 12
| 3
|-
| 2017
| 3
| 1
|-
| 2018
| 1
| 0
|-
| 2019
| 11
| 0
|-
| 2021
| 15
| 0
|-
| 2022
| 6
| 2
|-
| 2023
| 10
| 1
|-
! colspan="1" | ทั้งหมด
! 57
! 7
|
== เกียรติยศ ==
'''เทพ ซัน นาม ดิห์'''
* วี.ลีก ดิวิชัน 1|วี.ลีก 1 : 2023–24
* เวียดนาม ซูเปอร์คัพ : 2024
* ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน|ชิงแชมป์อาเซียน : ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018|2018 ; รองแชมป์ : ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2022|2022
* วีเอฟเอฟ คัพ : 2022
'''เวียดนาม ยู-23'''
* วีเอฟเอฟ คัพ : 2018
'''รายบุคคล'''
* ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี|สโมสรฟุตบอลซันนาคั้ญฮหว่า ผู้ทำประตูสูงสุด: 2013
* วี.ลีก ดิวิชัน 1 ผู้ให้บริการช่วยเหลือชั้นนำ: 2019, https://baomoi.com/van-toan-hay-nhat-v-league-2019-kien-tao-11-lan-ghi-9-ban/c/32680828.epi Văn Toàn hay nhất V.League 2019: Kiến tạo 11 lần, ghi 9 bàn! 2020
== อ้างอิง ==
หมวดหมู่:ผู้เล่นในเอเชียนคัพ 2023
หมวดหมู่:ผู้เล่นในเอเชียนคัพ 2019
หมวดหมู่:นักฟุตบอลทีมชาติเวียดนาม
หมวดหมู่:ผู้เล่นในเคลีก 2
หมวดหมู่:ผู้เล่นในวี.ลีก ดิวิชัน 1
หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลฮหว่างอัญซาลาย
หมวดหมู่:กองหน้าฟุตบอลชาย
หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2539
หมวดหมู่:บทความที่มีแหล่งที่มาภาษาเวียดนาม (vi)
หมวดหมู่:Articles using Template:Medal with Runner-up
หมวดหมู่:Articles using Template:Medal with Winner | เหงียน วัน ตวน (นักฟุตบอลเกิด พ.ศ. 2539) |
|
Infobox officeholder
| honorific_prefix =
| native_name =
| name = อนุระ กุมาระ ทิสานายกะ
| image = Anura Kumara Dissanayake 2023 (cropped).jpg
| caption = ทิสานายกะเมื่อปี 2023
| order = ที่ 10
| office = ประธานาธิบดีศรีลังกา
| term_start = 23 กันยายน 2024
| primeminister = Harini Amarasuriya|หรินี อมรสุริยะ
| predecessor = รนิล วิกรมสิงหะ
| office1 = Ministry of Agriculture (Sri Lanka)|รัฐมนตรีการเกษตรฯ
| president1 = Chandrika Kumaratunga|จันทริกา กุมารตุงคะ
| primeminister1 = Mahinda Rajapaksa|มหินทะ ราชปักษา
| term_start1 = 10 เมษายน 2004
| term_end1 = 24 มิถุนายน 2005
| predecessor1 = S. B. Dissanayake|เอส บี ทิสานายกะ
| successor1 = Ratnasiri Wickremanayake|รัตนสิริ วิกรมนายกะ
| office2 = National People's Power|หัวหน้าพรรคประชาชนแห่งชาติ
| term_start2 = 14 กรกฎาคม 2019
| term_end2 =
| predecessor2 = ''ประเดิมตำแหน่ง''
| successor2 =
| office3 = Leader of Janatha Vimukthi Peramuna|ผู้นำพรรคชนตาวิมุกติเปรมุณะ
| term_start3 = 29 กันยายน 2014
| predecessor3 = Somawansa Amarasinghe|โสมวงศะ อมรสิงหะ
| office4 = Member of Parliament (Sri Lanka)|สภาชิกรัฐสภาColombo Electoral District|เขตโคลัมโบ
| term_start4 = 1 กันยายน 2015
| term_end4 = 23 กันยายน 2024
| successor4 = Lakshman Nipuna Arachchi|ลักษมัณ นิปุนะ อรจจิ
| office5 = Chief Opposition Whip (Sri Lanka)|ผู้นำวิปฝ่ายค้าน
| term_start5 = 3 กันยายน 2015
| term_end5 = 18 ธันวาคม 2018
| predecessor5 = John Seneviratne|จอห์น เสนวิรัตนะ
| successor5 = Mahinda Amaraweera|มหินทะ อมรวีระ
| office6 = Member of Parliament (Sri Lanka)|สมาชิกรัฐสภาKurunegala Electoral District|เขตกุรุเนกฬะ
| term_start6 = 1 เมษายน 2004
| term_end6 = 8 เมษายน 2010
| office7 = Member of Parliament (Sri Lanka)|สมาชิกรัฐสภาNational List Member of Parliament|เนชันนอลลิสต์
| term_start7 = 22 เมษายน 2010
| term_end7 = 17 สิงหาคม 2015
| term_start8 = 18 ตุลาคม 2000
| term_end8 = 7 กุมภาพันธ์ 2004
| birth_name = Dissanayaka Mudiyanselage Anura Kumara Dissanayake
| birth_date =
| birth_place = Galewela|กเฬวฬะ Matale District|อำเภอมตเล Central Province, Sri Lanka|จังหวัดกลาง ประเทศศรีลังกา
| party = ชนตา วิมุกติ เปรมุณะ|ชนตาวิมุขติเปรมุนา
| spouse = มัลลิกา ทิสานายกะ
| children = 1
| residence =
| alma_mater = University of Peradeniya|มหาวิทยาลัยเปรเทนิยะ (ลาออก)University of Kelaniya|มหาวิทยาลัยเกฬานิยะ
| signature = Anura Kumara Dissanayake Signature.svg
| website =
'''อนุระ กุมาระ ทิสานายกะ''' (, ) หรือ '''อนุระ กุมาระ ติจานายักกะ''' (, , เกิด 24 พฤศจิกายน 1968) หรือนิยมเรียกตามอักษรย่อชื่อ '''AKD''' เป็นนักการเมืองชาวศรีลังกา ผู้ดำรงตำแหน่งpresident of Sri Lanka|ประธานาธิบดีศรีลังกาคนที่สิบ ตั้งแต่ปี 2024 หัวหน้าJanatha Vimukthi Peramuna|พรรคชนตาวิมุกติเปรมุณะ (JVP) และNational People's Power|พรรคพลังประชาชนแห่งชาติ
ทิสานายกะมีส่วนร่วมในพรรค JVP ตั้งแต่สมัยเรียน เขาสมัครเข้าร่วมโปลิตบูโรของพรรคในปี 1995 และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกรัฐสภาตั้งแต่ปี 2000 ผ่านทั้งการเลือกตั้งจากเขตเลือกตั้ง หรือจากเนชันนัลลิสต์ เขาดำรงตำแหน่งMinistry of Agriculture (Sri Lanka)|รัฐมนตรีการเกษตร ปศุสัตว์ ที่ดิน และชลประทาน ระหว่างปี 2004 ถึง 2005 และเป็นChief Opposition Whip (Sri Lanka)|ผู้นำวิปฝ่ายค้านจากปี 2015 ถึง 2018 และได้รับตำแหน่งหัวหน้าพรรค JVP ในปี 2014
==อ้างอิง==
หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2511
หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
หมวดหมู่:ประธานาธิบดีศรีลังกา
หมวดหมู่:นักการเมืองศรีลังกา | อนุระ กุมาระ ทิสานายกะ |
|
กล่องข้อมูล ชีวประวัติ
| name = ซายูริ
| image = Sayuri in Shibuya (February 23rd 2016) (cropped).jpg
| alt =
| caption = ซายูริกำลังแสดงใน 2016
| native_name =
| native_name_lang = ja
| birth_name =
| birth_date =
| birth_place = ฟูกูโอกะ, จังหวัดฟูกูโอกะ, ประเทศญี่ปุ่น
| death_date =
| other_names =
| occupation =
| years_active = 2010–2024
| height = 149 cm
| website =
| module = Infobox musical artist
| embed = yes
| genre =
| instrument =
| label = Ariola Japan
'''ซายูริ''' (さユり efn|ชื่อบนเวทีของซายูริใช้ตัวอักษรคาตาคานะ ユ เพื่อความสวยงาม แต่ชื่อจริงของเธอสะกดด้วยตัวอักษรฮิรางานะ ゆ ซึ่งทั้งสองตัวอักษรออกเสียงเหมือนกันคือ .) (7 มิถุนายน 1996 – 20 กันยายน 2024) เป็นนักดนตรี นักร้อง และนักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่นเกิดที่ เกาะชิกะ, เขตฮิงาชิ (ฟูกูโอกะ)|เขตฮิงาชิ, จังหวัดฟูกูโอกะ หลังจากคว้ารางวัลชนะเลิศการแข่งขันดนตรีระดับประเทศ 'Music Revolution' ในปี 2012 ด้วยความสามารถโดดเด่น ทำให้เธอตัดสินใจลาออกจากโรงเรียนเพื่อมุ่งมั่นกับการทำตามความฝันในฐานะนักดนตรีอาชีพ ในปี 2015 เธอเดบิวต์ในวงการเพลงอย่างเป็นทางการด้วยซิงเกิลที่มีชื่อว่า ''Mikazuki'' ซึ่งเป็นเพลงปิดของอนิเมะเรื่อง ''รัมโป คิทัน: เกมแห่งลาปลาซ'' นับตั้งแต่นั้นมา เธอได้มีโอกาสร้องเพลงประกอบอนิเมะชื่อดังมากมาย อาทิ ''รีไววัล ย้อนอดีตไขปริศนา, '' ''ความปรารถนาของเหล่าสวะ, '' ''เฟต/เอกซ์ตร้า ลาสท์ อังกอร์, '' ''โกลเดนคามุย, '' ''มายฮีโร่ อคาเดเมีย, '' ''บทเพลงแห่งวันวาน, '' และ ''ไลโคริส รีคอยล์''
== ประวัติ ==
=== 1996–2015: ชีวิตวัยเด็ก, Music Revolution, "มิกาซูกิ" ===
ซายูริ เกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 1996 ที่เกาะชิกะ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตฮิงาชิ (ฟูกูโอกะ)|เขตฮิงาชิ จังหวัดฟูกูโอกะ ประเทศญี่ปุ่น ซายูริเล่นกีตาร์และเริ่มแต่งเพลงตอนเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่สอง โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากวงไอดอลชายชื่อ Kanjani Eight หลังจากนั้น เธอได้เข้าร่วมวงดนตรีชื่อ "มู" ในตำแหน่งมือกีตาร์และนักร้องนำ และยังได้ร่วมงานกับคู่หูดนตรีอะคูสติกชื่อ "ลองทัล" ในนาม "อาสึกะ" นอกจากนี้ เธอยังได้แสดงสดตามท้องถนนและในร้านดนตรีทั่วไปในหลายเมือง เช่นฮิโรชิมา โอซากะ และนาโงยะ
ในปี 2012 ซายูริคว้ารางวัลชนะเลิศอันดับหนึ่ง หรือ Grand Prix ในการแข่งขัน Music Revolution ครั้งที่ 5 โดยในครั้งนั้น เธอเป็นผู้เข้าแข่งขันที่อายุน้อยที่สุด ในปีต่อมา เธอตัดสินใจลาออกจากโรงเรียนและย้ายไปยังกรุงโตเกียว; แม้ว่าเธอจะออกจากโรงเรียนมัธยม แต่เธอได้ทวีตในเดือนมกราคม 2015 ว่าเธอได้ทำการสอบเพื่อรับวุฒิบัตรสำหรับนักเรียนที่มีความรู้ความสามารถในระดับจบการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย แม้ว่าเธอจะทำการแสดงที่สถานที่จัดแสดงสด แต่เธอก็ชอบที่จะทำการแสดงบนถนนที่เปิดกว้างมากกว่าเพราะต้องการเข้าถึงผู้คนที่หลากหลายมากขึ้น; เธอกล่าวในสัมภาษณ์กับ '''' ว่าการแสดงบนถนนเหล่านี้เริ่มแรกตั้งใจให้เป็นการฝึกฝนCite interview |author1=Sayuri |interviewer=Yuta Onda |script-title=ja:酸欠少女さユり インタビュー 孤独を優しく抱きしめる彼女が、渋谷で歌い続ける理由 |url=https://kai-you.net/article/20863 |access-date=2024-09-27 |work= |date=2015-09-14 |language=ja ในเดือนมีนาคม 2015 ซายูริได้จัดคอนเสิร์ตเดี่ยวครั้งแรก "Yoake no Shitaku" ที่ Shibuya O-East|Tsutaya O-East ในโตเกียวCite news |last=Watanabe |first=Akihiro |date=2020-05-25 |script-title=ja:さユりは最も大切にしてきた“原点”を“今”に刻み、新たな一歩を踏み出すーー弾き語りアルバム『め』を聴いて |url=https://realsound.jp/2020/05/post-549032.html |access-date=2024-09-27 |work=|lang=ja ในวันที่ 26 สิงหาคม 2015 เธอได้ปล่อยซิงเกิลแรก ''มิกาซูกิ'' ซึ่งทำให้เธอเปิดตัวในวงการหลักเมื่ออายุ 18 ปี; เพลงนี้ยังเป็นเพลงปิดท้ายสำหรับซีรีส์ อนิเมะ ''รัมโป คิทัน: เกมแห่งลาปลาซ''
=== 2016–2017:''ซอเระ วะ ชิซานะ ฮิการิ โน ยูน่า'', ''พารัลเลล ไลน์'', ''มิคาซึกิ โน โคไค'' ===
เธอได้ขับร้องเพลง "''Sore wa Chiisana Hikari no Youna|ซอเระ วะ ชิซานะ ฮิการิ โน ยูน่า"'' ซึ่งเป็นเพลงปิดของอนิเมะ ''Erased (manga)|รีไววัล ย้อนอดีตไขปริศนา'' โดยเพลงนี้แต่งโดย Yuki Kajiura|ยูกิ คาจิอุระ และถูกปล่อยออกมาเป็นซิงเกิลที่สองเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2016 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2016 เธอจัดคอนเสิร์ตเดี่ยว "''มิคาซึกิ โนะ โคไค, Mikazuki no Koukai"'' ที่ Shibuya WWW โดยบัตรขายหมดภายในไม่กี่วินาทีหลังจากเปิดขาย ในวันที่ 24 มิถุนายน 2016 เธอได้ปล่อยเพลง "''Ru-rararu-ra-Rurararu-ra"'' ซึ่งเป็นเพลงที่ได้จาก Music Revolution ของ Music Revolution อีกครั้งในฐานะซิงเกิลที่สามแบบดิจิทัลของเธอCite news|date=2016-05-15|script-title=ja:”酸欠少女”さユり、配信限定3rdシングル「るーららるーらーるららるーらー」をリリースへ|url=https://spice.eplus.jp/articles/56006|access-date=2024-09-27|work=Spice|publisher=|language=ja ในวันที่ 7 ธันวาคม 2016 เธอได้ร่วมงานกับ Yojiro Noda|โยจิโร โนดะ จากวง Radwimps สำหรับซิงเกิลที่สี่ "''Furaregai Girl''" ในวันที่ 1 มีนาคม 2017 เธอได้ปล่อยซิงเกิลที่ห้า "''Parallel Line (Sayuri song)|พารัลเลล ไลน์''" ซึ่งถูกใช้เป็นเพลงปิดของอนิเมะและเวอร์ชันภาพยนตร์ ''Scum's Wish|ความปรารถนาของเหล่าสวะ'' และกลายเป็น เพลงปิดJapanese television drama|ละครโทรทัศน์ญี่ปุ่น เพลงแรกของเธอ
ในวันที่ 23 มีนาคม 2017 มีการประกาศว่าเธอจะปล่อยอัลบั้มแรก"''Mikazuki no Koukai|มิคาซึกิ โน โคไค"''ในวันที่ 17 พฤษภาคมCite news|date=2017-03-23|script-title=ja:”酸欠少女”さユりアルバム発売決定!豪華収録曲の1st アルバム『ミカヅキの航海』は5月17日発売!|url=https://www.lisani.jp/0000047471/|access-date=2024-09-27|work=|language=ja หนึ่งวันหลังจากที่อัลบั้มของเธอถูกปล่อยออกมา ก็ขึ้นถึงอันดับหนึ่งบน ออริคอน ชาร์ตอัลบั้มรายวันChart และต่อมาได้อันดับที่สามใน Oricon Albums Chart|ชาร์ตอัลบั้มออริคอน รายสัปดาห์ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม มิวสิกวิดีโอเต็มสำหรับหนึ่งในเพลงของอัลบั้ม "''Jū-oku-nen"'' ได้ถูกปล่อยออกมาCite web|script-title=ja:さユり、「十億年」MVを配信リリース。26日にはフリーライブも|url=https://www.barks.jp/news/?id=1000145469|date=August 7, 2017|access-date=2024-09-27|website=|language=ja ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2017 เธอได้จัดการแสดงสดบนถนนเป็นครั้งแรกในรอบกว่าหนึ่งปีที่ชินจูกุ โดยมีแฟนประมาณ 2,000 คนเข้าร่วมCite web|script-title=ja:"酸欠少女"さユり、"原点の地"新宿での弾き語りライブに2,000人が集結|url=http://www.m-on.press/music-news/0000105739?show_more=1|website=|access-date=2024-09-27|language=ja|archive-date=April 17, 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20180417041856/http://www.m-on.press/music-news/0000105739?show_more=1|url-status=dead เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2017 คอนเสิร์ตเดี่ยวของ ซายูริ ที่Tokyo Dome City Hallกลายเป็นคอนเสิร์ตที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเธอจนถึงจุดนี้Cite news|first=Yusuke|last=Kitamura|script-title=ja:さユりが過去最大規模のワンマンライブで明かした、自身にとっての“空白”と曲を作り歌う理由|url=https://spice.eplus.jp/articles/164191|access-date=2024-09-27|work=Spice|publisher=|language=ja
=== 2018–2021: ''สึกิ โตะ ฮานะตะบะ'', ''เรเม'', ''โคไค โนะ อุตะ'' ===
ซายูริ ปล่อยซิงเกิลที่หกของเธอ Nihongo4|"สึกิ โตะ ฮานะตะบะ"|月と花束|| เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2018 ซึ่งเพลงนี้เป็นเพลงปิดของอนิเมะเรื่อง Fate/Extra Last Encore|เฟต/เอกซ์ตร้า ลาสท์ อังกอร์ เธอแสดงที่งาน Anisong World Matsuri ที่งาน Anime Expo เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2018 ที่ลอสแอนเจลิส, แคลิฟอร์เนีย
เธอได้ร่วมงานกับวง My First Story ในเพลง 'Nihongo4|"เรเม"|レイメイ|| ซึ่งปล่อยออกมาเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2018. เพลงนี้ถูกใช้เป็นเพลงเปิดที่สองของอนิเมะเรื่อง โกลเดนคามุย
ซายูริ ได้ร่วมงานกับ Hiroyuki SawanoA|ฮิโรยูกิ ซาวาโนะ ในเพลง ''Me & Creed '' ซึ่งเดิมทีวางแผนไว้ให้เป็นเพลงประกอบเกมมือถือ Blue Exorcist: Damned Chord ก่อนที่จะถูกยกเลิกในปี 2020
เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2019 มีการประกาศว่าเธอจะร้องเพลงปิดของอนิเมะเรื่อง มายฮีโร่ อคาเดเมีย ซีซั่นที่ 4 ด้วยเพลง Nihongo4|"โคไก โนะ อุตะ"|航海の唄||; เพลงนี้ถูกปล่อยเป็นซิงเกิลเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2019
เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2020 เพลงใหม่ของเธอชื่อว่า ''Aoibashi, อาโออิบาชิ'' ซึ่งเป็นเพลงธีมของอนิเมะเรื่อง Sing ''Yesterday'' for Me|บทเพลงแห่งวันวานถูกปล่อยแบบดิจิทัล; โดยตั้งชื่อตามKeiō Line|สถานีรถไฟสายเคโอะ ในอดีตCite news |date=2020-05-20 |script-title=ja:”酸欠少女”さユり『葵橋』を5月22日デジタルリリース アニメ『イエスタデイをうたって』書き下ろし主題歌 |url=https://spice.eplus.jp/articles/269660 |access-date=2024-09-27 |work=Spice |publisher= |language=ja ซายูริว่างจำหน่ายอัลบั้ม'''' อัลบั้มเดี่ยวอัลบั้มแรกของเธอ ''Me'' ถูกปล่อยเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2020 ซึ่งประกอบด้วยการเรียบเรียงเพลงก่อนหน้าของเธอในรูปแบบอะคูสติก;ในปี 2022 เธอได้ออกทัวร์คอนเสิร์ต Nejikoboreta Bokura no "Me" จำนวน 12 รายการเพื่อโปรโมตอัลบั้ม ในวันที่ 1 สิงหาคม 2020 เธอได้ปล่อยซิงเกิลดิจิทัลอีกหนึ่งเพลงชื่อว่า "Summer Bug"
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2020 เธอปล่อยซิงเกิลดิจิทัลอีกเพลงชื่อว่า ''Summer Bug'' ในวันที่ 24 ตุลาคม 2020 ซายูริ ประกาศว่าเธอได้เซ็นสัญญากับ iTony Entertainment
=== ในช่วงปี 2022–2024: ''Hana no Tō|ฮานะ โนะ โทะ'', การแต่งงาน และการเสียชีวิต ===
เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2022 เพลง Nihongo4|"ฮานะ โนะ โทะ"|花の塔|| ซึ่งเป็นเพลงปิดของอนิเมะเรื่อง ''ไลโคริส รีคอยล์'' ได้ถูกปล่อยออกมาในวันถัดมาหลังจากอนิเมะฉายตอนแรก ต่อมาในวันที่ 10 สิงหาคม 2022 เธอได้ปล่อยอัลบั้มที่สองชื่อว่า ''Sanketsu Shōjo|ซังเค็ตสึ โชโจ'' (酸欠少女) Cite news |date=2022-06-26 |script-title=ja:“酸欠少女”さユり、2022年8月10日発売の2ndアルバム『酸欠少女』の詳細が解禁!TVアニメ『リコリス・リコイル』EDテーマ「花の塔」の先行配信も決定! |url=https://www.lisani.jp/0000204780/ |access-date=2024-09-27 |work= |language=ja
เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2024 เธอได้ประกาศว่าเธอได้แต่งงานกับ อามาราชิ ซึ่งเป็นสมาชิกของวงดูโอ เจป็อป ที่ชื่อว่า
เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2024 เธอประกาศว่าเธอจะหยุดพักจากการร้องเพลงเพื่อฟื้นตัวจาก functional dysphonia|อาการเสียงแหบแบบปกติ วันที่ 27 กันยายน 2024 Amaarashi ได้ออกแถลงการณ์ว่า ซายูริ ได้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 20 กันยายน ขณะอายุ 28 ปี ครอบครัวและเพื่อนสนิทได้จัดงานศพเป็นการส่วนตัว ทั้งนี้มีการระบุว่าเธอป่วยเป็นโรคเรื้อรัง
== สไตล์ดนตรี ==
เธอใช้ชื่อเล่นว่า และ ปกติเธอจะแสดงในชุดเสื้อคลุมปอนโชและเท้าเปล่า เพราะตามที่เธอเปิดเผยในบทสัมภาษณ์กับ JaME World เธอรู้สึกว่า "เป็นหนึ่งเดียวกับผืนดินเมื่อฉันยืนอยู่ที่นั่น"
== ผลงานเพลง ==
=== อัลบั้มสตูดิโอ ===
| class="wikitable plainrowheaders" style="text-align:center;"
|-
! scope="col" rowspan="2"| ชื่อ
! scope="col" rowspan="2"| รายละเอียดอัลบั้ม
! scope="col" colspan="2"| ตำแหน่งกราฟจุดสูงสุด
|-
! scope="col" style="width:2.75em;font-size:85%"| Oricon Albums Chart|JPN
! scope="col" style="width:2.75em;font-size:85%"| Billboard Japan Hot Albums|JPNHotPeak positions in the ''Billboard Japan'' Hot Albums chart:
* ''Mikazuki no Koukai'':
* ''Sanketsu Shōjo'':
* ''Me'':
|-
! scope="row"| Nihongo4|''Mikazuki no Koukai''|ミカヅキの航海||
|
* เผยแพร่: วันที่ 17 พฤษภาคม 2017
* ค่ายเพลง: Sony Music Entertainment Japan|Ariola Japan
* รูปแบบ: CD, CD+DVD, CD+Blu-ray|BD, digital download
| 3
| 4
|-
! scope="row"| Nihongo4|''Sanketsu Shōjo''|酸欠少女||
|
* เผยแพร่: วันที่ 10 สิงหาคม 2022
* ค่ายเพลง: Ariola Japan
* รูปแบบ: CD, digital download
| 13
| 8
|
=== อัลบั้ม ฮิกิกาตาริ ===
| class="wikitable plainrowheaders" style="text-align:center;"
|-
! scope="col" rowspan="2"| ชื่อ
! scope="col" rowspan="2"| รายละเอียดอัลบั้ม
! scope="col" colspan="2"| ตำแหน่งกราฟจุดสูงสุด
|-
! scope="col" style="width:2.75em;font-size:85%"| Oricon Albums Chart|JPN
! scope="col" style="width:2.75em;font-size:85%"| Billboard Japan Hot Albums|JPNHot
|-
! scope="row"|
|
* เผยแพร่: 3 มิถุนายน 200
* ค่ายเพลง: Sony Music Entertainment Japan|Ariola Japan
* รูปแบบ: CD, CD+DVD
| 3
| 2
|
=== อัลบั้ม ===
| class="wikitable plainrowheaders" style="text-align:center"
|-
! scope="col" rowspan="2" style="width:30em;"| ชื่อ
! scope="col" rowspan="2"| ปี
! scope="col" colspan="2"| ตำแหน่งกราฟจุดสูงสุด
! scope="col" rowspan="2"| การรับรอง
! scope="col" rowspan="2"| อัลบั้ม
|-
! scope="col" style="width:2.75em;font-size:85%"| Oricon Singles Chart|JPN
! scope="col" style="width:2.75em;font-size:85%"| Billboard Japan Hot 100|JPNHotPeak positions in the ''Billboard Japan'' Hot 100:
* "Mikazuki":
* "Sore wa Chiisana Hikari no Youna":
* "Furaregai Girl":
* "Parallel Line":
* "Tsuki to Hanataba":
* "Kōkai no Uta":
* "Hana no Tō":
|-
! scope="row" | Nihongo4|"Mikazuki"|ミカヅキ||
| 2015
| 20 || 14
|
* Recording Industry Association of Japan|RIAJ: Gold cite web|script-title=ja:ダウンロード認定検索|trans-title=Download Certification Search|url=https://www.riaj.or.jp/f/data/cert/hs_search.html|format=Enter "" in the parameter and click |publisher=Recording Industry Association of Japan|access-date=September 27, 2024|language=ja
| rowspan = "5"| ''Mikazuki no Koukai|มิคาซึกิ โนะ โคไค''
|-
! scope="row" | Nihongo4|"Sore wa Chiisana Hikari no Youna"|それは小さな光のような||
| rowspan = "3"| 2016
| 17 || 15
|
|-
! scope="row" |
| — || —
|
|-
! scope="row" | Nihongo4|"Furaregai Girl"|フラレガイガール||
| 17 || 22
|
|-
! scope="row" |
| 2017
| 10 || 10
|
|-
! scope="row" | Nihongo4|"Tsuki to Hanataba"|月と花束||
| 2018
| 10 || 10
|
| rowspan = "4"| ''Sanketsu Shōjo|ซังเก็ตสึโชโจ''
|-
! scope="row" | Nihongo4|"Kōkai no Uta"|航海の唄||
| 2019
| 12 || 34
|
|-
! scope="row" | Nihongo4|"Sekai no Himitsu"|世界の秘密||
| 2021
| 10 || —efn|"Sekai no Himitsu" ไม่ได้เข้าชาร์ต Billboard Japan Hot 100 แต่ขึ้นถึงอันดับที่ 80 บนชาร์ต Download Songs
|
|-
! scope="row" | Nihongo4|"Hana no Tō"|花の塔||
| 2022
| —efn|"Hana no Tō" ขึ้นถึงอันดับที่ห้าบนชาร์ต Oricon Digital Singles|| 52
|
* RIAJ: Gold
* RIAJ: Gold cite web|script-title=ja:ストリーミング認定検索|trans-title=Streaming Certification Search|url=https://www.riaj.or.jp/f/data/cert/st_search.html|format=Enter "" in the parameter and click |publisher=Recording Industry Association of Japan|access-date=September 27, 2024|language=ja
|-
| colspan = "6" align="center" style="font-size:90%;" |"—" หมายถึงซิงเกิลที่ไม่ติดชาร์ต
|
==== การทำงานร่วมกัน ====
| class="wikitable plainrowheaders" style="text-align:center"
|-
! scope="col" rowspan="2"| ชื่อ
! scope="col" rowspan="2"| ปี
! scope="col" colspan="2"| ตำแหน่งกราฟจุดสูงสุด
! scope="col" rowspan="2"| อัลบั้ม
|-
! scope="col" style="width:2.75em;font-size:85%"| Oricon Singles Chart|JPN
! scope="col" style="width:2.75em;font-size:85%"| Billboard Japan Hot 100|JPNHot
|-
! scope="row" | Nihongo4|"Reimei"|レイメイ||
| 2018
| 7
| 10
| ''Sanketsu Shōjo|ซังเค็ตสึ โชโจ''
|
==== แขกรับเชิญ ====
== มิวสิกวีดีโอ ==
| class="wikitable"
!ปี
!ชื่อ
!กรรมการ
|-
| rowspan = "2"|2015
| "Mikazuki"
| style = "text-align:center"|YKBX
|-
| "Chocolate"
| style = "text-align:center"|
|-
| rowspan = "4"|2016
| "Sore wa Chiisana Hikari no Youna"
| rowspan = "2" style="text-align:center"|YKBX
|-
| "Raise de Aou"
|-
| "Furaregai Girl"
| style = "text-align:center"|นาโอะ โยชิไก
|-
| "Anonymous"
| rowspan = "2" style="text-align:center"|ยาสุฮิโระ อาราฟุเนะ
|-
| rowspan = "3"|2017
| "Parallel Line"
|-
| "Birthday Song"
| style = "text-align:center"|ทานิ อัตสึชิ
|-
| "Juu Oku nen"
| style = "text-align:center"|ซึโยชิ อิโนอุเอะ
|-
| rowspan = "2"|2018
| "Tsuki to Hanataba"
| style = "text-align:center"|ทานิ อัตสึชิ
|-
| "Reimei"
| style = "text-align:center"|
<!-- NEED SOURCES:
|-
| 2019
| "Kōkai no Uta"
| style = "text-align:center"|โคสุเกะ ซูกิโมโตะ
|-
| rowspan = "2"|2020
| "Nejiko"
| style = "text-align:center"|
|-
| "Summer Bug"
| style = "text-align:center"|
|-
| rowspan = "2"|2021
| "Kamisama"
| style = "text-align:center"|KATSUSHIKA SHUSSHIN
|-
| "Sekai no Himitsu"
|
-->
|
== รางวัลและการเสนอชื่อเข้าชิง ==
| class="wikitable sortable plainrowheaders"
|+ รางวัลและการเสนอชื่อที่ซายูริได้รับ
! scope = "col" | รางวัล
! scope="col" | ปี
! scope="col" | หมวดหมู่
! scope="col" | ผู้ได้รับการเสนอชื่อ
! scope="col" | ผลลัพธ์
! scope="col" class="unsortable" | อ้างอิง
|-
! scope="row" rowspan="2" |
| rowspan = "2" | 2012
| Grand Prix|กรังด์ปรีซ์
| rowspan = "2" | "Ru-Rararu-Ra-Rurararu-Ra-"
|
| align = "center" rowspan="2" |
|-
| รางวัลกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
|
|-
! scope="row" | Space Shower Music Awards|สเปซ ชาวเวอร์ มิวสิก วิดีโอ อวอร์ดส
| 2018
| ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม
| ซายูริ
|
| align = "center"|
|
== หมายเหตุ ==
== อ้างอิง == | ฉบับร่าง:ซายูริ (นักดนตรี) |
|
กล่องข้อมูล บุคคล
| name = คริเชอ
| image = Chrisye, Jakarta Govt website.jpg
| caption =
| birth_name = คริสเตียน ระฮะดี
| othername = ฮัจญี คริสมันชะห์ ระฮะดี
| birth_date =
| birth_place = จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย
| death_date =
| death_place = จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย
| resting_place = สุสานเจอะรุก ปุรุต เขตจาการ์ตาใต้
| spouse =
| children = 4
| occupation =
| signature = Signature of Chrisye.svg
| module = Infobox musical artist
| embed = yes
| genre =
| instrument =
| years_active = 1965–2007
| label = มุสิกะ สตูดิโอ
| website =
หัจญี '''คริสมันชะห์ ระฮะดี''' (; ชื่อเกิด '''คริสเตียน ระฮะดี''' ; 16 กันยายน ค.ศ. 1949 – 30 มีนาคม ค.ศ. 2007) เป็นที่รู้จักในชื่อ '''คริเชอ''' () เป็นนักร้องและนักแต่งเพลงแนวโพรเกรสซิฟป็อปชาวอินโดนีเซีย ซึ่งในปี 2011 นิตยสารโรลลิงสโตนอินโดนีเซียได้ประกาศให้เขาเป็นนักดนตรีอินโดนีเซียที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลเป็นอันดับสาม
คริสเชเกิดที่จาการ์ตา เขามีเชื้อสายจีน-อินโดนีเซีย และเริ่มสนใจดนตรีตั้งแต่ยังเด็ก ตอนมัธยมเขาเล่นกีตาร์เบสในวงดนตรีที่เขาตั้งร่วมกับโจริส พี่ชายของเขา ในช่วงปลายทศวรรษ 1960 เขาเข้าร่วมวงซับดะนาดะ (Sabda Nada ต่อมาคือ Gipsy) ซึ่งเป็นวงดนตรีที่นำโดยนาซูติโยน เพื่อนบ้านของเขา ในปี ค.ศ. 1973 หลังจากพักวงไประยะหนึ่ง เขากลับมาร่วมวงอีกครั้งเพื่อเล่นดนตรีในนิวยอร์กเป็นเวลา 1 ปี เขาเดินทางกลับอินโดนีเซียในช่วงสั้น ๆ จากนั้นจึงเดินทางกลับนิวยอร์กกับอีกวงหนึ่งคือ Pro's หลังจากเดินทางกลับอินโดนีเซียอีกครั้ง เขาก็ได้ร่วมงานกับ Gipsy และ กุรูก ซูการ์โนปุตรา ในการบันทึกอัลบั้มค่ายอิสระอย่าง ''กูรุกกิปซี'' (Guruh Gipsy) ในปี ค.ศ. 1976
หลังจากความสำเร็จของ ''กูรุกกิปซี'' ในปี ค.ศ. 1977 คริเชอได้บันทึกผลงานที่ได้รับคำวิจารณ์ในเชิงบวกมากที่สุด 2 ชิ้น ได้แก่ "''ลิลิน-ลิลิน เกอะจิ''" (Lilin-Lilin Kecil) ของ เจมส์ เอฟ. ซุนดะห์ ซึ่งต่อมากลายเป็นเพลงประจำตัวของเขา และอัลบั้มเพลงประกอบภาพยนตร์ ''บาได ปาสตี เบอะร์ละลุ'' (Badai Pasti Berlalu) ความสำเร็จดังกล่าวทำให้เขาได้เซ็นสัญญากับค่ายมุสิกะ สตูดิโอ และออกอัลบั้มเดี่ยวชุดแรกคือ ซับดะอะลัม (Sabda Alam) ในปี ค.ศ. 1978 ตลอดอาชีพการงานเกือบ 25 ปีกับค่ายมุสิกะ เขาได้บันทึกอัลบั้มเพิ่มเติมอีก 18 อัลบั้ม และในปีค.ศ. 1980 ก็ได้แสดงในภาพยนตร์ ''เซอะอินดะห์ เริมบุลัน'' (Seindah Rembulan) คริเชอเสียชีวิตที่บ้านของเขาในจาการ์ตาเมื่อวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 2007 หลังจากต่อสู้กับมะเร็งปอดมาอย่างยาวนาน
คริเชอมีชื่อเสียงจากบุคลิกบนเวทีที่แข็งแกร่งและเสียงร้องที่นุ่มนวล เขาได้รับคำชมเชยจากนักวิจารณ์ในอินโดนีเซีย อัลบั้ม 5 อัลบั้มที่เขามีส่วนร่วมได้รับเลือกให้ติดอันดับ 150 อัลบั้มที่ดีที่สุดตลอดกาลของอินโดนีเซียโดยนิตยสารโรลลิงสโตนอินโดนีเซีย เพลงอีก 4 เพลงของเขา (และเพลงที่ห้าที่เขามีส่วนร่วม) ได้รับการจัดอันดับให้เป็นเพลงที่ดีที่สุดตลอดกาลของอินโดนีเซียในนิตยสารฉบับเดียวกัน อัลบั้มหลายชุดของเขาได้รับการรับรองระดับเงินหรือทองคำ เขาได้รับรางวัลความสำเร็จระดับตลอดชีวิตอีกสองรางวัล หนึ่งรางวัลในปี ค.ศ. 1993 จาก BASF Awards และอีกหนึ่งรางวัลหลังจากเสียชีวิตในปี ค.ศ. 2007 จากสถานีโทรทัศน์ SCTV ของอินโดนีเซีย
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*
* http://www.last.fm/music/Chrisye คริเชอ ที่ลาสต์.เอฟเอ็ม
หมวดหมู่:เสียชีวิตจากมะเร็งปอด
หมวดหมู่:บุคคลจากศาสนาคริสต์ที่เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม
หมวดหมู่:นักร้องชาวอินโดนีเซีย
หมวดหมู่:มุสลิมชาวอินโดนีเซีย
หมวดหมู่:ชาวอินโดนีเซียเชื้อสายจีน
หมวดหมู่:บุคคลจากจาการ์ตา | คริเชอ |
|
กล่องข้อมูล ชีวประวัติ
| name = อาวลีอิ ครัลวาลโย
| image = Auliʻi Cravalho 2017.jpg
| alt =
| caption = ครัลวาลโย เมื่อปี 2017
| birth_name = โคลอี อาลีอิ ครัลวาลโย
| birth_date =
| birth_place = โคฮาลา, ฮาวาย, สหารัฐอเมริกา
| alma_mater = มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
| occupation = นักแสดง, นักร้อง
| years_active = 2016–ปัจจุบัน
'''โคลอี อาวลีอิ ครัลวาลโย''' ; Cite web|date=2016-11-16|title=Dwayne Johnson and Aulii Cravalho on how to pronounce Aulii Cravalho|url=https://www.youtube.com/watch?v=NFjz_rWWjJY|archive-url=https://web.archive.org/web/20161116221533/https://www.youtube.com/watch?v=NFjz_rWWjJY|archive-date=2016-11-16|access-date=2017-02-24|website=USA Today|via=YouTube Cite web|date=October 12, 2015|title=Introducing Aulii Cravalho as Disney's Moana|url=https://www.youtube.com/watch?v=g7hoE6HbGU4|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20170817125828/https://www.youtube.com/watch?v=g7hoE6HbGU4|archive-date=August 17, 2017|access-date=February 24, 2017|website=Honolulu Star-Advertiser|via=YouTube เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 ) เป็นนักแสดงและนักร้องชาวอเมริกัน เธอเริ่มเข้าสู่วงการการแสดงครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี โดยพากย์เสียง โมอานา (ตัวละคร)|ตัวละครเอก ในภาพยนตร์แอนิเมชั่นเพลง เดอะวอลต์ดิสนีย์|ของดิสนีย์เรื่อง ''ผจญภัยตำนานหมู่เกาะทะเลใต้'' (2016) เธอยังได้แสดงในซีรีส์ดราม่า บริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติ|ของ NBC/บริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติ เรื่อง ''Rise (ซีรี่ส์ทีวีอเมริกา)|Rise'' (2018), ภาพยนตร์ดราม่า เน็ตฟลิกซ์ เรื่อง ''All Together Now (ภาพยนตร์ปี 2020)|All Together Now'' (2020), ภาพยนตร์ตลกเหนือธรรมชาติ เรื่อง ''ดาร์บี้และคนตาย|Darby and the Dead'' (2022) และซีรีส์นิยายวิทยาศาสตร์ แอมะซอนไพรม์วิดีโอ|ของ แอมะซอนไพรม์วิดีโอ เรื่อง ''The Power (ละครโทรทัศน์)|The Power'' (2023) ซีรีส์แอนิเมชั่นเรื่อง ''เฮลีย์พร้อมแล้ว!|Hailey's On It!'' ดิสนีย์แชนแนล|ของ ดิสนีย์แชนแนล และ ก๊วนสาวซ่าส์ วีนซะไม่มี (ภาพยนตร์ปี ค.ศ. 2024)|ภาพยนตร์รีเมค จาก Mean Girls (มิวสิคัล)|ละครเพลงเรื่อง ''Mean Girls'' ในปี 2024
== ชีวิตช่วงต้นและการศึกษา ==
คราวัลโยเกิดที่ โคฮาลา ฮาวาย เธอมีเชื้อสายจีน,พื้นเมืองฮาวาย เปอร์โตริโก,โปรตุเกส และไอริช ในช่วงที่เธอเริ่มเป็นที่รู้จัก เธออาศัยอยู่ที่ มิลิมานี|เมืองมิลิลานี รัฐฮาวาย กับแม่ของเธอ และกำลังเรียนอยู่ชั้นมัธยมปลายปีแรก,ร้องเพลง โซปราโน ใน ชมรมร้องเพลง ที่วิทยาเขต คาปาลามะ|คาปาลามา ของ โรงเรียนคาเมฮาเมฮา|โรงเรียน Kamehameha Cite web|date=October 15, 2015|title=KS Kapālama sophomore Auliʻi Cravalho cast as Disney's "Moana" Kamehameha Schools|url=http://www.ksbe.edu/imua/article/ks-kapaalama-sophomore-aulii-cravalho-cast-as-moana/|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20220628022008/https://www.ksbe.edu/article/ks-kapaalama-sophomore-aulii-cravalho-cast-as-moana/|archive-date=June 28, 2022|access-date=February 25, 2017|website=www.ksbe.edu|language=en
ในเดือนมิถุนายน 2021 คราวัลโฮได้ประกาศว่าเธอได้รับเข้ามหาวิทยาลัยโคลัมเบีย|มหาวิทยาลัยคอลัมเบีย และต่อมาเผยว่าเธอวางแผนที่จะศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
== อาชีพ ==
ครัลวาลโย รับบทเป็นตัวละครนำในภาพยนตร์แอนิเมชั่นเรื่อง ''ผจญภัยตำนานหมู่เกาะทะเลใต้|โมอันน่า/ผจญภัยตำนานหมู่เกาะทะเลใต้'' ในปี 2016 เธอได้บอกว่าในตอนแรกเธอจะไม่ไปออดิชั่นบทนี้เพราะว่า “มีผู้คนหลากหลายคนที่ส่งประกวดไปได้ดีมากอยู่แล้ว เธอ จึงคิดว่า เธอ ไม่จำเป็นต้องไปลองคัด” อย่างไรก็ตาม เอเยนต์ที่มีพรสวรรค์คนหนึ่งในเกาะโอวาฮู|เกาะโออาฮู ค้นพบเธอผ่านการประกวดวิดีโอการกุศล และพาเธอมาที่ลอสแองเจลิสเพื่อออดิชั่นสำหรับบทดังกล่าว เรเชล ซัตตัน ผู้กำกับการคัดเลือกนักแสดง กล่าวว่า คราวัลโยเป็นคนสุดท้ายที่เข้ารับการออดิชั่นจากนักแสดงหญิงนับร้อยคน
ในเดือนกุมภาพันธ์ 2017 มีการประกาศว่าเธอได้รับเลือกให้ร่วมแสดงในซีรีส์ของละครเรื่อง ''Rise (ซีรี่ส์ทีวีอเมริกา)|ไรส์'' บริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติ|ของช่อง NBC/บริษัทแพร่ ซึ่งได้รับคำสั่งให้ออกฉายซีรีส์ในวันที่ 4 พฤษภาคม 2017 ซีรีส์นี้ฉายรอบปฐมทัศน์เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2018 แต่ NBC ยกเลิกซีรีส์นี้เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2018 เนื่องจากมีเรตติ้งต่ำ Cite web|last=McPhee|first=Ryan|date=November 16, 2017|title=NBC's Theatre-Focused Drama Rise Sets March Premiere Playbill|url=http://www.playbill.com/article/nbcs-theatre-focused-drama-rise-sets-march-premiere|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20201201152744/https://www.playbill.com/article/nbcs-theatre-focused-drama-rise-sets-march-premiere|archive-date=December 1, 2020|access-date=November 17, 2017|website=Playbill|language=en ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2560 เธอได้ร้องเพลงชาติใน งานคอนเสิร์ตวันรำลึกแห่งชาติ[ ''วิกิพีเดีย:ต้องการอ้างอิง|จำเป็นต้องอ้างอิง'' ] ในเดือนพฤศจิกายน 2560 คราวัลโฮประกาศว่าเธอจะกลับมารับบทเป็นโมอาน่าอีกครั้งในภาพยนตร์ดิสนีย์เรื่องแรกที่ฉายใน ภาษาฮาวาย ''Moana'' เวอร์ชันพากย์เสียงฉายครั้งแรกในวันที่ 10 มิถุนายน 2018
เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2019 ครัลวาโย ได้รับบทเป็น แอเรียล (ตัวละครดิสนีย์)|แอเรียล ในรายการ ''เงือกน้อยผจญภัย Live!|The Little Mermaid Live!'' ของ บริษัทแพร่สัญญาณอเมริกัน|ABC/บริษัทแพร่สัญญาณอเมริกัน ''การ'' แสดงคอนเสิร์ตสดของเรื่อง ''เงือกน้อยผจญภัย|The Little Mermaid/เงือกน้อยผจญภัย'' ในปี 2020 เธอได้แสดงใน ''All Together Now (ภาพยนตร์ปี 2020)|All Together Now'' ซึ่งกำกับโดย เบร็ทท์ เฮลีย์|Brett Haley สำหรับ เน็ตฟลิกซ์ ครัลวาโยได้แสดงเป็นผู้บรรยายรับเชิญในงาน ขบวนแห่เทียนแห่งดิสนีย์|Disney's Candlelight Processional ที่ วอลต์ดิสนีย์เวิลด์ สองครั้งในปี 2018 และ 2021 https://mynews13.com/fl/orlando/attractions/2021/11/09/disney-reveals-full-celebrity-narrator-lineup-epcot-candlelight-processional ''MyNews13.''
ในปี 2020 ครัลวาโย ได้เข้าร่วมใน ''การกระทำเพื่อจุดมุ่งหมาย|Acting for a Cause'' ซึ่งเป็นละครสดและบทภาพยนตร์คลาสสิกที่สร้าง กำกับ และผลิตโดย แบรนโด ครอว์ฟอร์ด ครัลวาโย รับบทเป็นกเวนโดเลน แฟร์แฟกซ์ในภาพยนตร์เรื่อง ''The Importance of Being Earnest'', ลาเออร์เทส ในภาพยนตร์เรื่อง ''แฮมเลต|Hamlet'', เลดี้แคทเธอรีน ในภาพยนตร์เรื่อง ''สาวทรงเสน่ห์|Pride and Prejudice'' และจีนนี่ บูลเลอร์ในภาพยนตร์เรื่อง ''Ferris Bueller's Day Off'' การอ่านครั้งนี้ระดมทุนเพื่อการกุศลที่ไม่แสวงหากำไรรวมทั้ง ศูนย์การแพทย์ Mount Sinai
'''โคลอี อาลีอิ ครัลวาลโย''' ; Cite web|date=2016-11-16|title=Dwayne Johnson and Aulii Cravalho on how to pronounce Aulii Cravalho|url=https://www.youtube.com/watch?v=NFjz_rWWjJY|archive-url=https://web.archive.org/web/20161116221533/https://www.youtube.com/watch?v=NFjz_rWWjJY|archive-date=2016-11-16|access-date=2017-02-24|website=USA Today|via=YouTube Cite web|date=October 12, 2015|title=Introducing Aulii Cravalho as Disney's Moana|url=https://www.youtube.com/watch?v=g7hoE6HbGU4|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20170817125828/https://www.youtube.com/watch?v=g7hoE6HbGU4|archive-date=August 17, 2017|access-date=February 24, 2017|website=Honolulu Star-Advertiser|via=YouTube เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 ) เป็นนักแสดงและนักร้องชาวอเมริกัน เธอเริ่มเข้าสู่วงการการแสดงครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี โดยพากย์เสียง โมอานา (ตัวละคร)|ตัวละครเอก ในภาพยนตร์แอนิเมชั่นเพลง เดอะวอลต์ดิสนีย์|ของดิสนีย์เรื่อง ''ผจญภัยตำนานหมู่เกาะทะเลใต้'' (2016) เธอยังได้แสดงในซีรีส์ดราม่า บริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติ|ของ NBC/บริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติ เรื่อง ''Rise (ซีรี่ส์ทีวีอเมริกา)|Rise'' (2018), ภาพยนตร์ดราม่า เน็ตฟลิกซ์ เรื่อง ''All Together Now (ภาพยนตร์ปี 2020)|All Together Now'' (2020), ภาพยนตร์ตลกเหนือธรรมชาติ เรื่อง ''ดาร์บี้และคนตาย|Darby and the Dead'' (2022) และซีรีส์นิยายวิทยาศาสตร์ แอมะซอนไพรม์วิดีโอ|ของ แอมะซอนไพรม์วิดีโอ เรื่อง ''The Power (ละครโทรทัศน์)|The Power'' (2023) ซีรีส์แอนิเมชั่นเรื่อง ''เฮลีย์พร้อมแล้ว!|Hailey's On It!'' ดิสนีย์แชนแนล|ของ ดิสนีย์แชนแนล และ ก๊วนสาวซ่าส์ วีนซะไม่มี (ภาพยนตร์ปี ค.ศ. 2024)|ภาพยนตร์รีเมค จาก Mean Girls (มิวสิคัล)|ละครเพลงเรื่อง ''Mean Girls'' ในปี 2024
ในปี 2023 มีการประกาศว่า ครัลวาลโยจะเป็นผู้อำนวยการบริหารในภาพยนตร์ โมอาน่า (ภาพยนตร์ปี 2026)|ไลฟ์แอ็กชั่น เรื่อง ''โมอันน่า'' แต่จะไม่กลับมารับบทเดิมอีกต่อไป เธอกล่าวในปี 2024 ว่า "ฉันรู้สึกสำคัญจริงๆ ที่ต้องส่งต่อไม้ต่อให้กับหญิงสาวเชื้อสายเกาะแปซิฟิกคนต่อไป"
== ชีวิตส่วนตัว ==
ในเดือนเมษายน 2020 ครัลวาลโย เปิดเผยว่าเธอเป็น รักร่วมสองเพศ|ไบเซ็กชวล ในเดือนมกราคม ปี 2024 ครัลวาลโย เผยว่าเธอเป็นโรค โรคเอห์เลอร์ส–ดันลอส|Ehlers–Danlos
== อ้างอิง ==
หมวดหมู่:ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
หมวดหมู่:นักแสดงละครโทรทัศน์หญิงชาวอเมริกัน
หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายปวยร์โตรีโก
หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายฮาวาย
หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายไอริช
หมวดหมู่:นักแสดงชาวอเมริกันเชื้อสายจีน
หมวดหมู่:นักแสดงภาพยนตร์หญิงชาวอเมริกัน
หมวดหมู่:นักร้องเด็กชาวอเมริกัน
หมวดหมู่:นักแสดงเด็กหญิงชาวอเมริกัน
หมวดหมู่:นักแสดงหญิงชาวอเมริกันในศตวรรษที่ 21
หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2543 | ฉบับร่าง:อาวลีอิ ครัลวาลโย |
|
กล่องข้อมูล บุคคล
| name = ดิยัน ซัซโตรวาร์โดโย
| image = Dian Sastrowardoyo (2016).png
| caption = ดิยัน ซัซโตรในปี ค.ศ. 2016
| birth_name = ดิยัน ปะรามิตะ ซัซโตรวาร์โดโย
| othername = ดิยัน ซัซโตร
| birth_date =
| birth_place = จาการ์ตา อินโดนีเซีย
| death_date =
| death_place =
| alma_mater = มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย (ปริญญาตรีด้านปรัชญา)
| occupation =
| years_active = 1989–ปัจจุบัน
| spouse =
| parents =
| children = 2
| homepage =
| awards = จิตราอวอร์ด สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
'''ดิยัน ปะรามิตะ ซัซโตรวาร์โดโย''' () (เกิดวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1982) มักรู้จักในชื่อ ดิยัน ซัซโตร () เป็นนักแสดงและนางแบบชาวอินโดนีเซีย เธอเป็นที่รู้จักในบท จินตะ ในภาพยนตร์เรื่อง ''อะดา อะปา เดอะงัน จินตะ?'' (Ada Apa Dengan Cinta?)
== ชีวิตตอนต้นและการศึกษา ==
ดิยัน ซัซโตร เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1982 ในจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นบุตรสาวของอาริอาวัน ซัซโตรวาร์โดโย (ค.ศ. 1955 – ค.ศ. 1995) ผู้เป็นศิลปิน และเดวี ปาร์วะตี ซาสโตรวาร์โดโย (นามสกุลเดิม เซตะโยรินี) อาจารย์มหาวิทยาลัย ซาสโตรเดิมเกิดและนับถือโรมันคาทอลิก|ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก แต่ต่อมาได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม ปู่ของเธอ ดร. สุมาร์โซโน ซัซโตรวาร์โดโย (1922–2008) เป็นแพทย์ ศัลยแพทย์ และนักเขียนหนังสือ อาของเธอ ดร. อะสะวิน วิซักโซโน ซัซโตรวาร์โดโย (เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1957) เป็นนักดนตรีที่ภายหลังผันตัวมาเป็นแพทย์ ปู่ของเธอยังเป็นน้องชายของทั้งซูนาริโย (ค.ศ. 1902 – ค.ศ. 1997) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอินโดนีเซียระหว่างปี ค.ศ. 1953 ถึง ค.ศ. 1956 และ ดร. ซูกันติ ซูริโยโจนโดร (ค.ศ. 1915 – ค.ศ. 2004) อดีตอาจารย์สอนวิชาสตรีศึกษาที่ มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย และเป็นพี่ชายของ ซูบากิโย ซัซโตรวาร์โดโย (ค.ศ. 1924 – ค.ศ. 1995) กวีและนักวิจารณ์วรรณกรรมชื่อดัง โดย ซูเตโจ ซัซโตรวาร์โดโย (ค.ศ. 1878 – ค.ศ. 1967) เป็นปู่ทวดของเธอ ครอบครัวสามารถสืบเชื้อสายไปถึงศตวรรษที่ 15 นามสกุลของดิยัน ซัซโตร มาจากคำว่า ''ศาสตระ'' (จากภาษาสันสกฤต แปลว่า "งานเขียน") และ ''วาทยะ'' หรือ ''หฤทยะ'' ("หัวใจ" ดังนั้นทั้งสองคำจึงแปลว่า "งานเขียนของหัวใจ")
เธอเข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมต้นที่โรงเรียนมัธยมต้นวินเซนติอุส โอติสตา จาการ์ตา (SMP Vincentius Otista Jakarta) และเข้าศึกษามัธยมปลายที่โรงเรียนมัธยมปลายตะรากะนิตา 1 (SMA Tarakanita 1) จากนั้นจึงเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยอินโดนีเซีย ซึ่งเธอได้เรียนนิติศาสตร์ในช่วงสั้น ๆ ก่อนจะย้ายไปเรียนที่คณะวรรณกรรม และได้รับปริญญาตรีด้านปรัชญาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 เธอสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่คณะเศรษฐศาสตร์ในมหาวิทยาลัยเดียวกันนี้ โดยเรียนสาขาการจัดการการเงินเป็นวิชาเอก และได้รับปริญญาโทด้านการสาขาการจัดการ เธอสำเร็จการศึกษาเกียรตินิยมอันดับหนึ่งในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2014
==อาชีพการแสดง==
File:Dian sastro scroundbites 2007.jpg|thumb|upright|ดิยันซัซโตรในปี ค.ศ. 2007
ดิยัน ซัซโตร เริ่มต้นอาชีพนางแบบในปี ค.ศ. 1996 ในฐานะนางแบบหน้าปกของนิตยสารกาดิส (Gadis) นิตยสารวัยรุ่นชื่อดังในอินโดนีเซีย หลังจากที่เธอชนะการประกวดนางงามวัยรุ่น ''กาดิสซัมปุล'' (Gadis Sampul) เมื่ออายุได้ 14 ปี เธอได้แสดงนำใน ''ปาซิร์ เบอะร์บิซิก'' (Pasir Berbisik) ในบทดายะ ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างมากและได้รับรางวัลมากมาย รวมถึงรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมจากเทศกาลภาพยนตร์เอเชียที่เมืองโดวิลล์ ประเทศฝรั่งเศส เธอโด่งดังจากบทบาทนำในบทจินตะ ในภาพยนตร์คัลท์คลาสสิกเรื่อง ''อะดา อะปา เดอะงัน จินตะ?'' (Ada Apa Dengan Cinta?) ในปี ค.ศ. 2002 ซึ่งทำรายได้ถล่มทลายไม่เฉพาะในอินโดนีเซียเท่านั้น แต่ยังรวมถึงประเทศมาเลเซีย|มาเลเซียในอีกหนึ่งปีต่อมาในเดือนมกราคม ค.ศ. 2003 จากบทบาทดังกล่าว เธอได้รับรางวัลจิตราอวอร์ด (Citra Award) สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ตั้งแต่นั้นมา เธอได้สร้างชื่อเสียงให้กับตัวเองในฐานะนักแสดงหญิงที่มีรายได้สูงที่สุดคนหนึ่งของอินโดนีเซีย โดยแสดงในภาพยนตร์เช่น ''บันยุบิรุ'' (Banyu Biru), ''อุนกู วิโอเลต'' (Ungu Violet) และ ''เบอะร์ลาฮัน ยิวะ'' (Belahan Jiwa) รวมถึงภาพยนตร์ต่างประเทศ เช่น ''ปุเตอะริ กุนุง เลอะดัง'' (Puteri Gunung Ledang) ของมาเลเซีย
การปรากฏตัวทางโทรทัศน์อื่นๆ ได้แก่ รับบทเป็น รายะ ใน ''ดุนยะ ตันปะ โกมะ'' (Dunia Tanpa Koma) และช่วงสั้น ๆ ในฐานะพิธีกรรายการเกมโชว์ทางโทรทัศน์ ''กุวิส ซูเปอร์ มิลยาร์เดอร์ ติกะ มิลยาร์'' (Kuis Super Milyarder 3 Milyar) ซึ่งเป็นภาคแยกซีซั่นที่ 2 ของฮูวอนส์ทูบีอะมิลเลียนแนร์?ในเวอร์ชันอินโดนีเซีย รายการดังกล่าวออกอากาศทางช่อง ANTV นอกเหนือจากอาชีพนักแสดงแล้ว เธอยังเป็นนางแบบให้กับลอรีอัลปารีสตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 อีกด้วย
ดิยัน ซัซโตร ยังเป็นทูตสันถวไมตรีสำหรับแคมเปญเยาวชนให้กับ เอ็มทีวี เอ็กซิส (MTV EXIT) ซึ่งเป็นโครงการมัลติมีเดียที่จัดทำโดยมูลนิธิ เอ็มทีวี เอ็กซิส เพื่อสร้างความตระหนักและรณรงค์การป้องกันการค้ามนุษย์และการใช้แรงงานทาสยุคใหม่ผ่านกิจกรรมอีเวนต์ วิดีโอคอนเทนต์ และการมีส่วนร่วมของเยาวชน เธอเป็นพิธีกรในโปรแกรมพิเศษสำหรับแคมเปญนี้ในปี ค.ศ. 2012 ในชื่อ Enslaved ซึ่งผลิตใน 13 ประเทศทั่วเอเชีย
ในปี ค.ศ. 2016 เธอกลับมารับบทเดิมใน ''อะดา อะปา เดอะงัน จินตะ? 2'' (Ada Apa Dengan Cinta? 2) ภาคต่อภาพยนตร์ที่เคยสร้างชื่อให้กับเธอ โดยแสดงคู่กับ นิโคลัส ซะปุตรา
ในปี ค.ศ. 2016 ซาสโตรรับบทเป็นวีรสตรีประจำชาติอินโดนีเซียในภาพยนตร์ดราม่าชีวประวัติเรื่อง ''การ์ตีนี'' ในปี ค.ศ. 2018 ดิยันได้แสดงนำในภาพยนตร์เรื่อง ''อารุนะ ดัน ลิดะห์ญะ'' (Aruna dan Lidahnya "อารุนะและช่องปากของเธอ") ซึ่งเป็นภาพยนตร์ที่สร้างจากนวนิยายชื่อเดียวกันที่เขียนโดย ลักซะมี ปามุนจัก (Laksmi Pamuntjak)
ในปี ค.ศ. 2020 เธอแสดงในภาพยนตร์ตลกเรื่อง ''เครซี่ออลซัมทีชเชอร์'' (Crazy Awesome Teachers) และออกฉายทาง เน็ตฟลิกซ์
ในปี 2023 ซาสโตรแสดงในซีรีส์ทางเน็ตฟลิกซ์ซึ่งกำกับโดยกามิลา อันดินี และ อิฟา อิสฟานชะห์ เรื่อง ''ซิกาเร็ตเกิร์ล'' (Cigarette Girl) รับบทเป็น ''เจ็งยะห์'' (Jeng Yah) ซึ่งร่วมแสดงกับ อาริโย บายุ (Ario Bayu), ปุตริ มะริโน (Putri Marino), ชาห์ อิเน เฟริยันติ (Sha Ine Febriyanti), รุกมัน โรซะดิ (Rukman Rosadi) และ ตุติ กิรานะ (Tutie Kirana)
==ชีวิตส่วนตัว==
ดิยันซัซโตร แต่งงานกับ เมาละนา อินดรากูนะ ซูโตโว (Maulana Indraguna Sutowo) นักธุรกิจและบุตรชายของอะดิกูนะ ซูโตโซ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 2010 ทั้งคู่มีลูกสองคนคือ ไชเลนดรา นาร์ยามะ ซัซตรากูนะ ซูโตโว (เกิด 17 กรกฎาคม ค.ศ. 2011) และ อิชานะ อะริยันดรา ซูโตโว (เกิด 7 มิถุนายน ค.ศ. 2013).
==รางวัลและการเข้าชิงรางวัล==
| class="wikitable sortable"
! ปี
! รางวัล
! ประเภท
! ผลงาน
! ผลการประกาศรางวัล
|-
! rowspan="4"|2002
| Deauville Asian Film Festival
| rowspan="2"|นักแสดงหญิงยอดเยี่ยม
| rowspan="2"|Pasir Berbisik
|
|-
| Singapore International Film Festival
|
|-
| Indonesian Film Festival
| จิตราอวอร์ดสำหรับนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
| rowspan="5"|''Ada Apa dengan Cinta?''
|
|-
| SCTV (Indonesia)|SCTV Award
| นักแสดงหญิงยอดนิยม
|
|-
! rowspan="3"|2003
| Hawaii International Film Festival
| rowspan="3"|นักแสดงหญิงยอดเยี่ยม
|
|-
| Malaysian Film Festival
|
|-
| Festival Film Bandung
|
|-
! rowspan="3"|2005
| MTV Indonesia Movie Awards
| rowspan="2"|นักแสดงหญิงยอดนิยม
| rowspan="2"|''Ungu Violet''
|
|-
| MTV Asia Movie Awards in Singapore
|
|-
| Asia Pacific Film Festival
| นักแสดงหญิงที่น่าจับตามองที่สุด
| ''Banyu Biru''
|
|-
! rowspan="3"|2009
| Pusan International Film Festival
| ซิลเวอร์อวอร์ดสำหรับนักแสดงนำหญิง
| rowspan="3"|''3 Doa 3 Cinta''
|
|-
| Bali International Film Festival
| นักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม
|
|-
| ELLE Film Magazine USA Award
| นักแสดงหญิงแห่งปี
|
|-
! 2010
| USA Magazine Indonesia Award
| นักแสดงหญิงยอดนิยม
| ''Drupadi''
|
|-
! 2015
| Maya Award
| นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
| ''7/24''
|
|-
! 2017
| rowspan="2"|Indonesian Film Festival
| rowspan="2"|จิตราอวอร์ดสำหรับนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
| ''Kartini''
|
|-
! rowspan="2"|2018
| rowspan="2"|''Aruna dan Lidahnya''
|
|-
| Maya Award
| นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
|
|-
|
==แหล่งอ้างอิง==
หมวดหมู่:บุคคลจากศาสนาคริสต์ที่เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม
หมวดหมู่:นักแสดงอินโดนีเซีย
หมวดหมู่:ชาวชวา
หมวดหมู่:มุสลิมชาวอินโดนีเซีย
หมวดหมู่:บุคคลจากจาการ์ตา | ดิยัน ซัซโตรวาร์โดโย |
|
กล่องข้อมูล ชีวประวัติ
| name = เรมี่ ลาครัวซ์
| image = Remy LaCroix 2014.jpg
| caption = ลาครัวซ์ในปี 2014
| birth_name =
| birth_date = | birth_place = ซานฟรานซิสโก, แคลิฟอร์เนีย, สหรัฐอเมริกา
| occupation = นักแสดงภาพยนตร์สำหรับผู้ใหญ่
'''เรมี่ ลาครัวซ์''' () เป็นนักแสดงภาพยนตร์สำหรับผู้ใหญ่ชาวอเมริกัน เธอได้รับรางวัลนักแสดงหน้าใหม่ยอดเยี่ยมจากงาน AVN ปี 2013 และรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมจากงาน AVN ปี 2014 รวมถึงรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมแห่งปีจากงาน XRCO ปี 2014
== ชีวิตช่วงต้น ==
ก่อนที่จะเข้าสู่อุตสาหกรรมบันเทิงสำหรับผู้ใหญ่ ลาครัวซ์เคยเป็นนักเต้นเฉพาะทางในหลายเทศกาลดนตรีและ Burning Man การแสดงของเธอรวมถึง การเต้นไฟ, ผ้าใยสังเคราะห์ และ Hula hoop|การหมุนฮูลาฮูปTod Hunter, Steve Javors, Mark Kernes, และ Eric Dro, Peter Warren, "Freshen Up!", ''AVN (magazine)|AVN'', vol. 29/no. 6, issue 355, June 2012, pp. 46–51.
== อาชีพ ==
ลาครัวซ์เริ่มเข้าสู่วงการภาพยนตร์สำหรับผู้ใหญ่ในเดือนธันวาคม 2011 ด้วยการแสดง Gang bang pornography|ฉากแก๊ง สำหรับ Kink.comhttp://blogs.laweekly.com/arts/2013/03/porn_stars_young_san_fernando_valley.php ซึ่งได้รับการกล่าวถึงในสารคดี ''Kink (film)|Kink'' ที่ผลิตโดย เจมส์ แฟรนโกCitation|title=Watch Kink Online Vimeo On Demand|date=August 20, 2014|url=https://vimeo.com/ondemand/kink|access-date=10 October 2019 เธอทำงานในวงการนี้เป็นระยะเวลา 6 เดือนก่อนที่จะประกาศว่าเธอจะออกจากการแสดงหนังโป๊ โดยให้เหตุผลว่าเธอรู้สึกหมดไฟ แต่เธอยังคงทำตามสัญญาที่มีอยู่ก่อนหน้านี้ ทำงานในแผนกพริตตี้ที่ Kink.com และโปรโมตหนังที่ยังไม่เผยแพร่ของเธอ ซึ่งสุดท้ายเธอก็กลับมาถ่ายทำอีกครั้งในเดือนพฤศจิกายน 2012
ในปี 2013 ''LA Weekly'' ได้จัดอันดับให้เธออยู่ในอันดับที่สิบในรายการ '10 Porn Stars Who Could Be the Next Jenna Jameson' เธอยังถูกจัดอยู่ในรายการประจำปีของ ซีเอ็นบีซี 'The Dirty Dozen: Porn's Most Popular Stars' ในปี 2013 และ 2014
ในเดือนธันวาคม 2014 มีการประกาศว่าเธอ แต่ภายในระยะเนั้แสดงกอยกว่าสามเดือนเธอได้ยกเลิกสัญญากับบริษัทผลิต
ในปี 2016 ลาครัวซ์ได้เป็นกรรมการในรายการ เรียลลิตีโชว์ ''The Sex Factor'' ซึ่งเป็นเวอร์ชันโป๊ของ ''The X Factor''
เธอได้เกษียณจากการถ่ายทำในระดับมืออาชีพในปี 2016 เนื่องจากตั้งครรภ์ แต่ในปี 2020 เธอได้ประกาศการกลับเข้าสู่วงการภาพยนตร์สำหรับผู้ใหญ่https://www.xbiz.com/news/249756/remy-lacroix-announces-return-now-booking-with-oc-modeling XBIZ: Remy LaCroix Announces Return, Now Booking With OC Modeling การกลับมาของเธอ ฉากแรกถ่ายทำที่ Bellesa สตูดิโอ ถูกถ่ายทำในเดือนกรกฎาคม 2022 และเผยแพร่ในเดือนกันยายน 2022
== รางวัล ==
ไฟล์:Remy Lacroix Riley Reid AEE 2013.jpg|thumb|เรมี่ ลาครัวซ์ กับ Riley Reid|ไรลีย์ รีด (ขวา) อดีตนักแสดงร่วมที่ชนะรางวัลหลายครั้งร่วมกันในปี 2013 และ 2014
* 2013: AVN Award – ดาวรุ่งหญิงยอดเยี่ยม
* 2013: AVN Award – การแสดงยั่วยวนยอดเยี่ยม – ''เรมี่'' (ร่วมกับ เล็กซี่ เบลล์)
* 2013: XBIZ Award – นักแสดงหญิงยอดเยี่ยม – หนังแนวคู่รัก – ''Torn''
* 2013: XRCO Award – ดาวรุ่งหญิงยอดเยี่ยม
* 2013: Sex Award – คู่จอหญิง/หญิงที่สมบูรณ์แบบในภาพยนตร์ผู้ใหญ่ (ร่วมกับ Riley Reid|ไรลีย์ รีด)
* 2014: AVN Award – นักแสดงหญิงยอดเยี่ยม – ''The Temptation of Eve''
* 2014: AVN Award – ฉากเซ็กซ์หญิง/หญิงยอดเยี่ยม – ''Girl Fever'' (ร่วมกับ ไรลีย์ รีด)
* 2014: AVN Award – ฉากเซ็กซ์สามคนหญิง/หญิง/ชายยอดเยี่ยม – ''Remy 2'' (ร่วมกับ ไรลีย์ รีด และ Manuel Ferrara|มานูเอล เฟอร์รารา)
* 2014: NightMoves Award – นักแสดงหญิงยอดเยี่ยม (ตัวเลือกของบรรณาธิการ)
* 2014: XBIZ Award – นักแสดงหญิงยอดเยี่ยม – หนังฟีเจอร์ – ''The Temptation of Eve''
* 2014: XRCO Award – นักแสดงหญิงยอดเยี่ยม – ''The Temptation of Eve''
* 2014: XRCO Award – นักแสดงหญิงยอดเยี่ยมแห่งปี
* 2015: AVN Award – ฉากเซ็กซ์หญิง/หญิงยอดเยี่ยม – ''Gabi Gets Girls'' (ร่วมกับ Gabriella Paltrova)
* 2023: XBIZ Award – ฉากเซ็กซ์ยอดเยี่ยมในผลงานการแสดงครั้งแรก – ''Remy's Back With a Bang'' (ร่วมกับ ดันเต้ คอลเล่, เดมอน ไดซ์, Tommy Pistol|ทอมมี พิสทอล, และ จอห์น สตรอง)
== อ้างอิง ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*
*
*
หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2531
หมวดหมู่:นักแสดงหญิงจากซานฟรานซิสโก
หมวดหมู่:นักแสดงหนังโป๊หญิงชาวอเมริกัน
หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
หมวดหมู่:นักแสดงหนังโป๊จากแคลิฟอร์เนีย
หมวดหมู่:นักแสดงหญิงชาวอเมริกันในศตวรรษที่ 21 | เรมี่ ลาครัวซ์ |
|
Infobox officeholder
| image = Governor of West Java Ridwan Kamil.png
| caption = รูปถ่ายอย่างเป็นทางการ
| office = ผู้ว่าการจังหวัดชวาตะวันตก คนที่ 14
| term_start = 5 กันยายน ค.ศ. 2018
| term_end = 5 กันยายน ค.ศ. 2023
| deputy = อุอุ รุซานุล อุลุม
| predecessor =
| successor = เบย์ มัจมุดิน (รักษาการ)
| office1 = นายกเทศมนตรีเมืองบันดุง คนที่ 15
| term_start1 = 16 กันยายน ค.ศ. 2013
| term_end1 = 5 กันยายน ค.ศ. 2018
| deputy1 = โอเดด มุฮัมหมัด ดานียัล
| predecessor1 = ดาดะ โรซาดะ
| successor1 = โอเดด มุฮัมหมัด ดานียัล
| birth_name = โมจามัด ริดวัน กามิล
| birth_date =
| birth_place = บันดุง อินโดนีเซีย
| death_date =
| death_place =
| party = กลการ์
| otherparty = นักการเมืองอิสระ|อิสระ (ค.ศ. 2012 – ค.ศ. 2023)
| spouse = อะตาลียา ปรารัตยา (ตั้งแต่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1996)
| children = 3 (บุตรบุญธรรม 1)
| father = อะเจ มิสบัจ มูฮ์ยิดดิน
| mother = จูจู ซุกะเอซิห์
| alma_mater =
| occupation =
| nickname = ''กัง เออะมิล''
'''โมจามัด ริดวัน กามิล''' () (เกิด วันที่ 4 ตุลาคม 1971) หรือนิยมเรียกกัน ''กัง เออะมิล'' (Kang Emil - 'คุณกามิล' ในภาษาซุนดา) หรือ RK เป็นสถาปนิกและนักการเมืองชาวอินโดนีเซียที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการจังหวัดชวาตะวันตกคนที่ 15 ซึ่งเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุด (มีประชากรมากที่สุด) ของประเทศอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย นอกจากนี้เขายังดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองบันดุงตั้งแต่ปี ค.ศ. 2013 ถึง ค.ศ. 2018 ในฐานะสถาปนิก เขายังออกแบบโครงสร้างที่เป็นสัญลักษณ์ในอินโดนีเซียและประเทศอื่น ๆ ในเอเชียร่วมกับบริษัทสถาปัตยกรรมยูแบน (Urbane) ของเขา และเคยเป็นอาจารย์ที่คณะสถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยีบันดุง
== ชีวิตส่วนตัว ==
ริดวัน กามิล เกิดที่เมืองบันดุง เป็นบุตรคนที่สองของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยปะจาจารันชื่อ อะเจ มิสบัจ มูฮ์ยิดดิน เขาเรียนชั้นประถมที่ SDN Banjarsari III Bandung ระหว่างปี ค.ศ. 1978 ถึง ค.ศ. 1984 จากนั้นจึงเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ SMP Negeri 2 Bandung ระหว่างปี ค.ศ. 1984 – ค.ศ. 1987 และ SMA Negeri 3 Bandung ระหว่างปี ค.ศ. 1987 ถึง ค.ศ. 1990 ตามลำดับ จากนั้น ริดวัน กามิล ศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาที่สถาบันเทคโนโลยีบันดุงและสำเร็จการศึกษาในปี ค.ศ. 1995 ด้วยปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ สาขาสถาปัตยกรรม จากนั้นเขาเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เป็นเวลา 2 ปี จนกระทั่งได้รับปริญญาโทด้าน Urban Design หลังจากสำเร็จการศึกษาปริญญาโทในสหรัฐอเมริกาแล้ว ริดวัน กามิล กลับมายังอินโดนีเซียและดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์ประจำที่สถาบันเทคโนโลยีบันดุงเป็นเวลา 14 ปีในหลักสูตรการศึกษาทางวิศวกรรมสถาปัตยกรรม ก่อนที่จะเข้าสู่โลกของการเมืองในที่สุด
ริดวัน กามิล พบกับอะตาลียา ปรารัตยา ภรรยาของเขา ในงานนิทรรศการที่บันดุง และมีลูกด้วยกัน 2 คนคือ เอมเมอริล คาห์น มุมตัดซ์ (ค.ศ. 1999 – ค.ศ. 2022) และกามิลลียา ลาเอทิทียา อัซซารา (เกิดปี ค.ศ. 2004) และรับลูกบุญธรรมหนึ่งคนคือ อาร์คานา เอดัน มิสบัค (เกิดปี ค.ศ. 2020) เอมเมอริล บุตรชายคนโต เสียชีวิตที่แบร์น ประเทศสวิตเซอร์แลนด์|สวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 ขณะอายุได้ 22 ปี ขณะเขาว่ายน้ำที่แม่น้ำอาเรอ วันที่ 9 มิถุนายน ศพของเขาถูกพบที่เขื่อน Engehalde ในเมืองแบร์น การเสียชีวิตของเขาได้รับความสนใจอย่างมากในอินโดนีเซีย โดยงานศพของเขาในเมืองบันดุงมีผู้เข้าร่วมหลายพันคน และมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ของรัฐ
===การศึกษา===
ริดวัน กามิล ใช้ชีวิตเกือบทั้งชีวิตในเมืองบันดุง ซึ่งเขาเรียนในโรงเรียนรัฐบาลและศึกษาสถาปัตยกรรมที่สถาบันเทคโนโลยีบันดุงซึ่งเป็นสถาบันด้านวิศวกรรมชั้นนำของอินโดนีเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษาในระดับวิทยาลัย เขาเดินทางไปสหรัฐอเมริกาเพื่อฝึกงานในบริษัทสถาปัตยกรรม ก่อนที่จะได้รับทุนการศึกษาในปี ค.ศ. 1999 เพื่อศึกษาต่อที่วิทยาลัยการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ในสหรัฐอเมริกา เขาสำเร็จการศึกษาในปี ค.ศ. 2001 ด้วยปริญญาโทด้านการออกแบบเมืองและมีประสบการณ์การทำงานที่หน่วยงานของรัฐในเบิร์กลีย์ เขาได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ สาขาการบริหารรัฐกิจ จากมหาวิทยาลัยดงอาในปี 2019 จากบทบาทในการพัฒนาการปกครองในจังหวัดชวาตะวันตก
==อาชีพการงาน==
หลังจากทำงานเป็นสถาปนิกในฮ่องกง ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2547 กามิลและหุ้นส่วนของเขาได้ก่อตั้งบริษัท Urbane ซึ่งเป็นบริษัทสถาปัตยกรรมที่ตั้งอยู่ในเมืองบันดุง จังหวัดชวาตะวันตก เขานำการออกแบบที่ทันสมัยมาใช้ในงานของเขา ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ตึกพาณิชย์และหอคอยมหาวิทยาลัยไปจนถึงพิพิธภัณฑ์และมัสยิด นอกจากนี้ เขายังเป็นที่รู้จักจากการสร้างพื้นที่สาธารณะแบบเปิดโล่งในพื้นที่อยู่อาศัยที่มีผู้คนพลุกพล่านในเมืองบันดุง ซึ่งเป็นงานอาสาสมัครของเขา
===รางวัล===
ในปี ค.ศ. 2006 กามิลได้รับรางวัล Young Creative Entrepreneur Award จาก British Council และเป็นตัวแทนของประเทศอินโดนีเซียในรางวัล International Young Design Entrepreneur of the Year
''Urbane Indonesia'' ติดอันดับหนึ่งในรางวัล BCI Asia Top 10 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008 ถึง ค.ศ. 2010 และอีกครั้งในปี ค.ศ. 2012
===โครงการ===
กามิลเป็นผู้บุกเบิกขบวนการ 'Indonesia Berkebun' (อินโดนีเซียทำสวน) เพื่อสร้างสวนแบบสมัครเล่นในเมืองต่าง ๆ ของอินโดนีเซีย ซึ่งข้อมูลล่าสุดในปี ค.ศ. 2011 โครงการชุมชนได้รับการจัดตั้งขึ้นใน 14 เมืองในประเทศอินโดนีเซีย โดยมีสมาชิกเกือบ 4,000 ราย
โครงการของริดวัน กามิล และ Urbane Indonesia ในอินโดนีเซีย ได้แก่
* มัสยิดใหญ่อัลจับบาร์ (Masjid Raya Al Jabbar) ในเมืองบันดุง,
* อาคารสำนักงานบริษัทยูไนเต็ดแทรคเตอร์ (United Tractors)
* มัสยิดอัลอิรชัด (Masjid Al-Irsyad) และโรงเรียนสอนศาสนาของมัสยิดในเมืองบันดุง
* พิพิธภัณฑ์สึนามิในเมืองบันดาอาเจะฮ์
* การปรับปรุงอาคารมหาวิทยาลัยตารุมะนะกะรา 1 (Tarumanagara 1) และวิทยาเขตในเขตจาการ์ตาตะวันตก
* ศูนย์การค้าราซูนา อีพิเซ็นทรัมในเขตจาการ์ตาใต้
โครงการในต่างประเทศ ได้แก่
* แผนพัฒนาอ่าวมารีนา (สิงคโปร์)|อ่าวมารีนา ประเทศสิงคโปร์
* มัสยิดกลางอิสลามปักกิ่ง|กรุงปักกิ่ง
* แผนพัฒนาริมฝั่งน้ำในรัฐเราะซุลคัยมะฮ์|เราะซุลคัยมะฮ์
* แผนพัฒนาร้านค้าริมฝั่งน้ำในซูโจว
* เทคพาร์คในเมืองคุนหมิง
* โครงการพัฒนาคลับเฮาส์สำหรับการท่องเที่ยวในเมืองโกลกาตา
== การเมือง ==
=== นายกเทศมนตรีเมืองบันดุง ===
File:Ridwan_Kamil,_Gubernur_Jawa_Barat.png|thumb|125px|รูปถ่ายอย่างเป็นทางการ ในฐานะนายกเทศมนตรีเมืองบันดุง
ริดวัน กามิล ก้าวเข้าสู่วงการการเมืองโดยการลงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีเมืองบันดุงในปี ค.ศ. 2013 ในฐานะผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ได้รับการสนับสนุนโดย พรรคยุติธรรมรุ่งเรือง (PKS) พรรคฝั่งนิยมอิสลาม และ พรรคขบวนการอินโดนีเซียยิ่งใหญ่ (เกอรินดรา) พรรคฝั่งชาตินิยม ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่กำลังมาแรงจากสองขั้วทางการเมืองของอินโดนีเซียที่ร่วมมือกันปฏิรูปเมืองและป้องกันไม่ให้ตำแหน่งตกไปอยู่ในมือของพรรคการเมืองใหญ่ในเวลานั้น ภายใต้พรรคการเมืองใหญ่ทั้งสอง บันดุงต้องเผชิญกับเรื่องอื้อฉาวเกี่ยวกับการทุจริต ไม่กี่สัปดาห์หลังการเลือกตั้งในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2013 ดาดา โรซาดา นายกเทศมนตรีเมืองบันดุงในปี ค.ศ. 2003 - ค.ศ. 2013 กลายเป็นผู้ต้องหาในคดีทุจริต และต่อมาก็ถูกตัดสินจำคุก 10 ปี PKS และ เกอรินดรา จึงร่วมกันมองหาผู้สมัครที่มีความสุจริตและมีความน่าเชื่อถือโดยไม่สังกัดพรรคการเมืองใด แต่มีผลงานด้านการงานที่เป็นที่รู้จักผ่านตัวตนของเขา ริดวัน กามิล ซึ่งขณะนั้นยังไม่ได้สังกัดพรรคการเมืองใด ๆ เอาชนะคู่แข่งถึง 7 รายอย่างเด็ดขาดด้วยคะแนนเสียง 45% ซึ่งมากกว่าคู่แข่งที่ใกล้เคียงที่สุดเกือบ 3 เท่า ก่อนที่จะดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีของหนึ่งในเมืองที่มีประชากรมากที่สุดของอินโดนีเซียในวัย 42 ปี
=== ผู้ว่าการจังหวัดชวาตะวันตก ===
File:West Java Province Government Image - Miss International 2017 Kevin Lilliana Junaedy With Governor of West Java Ridwan Kamil.jpg|thumb|right|220px|ริดวัน กามิล พร้อมภรรยา และ เควิน ลีลิยานะ ผู้ชนะนางงามนานาชาติ 2017|มิสอินเตอร์เนชันแนล 2017 ณ เกอดุงซาเต ในปี ค.ศ. 2017
ด้วยความที่เป็นนายกเทศมนตรีที่ได้รับความนิยมจากคนทั้งประเทศ พรรคการเมืองใหญ่หลายพรรคจึงพยายามเกลี้ยกล่อมให้ริดวัน กามิล ลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าการจังหวัดชวาตะวันตกในปี ค.ศ. 2018 โดยพรรคการเมืองเหล่านี้ต้องการผู้สมัครร่วมกับผู้สมัครในพรรคตนเองเพื่อเสริมความนิยมให้กับการลงเลือกตั้งผู้ว่าการจังหวัด โดยพรรคยุติธรรมรุ่งเรือง และพรรคเกอรินดรา ซึ่งกลายเป็นพรรคการเมืองที่แข็งแกร่งขึ้นในปี ค.ศ. 2018 ก็ตัดสินใจจับคู่สมาชิกของตนเองเพื่อลงเลือกตั้งเช่นกัน ริดวัน กามิล ได้รับการรับรองจากพรรคการเมืองที่เล็กกว่าเหมือนเมื่อครั้งลงรับเลือกตั้งนายกเทศมนตรีเมืองบันดุง รวมถึงพรรคสหพัฒนาการที่มีผู้สมัครร่วมในการลงสมัครกับเขาคือ อุอุ รุซานุล อุลุม นายอำเภอเขตตาซิกมาลายะ (Tasikmalaya) โดยริดวัน กามิล ตกลงตามข้อตกลงนี้ โดยตระหนักว่าเขาเป็นที่นิยมในหมู่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเมืองที่มีความเจริญด้านสื่อและเทคโนโลยี โดยเฉพาะในแถบบันดุง แต่มีความนิยมที่อ่อนแอในกลุ่มผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ชนบท เช่น ตาซิกมาลายะ โดยริดวัน กามิล ชนะอย่างเด็ดขาดอีกครั้งด้วยคะแนนเสียง 33% มากกว่าคู่แข่งที่ใกล้เคียงที่สุดจากพรรคเกอรินดราประมาณ 4%
File:Ridwan_Kamil_interview_30.08.2023.webm|thumb|ริดวัน กามิล ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับการทำงานของเขาในฐานะผู้ว่าการหลายสัปดาห์ก่อนที่จะสิ้นสุดวาระของเขา
ชัยชนะของริดวันกามิลในปี ค.ศ. 2013 และ ค.ศ. 2018 พิสูจน์ให้เห็นว่าผู้สมัครอิสระสามารถชนะการเลือกตั้งในอินโดนีเซียได้ หากบุคคลนั้นมีบุคลิกดึงดูดใจ มีการสร้างแคมเปญสื่อที่เข้มแข็ง และมีการสื่อสารที่ดีกับพรรคการเมืองทุกพรรค แม้จะมีการศึกษาแบบตะวันตกและมีทัศนคติแบบพหุนิยม แต่ริดวัน กามิล ก็เข้าใจดีว่าจะสร้างสัมพันธ์กับกลุ่มอิสลามในอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมุสลิมมากที่สุดในโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชวาตะวันตกที่ขึ้นชื่อเรื่องอิสลามอนุรักษ์นิยม
ในช่วงวาระการดำรงตำแหน่งของเขา ริดวัน กามิล ได้ริเริ่มโครงการระบบขนส่งด่วนด้วยรถโดยสารประจำทางในเมืองบันดุง โดยระบบขนส่งด่วนด้วยรถโดยสารประจำทางได้ผสมผสานรถโดยสารไฟฟ้า รถไฟฟ้า และกระเช้าไฟฟ้าเข้าด้วยกันเพื่อบรรเทาปัญหาการจราจรติดขัดในเมืองบันดุง โดยโครงการดังกล่าวมีกำหนดจะเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 2023
==แหล่งอ้างอิง==
หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2514
หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
หมวดหมู่:นักการเมืองชาวอินโดนีเซีย
หมวดหมู่:ชาวซุนดา
หมวดหมู่:มุสลิมชาวอินโดนีเซีย
หมวดหมู่:นายกเทศมนตรี
หมวดหมู่:บุคคลจากบันดุง
หมวดหมู่:สถาปนิกชาวอินโดนีเซีย | ริดวัน กามิล |